30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

ผลของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม,อุณหภูมิ<br />

และ ความเปนพิษเฉียบพลันของแอมโมเนียในกุงกุลาดําวัยรุน<br />

Effect of Betaine on Stress Tolerance from Salinity,Temperature Change and<br />

Acute Ammonia Toxicity in Black Tiger Shrimp, Penaeus monodon (Fabricius)<br />

Juvenile<br />

โดย<br />

นายอดิษฐ ศุภไพบูลย<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา)<br />

พ.ศ. 2549<br />

ISBN 974-16-1628-7


กิตติกรรมประกาศ<br />

ขาพเจาขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร. อรพินท จินตสถาพร ประธานกรรมการที่<br />

ปรึกษา รองศาสตราจารย ดร. ประทักษ ตาบทิพยวรรณ รองศาสตราจารยสงศรี มหาสวัสดิ์<br />

รอง<br />

ศาสตราจารยบพิธ จารุพันธุ<br />

ผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย<br />

เปนอยางสูง ที่กรุณาใหคําปรึกษา<br />

แนะนํา และ<br />

รวมแกไขวิทยานิพนธฉบับนี้ใหสมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอขอบคุณ คุณสุทิน สุขสมบูรณ คุณจริยา สนิทชน คุณมิถิลา ปรานศิลป<br />

คุณเกษฏา มณีรอด พี่<br />

ๆ นอง ๆ ในหองปฏิบัติการคุณภาพน้ํา<br />

และอาหาร ที่ชวยเหลือในการวิจัยเปน<br />

อยางดี<br />

สุดทายขอขอบคุณพอ พี่สาวทั้งสอง<br />

ที่ใหกําลังใจชวยเหลืออยูตลอดเวลาในการศึกษาครั้งนี้<br />

อดิษฐ ศุภไพบูลย<br />

พฤษภาคม 2549


สารบาญ<br />

หนา<br />

สารบาญ (1)<br />

สารบาญตาราง (2)<br />

สารบาญภาพ (6)<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค 3<br />

ตรวจเอกสาร 4<br />

กุงกุลาดํา<br />

4<br />

เบทาอีน (Betaine) 7<br />

ความเครียด 14<br />

ระบบ osmoreguration 18<br />

พิษของแอมโมเนียตอสัตวน้ํา<br />

22<br />

อัตราการใชออกซิเจน 24<br />

ภาวะเครียดจากออกซิเดชัน (oxidative stress) 26<br />

ความสําคัญของอนุมูลอิสระในรางกาย 27<br />

แคทาเลส (Catalase) 28<br />

อุปกรณและวิธีการ 31<br />

อุปกรณ 31<br />

วิธีการ 31<br />

ผลและวิจารณ 45<br />

สรุป 89<br />

ขอเสนอแนะ 91<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

92<br />

ภาคผนวก 105<br />

(1)


สารบาญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 การเปรียบเทียบพารามิเตอรทางสรีรวิทยา ที่อธิบายระบบ<br />

สมดุลของแรงดัน (osmotic) และ สมดุลไอออน (ionic balance)<br />

ในปลาแอตแลนติกซัลมอน ชินุกซัลมอน และเรนโบเทราที่ไดรับ<br />

เบทาอีนปริมาณ 1-1.5% เปนเวลา 6-8 สัปดาหกอนการเคลื่อน<br />

ยายไปในน้ําทะเล<br />

12<br />

2 ความเขมขนของไอออนตาง ๆ ในสายละลายภายนอกเซลล<br />

(Extracellular fluid) ที่พบในสัตวทะเลที่ไมมีกระดูกสันหลัง<br />

และใน Myxine 20<br />

3 สวนประกอบอาหารกุงกุลาดําที่ใชเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ 33<br />

4 ผลวิเคราะหอาหารกุงกุลาดําทดลอง<br />

3 สูตร ที่ระดับการใชเบทาอีนตาง<br />

ๆ 34<br />

5 แผนการวิจัย (Timetable) 43<br />

6 การเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีน<br />

ที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 46<br />

7 การเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุงกุลาดําหลังจากหยุดอาหารผสมเบทาอีน<br />

เปนระยะเวลา 15 วัน ในการเลี้ยง<br />

(คาเฉลี่ย+<br />

SD) 49<br />

8 อาหารที่ใหและประสิทธิภาพของอาหาร<br />

ในกุงกุลาดําที่ไดรับอาหาร<br />

ที่มีสวนผสมของเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 52<br />

9 อาหารที่ใหและประสิทธิภาพของอาหาร<br />

ในกุงกุลาดําหลังจากหยุดอาหาร<br />

ผสมเบทาอีนเปนเวลา 15 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 55<br />

10 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน<br />

40 พีพีที อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับ<br />

ตาง ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 58<br />

11 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีที<br />

เปน 40 พีพีที อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดํา<br />

หลังจากเปลี่ยนอาหารเปน<br />

ไมมีสวนผสมของเบทาอีน เปนเวลา 15 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 61<br />

(2)


สารบาญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

12 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีที<br />

เปน 0 พีพีที อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ<br />

(คาเฉลี่ย+<br />

SD) 63<br />

13 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีที<br />

เปน 0 พีพีที อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดํา<br />

หลังจากเปลี่ยน<br />

อาหารเปนไมมีสวนผสมของเบทาอีน เปนเวลา 15 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 67<br />

14 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติ<br />

เปน 35 องศาเซสเซียส อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับ<br />

เบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 69<br />

15 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติ<br />

เปน 35 องศาเซสเซียส อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําหลังจาก<br />

เปลี่ยนอาหารเปนไมมีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปนเวลา 15 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 72<br />

16 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติ<br />

เปน 15 องศาเซสเซียส อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับ<br />

เบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 74<br />

17 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติ<br />

เปน 15 องศาเซสเซียส อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําหลังจาก<br />

เปลี่ยนอาหารเปนไมมีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปนเวลา 15 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 77<br />

18 ปริมาณเอนไซมแคทาเลสหลังจากไดรับการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

45 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 79<br />

19 ปริมาณเอนไซมแคทาเลสหลังจากไดรับการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน ที่<br />

ระยะเวลา 60 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD) 80<br />

(3)


สารบาญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

20 อัตราการตายของกุ งกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ในการ<br />

ทดลองหาคา LC50 ของสารแอมโมเนีย ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

(10 ตัว/ซ้ํา)<br />

82<br />

21 คา LC50 และคาฟงคชั่นความลาดเอียง<br />

(Slope function) ที่ระดับ<br />

ความเชื่อมั่น<br />

95% ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

ของสารแอมโมเนีย<br />

สําหรับกุ งกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ 87<br />

22 อัตราการใชออกซิเจนเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

ของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน ที่ระยะเวลา<br />

45 วัน<br />

(คาเฉลี่ย+<br />

SD) 88<br />

23 ระดับออกซิเจนเริ่มตน<br />

และสิ้นสุดเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

45 วัน 88<br />

(4)


สารบาญตาราง (ตอ)<br />

ตารางผนวกที่<br />

หนา<br />

1 อัตราการตายของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ<br />

ในการทดลองหาคา LC50 ของสารแอมโมเนีย ภายในระยะ<br />

เวลา 24 ชั่วโมง<br />

106<br />

2 การคํานวณหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

0% 108<br />

3 การคํานวณหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

0.75% 110<br />

4 การคํานวณหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

1.5% 113<br />

5 คุณภาพน้ําในชุดไมเสริมเบทาอีน<br />

ที่ระยะทุก<br />

ๆ 2 สัปดาหในการเลี้ยง<br />

115<br />

6 คุณภาพน้ําในชุดเสริมเบทาอีน<br />

0.75% ที่ระยะทุก<br />

ๆ 2 สัปดาหในการเลี้ยง<br />

115<br />

7 คุณภาพน้ําในชุดเสริมเบทาอีน<br />

1.5% ที่ระยะทุก<br />

ๆ 2 สัปดาหในการเลี้ยง<br />

115<br />

(5)


สารบาญภาพ<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

1 สูตรโครงสรางทางเคมีของเบทาอีน (Betaine) 7<br />

2 วัฎจักรของโฮโมซีสทีนที่มีเบทาอีนเกี่ยวของ<br />

9<br />

3 เมื่อเกิดสภาวะไฮเปอรออสโมติก<br />

(hyperosmotic stress) น้ํา<br />

จะแพรออกจากเซลลทําใหสารละลายภายในเซลลมีความเขมขน<br />

สูงขึ้นทําใหเอนไซมไมทํางาน<br />

เมื่อมีเบทาอีนจะชวยรักษาสมดุลไว<br />

จะเก็บน้ําไวและขับเกลือออกจากเซลล<br />

10<br />

4 เบทาอีนจะชวยปองกัน ฟงกชันการทํางานของเอนไซม ในสภาวะ<br />

ที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

และความเค็มซึ่งจะทําใหโครงสราง<br />

ของเอนไซมเปลี่ยนไปสงผลไมทํางาน<br />

โดยเบทาอีนจะปองกัน<br />

เอนไซมจากการเปลี่ยนแปลงโครงสราง<br />

และเก็บไวในรูปที่ทํางานได<br />

11<br />

5 ความสัมพันธของเมตาบอลิซึมระหวางโคลีน เบทาอีนและเมไธโอนีน 14<br />

6 แสดงการดูดซึมโซเดียมและการขับถายแอมโมเนียบริเวณเหงือกสัตว<br />

ประเภท Crustacean 24<br />

7 อัตราการเจริญเติบโตของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ 50<br />

8 อัตรารอดเมื่อสิ้นสุดการเลี้ยงของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสม<br />

เบทาอีนระดับตาง ๆ 50<br />

9 อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อเมื่อสิ้นสุดการเลี้ยงของกุงกุลาดํา<br />

ที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ 56<br />

10 ความสัมพันธระหวางอัตราการตายสะสมและความเขนขนของแอมโมเนีย<br />

ในชุดไมเสริมเบทาอีน ที่ใชในการประเมินคา<br />

24 hr-LC50 ของกุงที่<br />

ระยะเวลา 45 วัน 83<br />

11 ความสัมพันธระหวางอัตราการตายสะสมและความเขนขนของแอมโมเนีย<br />

ในชุดเสริมเบทาอีน 0.75% ที่ใชในการประเมินคาา<br />

24 hr-LC50 ของกุงที่<br />

ระยะเวลา 45 วัน 84<br />

12 ความสัมพันธระหวางอัตราการตายสะสมและความเขนขนของแอมโมเนีย<br />

ในชุดเสริมเบทาอีน 1.5% ที่ใชในการประเมินคาา<br />

24 hr-LC50 ของกุงที่<br />

ระยะเวลา 45 วัน 85<br />

(6)


ผลของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม,อุณหภูมิ<br />

และ ความเปนพิษเฉียบพลันของแอมโมเนียในกุงกุลาดําวัยรุน<br />

Effect of Betaine on Stress Tolerance from Salinity,Temperature Change and<br />

Acute Ammonia Toxicity in Black Tiger Shrimp, Penaeus monodon (Fabricius)<br />

Juvenile<br />

คํานํา<br />

กุงกุลาดําจัดเปนสัตวนํ้าเศรษฐกิจที่สําคัญมากชนิดหนึ่ง<br />

เนื่องจากเปนสัตวนํ้าที่มีมูลคาสูง<br />

สามารถทํากําไรใหกับเกษตรกรอยางมากในระยะเวลาอันสั้น<br />

และยังเปนธุรกิจที่สามารถพัฒนาไป<br />

สูอุตสาหกรรมการสงออกที่ทํารายไดเขาสูประเทศเปนมูลคามหาศาล<br />

ดังนั้นการเลี้ยงกุงกุลาดําจึงได<br />

รับความสนใจและพัฒนาไปอยางรวดเร็ว แตในระบบการเลี้ยงแบบหนาแนน<br />

ในปจจุบันกอให<br />

เกิดปญหาตาง ๆ ตามมาหลายประการ เชน ปริมาณออกซิเจนในน้ําลดลง,ปริมาณของเสีย<br />

ที่เกิดจาก<br />

การขับถายมีมากทําใหเกิดกาซพิษตาง ๆ เชน แอมโมเนีย,ไฮโดรเจนซัลไฟด ปจจัยเหลานี้ลวนแต<br />

เปนสาเหตุที่ทําใหสัตวน้ํามีความเครียดซึ่งจะทําใหการเจริญเติบโตลดลง<br />

สุขภาพออนแอ อัตรารอด<br />

ต่ํา<br />

ซึ่งการแกไขอาจทําไดโดยเสริมสารตาง<br />

ๆ เชน วิตามินซี ที่มีผลไปยับยั้งการสรางสารสเตอรอยด<br />

ที่ทําใหเกิดความเครียด<br />

(Gower, 1984) หรือการเสริมสารอื่น<br />

ๆ เชน แอสตาแซนทิน กรดไขมัน<br />

โอเมกา 3,ซิลิเนียม และสารในกลุมเบตากลูแคนเปนตน<br />

นอกจากนี้<br />

สารในกลุมวิตามินอื่น<br />

ๆ เชน<br />

วิตามินอี วิตามินเอ และกรดอะมิโนบางชนิด ก็มีผลตอการลดความเครียด และกระตุนภูมิคุมกันโรค<br />

ซึ่งสงผลใหสัตวน้ํามีการเติบโตสูงขึ้น<br />

เบทาอีนเปนสารประกอบของกรดอะมิโนจากธรรมชาติ จึงไมเปนพิษ สามารถทนอุณหภูมิ<br />

ไดในระดับสูงที่มีคุณสมบัติทั้งในแงกลิ่นและรสชาติ<br />

อยูสามประการคือ<br />

1. เปนสารรักษาความ<br />

สมดุลของไอออนในรางกาย 2. เปนสารดึงดูดการกินอาหาร จึงชวยใหสัตวน้ํามากินอาหารมากขึ้น<br />

