12.03.2018 Views

มี.ค.61

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยหรือการ<br />

บังคับใช้กฎหมายนั้น <strong>มี</strong>กฎหมายรองรับให้<br />

กระทาได้ ตามที่บัญญัติในมาตรา ๕๖ ของ<br />

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย<br />

พุทธศักราช ๒๕๖๐ บัญญัติสรุปได้ว่า รัฐ<br />

ต้องจัดให้<strong>มี</strong>กาลังทหารเพื่อพิทักษ์ไว้ซึ่ง<br />

ความมั่นคงของรัฐและความสงบเรียบร้อย<br />

ของประชาชน และมาตรา ๘ กับมาตรา<br />

๓๖ แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบ<br />

ราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑<br />

กาหนดสรุปได้ว่าให้กระทรวงกลาโหม<strong>มี</strong><br />

อานาจหน้าที่พิทักษ์รักษาความมั่นคงแห่ง<br />

ราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอก<br />

และภายในราชอาณาจักร ตลอดจน<br />

ปฏิบัติการอื่นที่เป็นการปฏิบัติการทาง<br />

ทหารนอกเหนือจากสงครามเพื่อความ<br />

มั่นคงแห่งราชอาณาจักร และป้องกัน<br />

ระงับ หรือปราบปรามการกระทาความผิด<br />

ที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐซึ่งจาเป็น<br />

ต้องใช้กาลังทหารระงับเหตุการณ์ร้ายแรง<br />

โดยเร็ว<br />

นอกจากนั้นในการรักษาความสงบ<br />

เรียบร้อยของประเทศหรือการทาหน้าที่<br />

บังคับใช้กฎหมาย พนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ว่า<br />

จะเป็นตารวจหรือทหารสามารถเข้าไปได้<br />

ในทุกสถานที่เพื่อรักษาความสงบ<br />

เรียบร้อยหรือทาหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย<br />

เช่น แหล่งชุมชน โรงพยาบาล โรงเรียน<br />

หรือสถานที่สาคัญทางศาสนาหรือศิลป-<br />

วัฒนธรรม เป็นต้น ไม่<strong>มี</strong>ข้อจากัดดังเช่น<br />

ในกรณีการรบหรือการสงครามภายใต้<br />

หลักกฎหมายสงครามหรือกฎหมายว่า<br />

ด้วยการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างประเทศ<br />

ที่ผู ้ทาการรบที่เรียกว่า พลรบ (Combatant)<br />

จะต้องหลีกเลี่ยงไม่เข้าไปในหรือใช้<br />

ประโยชน์ทางทหารจากสถานที่ดังกล่าว<br />

และการที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารซึ่งเป็น<br />

เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงสามารถมาปฏิบัติ<br />

หน้าที่บังคับใช้กฎหมายได้นั้น ก็เป็นไป<br />

ตามประมวลระเบียบการปฏิบัติของ<br />

เจ้าหน้าที่ที่<strong>มี</strong>อานาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย<br />

(Code of Conduct for Law Enforcement<br />

Officials 1979) ซึ่งถือได้ว่าเป็น<br />

หลักสากลที่องค์การสหประชาชาติได้จัด<br />

ทาขึ้น กาหนดว่า “เจ้าหน้าที่ที่<strong>มี</strong>อานาจ<br />

หน้าที่บังคับใช้กฎหมาย” หมายรวมถึง<br />

เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายทุกประเภท ไม่ว่า<br />

จะมาจากการแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง ซึ่งใช้<br />

อานาจหน้าที่อย่างตารวจโดยเฉพาะการ<br />

จับกุมหรือควบคุมตัว ในประเทศที่ทหาร<br />

สามารถใช้อานาจหน้าที่อย่างตารวจหรือ<br />

โดยกองกาลังรักษาความมั่นคงของรัฐ<br />

ความหมายของเจ้าหน้าที่ที่<strong>มี</strong>อานาจหน้าที่<br />

บังคับใช้กฎหมายรวมถึงเจ้าหน้าที่<br />

ดังกล่าวด้วย<br />

๒. หลักกฎหมายสาคัญและหลัก<br />

สากลที่เจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายจะต้อง<br />

ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติ โดยเฉพาะการใช้<br />

อาวุธปืน และการชันสูตรพลิกศพกับการ<br />

ไต่สวนสาเหตุการตาย ซึ่งแตกต่างจากการ<br />

รบหรือการสงคราม ดังนี้<br />

๒.๑ ประมวลกฎหมายอาญา<br />

มาตรา ๖๘ ซึ่งสรุปได้ว่า การใช้กาลังหรือ<br />

อาวุธของทหารที่ทาหน้าที่บังคับใช้<br />

กฎหมายต้องพอสมควรแก่เหตุหรือที่<br />

เรียกกันโดยทั่วไปว่าไม่เกินกว่าเหตุ ถือว่า<br />

เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายและ<br />

อยู่ภายใต้หลักการป้องกันตนเอง กล่าวคือ<br />

เป็นการป้องกันชีวิตของตนเองหรือผู้อื่น<br />

ให้พ้นภยันตรายที่ใกล้จะถึงจากการ<br />

ประทุษร้ายโดยผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา หรือ<br />

ผู้ที่จะถูกตรวจค้นหรือจับกุม ดังนั้น ในการ<br />

ทาหน้าที่บังคับใช้กฎหมายต้อง<strong>มี</strong>การ<br />

แสดงตน การเตือนด้วยวาจา การยิงเตือน<br />

ในทิศทางที่ปลอดภัย เว้นแต่หากสถานการณ์<br />

ไม่เอื้ออานวยหรือเป็นอันตรายต่อชีวิต<br />

หรือบาดเจ็บสาหัสของผู้ใด<br />

๒.๒ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา<br />

ความอาญา มาตรา ๑๕๐ ซึ่งสรุปได้ว่า<br />

ในกรณีที่<strong>มี</strong>การตายเกิดขึ้นโดยการกระทา<br />

ของเจ้าพนักงานระหว่างปฏิบัติหน้าที่หรือ<br />

ตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของ<br />

เจ้าพนักงานระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ให้<strong>มี</strong><br />

การชันสูตรพลิกศพ แล้ว<strong>มี</strong>การร้องขอต่อ<br />

ศาลชั้นต้นแห่งท้องที่ที่ศพนั้นอยู่ เพื่อให้<br />

ศาลทาการไต่สวนและทาคาสั่งแสดงว่า<br />

ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงเหตุ<br />

กับพฤติการณ์ที่ตาย ถ้าตายโดยคนทาร้าย<br />

ให้กล่าวว่าใครเป็นผู้กระทาเท่าที่จะทราบได้<br />

แล้วส่งสานวนไปให้พนักงานอัยการ หรือ<br />

อัยการทหารเพื่อ<strong>มี</strong>คาสั่งฟ้องทางอาญา<br />

หลักเมือง <strong>มี</strong>นาคม ๒๕๖๑<br />

33

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!