30.01.2015 Views

MU_06June56.pdf - CMMU - Mahidol University

MU_06June56.pdf - CMMU - Mahidol University

MU_06June56.pdf - CMMU - Mahidol University

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

AEC ไม่ใช่ประชาคมอาเซียน<br />

มีคนเข้าใจผิดว่า AEC คือ ประชาคมอาเซียน<br />

ข้อเขียนนี้จึงเกิดขึ้น<br />

Special Article<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์วชิราภรณ์ วรรณดี<br />

วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล<<br />

อาเซียน ASEAN หรือ สมาคมประชาชาติ<br />

แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association<br />

of South East Asian Nations) เป็นองค์กร<br />

ที่เกิดจากการรวมตัวของประเทศในภูมิภาค<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๑๐ ประเทศ ได้แก่<br />

ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์<br />

บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา โดย<br />

มีไทยเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง จากการรวมมือร่วมใจ<br />

กัน ๕ ประเทศ คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย<br />

ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่ง<br />

เสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศ<br />

ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ธำรงไว้ซึ่ง<br />

สันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงทางการ<br />

เมือง สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทั้งด้าน<br />

เศรษฐกิจ การพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม การ<br />

กินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผล<br />

ประโยชน์ร่วมกัน<br />

การรวมตัวกันนี้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

ครั้งใหญ่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

ประเทศสมาชิกทั้งสิบประเทศต่างพากันปรับ<br />

ตัวในหลายๆ ด้าน กระตือรือร้นทำความเข้าใจ<br />

หาวิธีรับมือกับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ เพื่อจะ<br />

พัฒนาไปสู่ความเป็นประชาคมเดียวกันอย่าง<br />

สมบูรณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม<br />

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ การปรับตัวของประเทศ<br />

ให้ติดก้นหม้อ รอจนเดือด จึงค่อยๆ โรยถั่วลิสง<br />

ป่นที่เตรียมไว้ลงไป ระยะเวลาตั้งแต่ตั้งหม้อจน<br />

กระทั่งเดือดใช้เวลา ประมาณ ๑๕ นาที จาก<br />

นั้นจึงใส่น้ำปลา คนต่อไปอีกประมาณ ๕ นาที<br />

จึงยกลง ลักษณะของน้ำเมี่ยงคำที่ดี จะต้องข้น<br />

หนืด<br />

เมื่อเตรียมน้ำเมี่ยงคำเสร็จแล้ว ก็มาเตรียม<br />

ในส่วนของส่วนประกอบและผัก/เครื่องเคียง<br />

ของเมี่ยงคำ ส่วนประกอบของเมี่ยงคำประกอบ<br />

ด้วย<br />

1. มะพร้าวซอยคั่ว ๘ ๑/๒ ถ้วยตวง<br />

(ครึ่งกิโลกรัม)<br />

2. ขิงอ่อนหั่นขนาด ๐.๕ ซม. ๑ ๑/๓ ถ้วยตวง<br />

(๑๔๐ กรัม)<br />

3. หอมแดงหั่นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า ขนาด ๑ ซม.<br />

(๑๗๐ กรัม) ๑ ๑/๒ ถ้วยตวง<br />

4. มะนาวหั่นสี่เหลี่ยม ขนาด ๐.๕ X ๑ ซม.<br />

(๒๒๕ กรัม) ๑ ๑/๒ ถ้วยตวง<br />

5. กุ้งแห้งอย่างดีไม่มีเปลือก ๑ ถ้วยตวง<br />

(๙๐ กรัม)<br />

6. ถั่วลิสงคั่ว ๑ ๑/๓ ถ้วยตวง<br />

(๒๐๑ กรัม)<br />

เมื่อเตรียมทุกอย่างข้างต้นเสร็จแล้ว มา<br />

เตรียมผักและเครื่องเคียงซึ่งได้แก่ ใบทองหลาง<br />

๑๓๖ ใบ ใบชะพลู ๑๓๖ ใบ พริกขี้หนูสวน<br />

เม็ดเล็กหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ๑/๔ ถ้วย (๒๗ กรัม)<br />