โดย พบในปลากลุมซัลโมนิด<br />

(Salmonids) (Marui et al., 1983) 3. เปนสารใหหมูเมธิลเบทาอีนโดย<br />

เปนสารที่ใหหมูเมธิลในปฏิกิริยาการกระตุนการทํางานของเอนไซมหลายชนิด<br />

จึงมีความจําเปนใน<br />

การสังเคราะหโปรตีนและการเผาผลาญพลังงาน (energy metabolism)<br />

1


การศึกษาในครั้งนี้จึงศึกษาคุณสมบัติของเบทาอีนในการรักษาความสมดุลไอออน<br />

ที่จะชวย<br />

ในความทนทานจากความเครียด ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

อีกทั้งยังมีการศึกษาผล<br />

ของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการปรับเปลี่ยนอุณหภูมิ<br />

และ ความเปนพิษเฉียบพลัน<br />

ของแอมโมเนีย<br />

2


วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาผลการเสริมเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ ในอาหารกุง<br />

ตอการลดความเครียดจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอม<br />

เชน อุณหภูมิและความเค็ม เมื่อประเมินจากอัตราการตาย<br />

และ<br />

ปริมาณเอนไซมแคทาเลส<br />

2. เพื่อศึกษาผลการเสริมเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ ในอาหารกุง<br />

ตอความทนทานความเครียด<br />

จากการเปลี่ยนแปลงความเค็มเมื่อประเมินจากความตองการออกซิเจนของกุงกุลาดําวัยรุน<br />

3. เพื่อศึกษาผลการเสริมเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ ในอาหารกุง<br />

ตอความเปนพิษเฉียบพลันของ<br />

แอมโมเนียที่<br />

24 ชั่วโมง<br />

(LC50) ในกุงกุลาดําวัยรุน<br />

3


ขอมูลโดยทั่วไป<br />

ตรวจเอกสาร<br />

กุงกุลาดํา<br />

กุงกุลาดํา<br />

(Penaeus monodon Fabricus) เปนสัตวน้ําที่นิยมเลี้ยงกันมากในแถบประเทศ<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต (Kungvankij et al., 1986) ดวยคุณลักษณะที่เปนกุงทะเลที่มีขนาดใหญ<br />

มี<br />

ความอดทนสูง สามารถปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมไดเร็ว<br />

สามารถทนอยู<br />

ไดในน้ําที่มีความเค็มในชวงกวาง<br />

(euryhaline species) ตั้งแต<br />

0.2-70 สวนในพัน (ppt) แตจะ<br />

เจริญเติบโตไดดีในชวงความเค็มระหวาง 10-20 ppt และยังทนตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในชวง<br />

ระหวาง 12-37.5 O C เปนสัตวที่ชอบกินอาหารตามพื้นกนบอกินอาหารไดทุกเวลา<br />

สามารถกิน<br />

อาหารไดทั้งพืชและสัตว<br />

ทนตอการลําเลียงขนสง (บรรจง, 2523) สามารถเลี้ยงไดในบอเลี้ยง<br />

โดยใช<br />

อาหารสําเร็จรูป ใชเวลาเลี้ยง<br />

4-5 เดือน ใหผลผลิตสูงถึง 500-1,000 กก./ไร เปนผลิตผลทาง<br />

การเกษตรที่มีความสําคัญ<br />

ใหผลตอบแทนตอหนวยการลงทุนสูงและมีศักยภาพ ทั้งทางดาน<br />

การตลาดและการผลิตสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับผลผลิตทางการเกษตรหลักอื<br />

่น ๆ เชน ขาว มัน<br />

สําปะหลังและยางพารา (ทวี, 2539)<br />

ลักษณะภายนอก<br />

กุงกุลาดําเปนสัตวไมมีกระดูกสันหลังที่มีลําตัวเปนปลอง<br />

แบงเปน 3 สวนใหญ ๆ ดังนี้สวน<br />

หัว (head) 5 ปลอง สวนอก (thorax) 8 ปลอง และสวนลําตัว (abdomen) 6 ปลอง รวมทั้งหมด<br />

19<br />

ปลอง สวนหัวและสวนอกเชื่อมรวมติดกันเรียกวา<br />

cephalothorax มีเปลือกคลุมหัวเกลี้ยง<br />

ไมมีขน<br />

เรียกวา carapace ซึ่งคลุมสวนของหัว–อก<br />

รวมทั้งบริเวณเหงือกทั<br />

้ง 2 ขาง สวนหนาของ carapace จะ<br />

ยื่นแหลมออกมาเรียกวากรี<br />

(rostrum) มีฟนกรีดานบน 7-8 ซี่<br />

ดานลาง 3 ซี่<br />

สันสวนหลังของกรี<br />

(postrostral ridge) ไมมีรองกลาง รองขางกรีทั้งสองดานมีลักษณะแคบและยาวไมถึงฟนกรีอัน<br />

สุดทาย ใตกรีลงมามีตาหนึ่งคู<br />

ปากกุ งอยูระหวางขากรรไกรบน–ลาง<br />

สวนลําตัวมีเปลือกคลุมแต<br />

ละปลองเรียงทับกันตามลําดับ เปลือกปลองทองอันที่สองไมทับปลองแรก<br />

(บรรจง, 2521; ประจวบ,<br />

2527; วัลลภ, 2532) ปลองทั้ง<br />

19 ปลองของกุงจะมีรยางคยื่นออกมาปลองละ<br />

1 คู<br />

รยางคแตละคูมี<br />

หนาที่แตกตางกันดังนี้<br />

4


2.1 รยางคสวนหัว (Cephalic appendages) มี 5 คู รยางคคูที่<br />

1-2 เปนรยางคกอนถึงปาก<br />

(preoral appendages) มีลักษณะเปนหนวดไมแยกเปน 2 แฉก ทําหนาที่รับความรูสึกในระยะวัยออน<br />

เรียกวา antennules และ antenna ตามลําดับ สวนรยางคคูที่<br />

3-5 เปนรยางคสวนปาก (oral<br />

appendages) มี 2 แฉก ทําหนาที่ชวยในการกินอาหาร<br />

โดยรยางคคูที่<br />

3 เปนขากรรไกรลาง เรียกวา<br />

mandible รยางคคูที่<br />

4 และ 5 เปนขากรรไกรบน เรียกวา maxillulae และ maxillae ตามลําดับ<br />

(บรรจง, 2521; ประจวบ, 2527)<br />

2.2 รยางคสวนอก (thoracic appendages) มี 8 คู<br />

รยางค 3 คูแรก<br />

(รยางคคูที่<br />

6-8) มี<br />

ลักษณะเฉพาะพิเศษ ทําหนาที่ชวยในการกินอาหารเรียกวา<br />

maxillipeds สวนรยางค 5 คูหลัง<br />

(รยางค<br />

คูที่9-13)<br />

เรียกวา pereiopods แบงเปน รยางคคูที่<br />

9-11 มีลักษณะเปนกาม (chelate) ทําหนาที่ชวยใน<br />

การจับอาหารเขาปากหรือปองกันตัวเมื่อมีภัย<br />

โดยกามแตละอันจะมีขนาดและความยาวเทากันซึ่ง<br />

เปนลักษณะเฉพาะของกุ งทะเลในวงศ Penaeidae และรยางคคูที่<br />

12-13 ทําหนาที่เปนขาชวยในการ<br />

เคลื่อนที่และทําความสะอาดลําตัว<br />

โดยรยางคคูที่<br />

13 จะไมมีแขนงดานนอกที่เรียกวา<br />

exopodite<br />

นอกจากนี้ยังมีรยางคที่มีลักษณะคลายเหงือกอีกอันหนึ่ง<br />

คือ epipodites หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา<br />

mastigobranchia เปนแขนงเล็ก ๆ ที่มีหนาที่ชวยทําความสะอาดเหงือก<br />

(บรรจง, 2521; ประจวบ,<br />

2527; วัลลภ, 2532)<br />

2.3 รยางคสวนลําตัว (abdominal appendages) มี 6 คู<br />

รยางคคูที่<br />

14-18 เปนรยางควายนํ้า<br />

(swimmerets) หรือเรียกวา pleopods สวนรยางคคูสุดทายเปลี่ยนสภาพไปเปนแพนหาง<br />

(uropod) มี<br />

ลักษณะเปนแผนแบนบางคลายใบพาย อยู สองขางของปลายหาง (telson) ทําหนาที่เหมือนหางเสือ<br />

ชวยในการเคลื่อนที่ไปตามทิศทางที่ตองการ<br />

(ประจวบ, 2527)<br />

กุงกุลาดําที่โตเต็มวัยขณะมีชีวิตลําตัวจะมีสีเขม<br />

(นํ้าตาลเขม)<br />

สวนของเปลือกคลุมหัวและ<br />

ลําตัวดานบนมีแถบสีนํ้าตาลออนพาดขวางสลับกับแถบสีนํ้าตาลเขมเกือบดําตลอดตัว<br />

ในกุ งวัยรุ นที่<br />

ยังไมโตเต็มที่อาจเปนสีฟาอมนํ้าเงิน<br />

หรือลายขวางตลอดลําตัว โดยลายพาดขวางตลอดตัวกุ งจะมี<br />

ประมาณ 9 ลาย ที่ขอบหางและขาวายนํ้ามีขนสีนํ้าตาลอมแดง<br />

โคนขาวายนํ้า<br />

มีแถบสีเหลืองเปน<br />

ปลอง ๆ ปลายขาเดินคู ที่<br />

1 และ 2 มีสีนํ้าตาลเขม<br />

(สุวิทย, 2531; วัลลภ, 2532; ประจวบ, 2543)<br />

5


วงจรชีวิต<br />

กุงทะเลมีวัยเจริญพันธุ<br />

(mature) เมื่ออายุประมาณ<br />

18-24 เดือน โดยวางไขบริเวณใกลกับ<br />

พื้นดินในทะเลที่มีระดับน้ําลึก<br />

เมื่อไขไดรับการผสมและฟกออกเปนตัว<br />

กระแสน้ําและคลื่นเปนตัว<br />

พัดพาเอาลูกกุงวัยออนเขาสูชายฝงบริเวณปาชายเลน<br />

ปากแมน้ํา<br />

เกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปราง<br />

จนกลายเปนลูกกุงกุลาดําตัวเล็ก<br />

ๆ ดํารงชีวิตโดยการกินแพลงกตอนขนาดเล็ก เมื่อมีการเจริญเติบโต<br />

จนมีขนาดใหญ และมีอายุมากขึ้นจนเปนกุงวัยรุน<br />

(juvenile) จะอพยพออกสูทะเลลึกพรอมกับการ<br />

เจริญเติบโตเปนกุงวัยเจริญพันธุ<br />

และผสมพันธุวางไขตอไป<br />

ชวงอายุ (life span) ของกุงกุลาดํา<br />

พบวา<br />

เพศเมียมีอายุประมาณ 2 ป และเพศผูประมาณ<br />

1.5 ป (Motoh, 1984)<br />

พฤติกรรมการกินอาหาร<br />

นิสัยการกินอาหารของกุงมีดังนี้<br />

คือ<br />

1. กุงกุลาดํากินอาหารทุกอยางแตชอบเนื้อสัตว<br />

(มะลิ , 2531) ชอบอาหารที่มีกลิ่นคาวมาก<br />

โดยเฉพาะอาหารสด เชน หอย ปลา ปลาหมึก (วีรพงศ , 2531) เพราะกุงรับความรูสึกและหาอาหาร<br />

โดยมีประสาทรับความรูสึกทางกลิ่นหนวด<br />

บริเวณปาก ที่ขาเดิน<br />

ที่หัว<br />

เหงือก ลําตัวและแพนหาง<br />

ดังนั้นอาหารกุงจึงจําเปนตองมีสารดึงดูดใหกุงเขาหาอาหารเปนกลุ<br />

มของกรดอะมิโน เชน ไกลซีน<br />

(glycine) , กลูตาเมท (glutamate) และ เบทาอีน (betaine) แทนที่จะเปนกรดไขมันเหมือนในอาหาร<br />

ปลา (มะลิ, 2531)<br />

2. ลักษณะการจับกินอาหารของกุงกุลาดําจะใชขาเดินคูที่<br />

1 และ 2 ในการจับอาหารแลวถือ<br />

แทะ ฉะนั้นอาหารจึงควรมีลักษณะเล็กและยาว<br />

และไมแตกตัวงายเมื่อจับถือ<br />

3. หลังกุงคว่ําตัวและมีสภาพเหมือนพอแมแลวจะกินอาหารสวนใหญบริเวณหนาผิวดิน<br />

ฉะนั้นอาหารจะตองจมน้ําไดเร็ว<br />

4. กินอาหารเวลากลางคืน เพราะในธรรมชาติกุงกุลาดําจะหากินในเวลากลางคืนแตผูเลี้ยง<br />

สามารถฝกใหกุงกินอาหารเวลากลางวันได<br />

มักจะฝกใหกุงกินอาหารวันละ<br />

3-4 มื้อ<br />

เพื่อใหผลผลิต<br />

สูงสุด (วีรพงศ, 2531)<br />

6


5. กุงไมใชสัตวสังคม<br />

จะอยูแยกกัน<br />

กินแยกกัน และมีลักษณะยึดครอง ดังนั้น<br />

การให<br />

อาหารจึงตองหวานใหทั่วบอ<br />

กุงทุกตัวที่กระจายอยูกนบอจะไดมีโอกาสกินอาหารเทากัน<br />

6. มีลําไสตรงและสั้น<br />

ดังนั้นวัตถุดิบอาหารที่ใชเลี้ยงกุงควรจะบดใหละเอียดเพื่อชวยให<br />

ยอยไดงายขึ้น<br />

2531)<br />

7. จะกินอาหารมากหลังลอกคราบเสร็จใหม ๆ และไมกินอาหารขณะลอกคราบ (มะลิ,<br />

เบทาอีน (Betaine)<br />

เบทาอีน (betaine) มีชื่อทางเคมีวาไตรเมธิลไกลซีน<br />

(trimethylglycine) เปนสารประกอบ<br />

ของหมูเมธิลรวมกับกรดอะมิโนไกลซีน<br />

(amino acid glycine) มีความจําเปนในปฏิกิริยาชีวเคมีของ<br />

เมไธโอนีน (methionine) และ โฮโมซีสทีน (homocysteine) เนื่องจากมีคุณสมบัติเปนผูใหหมูเมธิล<br />

