30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Wickens (1985) รายงานวา กุงกุลาดําขนาดน้ําหนัก<br />

1.6-2.7 กรัม มีการขับถาย<br />

แอมโมเนียในระดับ 0.03-0.3 มิลลิกรัม แอมโมเนีย-ไนโตรเจนตอกรัมตอวัน นอกจากนี้ยังไดทํา<br />

การทดลองเกี่ยวกับ<br />

สารประกอบไนโตรเจน ในกุงทะเลที่มีน้ําหนักประมาณ<br />

50-200 มิลลิกรัม<br />

พบวาแอมโมเนีย ไนไตรท และไนเตรท ที่ระดับความเขมขน<br />

1.29, 170 และ 3,400 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร ตามลําดับ มีผลทําใหกุงตาย<br />

รอยละ 50 ภายในเวลา 48 ชั่วโมง<br />

ของกุง<br />

Chen et al. (1990) พบวา แอมโมเนียในระดับต่ํากวา<br />

LD50 จะมีผลตอการเจริญเติบโต<br />

โชติ (2533) ไดรายงานวาแอมโมเนียที่ระดับความเขมขนต่ํากวา<br />

0.01 มิลลิกรัม/ลิตร ไมมี<br />

ผลตอการเจริญเติบโตของ penaeid และยังพบวาปริมาณแอมโมเนียที่มีผลทําใหอัตราการ<br />

เจริญเติบโต ลดลงรอยละ 50 ในกุง<br />

P. semisulcatus, P. japonicus, P. occidentalis, P. setiferus<br />

และ P. schmitti คือที่ระดับความเขมขน<br />

0.22, 0.37, 0.40, 0.59 และ 0.69 มิลลิกรัม/ลิตร<br />

ตามลําดับ<br />

Colt and Tchobanogblous (1976) สรุปวาทุก ๆ ความเขมขนของแอมโมเนียจะมีผลตอการ<br />

เจริญเติบโตซึ่งเปนผลมาจาก<br />

1) ลดความสามารถในการแลกเปลี่ยนกาซออกซิเจนเนื่องจากเหงือก<br />

ถูกทําลาย 2) ทําใหความตองการพลังงานเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากกระบวนการ<br />

Detoxification Pathway 3)<br />

รบกวนระบบความดัน Osmotic reguration และ 4) ทําความเสียหายทางกายภาพตอเนื้อเยื่อตาง<br />

ๆ<br />

แตนักวิชาการบางสวนชี้วาการที่เหงือกถูกทําลายระหวางทดลองนาจะมาจากสาเหตุ<br />

ของคลอรามีน<br />

(Chloramine) มากกวาแอมโมเนีย และการเจริญเติบโตที่ลดลงนั้นนาจะมาจากการที่แอมโมเนียลด<br />

ความสามารถในการตานทานเชื้อโรคของสัตวน้ําลดลง<br />

23

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!