12.02.2018 Views

ก.พ.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

โดรนไว้ในครอบครองที่ไม่มาขึ้นทะเบียน<br />

ภายในวันที่๙ ม<strong>ก</strong>ราคม ๒๕๖๑ ต้องระวาง<br />

โทษจำคุ<strong>ก</strong>ไม่เ<strong>ก</strong>ินห้าปี ปรับไม่เ<strong>ก</strong>ินหนึ่ง<br />

แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตามคำสั่งคณะ<br />

<strong>ก</strong>รรม<strong>ก</strong>าร<strong>ก</strong>ิจ<strong>ก</strong>าร<strong>ก</strong>ระจายเสียง <strong>ก</strong>ิจ<strong>ก</strong>าร<br />

โทรทัศน์และ<strong>ก</strong>ิจ<strong>ก</strong>ารโทรคมนาคมแห่งชาติ<br />

ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ เรื่อง <strong>ก</strong>ารขึ้น<br />

ทะเบียนเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้ใน<br />

อา<strong>ก</strong>าศยานซึ่งไม่มีนั<strong>ก</strong>บินประเภท<br />

อา<strong>ก</strong>าศยานที่ควบคุม<strong>ก</strong>ารบินจา<strong>ก</strong>ภายนอ<strong>ก</strong><br />

(Drone) ออ<strong>ก</strong>ตามความในมาตรา ๖<br />

ประ<strong>ก</strong>อบ<strong>ก</strong>ับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๒๓<br />

แห่งพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ.<br />

๒๔๙๘ และที่แ<strong>ก</strong>้ไขเพิ่มเติม แต่หา<strong>ก</strong>มี<strong>ก</strong>าร<br />

ดัดแปลงโดรนให้มี<strong>ก</strong>ารติดอาวุธเพื่อ<br />

ประทุษร้ายต่อชีวิตหรือ<strong>ก</strong>่อให้เ<strong>ก</strong>ิดความ<br />

เสียหายต่อทรัพย์สินสำคัญของทาง<br />

ราช<strong>ก</strong>ารทหาร ตลอดจนติดตั้ง<br />

อุป<strong>ก</strong>รณ์สอดแนมสถานที่<br />

สำคัญของทางราช<strong>ก</strong>ารทหาร<br />

ถือได้ว่าเป็นภัยร้ายแรงที่<br />

คุ<strong>ก</strong>คามต่อความมั่นคงทาง<br />

ทหาร เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารที่<br />

เ<strong>ก</strong>ี่ยวข้องจะสามารถระงับ<br />

ยับยั้ง หรือยุติ<strong>ก</strong>ารปฏิบัติ<strong>ก</strong>าร<br />

ของโดรนที่ฝ่าฝืน<strong>ก</strong>ฎหมายและ<br />

เป็นภัยคุ<strong>ก</strong>คามดัง<strong>ก</strong>ล่าวได้อย่างทันท่วงที<br />

ไม่ให้เ<strong>ก</strong>ิดเหตุร้ายภายใต้หลั<strong>ก</strong><strong>ก</strong>ฎหมายได้<br />

หรือไม่เพียงใด เพราะไม่ทัน<strong>ก</strong>ารณ์แน่นอน<br />

หา<strong>ก</strong>หลังจา<strong>ก</strong>เ<strong>ก</strong>ิดเหตุขึ้นแล้วมาดำเนินคดี<br />

ในภายหลัง แต่<strong>ก</strong>ารสูญเสียหรือความเสียหาย<br />

เ<strong>ก</strong>ิดขึ้นแล้ว<br />

จา<strong>ก</strong><strong>ก</strong>ารตรวจสอบเบื้องต้นปรา<strong>ก</strong>ฏ<br />

ว่ายังไม่มี<strong>ก</strong>ฎหมายรองรับโดยตรง แต่มี<br />

หลั<strong>ก</strong><strong>ก</strong>ฎหมายอื่นที่เ<strong>ก</strong>ี่ยวข้องที่สามารถ<br />

พิจารณาปรับใช้หรือเทียบเคียงได้ ดังนี้<br />

๑. พระราชบัญญัติว่าด้วย<strong>ก</strong>ารปฏิบัติ<br />

ต่ออา<strong>ก</strong>าศยานที่<strong>ก</strong>ระทำผิด<strong>ก</strong>ฎหมาย พ.ศ.<br />

๒๕๕๓ สรุปในส่วนที่เ<strong>ก</strong>ี่ยวข้องได้ว่า<br />

เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร (เจ้าหน้าที่ทหารอา<strong>ก</strong>าศ<br />

หรือเจ้าหน้าที่ทหารอื่นที่มีอำนาจหน้าที่<br />

ตามที่<strong>ก</strong>ำหนดไว้ในแผนป้อง<strong>ก</strong>ันภัยทาง<br />

อา<strong>ก</strong>าศ) สามารถส<strong>ก</strong>ัด<strong>ก</strong>ั้นหรือทำลายโดรน<br />

ที่เป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจั<strong>ก</strong>ร<br />