(CH3) (methyl donor) เชน ลดระดับ โฮโมซีสทีน (homocysteine) ในพลาสมา และชวยการการ<br />

ทํางานของตับที่เกี่ยวของกับไขมันใหดีขึ้น<br />

อีกทั้งยังชวยรักษาความสมดุลภายในเซลล<br />

(osmoprotectant) และปองกันโปรตีนถูกทําลาย (Schwahn et al., 2003)<br />

ภาพที่<br />

1 สูตรโครงสรางทางเคมีของเบทาอีน (Betaine)<br />

7


แหลงที่มา<br />

เบทาอีนมีแหลงกําเนิดมาจากผักบีท ที่นําไปใชในกระบวนการผลิตน้ําตาลในโรงงาน<br />

โดย<br />

บีทจะถูกลางและหั่นบาง<br />

ๆ และนําไปสกัดดวยน้ํา<br />

สารละลายตาง ๆ ที่ละลายออกมาจากบีทในน้ําจะ<br />

ถูกเรียกวา crude juice ซึ่งจะถูกนําไปทําใหบริสุทธิ์โดยการเติมปูนและ<br />

คารบอนไดออกไซด ใน<br />

กระบวนการ carbonation process โดยจะทําใหบริสุทธิ์จนเหลือ<br />

juice เพียงเล็กนอยเปน syrup ที่<br />

เหนียว และ น้ําตาลที่จะตกตะกอนออกมา<br />

และทายที่สุดก็จะไมมีน้ําตาลตกตะกอนออกมาจาก<br />

syrup ซึ่งก็จะได<br />

molass โดย molass นี้ก็ยังคงประกอบไปดวยน้ําตาลประมาณ<br />

50% และเปนตน<br />

กําเนิดของเบทาอีน<br />

molass จะถูกนําไปแยกตอโดยกระบวนการ chromatographic separation process เพื่อใหได<br />

น้ําตาลและเบทาอีนตอไป<br />

คุณสมบัติของเบทาอีน<br />

เปนสารประกอบธรรมชาติ ไมเปนพิษ สามารถทนความรอนไดถึง 200 องศาเซลเซียส<br />

แหลงที่พบเบทาอีน<br />

(Betaine) เชน บีท ตับ ไข ปลา ถั่วตาง<br />

ๆ และธัญพืช เปนตน และยังพบ<br />

ปริมาณสูงในสัตวไมมีกระดูกสันหลังในทะเลซึ่งเปนอาหารของปลา<br />

(Meyers, 1987)<br />

ชีวเคมีของเบทาอีน<br />

เบทาอีนถูกสรางขึ้นในรางกายโดยขบวนการออกซิเดชั่นของโคลีน(oxidation<br />

of chlorine)<br />

ไตรเมธิลเลท (trimethylated) และสารประกอบที่ใหหมูเมธิล<br />

เบทาอีนจะมีการใหหมูเมธิลอยาง<br />

จํากัดเพียงหนึ่งปฏิกิริยาชีวเคมีเทานั้นของการเปลี่ยนโฮโมซีสทีนไปเปนมไธโอนีน<br />

หลังจากที่มี<br />

การใหหมูเมธิลแลว<br />

เบทาอีนจะเปลี่ยนไปเปนไดเมธิลไกลซีน<br />

(dimethylglycine : DMG) ใน<br />

วัฎจักรเมไธโอนีน-โฮโมซีสทีน ซัลเฟอรที่อยูในโครงสรางโมเลกุลของกรดอะมิโนเมไธโอนีนจะ<br />

ถูกเปลี่ยน<br />

เปนเอส-อะดีโนซิลเมไธโอนีน (S-adenosylmethionine : SAMe) การใหเมธิลครั้งแรก<br />

สําหรับปฏิกิริยาทางชีวเคมีจะเกิดขึ้นที่ตับและถูกสงมาที่เนื้อเยื่อ<br />

การสูญเสียหมูเมธิล<br />

เอส-อะดีโน<br />

ซิลเมไธโอนีน (adenosylmethionine : SAMe) จะถูกเปลี่ยนไปเปน<br />

เอส-อะดีโนซิลโฮโมซิสทีน (Sadenosylhomocysteine)<br />

และสูญเสีย อะดีโนซีน (adenosine) แลวจะถูกเปลี่ยนเปนโฮโมซีสทีน<br />

8


(homocysteine) หลังจากนั้นจะถูกเมตาบอไลซไปเปนกรดอะมิโนซีสทีน<br />

(cysteine) และ ทอรีน<br />

(taurine) ซึ่งเปน<br />

trans-sulfuration หรือเปลี่ยนกลับมาเปนเมไธโอนีนจากการรับหมูเมธิล<br />

ใน<br />

ปฏิกิริยาเมธิลเลชัน (methylation) การเพิ่มหมูเมธิลในโฮโมซิสทีนมีสองทาง<br />

(pathway) คือ การ<br />

ใหหมูเมธิลของวิตามินบี<br />

12 (methylmocabalamin) ซึ่งเปนโคเอนไซม<br />

(coenzyme) ในปฏิกิริยาของ<br />

เอนไซมที่สังเคราะหเมไธโอนีน<br />

หรืออีกทางหนึ่งคือการใหหมูเมธิลของเบทาอีนแกโฮโมซีสทีน<br />

โดย เอนไซมเบทาอีน-โฮโมซิสทีน เมธิลทรานซเฟอเรส (betaine-homocysteine methyltransferase :<br />

BHMT) ดังภาพที่<br />

2 (Miller, 2003 )<br />

THF<br />

5MTHF<br />

Involvement of Betaine in Homocysteine Recycling<br />

Methyl B12<br />

B12<br />

TFM - tetrahydrofolate<br />

5MTHF - 5-methyl tetrahydrofolate<br />

MS - methionine synthase<br />

SAMe - S-adenosylmethionine<br />

BHMT - betaine-homocysteine methyltransferase<br />

ภาพที่<br />

2 วัฎจักรของโฮโมซีสทีนที่มีเบทาอีนเกี่ยวของ<br />

ที่มา<br />

: Miller (2003)<br />

Homocysteine<br />

MS Betaine/BHMT SAMe<br />

Methionine<br />

เบทาอีนสามารถถูกดูดซึมและแพรกระจายไดดีในรางกาย พบความเขมขนที่ระดับสูงสุด<br />

ไมเกินหนึ่งชั่วโมง<br />

การศึกษาถึงความสามารถในการขับเบทาอีนออกจากรางกายของผูชายจํานวน<br />

12 คน ที่ไดรับเบทาอีนโดยตรง<br />

พบวาครึ่งหนึ่งของความเขมขนที่ไดรับจะถูกขับออกประมาณ<br />

14<br />

ชั่วโมง<br />

และจะเพิ่มขึ้นเปน<br />

41 ชั่วโมงหลังจากที่มีการไดรับซ้ําอีก<br />

5 วัน ความเขมขน ไดเมธิล<br />

ไกลซีน (dimethylglycine : DMG) ในพลาสมาจะเพิ่มขึ้นดวยหลังจากไดรับเบทาอีน<br />

มีเพียง 4 %<br />

ของ<br />

9


เบทาอีนเทานั้นที่จะถูกขับออกทางไต<br />

เนื่องจากจะเปลี่ยนเปนสารประกอบอื่น<br />

ในขบวนการเมตา<br />

บอลิซึมในรางกาย (Schwahn et al., 2003)<br />

กลไกการเกิดปฏิกิริยาของการใหหมูเมธิลของเบทาอีนพบเพียง<br />

การใหโฮโมซีสทีนเทานั้น<br />

โดยเอนไซมเบทาอีนโฮโมซิสทีนเมธิลทรานซเฟอเรส (betaine-homocysteine methyltransferase :<br />

BHMT) จะไมพบในขบวนการหมูเมธิลในปฏิกิริยาอื่น<br />

(methylation)<br />

ความสําคัญของเบทาอีน (Betaine)<br />

1. ชวยรักษาสมดุลในรางกาย (Osmoprotectant)<br />

เบทาอีนที่พบในพืช<br />

จุลินทรีย และสัตวบางชนิดนั้นมีประโยชนที่จะชวยใหเซลล<br />

สามารถในการรักษาสมดุลได ในกรณีที่สิ่งแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงเชน<br />

เกิดความแหงแลง มี<br />

ความเค็มสูง จะทําใหเกิดการสังเคราะหเบทาอีนในไมโตคอนเดรีย แลวนําไปสะสมที่ในเซลล<br />

เบทาอีนจะชวยรักษาความสมดุลนั้นไว<br />

โดยจะเก็บรักษาน้ําในเซลลมากขึ้นและขับเกลือออกจาก<br />

เซลลดังภาพที่<br />

3 เมื่ออุณหภูมิหรือความเค็มเปลี่ยนไปชวยทําใหเอนไซมภายในเซลลยังคงทํางาน<br />

ไดปกติดังภาพที่<br />

4 (Yancey et al., 1982) ซึ่งจะคลายกับการทํางานของเบทาอีนในไตของสัตว<br />

ชั้นสูง<br />

Drought<br />

High<br />

salinity/osmolality<br />

Water<br />

Increased salt levels<br />

Metabolic rate reduced<br />

Water Betaine<br />

Metabolic rate normal<br />

ภาพที่<br />

3 เมื่อเกิดสภาวะไฮเปอรออสโมติก<br />

(hyperosmotic stress) น้ําจะแพรออกจากเซลลทําให<br />

สารละลายภายในเซลลมีความเขมขนสูงขึ้น<br />

ทําใหเอนไซมไมทํางาน เมื่อมีเบทาอีนจะ<br />

ชวยรักษาสมดุลไว จะเก็บน้ําไวและขับเกลือออกจากเซลล<br />

Salts<br />

10


Temperature<br />

Active enzyme<br />

Betaine protected Unprotected<br />

Active enzyme<br />

(Inactive enzyme)<br />

ภาพที่<br />

4 เบทาอีนจะชวยปองกัน ฟงกชันการทํางานของเอนไซม ในสภาวะที่มีการเปลี่ยน<br />

แปลงอุณหภูมิ และความเค็มซึ่งจะทําใหโครงสรางของเอนไซมเปลี่ยนไปสงผล<br />

ไมทํางาน โดยเบทาอีนจะปองกันเอนไซมจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและเก็บ<br />

ไวในรูปที่ทํางานได<br />

ในสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กหลายชนิด<br />

สามารถเพิ่มอัตราการสังเคราะหเบทาอีนได<br />

เมื่อมี<br />

ความเครียดจากการปรับสมดุล (osmotic stress) ซึ่งโดยสวนมากจะสามารถสังเคราะหไดอยาง<br />

พอเพียง หรือ อาจตองใชบางสวนจากภายนอก เพื่อเปนการรักษาสมดุล<br />

ตัวอยางเชน ในการแยกไม<br />

โทคอนเดรียจากตับในปลาแซลมอนในขณะที่มีความเครียดจากการปรับสมดุล<br />

(osmotic stress) จะ<br />

มีการลดการสรางเบทาอีนลง ในขณะที่การดูดซึมของเบทาอีนในไมโทคอนเดรียจะถูกกระตุนอยาง<br />

รุนแรง และความเครียดที่เกิดจากการปรับสมดุล<br />

ในไมโทคอนเดรียจะแสดงใหเห็นวามีผลกระตุน<br />

กิจกรรมการหายใจ(respiratory activity) นอย<br />

ปลาไดที่รับเบทาอีนจากการเสริมในอาหารซึ่งจะถูกเก็บสะสมไวในเนื้อเยื่อ<br />

เมื่อเกิด<br />

สภาวะของสิ่งแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงไป<br />

จะชวยรักษาความสมดุลของไอออนภายในเซลล<br />

และอัตราเมตาบอลิซึมใหเปนปกติ เชน ในปลาซัลมอนที่มีการอพยพจากน้ําจืดไปยังทะเล<br />

ดัง<br />

ตารางที่<br />

1<br />

Salts<br />

11


ตารางที่<br />

1 การเปรียบเทียบพารามิเตอรทางสรีรวิทยา ที่อธิบายระบบสมดุลของแรงดัน<br />

(osmotic)<br />

และ สมดุลไอออน (ionic balance) ในปลาแอตแลนติกซัลมอน ,ชินุกซัลมอน และเรน<br />

โบเทราที่ไดรับเบทาอีนปริมาณ<br />

1-1.5% เปนเวลา 6-8 สัปดาหกอนการเคลื่อนยายไปใน<br />

น้ําทะเล<br />

ชนิด ระยะเวลา พารามิเตอร เปรียบเทียบปริมาณ<br />

ที่อยูใน<br />

ไอออน<br />

ทะเล ไมมีเบทาอีน มีเบทาอีน<br />

แอตแลนติกซัลมอน 2 Na<br />

แอตแลนติกซัลมอน 2<br />

แอตแลนติกซัลมอน 2<br />

แอตแลนติกซัลมอน 60<br />

แอตแลนติกซัลมอน 1<br />

แอตแลนติกซัลมอน 8<br />

เรนโบเทราห<br />

1<br />

+ ในพลาสมา<br />

(มิลลิโมล/ลิตร)<br />

Mg 2+ ในพลาสมา<br />

(มิลลิโมล/ลิตร)<br />

น้ําในกลามเนื้อ<br />

(%)<br />

Na-K-ATPase ใน<br />

เหงือก<br />

(umol P/mg pro/h)<br />

K + ในพลาสมา<br />

(มิลลิโมล/ลิตร)<br />

K + ในพลาสมา<br />

(มิลลิโมล/ลิตร)<br />

K + /Na + 182.4**<br />

3.19**<br />

72.5***<br />

4.21***<br />

149.5**<br />

156.9<br />

ใน<br />

กลามเนื้อ<br />

ns<br />

163.1**<br />

1.40**<br />

75.4***<br />

6.68***<br />

137.8**<br />

149.9<br />

10.7**<br />

ns<br />

8.5**<br />

หมายเหตุ เครื่องหมาย<br />

* แสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

อางอิง<br />

12<br />

(Virtamen<br />

et al., 1989)<br />

(Virtamen<br />

et al., 1989)<br />

(Virtamen<br />

et al., 1989)<br />

(Virtamen<br />

et al., 1989)<br />

(Virtamen<br />

et al., 1992)<br />

(Virtamen<br />

et al., 1992)<br />

(Virtamen<br />

et al., 1994)


