01.02.2015 Views

2552 - กระทรวงการต่างประเทศ

2552 - กระทรวงการต่างประเทศ

2552 - กระทรวงการต่างประเทศ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ความร่วมมือในกรอบอนุภูมิภาคและกรอบภูมิภาค<br />

(1) การพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานตามแนว<br />

East West Economic Corridor และ Southern Economic<br />

Corridor <br />

(2) การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการน้ำใน<br />

ลุ่มน้ำโขง<br />

(3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยไทยมีสถาบันการศึกษา<br />

ที่มีศักยภาพและพร้อมจะร่วมในการดำเนินการอบรม คือ Mekong<br />

Institute <br />

นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้ตระหนักถึงความคล้ายคลึงของ<br />

กรอบความร่วมมือต่างๆ ในอนุภูมิภาค เช่น ACMECS GMS<br />

ASEAN-Japan ASEAN +3 MRC EAS และ ARF ซึ่งมีจุดมุ่งหมาย<br />

เพื่อการพัฒนาอนุภูมิภาคเหมือนกัน และเห็นพ้องให้ความร่วมมือ<br />

Mekong-Japan เพื่อจะได้ส่งเสริมได้อย่างสอดคล้องกับความร่วมมือ<br />

อื่น ๆ ดังกล่าวมาแล้ว<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

นายกรัฐมนตรีเข้าร่วมการประชุมสุดยอดกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง-ญี่ปุ่น<br />

ณ กรุงโตเกียว ระหว่างวันที่ 5-7 พฤศจิกายน <strong>2552</strong><br />

ในการประชุมผู้นำลุ่มน้ำโขง-ญี่ปุ่น ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6-7<br />

พ.ย. <strong>2552</strong> ที่กรุงโตเกียว กระทรวงการต่างประเทศในฐานะหน่วยงาน<br />

หลักจึงได้จัดเตรียมร่างปฏิญญาโตเกียว ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุม<br />

ร่วมกับประเทศต่างๆ ในระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ก่อนการประชุม<br />

ผู้นำ ซึ่งหัวข้อในผลการประชุมคือ “Establishment of a New<br />

Partnership for the Common Flourishing Future” เพื่อกำหนด<br />

สาขาความร่วมมือสำคัญและหารือเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ร่วมกันของ<br />

ความร่วมมือในอนาคต และได้รับรองปฏิญญาโตเกียวและ<br />

แผนปฏิบัติการออันเป็นเอกสารที ่มาจากผลของการประชุม<br />

โดยญี่ปุ่นเสนอให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอนุภูมิภาคเป็นเงิน<br />

500,000 ล้านเยน (ประมาณ 170,000 ล้านบาท) ในขณะที่ไทย<br />

ยืนยันการเป็นประเทศผู้ให้ ในฐานะ co-donor และ co-sponsor<br />

ในการพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง โดยเน้นศักยภาพของไทยในการ<br />

เป็นศูนย์กลางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอนุภูมิภาค เนื่องจาก<br />

เป็นที่ตั้งขององค์กรและสถาบันการศึกษาไทยและนานาชาติที่มีชื่อ<br />

เสียงหลายแห่ง โดยเฉพาะ Mekong Institute อีกทั้งให้ความสำคัญ<br />

กับการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมที่ยังไม่สมบูรณ์และการอำนวย<br />

ความสะดวกในการขนส่งข้ามแดนด้วย นอกจากนี้ ไทยได้<br />

เชิญชวนให้ญี่ปุ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกอบรมประชาชนใน<br />

ภูมิภาคนี้ ในรูปแบบการจัดการประชุม / สัมมนาระหว่างประเทศใน<br />

เรื่องการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการอำนวยความสะดวกการ<br />

ผ่านแดน โดยเชิญองค์กรระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารเพื่อการ<br />

พัฒนาเอเชีย (ADB) และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง<br />

เอเชียและแปซิฟิค (UNESCAP) ซึ่งได้มีการทำการศึกษาในเรื่องดัง<br />

กล่าว เข้ามาเป็นผู้จัดร่วม และอาจเสนอให้มีการจัดหลักสูตรอบรม<br />

ระยะสั้นให้ประเทศสมาชิกลุ่มน้ำโขง ในประเด็นเกี่ยวกับกฎระเบียบ<br />

ข้ามแดน เช่น พิธีการด้านศุลกากร โดยใช้สถานที่ในไทย<br />

เป็นต้น<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

36 รายงานประจำปี กระทรวงการต่างประเทศ พ.ศ. <strong>2552</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!