19.01.2018 Views

13 ทศวรรษ กลาโหม 2560

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

๑๓ <strong>ทศวรรษ</strong><br />

กระทรวง<strong>กลาโหม</strong><br />

๒. การใหบริการดานการเทียบเวลาและการ<br />

กระจายเสียง<br />

บริเวณดานทิศใตสุดอาคารกอนถึงสะพานชางโรงสี บริเวณ<br />

ชั้นที่ ๕ หรือชั้นบนสุด สรางเปนหอคอยรูปสี่เหลี่ยม และจัดเปนหอง<br />

ยามรักษาการณ ซึ่งในตํ่าลงมาหรือชั้น ๔ ไดทําเปนหอนาฬการูปราง<br />

สี่เหลี่ยม และมีหนาปดนาฬกาสองดาน คือ<br />

ดานที่หนึ่ง หันหาคลองคูเมืองเดิมหรือคลองหลอด<br />

ดานที่สอง หันเขาหาถนนกัลยาณไมตรี<br />

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนที่สัญจรผานไปมาไดรับทราบ<br />

เวลา ซึ่งในสมัยนั้นยังไมมีนาฬกาขอมือ มีแตนาฬกาพกที่มีสายหอย<br />

นาฬกา นําเขาจากตางประเทศ และมีราคาสูงมาก จะมีผูใชก็คือ<br />

เจานาย ขาราชการระดับสูง และคหบดีเทานั้น ระดับประชาชนธรรมดา<br />

ยากที่จะเปนเจาของ ดังนั้น การที่โรงทหารหนาเปดโอกาสใหประชาชน<br />

ไดทราบเวลาโดยไมคิดคาใชจาย จึงถือวาเปนการบริการประชาชน<br />

และพัฒนาคุณภาพชีวิตใหราษฎรสยามในยุคนั้น<br />

ในเวลาตอมา หอนาฬกาไดถูกรื้อออก เนื่องจากการสรางหอคอย<br />

เปนทรงสี่เหลี่ยมและมีการติดตั้งนาฬกาในชั้นที่ ๔ ทําใหเกิดผลเสีย<br />

ตอตัวอาคาร เพราะตองรับแรงตานจากลมและฝนทําใหอาคารทรุดโทรม<br />

อยางรวดเร็ว ประกอบกับความไมคงทนของนาฬกาที่ประสบปญหา<br />

ขัดของเปนประจําและการแพรหลายของนาฬกาพกที่มีมากขึ้น รวมทั้ง<br />

มีวิทยุกระจายเสียงที่บอกเวลา สามารถรับฟงไดทุกที่ จึงมีแนวความคิด<br />

ที่จะปรับปรุงอาคารชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๕ (บริเวณหอคอย) ในปลายรัชสมัย<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดมีการปรับแตงหอคอย<br />

ใหมีลักษณะทรงกระบอกและมีกันสาดในชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๕ ทําให<br />

สามารถตรวจการณไดทั้งสองชั้นและติดตั้งลําโพงเพื่อกระจายเสียงตอ<br />

สาธารณชนได<br />

หอคอยยุคแรกสรางโรงทหารหนา หอคอยยุคปลายรัชสมัยรัชกาลที่ ๕<br />

๖๖<br />

<strong>กลาโหม</strong>เทิดราชา รักษราษฎร ชาติมั่นคง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!