2. ชวยดึงดูดการกิน (attractant)<br />

เนื่องจากเบทาอีนมีคุณสมบัติในการละลายน้ําไดดี<br />

จึงชวยในการดึงดูดใหสัตวน้ํามา<br />

กินอาหารทั้งในแงกลิ่นและรสชาติ<br />

เชน พบในปลากลุมซัลโมนิด<br />

(Salmonids) (Marui et al., 1983)<br />

, ซีบรีม (Sea bream) (Goh and Tamura, 1980), โดเวอรโซล (Dover sole) (Mackie et al., 1980;<br />

Mackie and Mitchell, 1982),ปลาไหล(eel) (Mackie and Mitchell, 1983) และกุง<br />

(Carr, 1978)<br />

การเสริมเบทาอีนเปนแหลงของ chemoattractant ชวยเพิ่มน้ําหนักของกุงระยะวัยออน<br />

Penaeus monodon (Penaflorida and Virtanen, 1996) และ P. indicus อยางมีนัยสําคัญ (Jasmine et<br />

al., 1993; Elamparithy, 1995)<br />

มีรายงานวาการเสริมเบทาอีนรวมกับกรดอะมิโนมีประสิทธิภาพเสริมกัน (synesgistic)<br />

ในปลาหลาย ๆ ชนิด Carr (1978); Goh and Tamura (1980) พบวาการใชเบทาอีนรวมกับกรดอะมิ<br />

โนมีผลในการเปนตัวดึงดูด (attractant) มากกวาการใชเพียงอยางใดอยางหนึ่ง<br />

Mackie et al. (1980)<br />

พบวาการใชเบทาอีนที่ผสมในอาหารเมื่อใหอาหาร<br />

Dover sole จะเปนสาเหตุใหมีการตอบสนองตอ<br />

การใหอาหารลดลงเมื่อเทียบกับกลุมควบคุมที่ไมผสมเบทาอีน<br />

อยางไรก็ตามการใชเบทาอีนรวมกัน<br />

กรดอะมิโนหลาย ๆ ชนิดจะมีผลเปนตัวกระตุนการกินมากกวา<br />

การใชกรดอะมิโนเพียงอยางเดียว<br />

3. เปนผูใหหมูเมธิล<br />

(methyl donor)<br />

เบทาอีนเปนผูใหหมูเมธิลในปฏิกิริยาการกระตุนการทํางานของเอนไซมหลายชนิด<br />

ซึ่ง<br />

มีความจําเปนในการสังเคราะหโปรตีนและการเผาผลาญพลังงาน (energy metabolism) การ<br />

สังเคราะหเมไธโอนีนจากโฮโมซีสทีน การสังเคราะหคารนิทีน (carnitine) ครีเอทีน (creatine) และ<br />

ฟอสฟาติดิลโคลีน (phosphatidylcholine)<br />

เบทาอีนสามารถถูกสังเคราะหโดยปฏิกิริยาออกซิเดชันของโคลีนในไมโตคอนเดรีย<br />

แตประสิทธิภาพของการเปลี่ยนแปลงจากโคลีนมาเปนเบทาอีน<br />

มักพบวาไมเพียงพอตอการนํามา<br />

ทําหนาที่เปนผูใหหมูเมธิล<br />

(methyl donor) (Stekol et al., 1953) หรือการรักษาความสมดุลของ<br />

13


ไอออนในเซลล ความสัมพันธระหวางโคลีน เบทาอีน และเมไธโอนีน แสดงดังภาพที่<br />

5 เชน<br />

พบวาเบทาอีนสามารถทดแทนความตองการของโคลีนและเมไธโอนีนบางสวนในปลาเทรา (trout)<br />

และไก (chicks) (Rumsey, 1991; Virtanen and Rosi, 1995) คุณสมบัติที่เปนผูใหหมูเมธิล<br />

(methyl<br />

donor) จะมีผลตอประสิทธิภาพ lipotrope ชวยลดไขมันของซากสัตวหลายชนิด เชน สุกร<br />

(Virtanen and Campbell, 1994) ,ไก (Saunderson and McKinley, 1989)<br />

Acetylcholine<br />

Choline<br />

Mitochondrion<br />

S-adenosyl-homocysteine<br />

Phosphatidyl choline<br />

Phosphatidyl serine<br />

CH 3<br />

Choline Betaine Betaine<br />

S-adenosyl-methionine -<br />

ภาพที่<br />

5 ความสัมพันธของเมตาบอลิซึมระหวางโคลีน เบทาอีนและเมไธโอนีน<br />

ความเครียด<br />

Homocysteine<br />

Proteinis<br />

Methionine<br />

ความเครียด หมายถึง การที่สัตวตอบสนองตอสิ่งกระตุน<br />

(stimulus) แลวมีปฏิกิริยาตอบโต<br />

ตอสิ่งกระตุนนั้น<br />

จึงทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาวะสมดุลของรางกาย<br />

(homeostasis) (Pickering,<br />

1981) ซึ่งสัตวจะมีการตอบสนองทั้งทางกายภาพ<br />

และทางสรีรวิทยาตอสภาวะการเกิดความเครียด<br />

โดยการหลั่งฮอรโมน<br />

catecholamine และ corticosteroid ซึ่งจะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

metabolic rate ของ รางกาย เชน ระดับกลูโคส และกรดไขมันในเลือดสูงขึ้น<br />

สมดุลยแรธาตุและ<br />

เกลือแรในรางกายเปลี่ยนแปลงไป<br />

นอกจากนี้ยังมีผลทําใหเกิดการกดระบบภูมิคุมกัน<br />

CH 3<br />

14


(immunosupression) ของรางกาย ซึ่งทําใหสัตวน้ําออนแอ<br />

มีภูมิตานทานโรคต่ํา<br />

เกิดการติดเชื้อได<br />

งายรวมถึงทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตาง<br />

ๆ อีกดวย<br />

Selye (1973) อธิบายทฤษฎีการตอบสนองตอความเครียดของสิ่งมีชีวิตที่เรียกวา<br />

General<br />

Adaptation Syndrome (GAS) โดยแบงออกเปน 3 ขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

ขั้นตอนที่<br />

1 เปนการตอบสนองโดยการหลั่งฮอรโมนที่กอใหเกิดความเครียด<br />

คือ<br />

catecholamine และ corticosteroid<br />

ขั้นตอนที่<br />

2 เปนขั้นตอนการปรับตัว<br />

เพื่อตอตานความเครียดที่เกิดขึ้น<br />

ขั้นตอนที่<br />

3 เปนขั้นตอนสุดทายของการปรับตัว<br />

ถาหากสัตวน้ําสามารถปรับตัวไดก็จะ<br />

กลับคืนสูสภาพปกติ<br />

แตถาหากปรับตัวไมไดอาจทําใหรางกายเกิดความผิดปกติ และอาจตายไดใน<br />

ที่สุด<br />

Mazeaud et al. (1977) แบงขั้นตอนการตอบสนองตอความเครียดของสัตวน้ําได<br />

3 ขั้นตอน<br />

ไดแก<br />

1. Primary effect เปนการเปลี่ยนแปลงระดับฮอรโมนในรางกาย<br />

เมื่อรางกายไดรับสิ่ง<br />

กระตุนที่กอใหเกิดความเครียด<br />

รางกายจะมีการตอบสนอง โดยการหลั่งสาร<br />

catecholamine และ<br />

corticosteroid ในพลาสมา รวมถึงปริมาณของ adrenaline และ noradenaline หลังจากนั้น<br />

2-3 นาที<br />

จะกิดอาการขาดออกซิเจนในเลือด มีอาการกระวนกระวายในปลาปากกลม ปลากระดูกออน และ<br />

ปลากระดูกแข็ง<br />

ระดับของ adrenaline หรือ noradrenaline จะขึ้นอยูกับชนิดของสัตวน้ํา<br />

เชน ในปลาคารฟ<br />

(Cyprinus carpio) จะพบ noradrenaline สูงสุดเมื่อรางกายมีบาดแผล<br />

และเมื่อปลาถูกยายจากน้ําเย็น<br />

ไปสูนําอุน<br />

เชนเดียวกัน หากปลาคารฟเกิดอาการเครียดจะพบการไหลเวียนของ corticosteroid ใน<br />

เลือดสูงขึ้น<br />

รวมถึงปลาในกลุม<br />

Pacific salmon จะพบ catecholamine ในเลือด<br />

2. Secondary effect เปนการเปลี่ยนแปลงของสรีระ<br />

เพื่อตอบสนองกับปริมาณของ<br />

ฮอรโมนที่เพิ่มขึ้นในรางกาย<br />

โดยจะมีผลตอกระบวนการเมทาบอลิซึม ตาง ๆ ของรางกาย เชน มีการ<br />

15


สลายไกลโคเจนที่ตับ<br />

ทําใหมีระดับกลูโคสในเลือดสูง มีการสลายไขมันในรางกาย และมีผลตอ<br />

ระบบสมดุลเกลือแรในรางกาย นอกจากนี้<br />

corticosteroid ยังมีผลตอการกดการทํางานของระบบ<br />

ภูมิคุมกัน<br />

(immunosuppression) ทําใหปลาออนแอเกิดการติดเชื้อไดงาย<br />

3. Tertiary effect เปนการเปลี่ยนแปลงของรางกายที่เปนผลจาก<br />

Secondary effect เชน เกิด<br />

การตายของเนื้อเยื่อ<br />

หรือรางกายออนแอจนเกิดการติดเชื้อ<br />

Tertiary effect ที่มีความสัมพันธกับการเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

คือ ทําใหความตานทานโรคของสัตว<br />

น้ําลดลง<br />

และมีผลตอระบบภูมิคุมกัน<br />

เมื่อระดับของ<br />

cortisol ซึ่งเปนสารที่พบสวนใหญเมื่อ<br />

corticosteroid เพิ่มขึ้น<br />

(Pickering, 1989) การเพิ่มขึ้นของ<br />

cortisol ในระบบหมุนเวียนเลือด มีผลตอ<br />

ระบบภูมิคุมกันของปลากระดูกแข็ง<br />

โดยจะทําใหจะนวนเม็ดเลือดขาวลดลง (Pickering and<br />

Pottinger, 1987) มีผลตอระบบภูมิคุมกันแบบไมจําเพาะเจาะจง<br />

(non-specific immune responses)<br />

คือ ยับยั้งกิจกรรม<br />

respiratory burst (Stave and Robertson, 1985) ยับยั้งกระบวนการ<br />

phagocytosis<br />

(Ainsworth et al., 1991) ทําใหการเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวชาลง<br />

เมื่อมีการฉีด<br />

cortisol เขาสู<br />

รางกาย (MacArthur and Flecther, 1985) นอกจากนี้<br />

cortisol ยังมีผลตอระบบภูมิคุมกันแบบจําเพาะ<br />

เจาะจง (specific immune responses) คือ มีผลตอการตอบสนองสิ่งแปลกปลอม<br />

โดยการสราง<br />

แอนติบอดีของรางกายลดลงเมื่อปลาอยูในภาวะเกิดความเครียด<br />

(Ellsaesser and Clem, 1986)<br />

ผลกระทบจากการยับยั้งการทํางานของเม็ดเลือดขาว<br />

จะมีผลตอการใหวัคซีนแกปลา โดยปลาที่ให<br />

วัคซีนอยางเดียวจะมีอัตราการตายนอยกวาปลากลุมที่ใหวัคซีนและทําใหเกิดความเครียด<br />

(Houghton<br />

and Matthews, 1986) Strange et al. (1977) พบวาปลา chinook salmon ที่ถูกกักขังในกระชังขนาด<br />

เล็กเปนเวลา 24 ชั่วโมง<br />

จะมีฮอรโมน cortisol เพิ่มขึ้น<br />

และในปลา cutthroat trout ที่ถูกยายจาก<br />

อุณหภูมิ 13 องศาเซสเซียส ไปอยูที่อุณหภูมิ<br />

26 องศาเซสเซียส อยางเฉียบพลันจะทําใหระดับ<br />

ฮอรโมน cortisol เพิ่มขึ้นเชนกัน<br />

16


การวัดการตอบสนองตอความเครียด<br />

การวัดการตอบสนองตอความเครียดเปนการวัดการตอบสนองตอ การเปลี่ยนแปลงทางสรี<br />

รวิทยาของสัตวน้ํา<br />

สามารถทําไดโดยการ challenge (Mason, 1975) โดยการเปรียบเทียบการ<br />

ตอบสนองในสภาวะปกติตอสิ่งกระตุนหลาย<br />

ๆ แบบ ซึ่งสามารถวัดไดจาก<br />

1. การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอรโมนที่กอใหเกิดความเครียด<br />

ไดแก ฮอรโมน<br />

catecholamine และ corticosteroid ซึ่งสามารถวัดในรูปของฮอรโมน<br />

cortisol และ cortisone<br />

(Donalson, 1981) adrenalin และ noradrenalin (Mazeaud and Mazeaud, 1981) นอกจากนี้ยัง<br />

สามารถวัดปริมาณฮอรโมน adenocorticotropic (ACTH) ที่หลั่งมาจาก<br />

adenohypophysis ซึ่งเปน<br />

ตัวกระตุน<br />

hypothalamus ใหหลั่งฮอรโมนที<br />

่กอใหเกิดความเครียดออกมา<br />

2. การเปลี่ยนแปลงในทางสรีรวิทยาของสัตวน้ํา<br />

ไดแก<br />

- การเปลี่ยนแปลงองคประกอบทางเคมีของเลือด<br />

เชน ภาวะการเกิด hyperglycemia,<br />

hyperlacticemia, hypochloremia, leucopenia และการแข็งตัวของเลือดชา<br />

- การเปลี่ยนแปลงในระดับของเนื้อเยื่อ<br />

เชน ปริมาณไกลโคเจนในตับลดลง และปริมาณ<br />

วิตามินซีในไตลดลง<br />

- การเปลี่ยนแปลงของ<br />

metabolic ตาง ๆ ในรางกาย เชน สมดุลยของไนโตรเจน และความ<br />

ตองการออกซิเจนเพิ่มขึ้น<br />

รวมถึงการเปลี่ยนแปลงปริมาณไอออนในเลือด<br />

3. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับพฤติกรรมของสัตวน้ํา<br />