หรืออาจเป็นภัยต่อสาธารณะ ตามที่บัญญัติ<br />

ในมาตรา ๔ ประ<strong>ก</strong>อบมาตรา ๑๓ โดยมี<br />

ขั้นตอนที่ควรดำเนิน<strong>ก</strong>ารเพิ่มเติม ดังนี้<br />

รายงานรัฐมนตรีว่า<strong>ก</strong>าร<strong>ก</strong>ระทรวง<strong>ก</strong>ลาโหม<br />

<strong>ก</strong>รุณาพิจารณาประ<strong>ก</strong>าศ<strong>ก</strong>ำหนดว่า “<strong>ก</strong>าร<br />

ใช้โดรนเพื่อประทุษร้ายต่อชีวิตหรือ<strong>ก</strong>่อให้<br />

เ<strong>ก</strong>ิดความเสียหายต่อทรัพย์สินสำคัญ<br />

ของทางราช<strong>ก</strong>ารทหาร ตลอดจนสอดแนม<br />

สถานที่สำคัญของทางราช<strong>ก</strong>ารทหาร<br />

เป็น<strong>ก</strong>าร<strong>ก</strong>ระทำอันอาจเป็นภัยต่อความ<br />

มั่นคงแห่งราชอาณาจั<strong>ก</strong>รหรืออาจเป็นภัย<br />

ต่อสาธารณะ” ตามที่มาตรา ๔ ประ<strong>ก</strong>อบ<br />

<strong>ก</strong>ับมาตรา ๑๑ วรรคสาม บัญญัติให้อำนาจ<br />

รัฐมนตรีว่า<strong>ก</strong>าร<strong>ก</strong>ระทรวง<strong>ก</strong>ลาโหมประ<strong>ก</strong>าศได้<br />

และมี<strong>ก</strong>ารแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ทหารอื่น<br />

เช่น เจ้าหน้าที่ทหารบ<strong>ก</strong> และเจ้าหน้าที่<br />

ทหารเรือ ไว้ในแผนป้อง<strong>ก</strong>ันภัยทางอา<strong>ก</strong>าศด้วย<br />

ซึ่งภายใต้พระราชบัญญัตินี ้ให้อำนาจ<br />

เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารสืบสวนสอบสวนเบื้องต้น<br />

แล้วดำเนิน<strong>ก</strong>ารส่งต่อไปให้เจ้าหน้าที่<br />

ตำรวจที่เป็นพนั<strong>ก</strong>งานสอบสวนแห่งท้องที่<br />

ดำเนิน<strong>ก</strong>ารต่อไป ตามที่บัญญัติในมาตรา<br />

๑๗ และมาตรา ๑๙ อนึ่ง <strong>ก</strong>ารส<strong>ก</strong>ัด<strong>ก</strong>ั้น<br />

หรือ<strong>ก</strong>ารทำลายโดรนนั้นควรคำนึงอยู่ภายใต้<br />

สัดส่วนที่เหมาะสมตามหลั<strong>ก</strong><strong>ก</strong>ฎหมาย<br />

ซึ่งจะ<strong>ก</strong>ล่าวต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งมิใช่<br />

สามารถทำลายโดรนได้เลยในทุ<strong>ก</strong><strong>ก</strong>รณี<br />

๒. ประมวล<strong>ก</strong>ฎหมายอาญาตาม<br />

บทบัญญัติในมาตรา ๖๘ สรุปในส่วนที่<br />

เ<strong>ก</strong>ี่ยวข้องได้ว่า เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร<br />

สามารถระงับ ยับยั้ง หรือยุติ<strong>ก</strong>ารปฏิบัติ<strong>ก</strong>าร<br />

ของโดรนที่ฝ่าฝืน<strong>ก</strong>ฎหมายโดรนนั้นได้<br />

หา<strong>ก</strong>เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารจำเป็นต้อง<br />

ป้อง<strong>ก</strong>ันตนเองหรือผู้อื่นให้พ้นภยันตราย<br />

โดยเฉพาะที่ใ<strong>ก</strong>ล้จะถึงแ<strong>ก</strong>่ชีวิตของตนเอง<br />

หรือผู้อื่น ถ้าได้<strong>ก</strong>ระทำพอสมควรแ<strong>ก</strong>่เหตุ<br />

ถือว่าเป็น<strong>ก</strong>ารป้อง<strong>ก</strong>ันโดยชอบด้วย<br />

<strong>ก</strong>ฎหมาย ไม่มีความผิด สรุปหลั<strong>ก</strong>เ<strong>ก</strong>ณฑ์ที่<br />

สำคัญได้ ดังนี้ ๑) มีภยันตรายเ<strong>ก</strong>ิดจา<strong>ก</strong><br />

<strong>ก</strong>ารประทุษร้ายอันละเมิดต่อ<strong>ก</strong>ฎหมาย<br />

<strong>ก</strong>ล่าวคือภยันตรายที่เ<strong>ก</strong>ิดขึ้นนั้นผู้<strong>ก</strong>ระทำ<br />

หลั<strong>ก</strong>เมือง <strong>ก</strong>ุมภาพันธ์ ๒๕๖๑<br />

31

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!