ในการรับประทาน นำผักที่เตรียมไว้ซึ่งล้าง<br />

สะอาดแล้วมาตัดส่วนที่โคนใบที่แข็งออก จัด<br />

วางในถาดนำเครื่องเมี่ยงคำใส่วางบนผัก แล้ว<br />

จึงโรยด้วยมะพร้าวคั่ว เวลารับประทานก็จับใบ<br />

ผักที่มีเครื่องเมี่ยงมาจีบหรือห่อเป็นกระทงแล้ว<br />

ตักน้ำเมี่ยงใส่เล็กน้อยแล้วรับประทาน<br />

สำหรับสูตรที่นำเสนอนี้ เป็นสูตรที่รับ<br />

ประทานได้ ๕๔ คน (คนละ ๕ คำ)<br />

เมื่อทราบถึงประโยชน์ของเมี่ยงคำแล้ว ก็<br />

สมาชิกอาเซียนที่สำคัญ คือ การสร้างประชาคม<br />

อาเซียน (ASEAN Community) เพื่อให้องค์กร<br />

มีความแข็งแกร่งเพิ่มมากขึ้น จนมีกฎบัตร<br />

อาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งเป็นธรรมนูญ<br />

ที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นชอบร่วมกัน ให้<br />

สัตยาบันร่วมกันว่าจะปฏิบัติตามและมีผล<br />

ผูกพันทางกฎหมาย หากไม่ปฏิบัติตามก็จะ<br />

มีความผิด ประเทศที่เสียประโยชน์สามารถ<br />

ดำเนินการผ่านช่องทางที่จัดไว้ในการฟ้องร้อง<br />

เรียกค่าเสียหายได้<br />

กฎบัตรอาเซียนนี้ ทำให้อาเซียนเป็นองค์กร<br />

ที่มีกฎ มีเกณฑ์ มีกฎหมายรองรับ และกลาย<br />

เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือต่าง ๆ ที่จะเกิด<br />

ขึ้นในเอเชีย (ASEAN Centrality) เป็นตัวเชื่อม<br />

ให้คนในภูมิภาคอื่นได้ และถือเป็นเครื่องมือ<br />

สำคัญอย่างหนึ่งในการดำเนินนโยบายระหว่าง<br />

ประเทศ ในกฎบัตรนี้ มีบันทึกหลักสำคัญ<br />

ว่า การสร้างประชาคมอาเซียนที่สมบูรณ์<br />

ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก ได้แก่ ๑) ประชาคม<br />

การเมืองและความมั่นคงอาเซียน หรือ APSC<br />

(ASEAN Political-Security Community)<br />

๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC<br />

(ASEAN Economic Community) และ ๓)<br />

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หรือ<br />

ASCC (ASEAN Socio-Cultural Community)<br />

ในรายละเอียด ๓ เสาหลักนี้ ประเทศ<br />

สมาชิกอาเซียนจะต้องร่วมมือร่วมใจกันแก้<br />

ปัญหาในเรื่องการเมืองด้วยการเจรจา ไม่ใช้<br />

กำลังทหารและความรุนแรง ในเรื่องเศรษฐกิจ<br />

จะต้องได้ประโยชน์กันทุกฝ่าย ผู้คนอยู่ดีกินดี<br />

มากขึ้น ประเทศที่มีความสามารถแข่งขันด้าน<br />

เศรษฐกิจน้อยก็จะได้รับการดูแล ไม่ถูกเอารัด<br />

เอาเปรียบ และในด้านสังคมวัฒนธรรม แต่ละ<br />

ประเทศต้องส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ด้านสังคม<br />

และวัฒนธรรมของกันและกันด้วย ไม่ว่าจะเป็น<br />

คนชาติใด นับถือศาสนาใด พูดภาษาใด จะได้<br />

รับสิทธิเท่ากับคนอื่นๆ ทุกประเทศสมาชิกมี<br />

ความแตกต่างกัน แต่ต้องยอมรับความแตกต่าง<br />

นั้นๆ ได้ ดังคำขวัญของอาเซียนว่า “หนึ่งวิสัย<br />

ทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม” (One<br />

Vision, One Identity, One Community)<br />

อาเซียนจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่ชาวไทย<br />

ในฐานะเป็นประเทศร่วมผู้ก่อตั้งองค์กรแห่งนี้<br />

จะต้องรู้จัก ทำความเข้าใจ และเรียนรู้ในเรื่อง<br />

ประชาคมอาเซียนให้ลึกซึ้ง เพื่อเตรียมรับมือ<br />

กับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอีก ๒ ปีข้าง<br />

หน้า โดยเฉพาะควรเข้าใจเป็นเบื้องต้นก่อนว่า<br />

ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย APSC AEC<br />

และ ASCC ไม่ใช่แค่ AEC <strong>MU</strong><br />

อยากเชิญชวนให้เลือกรับประทานเมี่ยงคำเป็น<br />

อาหารว่าง แต่ปัจจุบันเมี่ยงคำอาจหาซื้อยาก<br />

ขึ้น เด็กรุ่นใหม่จำนวนมากไม่รู้จักหรือไม่เคย<br />

ลองลิ้มชิมรสเมี่ยงคำ จึงอยากเชิญชวนให้มา<br />

ร่วมอนุรักษ์อาหารว่างไทย “เมี่ยงคำ” ด้วยการ<br />

ทำรับประทานเองที่บ้าน หลายๆ ท่านอาจจะ<br />

เห็นว่าเมี่ยงคำ มีเครื่องปรุงและส่วนประกอบที่<br />

มากมายหลากหลายดูยุ่งยาก แต่จริงๆ แล้วทำ<br />

ไม่ยากเลย เราสามารถเตรียมน้ำเมี่ยงคำเก็บ<br />

ไว้ในตู้เย็น ส่วนมะพร้าวคั่วหากไม่สะดวกที่จะ<br />

ทำเอง ก็สามารถหาซื้อชนิดสำเร็จรูปได้ไม่ยาก<br />

เมื่ออยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตาลูกหลานก็นั่ง<br />

ล้อมวงหั่นเครื่องเมี่ยงคำและกินเมี่ยงคำร่วมกัน<br />

ได้ทั้งความอร่อย สุขภาพ และความอบอุ่นใน<br />

ครอบครัว <strong>MU</strong><br />

มหิดลสาร ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ • 7

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!