เชน การเจริญเติบโต การพัฒนารูปราง<br />

ความสามารถในการสืบพันธุลดลง<br />

และความตานทานโรคลดลง ตลอดจนทําใหอัตราการรอดตาย<br />

ต่ํา<br />

17


ระบบ osmoreguration<br />

ออสโมติก เรกิวเลชั่น<br />

ของสารเหลวภายในตัว หมายถึง การปรับสมดุล ความเขมขนของ<br />

อนุภาคทั้งหมดของสารเหลวที่ตางจากสภาพแวดลอมภายนอก<br />

สัตวน้ําที่อาศัยในน้ําจืดเกือบทุกชนิด<br />

และพวกน้ํากรอยสวนมากจะอยูในภาวะไฮเปอรออสโมติค<br />

ความเขมขนของเกลือในเลือดสูงกวาน้ํา<br />

ที่อาศัย<br />

สวนชนิดอาศัยในทะเล และ ทะเลสาบน้ําเค็มจะไฮโปออสโมติค<br />

ความเขมขนของเกลือใน<br />

เลือดสูงกวาน้ําที่อาศัยสวนชนิดที่อาศัยในทะเล<br />

และ ทะเลสาบน้ําเค็ม<br />

จะไฮโปออสโมติคความ<br />

เขมขนของเกลือในเลือดต่ํากวาน้ําที่อาศัยการปรับสมดุลตองใชพลังงานเขามาชวย<br />

ไอออนที่เปนสวนประกอบในสัตวที่มีกระดูกสันหลังในทะเล<br />

2-<br />

ความเขมขนของ SO4 ในของเหลวที่อยูภายนอกเซลลจะมีคานอยมากกวาน้ําทะเลอยูมาก<br />

Crustacean มีแนวโนมที่จะมีปริมาณ<br />

Mg 2+ ในน้ําเลือด<br />

ในขณะที่สัตวอื่น<br />

ๆ จะมีการสะสมของ Mg 2+<br />

อยู<br />

ดังตารางที่<br />

2 การที่ปริมาณไอออนไมสมดุลก็เนื่องมาจาก<br />

การขาดแคลนไอออนในน้ําทะเล<br />

สัตว<br />

เหลานี้จึงจําเปนที่จะตองขับออก<br />

โดยการใชกระบวนการ active transport หรือ โดยการที่เปน<br />

isoosmotic<br />

โดยการขับออกในรูปของ urine โดยผานทางไต หรือผานทางอวัยวะที่มีโครงสรางคลายไต<br />

การขับurine ออกเปนผลใหสูญเสียของเหลวภายในรางกายจํานวนมาก ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมี<br />

ระบบการควบคุมเขามาเกี่ยวของ<br />

จากตารางที่<br />

2 จะเห็นวา ในสัตวกลุม<br />

echinoderm คือ<br />

Marthasterias glacialis จะมีความเขนขนไอออนในของเหลวในรางกายใกลเคียงกับน้ําทะเล<br />

อยางไรก็ตามในสัตวจําพวกนี้จะพบของเหลวที่มี<br />

K + อยูในชองวางระหวางตัวที่อยูใน<br />

ambulacral<br />

groove ที่อยูระหวาง<br />

tube feet สาเหตุที่พบเชื่อวาเนื่องมาจากการเคลื่อนที่ของกลามเนื้อ<br />

ในสัตว<br />

กลุมพวก<br />

mollusk ปริมาณไอออนและการควบคุม osmotic จะเกี่ยวกับการลอยตัว<br />

ความเขาใจ<br />

เกี่ยวกับปริมาณ<br />

Mg 2+ ในสัตวกลุมกุงและปู<br />

ถูกชี้แจงโดย<br />

Robertson (1957) ที่ศึกษาเกี่ยวกับปริมาณ<br />

Mg 2+ ในเลือดพบวาในสัตวกลุมกุงและปูกลุม<br />

portunid ที่มีการเคลื่อนไหวเร็วจะพบจะมีปริมาณ<br />

Mg 2+ ต่ํากวาพวกกุง<br />

lobster และ Maia squinado (spider crab) Robertson แสดงใหเห็นในสัตวกลุม<br />

crustacean มีการสื่อสัญญาณประสาทในกลามเนื้อมีอิทธิพลมาจาก<br />

Mg 2+ โดยที่ความเขมขนที่สูงจะ<br />

ยับยั้ง<br />

สวนความเขมขนที่ต่ําจะกระตุน<br />

ในตารางที่<br />

2 จะเห็นวา Sepia offcinalis (cuttlefish) ที่<br />

ถึงแมวาจะมีการเคลื่อนที่ไหวมากแตจะมีปริมาณ<br />

Mg 2+ ในเลือดใกลเคียงกับในน้ําทะเล<br />

18


แมวาของเหลวที่อยูภายนอกเซลล<br />

(extracellar fluid) จะมีสวนประกอบคลายคลึงกับน้ํา<br />

ทะเล แตของเหลวที่อยูภายในเซลล<br />

(intracellular fluid) ในพวกสัตวทะเลทั้งหมดจะมีความแตกตาง<br />

กับน้ําทะเลโดยจะมี<br />

K + มากกวาในน้ําทะเล<br />

และมี Na + กับ Cl - ในปริมาณที่นอยกวาน้ําทะเล<br />

สารลาย<br />

อินทรีย (organic solute) จะชวยทําใหใหเกิดความสมดุลถภายในเซลล จึงจะเปนที่จะตองพิจารณา<br />

ความหลากหลายของ สารอินทรียที่อยูในเซลลที่มีผลตอแรงดันออสโมติก<br />

โดยที่กรดอะมิโน<br />

(amino acid) จะเปนตัวการที่สําคัญ<br />

แตสารประกอบอื่น<br />

ๆ เชน trimethylamine oxide,betaine,<br />

organic phosphate และ กรดอินทรีย อื่น<br />

ๆ ก็อาจจะเกี่ยวของดวย<br />

19


ตารางที่<br />

2 ความเขมขนของไอออนตาง ๆ ในสายละลายภายนอกเซลล (Extracellular fluid) ที่พบ<br />

ในสัตวทะเลที่ไมมีกระดูกสันหลัง<br />

และใน Myxine<br />

กลุม<br />

1. Coelenterates<br />

Aurelia aurita<br />

2. Echinoderms<br />

Marthasterias glacialis<br />

3. Tunicates<br />

Salpha maxima<br />

4. Annelids<br />

Arenicola marina<br />

5. Crustaceans<br />

Maia squinado<br />

Carcinus maenas<br />

Nephrops norvegicus<br />

6. Molluscs<br />

Pecten maximus<br />

Sepia offcinalis<br />

7. Vertebrate<br />

Myxine glutinosa<br />

ความเขมขนของไอออนที่เปนเปอรเซ็นตของ<br />

ความเขนขนไอออนในทะเล<br />

Na + K + Ca 2+ Mg 2+ Cl - 2-<br />

SO4 99<br />

100<br />

100<br />

100<br />

100<br />

110<br />

113<br />

100<br />

93<br />

117<br />

106<br />

111<br />

113<br />

104<br />

125<br />

118<br />

77<br />

130<br />

205<br />

ที่มา<br />

: Robertson (1957) ,Bellamy and Chester (1961)<br />

91<br />

96<br />

101<br />

96<br />

100<br />

122<br />

108<br />

124<br />

103<br />

91<br />

61<br />

97<br />

98<br />

95<br />

100<br />

81<br />

34<br />

17<br />

97<br />

98<br />

38<br />

104<br />

101<br />

102<br />

100<br />

102<br />

104<br />

99<br />

100<br />

105<br />

102<br />

47<br />

100<br />

65<br />

92<br />

66<br />

61<br />

69<br />

97<br />

22<br />

-<br />

20


osmoregulation ในสัตวกลุมครัสเตเซียน<br />

กุงน้ําจืด<br />

(prawns) กุงทะเล<br />

(Caridea และ Penaeidea) ปู (Grapsoid) และ Xanthid รวมทั้ง<br />

ชนิดอื่น<br />

ๆ ที่อยูในน้ํากรอยเลือดไฮโปออสโมติคกับน้ําทะเลปกติและจะปรับเปนไฮเปอรออสโมติค<br />

เมื่อเลี้ยงในน้ําเค็มที่เจือจาง<br />

กลไกการปรับสมดุล การสูญเสียน้ําเกลือและการขับยูรีนนั้น<br />

แอนเทนนอลแกลนดจะเปน<br />

ตัวการสําคัญในการขับออกภายนอก จากการแพรเขามาทางเหงือกและผิวหนัง เพื่อใหไดสภาพ<br />

ไอโซออสโมติคกับเลือด<br />

การรักษาระดับไฮโปออสโมติค ในสภาพปกติของปู (graspsoid) กุงบางชนิด<br />

แอมควิพอด<br />

ทําได 2 ทางคือ ทางแรก การดูดซึมจะคอยเปนคอยไป ทางที่<br />

2 การดื่มน้ําทะเลเขาไปโดยตรง<br />

เหมือนกับปลากระดูกแข็งขับเกลือที่มากเกินพอดีออกทางเหงือก<br />

เชื่อวาเหงือกเปนจุดที่มีการดูดซึม<br />

ไอออนของสัตว การซึมซับผานลําไส (gut) ควบคุมไดยากอาจจะทดสอบไดดวยสารเคมี เชน วัด<br />

ความเขนขนเลือดของสัตว Carcinus มีจุดเยือกแข็ง 0.89 O C หรือความเขมขนของเลือดระหวาง<br />

1.20-1.42 O C ถายายปูไปอยูในสภาพที่เขมขนมากขึ้น<br />

ความเขมขนของเลือดจะอยูระหวาง<br />

1.48-1.73<br />

O<br />

C ในเวลา 24 ชั่วโมง<br />

จํานวนคลอไรด เพิ่มขึ้นแตไมมีการเพิ่มน้ําหนักตัว<br />

การรับเกลือจะเปนไป<br />

อยางชา ๆ ผานเหงือก แตจะไมผานทางโครงราง เพราะประกอบดวยแคลเซียมกุง<br />

Carcinus ที่อยูใน<br />

น้ําเค็มเจือจาง<br />

มีจุดเยือกแข็งประมาณ 0.1 O C สามารถดูดซึม โซเดียม โปแตสเซียม และคลอไรด<br />

ไอออนจากสารละลายได (Schmidt-Nielsen, 1941)<br />

ระบบออสโมติก เรกิวเลชั่น<br />

ในกุง<br />

L. vanamei จะพบวาระหวางชวง subadult หรือ adult กุง<br />

ที่ขนาดเล็กกวาจะมีระบบออสโมติก<br />

เรกิวเลชั่น<br />

ที่ดีกวา<br />

(Vargas-Albores and Ochoa, 1992) กุง<br />

L.<br />

stylirostris,Penaeus monodon และ L. vannamei ระยะ juvenile ในชวง ระยะ intermoult และ<br />

premoult ของวงจรการลอกคราบ จะอยูในระบบสมดุลของสภาวะ<br />

Hyper-osmoregulatory และ<br />

ทันทีทันใดหลังจากเกิดการลอกคราบ กุงจะปรับสภาพสู<br />

iso-osmotic กอนและหลังการในชวง<br />

ecdysis (ชวงที่มีการสลัดเปลือกเกาทิ้ง)<br />

ของการลอกคราบ (Ferraris et al., 1987; Charmantier et<br />

al., 1994; Lignot et al.,1999)<br />

21


พิษของแอมโมเนียตอสัตวน้ํา<br />

แอมโมเนียเปนพิษตอปลาในทางออม กลาวคือ ทําใหปลาไมสามารถขับถายแอมโมเนีย<br />

ออกจากกระแสเลือด ถาแอมโมเนีย ในน้ํามีปริมาณสูงเกินไป<br />

ในขณะที่ระดับแอมโมเนียในน้ํา<br />

เพิ่มขึ้น<br />

ปลาขับถายแอมโมเนียไดนอยลงและระดับแอมโมเนียในเลือด และในเนื้อเยื่อเพิ่มขึ้น<br />

เปน<br />

ผลทําให pH ของเลือดมีคาสูงขึ้น<br />

และเปนผลเสียตอปฏิกิริยา ชีวเคมีตาง ๆ ทําใหมีความตองการ<br />

ออกซิเจนเพิ ่มขึ้น<br />

ทําอันตรายตอเหงือกและลดความสามารถของเลือดในการขนถายออกซิเจน<br />

ปลาที่เลี้ยงอยูในน้ําที่มีแอมโมเนียสูงถึงระดับ<br />

Sublithal มักออนแอและติดโรคไดงาย คา LC50 ของแอมโมเนียอิสระ สูงประมาณ 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร (มั่นสิน<br />

และไพพรรณ, 2538)ในสัตว<br />

จําพวกครัสเตเซียน แอมโมเนียเปนของเสียที่เกิดจากการขับถายที่มีมากที่สุดในระดับ<br />

60-70% สวน<br />

ที่เหลือเพียงเล็กนอยนั้นจะเปนกรดอะมิโน<br />

ยูเรีย และ ยูริก แอซิก (Regnault, 1987)<br />

ประจวบ (2527) รายงานวา ความทนทานของสัตวน้ําตอแอมโมเนีย<br />

แตกตางกันตามชนิด<br />

ความสามารถทางสรีระของสัตวเอง และปจจัยทางสิ่งแวดลอม<br />

ปริมาณที่ทําใหเกิดการตายได<br />

ในชวงสั้น<br />

(24-72 ชั่วโมง)<br />

อยูระหวาง<br />

0.2-0.4 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

Cold and Amstrong (1979) พบวาความเขมขนของแอมโมเนียที่ต่ําถึง<br />

0.09 mg/l จะทําให<br />

การเจริญเติบโตของกุง<br />

Macrobrachium rosenbergii ลดลง และ ที่<br />

0.45 mg/l จะทําใหอัตราการ<br />

เจริญเติบโตของกุงตระกูล<br />

Peneaus ลดลง 50 %<br />

Chin and Chen (1987) รายงานวา 24 hr LC50 และ 96 hr LC50 ของ Peneaus monodon ใน<br />

