01.02.2015 Views

2552 - กระทรวงการต่างประเทศ

2552 - กระทรวงการต่างประเทศ

2552 - กระทรวงการต่างประเทศ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

นักเรียนไทยมุสลิมเพื่อเป็นทางเลือกทางด้านการศึกษาสำหรับ<br />

เยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วย<br />

ทางด้านศาสนา รัฐบาลได้สนับสนุนกิจกรรมฮัจย์อย่างจริงจัง<br />

มาโดยตลอด โดยเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม <strong>2552</strong> คณะรัฐมนตรีได้มีมติ<br />

เห็นชอบให้กระทรวงการต่างประเทศจัดตั้งฝ่ายกงสุลฮัจย์ประจำ<br />

ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย เพื่ออำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหา<br />

ให้แก่ชาวไทยที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ให้สามารถประกอบพิธีฮัจย์<br />

ได้อย่างถูกต้องตามหลักศาสนาและไม่เสียสิทธิประโยชน์ที่ประเทศ<br />

ซาอุดีอาระเบียกำหนด เช่นเดียวกับประเทศที่มีประชากรเดินทาง<br />

ไปประกอบพิธีฮัจย์ได้จัดตั้งขึ้น ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ <br />

อนึ่ง ในเทศกาลฮัจย์ปี <strong>2552</strong> กระทรวงการต่างประเทศได้<br />

เพิ่มบุคคลากรข้าราชการมุสลิมของสถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองเจดดาห์<br />

ปฏิบัติหน้าที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลด้านกิจการฮัจย์ รวมทั้งได้ส่งข้าราชการ<br />

ไปช่วย ปฏิบัติหน้าที่ดูแลและอำนวยความสะดวกแก่ผู้แสวงบุญชาวไทยที่<br />

เดินทางไปประกอบพิธี ดังเช่นทุกๆ ปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ กระทรวง<br />

การต่างประเทศยังมีดำริที่จะจัดตั้งสำนักงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือ<br />

ดูแลผู้ไปประกอบพิธีฮัจย์ที่เมืองเมกกะและมาดีนะห์ โดยขณะนี้อยู่ใน<br />

ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ <br />

ภาพรวมความสัมพันธ์ระหว่างไทย<br />

กับประเทศในภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้<br />

1. ความสัมพันธ์ในภาพรวม<br />

กระทรวงการต่างประเทศยังคงให้ความสำคัญกับนโยบาย<br />

“การกระชับความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับ<br />

ประเทศที่มีบทบาทสำคัญของโลก และประเทศคู่ค้าของไทยในภูมิภาค<br />

ต่างๆ” ซึ่งภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้เป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่เป็น<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

การประชุมหารือด้านการเมืองครั้งที่ 2 ระหว่างไทย - ชิลี เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม <strong>2552</strong><br />

เป้าหมายสำคัญในการผลักดันนโยบายดังกล่าว ซึ่งประเทศที่เป็นเป้าหมาย<br />

เชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล<br />

อาร์เจนตินา เม็กซิโก เปรู ชิลี ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เป็นต้น<br />

2. ความสัมพันธ์ด้านการเมืองและความมั่นคง <br />

โดยที่กระทรวงการต่างประเทศให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการ<br />

สร้างความเข้าใจและสร้างความเชื่อมั่นให้กับประเทศต่างๆ ต่อเสถียรภาพ<br />

ทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจของไทย จึงได้ผลักดันให้มีการแลกเปลี่ยน<br />

การเยือนระดับสูงและใช้กรอบการประชุมและกลไกทวิภาคีต่างๆ ที่มีอยู่<br />

เป็นเครื่องมือหลักในการสร้างความเข้าใจและความเชื่อมั่นดังกล่าว<br />

จากบรรยากาศความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ<br />

และการชุมนุมประท้วงอย่างต่อเนื่องในช่วงต้นปี <strong>2552</strong> ส่งผลกระทบต่อ<br />

ความเชื่อมั่นของประเทศต่างๆ โดยเฉพาะสหรัฐฯ แคนาดา ออสเตรเลีย<br />

และนิวซีแลนด์ ที่ยังคงมีความกังวลและเกรงไปว่า กระบวนการ<br />

และทิศทางการพัฒนาการทางการเมืองของไทย จะส่งผลกระทบต่อ<br />

ผลประโยชน์ในด้านต่างๆ ของตนหรือไม่และอย่างไร เนื่องจากประเทศ<br />

เหล่านั้นเริ่มมีผลประโยชน์แห่งชาติที่ผูกพันกับภูมิภาคเอเชีย และ<br />

เอเชียแปซิฟิกมากขึ้นเรื่อยๆ ท่ามกลางกระแสการเปิดเสรีทางการค้า<br />

ที่จะทำให้อาเซียนและกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่างๆ<br />

กลายเป็นภูมิภาคที่มีพลวัตทางการค้าที่สูงและเป็น open regionalism <br />

ซึ่งในการแก้ไขภาพลักษณ์ความขัดแย้งทางการเมืองภายใน<br />

ประเทศ และสร้างความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจให้เกิดขึ้นได้โดยเร็ว<br />

กระทรวงการต่างประเทศยังคงให้ความสำคัญสูงสุดกับการหารือกับ<br />

ฝ่ายต่างๆ ของทั้งสหรัฐฯ แคนาดา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของสหรัฐฯ ตลอดปี <strong>2552</strong> ที่ผ่านมาได้มี<br />

การแลกเปลี่ยนการเยือนและการพบหารือระหว่างผู้แทนของไทย<br />

กับสหรัฐฯ อยู่เป็นประจำ ซึ่งทั้งนี้รวมถึงการเยือนสหรัฐฯ ของรัฐมนตรี<br />

ว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันที่ 19-26 เมษายน <strong>2552</strong><br />

ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในการสร้างความเข้าใจต่อสถานการณ์<br />

ทางการเมืองของไทย และการแสดงความพร้อมของรัฐบาลในการ<br />

บริหารประเทศ รวมทั้งเป็นการผลักดันให้เกิดการเยือนและเข้าร่วมใน<br />

การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา PMC/ ARF<br />

ที่ประเทศไทยของนางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง<br />

การต่างประเทศสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 21-23 กรกฎาคม <strong>2552</strong> <br />

ความสัมพันธ์ทวิภาคีกับประเทศต่างๆ<br />

รายงานประจำปี กระทรวงการต่างประเทศ พ.ศ. <strong>2552</strong><br />

63

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!