ระยะ postlarvae คือ 5 mg/l และ 1.26 mg/l และพบวาในบอเลี้ยงสัตวน้ําไมควรมีแอมโมเนีย<br />

มากกวา 0.13 mg/l<br />

Liu (1989) รายงานวา ในบอเลี้ยงกุงกุลาดําไมควรมีแอมโมเนียและไนไตรทเกิน<br />

0.1<br />

และ 0.25 ppm ตามลําดับ และไมควรมีไฮโดรเจนซัลไฟดเกิน 0.02 ppm<br />

Wasbort et al. (1989) พบวา แอมโมเนียเปนสารประกอบไนโตรเจนที่สําคัญตัวหนึ่ง<br />

ที่<br />

ขับถายออกมาจากกุงทะเลภายใน<br />

4 และ 8 ชั่วโมง<br />

ภายหลังจากกินอาหาร<br />

22


Wickens (1985) รายงานวา กุงกุลาดําขนาดน้ําหนัก<br />

1.6-2.7 กรัม มีการขับถาย<br />

แอมโมเนียในระดับ 0.03-0.3 มิลลิกรัม แอมโมเนีย-ไนโตรเจนตอกรัมตอวัน นอกจากนี้ยังไดทํา<br />

การทดลองเกี่ยวกับ<br />

สารประกอบไนโตรเจน ในกุงทะเลที่มีน้ําหนักประมาณ<br />

50-200 มิลลิกรัม<br />

พบวาแอมโมเนีย ไนไตรท และไนเตรท ที่ระดับความเขมขน<br />

1.29, 170 และ 3,400 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร ตามลําดับ มีผลทําใหกุงตาย<br />

รอยละ 50 ภายในเวลา 48 ชั่วโมง<br />

ของกุง<br />

Chen et al. (1990) พบวา แอมโมเนียในระดับต่ํากวา<br />

LD50 จะมีผลตอการเจริญเติบโต<br />

โชติ (2533) ไดรายงานวาแอมโมเนียที่ระดับความเขมขนต่ํากวา<br />

0.01 มิลลิกรัม/ลิตร ไมมี<br />

ผลตอการเจริญเติบโตของ penaeid และยังพบวาปริมาณแอมโมเนียที่มีผลทําใหอัตราการ<br />

เจริญเติบโต ลดลงรอยละ 50 ในกุง<br />

P. semisulcatus, P. japonicus, P. occidentalis, P. setiferus<br />

และ P. schmitti คือที่ระดับความเขมขน<br />

0.22, 0.37, 0.40, 0.59 และ 0.69 มิลลิกรัม/ลิตร<br />

ตามลําดับ<br />

Colt and Tchobanogblous (1976) สรุปวาทุก ๆ ความเขมขนของแอมโมเนียจะมีผลตอการ<br />

เจริญเติบโตซึ่งเปนผลมาจาก<br />

1) ลดความสามารถในการแลกเปลี่ยนกาซออกซิเจนเนื่องจากเหงือก<br />

ถูกทําลาย 2) ทําใหความตองการพลังงานเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากกระบวนการ<br />

Detoxification Pathway 3)<br />

รบกวนระบบความดัน Osmotic reguration และ 4) ทําความเสียหายทางกายภาพตอเนื้อเยื่อตาง<br />

ๆ<br />

แตนักวิชาการบางสวนชี้วาการที่เหงือกถูกทําลายระหวางทดลองนาจะมาจากสาเหตุ<br />

ของคลอรามีน<br />

(Chloramine) มากกวาแอมโมเนีย และการเจริญเติบโตที่ลดลงนั้นนาจะมาจากการที่แอมโมเนียลด<br />

ความสามารถในการตานทานเชื้อโรคของสัตวน้ําลดลง<br />

23


Ext. Cell Blood<br />

+<br />

NH4 Na +<br />

ATPase<br />

+<br />

NH4 Na +<br />

ภาพที่<br />

6 แสดงการดูดซึมโซเดียมและการขับถายแอมโมเนียบริเวณเหงือกสัตวประเภท<br />

Crustacean<br />

H +<br />

NH 3<br />

อัตราการใชออกซิเจน<br />

อัตราการใชออกซิเจนเปนคาแสดงปริมาณออกซิเจนที่ถูกใชไป<br />

ในกระบวนการออกซิ<br />

เดชั่น<br />

ซึ่งเปนตัวกําหนดอัตราเมตาบอลิซึม<br />

(Schmidt-Nielsen,1975) การศึกษาอัตราการใชออกซิเจน<br />

ภายใตสภาวะใดสภาวะหนึ่งของสัตว<br />

เชน สภาวะพัก เคลื่อนที่<br />

เปนตน เปนการศึกษาภายใตสภาวะ<br />

ที่มีออกซิเจนอยูในสิ่งแวดลอมภายนอก<br />

โดยมีความผันแปรของอุณหภูมิ และความเขมขนของ<br />

ออกซิเจน การวัดคาอัตราการใชออกซิเจนนี้เปนการวัดปริมาณออกซิเจนที่หายไปจากสิ่งแวดลอม<br />

ซึ่งไมสามารถบอกคาการใชประโยชนของออกซิเจน<br />

อัตราการใชออกซิเจนโดยทั่วไปอธิบายไดใน<br />

หนวยของมิลลิกรัม หรือ มิลลิลิตรตอกรัม หรือ กิโลกรัมตอชั่วโมง<br />

หรือวินาที ในสัตวพบวาไม<br />

สามารถรับออกซิเจนไดมากกวาที่จะนําไปใชประโยชนในเมตาบอลิซึมของรางกาย<br />

โดยมีปจจัย<br />

กําหนดอัตราเมตาบอลิซึม คือ การใชประโยชนออกซิเจนในเซลล (Florey, 1969)<br />

ปจจัยควบคุมอัตราการใชออกซิเจน<br />

1. อัตราออกซิเดทีฟ เมตาบอลิซึม (oxidative metabolism) เพราะ ถาเมตาบอลิซึมถูก<br />

กระตุน<br />

การใชประโยชนออกซิเจนในเนื้อเยื่อจะลดลง<br />

ออกซิเจนจากเลือดแพรผานของเหลว<br />

?<br />

NH 3<br />

Na +<br />

24


ระหวางเซลลเขาสูภานในเซลล<br />

ออกซิเจนในเลือดลดลง ออกซิเจนจากสิ่งแวดลอมจะแพรผานผนัง<br />

เนื้อเยื่อหายใจอัตราการใชออกซิเจนจึงเพิ่ม<br />

2. การเพิ่มอัตราการถายเทออกซิเจนจากสิ่งแวดลอมทําใหอัตราการใชออกซิเจนเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากการขาดออกซิเจนภายนอกผนังเนื้อเยื่อหายใจอยางรวดเร็ว<br />

เพราะความเขมขนออกซิเจน<br />

ภายนอกลดลง อัตราการใชออกซิเจนจะคงที่อยูไดโดยการเพิ่มอัตราการไหลเวียนของเลือด<br />

3. ผลกระทบจากการเพิ่มการถายเทออกซิเจนกับสิ่งแวดลอม<br />

ทําใหเพิ่มความเร็วในการ<br />

ไหลของเลือด และปริมาณเลือดที ่ไปสูผนังเนื้อเยื่อหายใจ<br />

ทําใหอัตราการเตนของหัวใจสูงขึ้น<br />

4. การควบคุมอัตราการใชออกซิเจนในระยะสั้นมีความแตกตางจากการควบคุมอัตราการ<br />

ใชออกซิเจนเมื่อสิ่งแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงเปนเวลานาน<br />

พบวาในสัตวชั้นสูง<br />

การปรับตัวเมื่อ<br />

ความเขมขนออกซิเจนในน้ําสูงขึ้นหรือต่ําลงนั้น<br />

ทําไดโดยเพิ่มขนาดของผนังเซลลแลกเปลี่ยนกาซ<br />

และเพิ่มประสิทธิภาพในการรับออกซิเจนของเม็ดเลือด<br />

การเปลี่ยนแปลงความเค็มกับการใชออกซิเจนของกุง<br />

ทางดานความเค็มกับการใชออกซิเจนนั้น<br />

อิทธิพลของความเค็มที่มีตอการใชออกซิเจนของ<br />

สัตวทะเลนั้นมีความสัมพันธกับอิทธิพลของกิจกรรม<br />

และ ปจจัยในรางกายที่มีอิทธิพลรวมกับ<br />

สิ่งแวดลอมภายนอก<br />

เชน อุณหภูมิ (Newell, 1979) การเพิ่มอัตราการใชออกซิเจนเกิดภายใตสภาวะ<br />

ที่มีความเครียดจากความเค็มทําใหกิจกรรมของรางกายเพิ่มขึ้นมากกวา<br />

จะเปนการเพิ่มการใช<br />

พลังงานใน osmoregulation (Loft, 1956; Newell, 1979)<br />

Kutty et al. (1971) ทําการศึกษาในกุงแชบวย<br />

พบวา ในกุงขนาด<br />

0.1 และ 1-3 กรัมนั้น<br />

ไมมี<br />

อิทธิพลของความเค็มตออัตราการใชออกซิเจนของกุง<br />

หากกุงนั้นมีการปรับตัวใหคุนเคยกับความ<br />

เค็มมาเปนเวลามากกวา 10 วัน และในกุงขนาด<br />

1-3 กรัม จะมีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความ<br />

เค็มตออัตราการใชออกซิเจน ในกุงที่อยูในน้ําความเค็ม<br />

2-6 สวนในพัน แมมีการปรับใหคุนเคยกับ<br />

ความเค็มมากอนแลวเปนเวลา 24 ชั่วโมง<br />

และพบวา อัตราเมตาบอลิซึมไมสัมพันธกับระบบ<br />

ออสโมติคมากนัก<br />

25


Ting (1970) รายงานวาการลดความเค็มจาก 40 ไปเปน 10 p.s.u. จะเพิ่มอัตราการใช<br />

ออกซิเจนใน P. monodon และ Metapenaeus monoceros Dalla Via (1986) รายงานวาอัตราการใช<br />

ออกซิเจนใน P. japonicus ระยะ juvenile (272+119 มิลลิกรัม) จะมีคาเพิ่มขึ้นจาก<br />

0.2 ไปเปน 0.6<br />

มิลลิกรัม/กรัม/ชั่วโมง<br />

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

37 ไปเปน 10 p.s.u. P. japonicus มี<br />

แนวโนมวาจะเพิ่มอัตราการใชออกซิเจนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

30 ไปเปน 15 p.s.u.<br />

(Chen and Lai, 1993)<br />

ภาวะเครียดจากออกซิเดชัน (oxidative stress)<br />

ภาวะเครียดจากออกซิเดชัน หรือ oxidative stress ทําใหโมเลกุลของไขมัน โปรตีน กรด<br />

นิวคลีอิก และคารโบไฮเดรต ทั้งที่เปนอิสระหรือองคประกอบของเซลลและเยื่อหุมเซลล<br />

(plasma<br />

membrane) ถูกทําลายหรือเกิดความผิดปกติ สงผลใหเซลลถูกทําลายหรือเกิดการบาดเจ็บของเซลล<br />

(cell injury) ขึ้นได<br />

Oxidative Stess ในเซลลเกิดจากความเปนพิษของอนุพันธของออกซิเจนที่<br />

วองไว หรือ สารอนุมูลอิสระ ที่รวมเรียกวา<br />

สารออกซิแดนท (oxidants) ไดแก superoxide anion<br />

• •<br />

(O2 ), hydroxyl radical (OH ) และ hydrogen peroxide (H2O2) เปนตน ในสภาวะปกติรางกายมี<br />

กระบวนการที่จะทําลายหรือยับยั้งความเปนพิษของสาร<br />

oxidants เหลานี้ใหอยูในระดับที่เหมาะสม<br />

ไมเกิดอันตรายตอเซลล โดยอาศัย สารตานอนุมูลอิสระ หรือ สารกําจัดอนุมูลอิสระ (ROS<br />

scavenger) ซึ่งมีอยูภายในเซลล<br />

หรือไดรับมาจากภายนอก (อาหาร) แตในภาวะที่เกิดพยาธิสภาพ<br />

ของเซลลหรือเกิดโรคบางชนิด หนาที่ที่จะปองกันเหลานี้จะสูญเสียไป<br />

เปนผลให oxidants ดังกลาว<br />

มีมากกอใหเกิดอันตรายตอโมเลกุลปกติของเซลล ทําหนาที่ตามปกติไมได<br />

นําไปสูการเสียหนาที่<br />

ของเซลลและอวัยวะ เรียกสภาวะที่มี<br />

oxidants มากเกินกวาสาร antioxidant จะปองกัน ทําใหเกิด<br />

อันตรายตอโมเลกุลของเซลลนี้วา<br />

ภาวะเครียดจากออกซิเดชัน (oxidative stress)<br />

ระบบการปองกันออกซิเดชัน (antioxidant defense system) จะประกอบดวยกลุมของ<br />

เอนไซม เชน superoxide dismutase ,glutathione peroxidase, catalase,glutathione<br />

reductase,glutathione-S-transferase และสารในกลุมที่มีน้ําหนักโมเลกุลนอย<br />

เชน glutathione,<br />

ascorbate,vitamin E , β-carotene และ โปรตีนที่อยูในของเหลวที่อยูในเซลล<br />

กับในเซลลเมมเบรน<br />

หรืออยูในของเหลวที่อยูนอกเซลล<br />

(Freeman and Crapo, 1982; Frei,1999; Hogg and<br />

Kalyanaraman, 1999) โดยที่เอนไซมจะพบอยูในทุกเนื้อเยื่อของสัตวที่มีกระดูกสันหลัง<br />

แตจะ<br />

พบวาโดยปกติโดยทั่วไปแลวจะพบวาจะมีกิจกรรมมากที่สุดในตับซึ่งเปนอวัยวะหลัก<br />

สําหรับการ<br />

26


enobiotic uptake และ enzymatic transformation แกพวกสารออกซิแดนท (Zakharov and Clarke,<br />

1993; Lemaire et al., 1994)<br />

ความสําคัญของอนุมูลอิสระในรางกาย<br />

อนุมูลอิสระ คือ สารประกอบดวยอิเล็คตรอนที่ขาดคูทําใหไมคงตัว<br />

สามารถเกิดปฏิกิริยา<br />

ออกซิเดชั่นกับสารอื่นไดอยางวองไว<br />

จึงสามารถทําลายกรดไขมัน โปรตีนที่มีหมูไทออล<br />

(SH) และ<br />

ทําลาย DNA ซึ่งเปนสารพันธุกรรม<br />

ทําใหเกิดความเสื่อม<br />

หรือการตายของเซลลเนื้อเยื่อ<br />

และระบบ<br />

อวัยวะตามมา<br />

โดยปกติรางกายตองการสารอาหารทั้ง<br />

คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน เพื่อเผาผลาญ<br />

สรางเปนพลังงานในรูป ATP สําหรับการดํารงชีวิต กระบวนการเผาผลาญดังกลาวนอกจากจะใช<br />

สารอาหารแลวยังตองการใชออกซิเจน ปริมาณออกซิเจนสวนหนึ่ง<br />

คือ ประมาณรอยละ 1-3 ที่<br />

รางกายใชในกระบวนการเมทาบอลิซึมและออกซิเดชั่นตามปกติของเซลลจะถูกเปลี่ยนเปน<br />

H2O2 แทนที่จะเปนน้ํา<br />

หรือเกิดเปน ROS/oxidants หลายชนิดตามมา ROS/oxidant ยังสามารถถูกสรางได<br />

โดยตรงจากเอนไซม NADPH oxidase ที่เยื่อหุมเซลล<br />

จากเอนไซม oxidase ตาง ๆ ที่อยูในออร<br />

แกแนลล เชน amino acid oxidase urate oxidase จาก xanthine oxidase ในไซโทพลาสซึม และ<br />

cytochrome P450 ใน endoplasmic reticulum เปนตน ทําใหมีการสราง ROS ออกมาตลอดเวลา การ<br />

สราง ROS จะเพิ่มมากขึ้น<br />

ในรางกายในภาวะที่ไดรับสารพิษ<br />

และในเซลลเม็ดเลือดขาวเมื่อมีการ<br />

ทําลายเชื้อโรค<br />

และสิ่งแปลกปลอม<br />

้<br />

กระบวนการกระตุนใหเกิด<br />

ROS ในเซลล ขณะที่มีการใชออกซิเจน<br />

(O2) นั้นเริ่มจากมีการ<br />

-•<br />

สราง superoxide anion (O2 ) ขึ้นซึ่งเกิดขึ้นในขั้นตอนหนึ่งของการเปลี่ยน<br />

(reduce) O2 ไปเปนน้ํา<br />

(H2O) ในขั้นตอนทั้งหมดตองมีการใหอิเล็คตรอนแกอะตอมของออกซิเจน<br />

ดังสมการดังนี<br />

e - e - e - e -<br />

O2 •<br />

O2( • 0-0:) H2O2 (H:0-0:H)<br />

• •<br />

OH(H:O ) H2O<br />

+2H + -OH - +H +<br />

27


โครงสราง<br />

แคทาเลส (Catalase)<br />

แคทาเลสเปนเอนไซมที่พบทั่วไปไดในสัตว<br />

พืช และ จุลินทรีย มีมวลโมเลกุลประมาณ<br />

240,000 โดยที่แคทาเลสแตละโมเลกุลประกอบดวย<br />

4 หนวยยอย (subunits) และแตละหนวยยอย มี<br />

โพรโทเฮมิน protohemin 1 หมู<br />

นอกจากนี้หมูโพรสเทติก<br />

(prodthetic group) เปนโพรโทเฮมิน<br />

แคทาเลสเปนเอนไซมที่ไมทนความรอน<br />

แคทาเลสจะสูญเสียแอกทิวิตีอยางรวดเร็วที่อุณหภูมิ<br />

35 O C,pH สูงกวา 9<br />

ปฏิกิริยา<br />

แคทาเลสจะทําปฏิกิริยาในการกําจัด H2O2 ที่ไดจากปฏิกิริยาของเอนไซม<br />

Super oxide<br />

dismutase โดยจะเปลี่ยน<br />

H2O2 2 โมเลกุล ไปสูในสภาวะ<br />

oxidation ที่ต่ํากวา<br />

ดังสมการที่<br />

1(Chance<br />

et al., 1979) โดยปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นใน<br />

2 ขั้นตอน<br />

H 2O 2 + H 2O 2 2H 2O+O 2 (1)<br />

CAT-Fe(ΙΙΙ) + H 2O 2 Complex (Ι) (2)<br />

Complex (Ι) + H 2O 2 CAT-Fe(ΙΙΙ)+2 H 2O+ O 2 (3)<br />

Complex (Ι) +DH 2 CAT- Fe(ΙΙΙ)+2 H 2O+ D (4)<br />

จัดอยูในกลุมพวก<br />

hydroperoxidase แคทาเลส จะแสดงปฏิกริยา 2 ปฏิกิริยา<br />

1.catalatic โดยที่<br />

H2O2 โมเลกุลแรกจะเปนตัว oxidize กอนแลว H2O2 โมเลกุลที่<br />

2 จะเปน<br />

ตัว reduce (ให H) ดังสมการที่<br />

2 และ 3<br />

2.peroxidative โดยที่<br />

DH2 จะเปนตัว reduce คือเปนตัวให H ตัวอยาง DH2 เชน<br />

methanol,ethanol,formic acid,phenol และ amine ดังสมการที่<br />

4 (Chance et al. ,1979; Aebi, 1984)<br />

28


ในปฏิกิริยาทั้งหมดจะมี<br />

active enzyme- H2O2 intermediate ที่เรียกวา<br />

Complex Ι ซึ่ง<br />

โดยทั่วไปแลวปฏิกิริยาระหวาง<br />

Complex Ι กับโมเลกุลของ H2O2 ในปฏิกิริยา catalatic จะเกิดขึ้น<br />

อยางรวดเร็วมีคา rate constant K เทากับ 10 7 liters mol -1 sec -1 ในสมการที่<br />

3 สวนปฏิกิริยา<br />

peroxidative ในสมการที่<br />

4 จะเกิดขึ้นคอนขางชาโดยมีคา<br />

rate constant K เทากับ 10 2 - 10 3 liters mol -<br />

1 -1<br />

sec (Aebi, 1984)<br />

แคทาเลสเปนเอนไซมที่ไมปกติ<br />

โดยจะไมเปนไปตาม Michelis-Menton kinetic โดย<br />

เอนไซมนี้จะแสดงถึง<br />

non-saturation kinetic และ enzyme activity จะเพิ่มมากขึ้นเมื่อมี<br />

H2O2 มาก<br />

ขึ้นในชวงกวาง<br />

ดังนั้นจึงทําใหไมสามารถกําหนดคา<br />

Km ไดในการอิ่มตัวของความเขมขนของ<br />

เอนไซมในการยอยสลาย H2O2 ในปฏิกิริยาแรก ดังนั้นจะตองหลีกเลี่ยงการลดลงในชวงเริ่มตน<br />

ปฏิกิริยา Aebi (1984) แนะนําวาการตรวจสอบเอนไซมจะมีความสัมพันธกับปริมาณความเขนขนที่<br />

ต่ําของ<br />

substrate เชน 10 mM H2O2 อุณหภูมิและ pH จะมีผลตอกิจกรรมของเอนไซม โดยปกติ<br />

เอนไซมชนิดนี้จะควบคุมใหมีpH<br />

7.0 และ20-25 O C แลวประเมินปริมาณออกมาเปนความชัน (0-30<br />

วินาที) ในปฏิกิริยาแรก ความเขมขนของ H2O2 ที่มากกวา<br />

0.1 M เอนไซมจะไมทํางาน (เรียกวา<br />

autoinactivation) โดยจะทําการเปลี่ยน<br />

Complex Ι ใหไปอยูในรูปที่ไมทํางานคือ<br />

Complex ΙΙ และ<br />

Complex ΙΙΙ (Aebi, 1984)<br />

หนาที่หลักของแคทาเลส<br />

คือการยอยสลาย H2O2 แมวาอาจเกิดการยอยสลาย methyl- และ<br />

ethyl hydroperoxide บาง catalase จะพบอยูในมากในเซลลพวก<br />

eucaryotic cell และ จุดเริ่มตนจะ<br />

อยูใน<br />

peroxisome แตการสรางนั้นจะถูกสรางโดย<br />

precursor หลาย ๆ ตัวที่อยูนอก<br />

peroxisome<br />

peroxisome หรือ microbodie of Rouiller จะมีตนกําเนิดมาจาก golgi-endoplasmic reticulumlysosome<br />

(GERL) (Ross and Reith, 1985) peroxisome จะเปนที่อยูของแคทาเลส<br />

ในการกําจัด H2O2 ที่ผลิตจากเอนไซมอื่น<br />

ๆ ที่อยูในนี้เชนกัน<br />

โดยเอนไซมเหลานี้จะทําการใหอิเล็คตรอนใน<br />

O2 จํานวน<br />

2 ตัว โดยที่จะไมผานขั้นของ<br />

superoxide anion ตัวอยางเอนไซมเชน urate oxidase,glucose oxidase<br />

และ D-amino acid oxidase<br />

peroxisome จะสลายอยางรวดเร็วประมาณ 1.5-2 วัน แตก็ยังคงมีแคทาเลส ที่พบอยู<br />

ภายนอก peroxisome (Chance et al., 1979) ซึ่งถัดมาก็มีผลยืนยันจาก<br />

Nohl and Jordan (1980) กลาว<br />

ยืนยันใน mitochondria ที่พบในหัวใจของหนู<br />

วา 85% ของ H2O2 จะถูกทําลายโดย catalase ในขณะ<br />

ที่<br />

15 % จะถูกทําลายโดย glutathione peroxidase มีรายงานความคืบหนาในการศึกษาของ<br />

29


Jone et al. (1981) แสดงใหเห็นวาแคทาเลสที่อยูใน<br />

endoplasmic reticulum มีความสําคัญมากกวา<br />

glutathione peroxidase เมื่อมีความเขมขนของ<br />

H2O2 มากเกิน nM<br />

แคทาเลสในสัตวน้ํา<br />

Barja de Quiroga et al. (1989a) พบวามีการเพิ่มขึ้นของเอนไซมcatalase,superoxide<br />

dismutase,glutathione peroxidase ระหวางที่มีกระบวนการmetamorphosis<br />

ขั้นสุดทายของพวกลูก<br />

ออดเพื่อไปสูบนบก<br />

ปริมาณของแคทาเลสที่พบภายใตสภาวะออกซิเจนต่ําในปลา<br />

spot จะพบมีคาอยูประมาณ<br />

5000-8500 U/mg protein (Ross et al., 2001) ,ปลา freshwater catfish จะมีคาประมาณ 0.2 U/mg<br />

protein (Ahmad et al., 2000) , ปลา lake sturgeon จะมีคาประมาณ 1300-1400 U/mg protein<br />

(Palace et al., 1996) Oruc and Uner (2000) พบวาปริมาณแคทาเลสไมเปลี่ยนแปลงหลังจากไดรับ<br />

สารกําจัดวัชพืชและสารกําจัดแมลงเปนเวลา 96 ชั่วโมง<br />

ปริมาณแคทาเลส และซุปเปอรออกไซด ดีส<br />

มิวเตส ที่พบในปลาหลาย<br />

ๆ ชนิดพบวาจะมีปริมาณมากในเลือดในกลุมปลาพวกปลาผิวน้ํา<br />

(pelagic<br />

fish) (Filho et al., 1993; Filho, 1996; Rudeva, 1997) Redeva (1997) พบวาโดยทั่วไปแลวปลา<br />

ดั้งเดิม<br />

และ ปลาตามแนวหิน จะไมพบแคทาเลสในเลือด สวนปลากระดูกแข็งที่พัฒนาจะพบแค<br />

ทาเลสมีปริมาณแตกตางกันตามชนิด<br />

Edurrdo et al. (2004) รายงานวาปริมาณของแคทาเลสที่พบใน<br />

hepatopancreas กุง<br />

Farfantepenaeus paulensis ระหวางกุงที่จับมาวัดปริมาณแคทาเลสเลยเปรียบเทียบกับกุงที่จับแลว<br />

และกุงที่จับมาตัดตา<br />

นํามาเลี้ยงในที่กักขังที่ระยะเวลา<br />

45 วัน จะพบวาปริมาณ แคทาเลสที่พบในกุง<br />

ที่นําไปเลี้ยงตอในที่กักขังทั้งที่ตัดตาและไมตัดตาจะมีปริมาณแคทาเลส<br />

(2.19+0.90 U/mg protein)<br />

ซึ่งพบวาไมมีความแตกตางกัน<br />

และมีคามากกวากุงที่จับมาวัดแคทาเลสตั้งแตตนเลย<br />

(0.74+0.24<br />

U/mg protein)<br />

30


อุปกรณและวิธีการ<br />

อุปกรณ<br />

1. น้ําทะเลจากนาเกลือความเค็ม<br />

80 ppt<br />

2. กุงกุลาดําระยะโพสทลารวา<br />

15<br />

3. ตูกระจกขนาด<br />

24x18 x18 นิ้ว<br />

จํานวน 64 ตู<br />

4. ถังน้ําแข็ง<br />

สําหรับทดลองการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

5. บอซีเมนตปริมาตร 10 ตัน สําหรับเก็บน้ําเค็มกอนการเจือจาง<br />

6. ถังไฟเบอรปริมาตร 2 ตัน สําหรับเก็บน้ําจืดไวสําหรับปรับความเค็ม<br />

7. โหลแกวรูปทรงกระบอกปริมาตร 13 ลิตร และ ปริมาตร 1.5 ลิตร<br />

8. ตู<br />

cooler<br />

9. ตัวทําความรอน (Heater)<br />

10. สารแอมโมเนียมคลอไรด (NH4Cl) 11. อาหารกุงกุลาดําเบอร<br />

1,2 และ3<br />

12. Oxygen meter<br />

13. pH meter<br />

14. Thermometer<br />

15. สารเคมี ,เครื่องมือ<br />

และ อุปกรณในการวิเคราะหเอนไซม<br />

16. สารเคมี ,เครื่องมือ<br />

และ อุปกรณในการวิเคราะหคุณภาพนํ้า<br />

17. อุปกรณในการใหอากาศ<br />

การวางแผนการทดลอง<br />

วิธีการ<br />

การทดลองเปนแบบสุมตลอด<br />

(Completely Randommized Design) เพื่อศึกษาผลการใช<br />

เบทาอีนในระดับตางๆ ตอความทนทานความเครียด และความเปนพิษเฉียบพลันของแอมโมเนีย<br />

การทดลองแบงออกเปน 3 ชุดการทดลอง (Treatment) แตละชุดการทดลองมี 6 ซ้ํา<br />

(Replication)<br />

ดังนี้<br />

31


1. ชุดการทดลองที่<br />

1 ชุดควบคุม ไมมีการเสริมเบทาอีนในอาหาร<br />

2. ชุดการทดลองที่<br />

2 เสริมเบทาอีนในอาหารในอัตรา 0.75 %<br />

3. ชุดการทดลองที่<br />

3 เสริมเบทาอีนในอาหารในอัตรา 1.5 %<br />

การเตรียมการทดลอง<br />

1. การเตรียมน้ํา<br />

นําน้ําเค็มจากนาเกลือมาผสมนํ้าจืดใหไดความเค็มประมาณ<br />

20 ppt (part per thousand)<br />

กรองผานถุงกรองแพลงคตอนลงในบอซีเมนตขนาดความจุ 10 ตัน ทําการฆาเชื้อดวยคลอรีนผง<br />

โดยการละลายคลอรีนผงหรือแคลเซียมไฮโปคลอไรท (Ca(OCl) 2) ที่มีความเขมขนของคลอรีน<br />

ประมาณ 60% ลงในนํ้าใหมีความเขมขนประมาณ<br />

20-30 ppm พรอมทั้งใหอากาศเปนเวลา<br />

2-3 วัน<br />

เพื่อใหคลอรีนสลายตัว<br />

ทดสอบการตกคางคลอรีนดวย Potassium Iodine (KI) โดยตักนํ้ามาหยด<br />

สารละลาย KI ประมาณ 1-2 หยด ถานํ้าใสเปนปกติแสดงวาคลอรีนสลายตัวหมด<br />

แลวสามารถนํานํ้า<br />

มาใชทดลองได แตถานํ้าเปลี่ยนเปนสีเหลือง<br />

แสดงวาคลอรีนในนํ้ายังสลายตัวไมหมด<br />

ใหพักนํ้า<br />

ตอไปอีก หรือถาจําเปนตองใชนํ้าทันทีสามารถใช<br />

Sodium Thiosulfate ชวยเรงสลายคลอรีนได<br />

ปริมาณที่ใชขึ้นอยู<br />

กับปริมาณคลอรีนที่เหลืออยู<br />

2. การเตรียมสัตวทดลอง<br />

นํากุ งกุลาดําระยะ PL 12-13 มาอนุบาลในตูกระจกขนาด<br />

24x18 x18 นิ้ว<br />

ที่จะใชทดลอง<br />

เปนเวลา 3-4 วัน เพื่อปรับสภาพของสัตวทดลองใหเคยชินกับสภาพแวดลอมตูทดลอง<br />

โดยให<br />

อาหาร วันละ 6 มื้อ<br />

คือ 06.00 น. 9.00 น. 12.00 น. 15.00 น. 18.00 น. และ 22.00 น. โดยใหอารทีเมีย<br />

และอาหารสําเร็จรูปเบอร 1 ผสมกัน พรอมทั้งมีการใหอากาศอยางทั่วถึงตลอดเวลา<br />

3. การเตรียมอาหารทดลอง<br />

อาหารกุงกุลาดําทดลองผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารกุง<br />

ที่ผานกระบวนการ<br />

อัดเม็ดแลวจึงผานการขบเม็ด (crumbles) ใหมีลักษณะเปนเกล็ดที่ใช<br />

คือ เบอร 1 ขนาดเสนผาน<br />

ศูนยกลางประมาณ 0.4-0.8 มิลลิเมตร, เบอร 2 ขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 0.8-1.3 มิลลิเมตร<br />

32


และ เบอร 3 ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 1.3-1.7 มิลลิเมตร มีความคงตัวในน้ํา<br />

4-6 ชั่วโมง<br />

โดยมีสวนประกอบวัตถุดิบเหมือนกันดังตารางที่<br />

3<br />

ตารางที่<br />

3 สวนประกอบอาหารกุงกุลาดําที่ใชเบทาอีนระดับตางๆ<br />

สวนประกอบวัตถุดิบ ระดับการใชเบทาอีน (%)<br />

(%) 0 0.75 1.5<br />

ปลายขาว<br />

3.0<br />

3.0<br />

3.0<br />

กากกุงปน<br />

10.0<br />

10.0<br />

10.0<br />

ปลาปน<br />

33.0<br />

33.0<br />

33.0<br />

กากถั่วเหลือง<br />

20.0<br />

20.0<br />

20.0<br />

แปงสาลี<br />

30.0<br />

30.0<br />

30.0<br />

โมโนแคลเซียมฟอสเฟต<br />

0.5<br />

0.5<br />

0.5<br />

เลซิทิน<br />

1.0<br />

1.0<br />

1.0<br />

สารเหนียว<br />

0.2<br />

0.2<br />

0.2<br />

สารกันหืน<br />

0.015<br />

0.015<br />

0.015<br />

สารกันเชื้อรา<br />

0.1<br />

0.1<br />

0.1<br />

วิตามินและพรีมิกซรวม<br />

2.0<br />

2.0<br />

2.0<br />

เบทาอีน<br />

0<br />

0.75<br />

1.5<br />

อาหารที่ผลิตไดนํามาวิเคราะหหาคุณคาโภชนาการทางเคมีเชน<br />

โปรตีนดวยวิธี Kjeldahl<br />

method เครื่องยอยรุน<br />

Foss Tecator รุน<br />

2020 และเครื่องกลั่น<br />

Foss Tecator รุน<br />

2200 ไขมันดวย<br />

วิธี Ether extraction แบบ Soxhlet ดวยเครื่องรุน<br />

Tecator 1043 ความชื้นดวยวิธี<br />

Drying method<br />

เถาดวย Muffle furnace เยื่อใยดวยเครื่อง<br />

Fibertec (AOAC., 2000) แคลเซียมฟอสฟอรัสและเกลือ<br />

ดวยวิธีไตเตรท (AOAC., 1990) พลังงานรวมดวยวิธี Bomb calory meter และ Nitrogen free extract<br />

(NFE) สามารถคํานวณไดโดย สมการตอไปนี้<br />

%NFE = 100 – (%โปรตีน + %ไขมัน + %เถา + %เยื่อใย<br />

+ %ความชื้น)<br />

33


สวนพลังงานที่ยอยไดสามารถคํานวณโดยสมการ<br />

(NRC, 1983) ดังตอไปนี้<br />

พลังงานที่ยอยได<br />

= (% โปรตีนx 4) + (%ไขมัน x 8.5) + (%คารโบไฮเดรต x 2.5)<br />

ตารางที่<br />

4 ผลวิเคราะหอาหารกุงกุลาดําทดลอง<br />

3 สูตร ที่ระดับการใชเบทาอีนตางๆ<br />

สวนประกอบของโภชนะ ระดับการใชเบทาอีน (%)<br />

(%) 0 0.75 1.5<br />

ความชื้น<br />

9.0<br />

9.0<br />

9.0<br />

โปรตีน<br />

38.0<br />

38.0<br />

38.0<br />

ไขมัน<br />

6.0<br />

6.0<br />

6.0<br />

เยื่อใย<br />

3.0<br />

3.0<br />

3.0<br />

เถา<br />

12.0<br />

12.0<br />

12.0<br />

แคลเซียม<br />

2.5<br />

2.5<br />

2.5<br />

ฟอสฟอรัส<br />

1.4<br />

1.4<br />

1.4<br />

เกลือ<br />

1.8<br />

1.8<br />

1.8<br />

Nitrogen free extract (%)<br />

32<br />

32<br />

32<br />

พลังงานรวม (cal/g)<br />

283<br />

283<br />

283<br />

สภาวะการทดลอง<br />

1. การเลี้ยง<br />

ใชกุงกุลาดําระยะ<br />

PL 15 เลี้ยงในตูกระจกขนาด<br />

24x18x18 นิ้ว<br />

เติมน้ําเค็ม<br />

20 พีพีทีที่<br />

ระดับ 35 ซม. คิดเปนปริมาตร 73.5 ลิตร ปลอยลูกกุงที่อัตราปลอย<br />

240 ตัวตอตารางเมตร ตูละ<br />

70<br />

ตัว ทําการเลี้ยงเปนระยะเวลา<br />

2 เดือน โดยใหอาหารที่มีการผสมเบทาอีนที่ระดับ<br />

0, 0.75 และ 1.5%<br />

โดยในสัปดาหที่<br />

1-6 กุงจะไดรับอาหารทดลองแตละสูตรตามที่กําหนดสวนในสัปดาหที่<br />

7-8 ในชุด<br />

การทดลองที่<br />

2 ,3 จะเปลี่ยนไปใหอาหารที่ไมมีเบทาอีนเปนสวนประกอบ<br />

เพื่อศึกษาผลตอบสนอง<br />

หลังการหยุดเบทาอีน<br />

34


2. การใหอาหาร<br />

ใหอาหารกุงที่ผสมตามสูตรอาหารทุกวัน<br />

สัปดาห 1-2 ของการเลี้ยง<br />

ใหอาหารวันละ 6<br />

มื้อ<br />

คือ เวลา 6.00 น. 9.00 น. 12.00 น. 15.00 น. 18.00 น. และ 22.00 น. สัปดาหที่<br />

3-4 ใหอาหาร 4<br />

มื้อ<br />

คือ เวลา 8.00 น. 13.00 น. 16.00 น. และ 22.00 น. สัปดาหที่<br />

5-6 ใหอาหาร 4 มื้อ<br />

คือ เวลา<br />

8.00 น. 13.00 น. 16.00 น. และ 22.00 น. สัปดาหที่<br />

7-8 ใหอาหารไมมีเบทาอีน 3 มื้อ<br />

คือ เวลา<br />

8.00 น. 14.00 น. และ 21.00 น. อัตราการใหอาหาร 15% ของน้ําหนักตัวตอวัน<br />

บันทึกปริมาณ<br />

อาหารที่กินตลอดการทดลอง<br />

3. การจัดการคุณภาพน้ํา<br />

มีการใหออกซิเจนตลอดเวลาและถายเทน้ํา<br />

2 ครั้งตอสัปดาห<br />

ตรวจสอบคุณภาพน้ํา<br />

ระหวางการเลี้ยง<br />

ทุก 2 สัปดาห ทําการวิเคราะหคุณภาพน้ําตามวิธีดังนี้<br />

การเก็บขอมูล<br />

- ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา<br />

โดยใช DO meter รุน<br />

YSI Model 65<br />

- คาพีเอช โดยใช pH meter รุน<br />

YSI Model 65<br />

- ปริมาณแอมโมเนียทั้งหมดในน้ําดวยวิธี<br />

Koroleff’s Indophenol Blue Method<br />

- ปริมาณไนไตรทดวยวิธี Colorimetric Method<br />

- ปริมาณไนเตรตดวยวิธี Cadmium Reduction Method<br />

- ความเค็ม โดยใช Salinometer<br />

- อุณหภูมิของน้ําโดยใช<br />

Thermometer<br />

- ความเปนดางของน้ํา<br />

ดวยวิธี Titration Method<br />

- บีโอดี ( 5-Day BOD test)<br />

1. การศึกษาการเจริญเติบโตและปริมาณอาหารที่ไดรับ<br />

บันทึกขอมูลการเจริญเติบโตโดยชั่งนํ้าหนักกุงกอนเริ่มทําการทดลอง<br />

และทําการบันทึก<br />

การเปลี่ยนแปลงนํ้าหนักทุก<br />

2 สัปดาหระหวางทําการทดลอง โดยทําการชั่งนํ้าหนักรวมในแตละชุด<br />

35


การทดลอง รวมทั้งบันทึกปริมาณอาหารที่กินเพื่อศึกษา<br />

1.1 การเจริญเติบโตของกุง<br />

จากคาดังตอไปนี้<br />

น้ําหนักเฉลี่ย<br />

,นํ้าหนักที่เพิ่มขึ้น<br />

(weight<br />

gain:WG) ,นํ้าหนักที่เพิ่มขึ้นตอตัวตอวัน<br />

(average daily gain:ADG) และอัตราการเจริญเติบโต<br />

จําเพาะ (specific growth rate:SGR)<br />

1.2 อัตรารอด (survival rate:SR)<br />

1.3 ปริมาณอาหารที่กิน<br />

จากคาดังตอไปนี้<br />

อัตราการกินอาหารตอวัน (feed intake:FI) ,<br />

เปอรเซ็นตอาหารที่กิน<br />

(percent feed intake:%FI) และอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ<br />

(feed<br />

conversion ratio:FCR)<br />

2. การศึกษาความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลันของลูกกุงกุลาดําที่<br />

ไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีนในระดับตาง<br />

ๆ กัน<br />

การศึกษาความทนทานความเครียด เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มโดยประเมินจาก<br />

อัตราการตาย เนื่องจากสภาพปกติในการเลี้ยงจะมีคาความเค็มอยูที่ระดับหนึ่ง<br />

การเปลี่ยนความเค็ม<br />

อยางกะทันหันอาจทําใหกุงไมสามารถปรับตัวไดทันเปนผลทําใหเกิดความเครียดจนเกิดการตายได<br />

2.1 การศึกษาผลของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

ของลูกกุง<br />

หลังจากไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

0,15,30 และ45 วัน<br />

การเตรียมการทดลอง<br />

นําโหลแกวที่มีความจุ<br />

13 ลิตร ใสน้ําเค็มที่ไดผานการเจือจางใหมีความเค็มที่<br />

0 และ 40<br />

ppt ในปริมาตร 6 ลิตร พรอมใหอากาศตลอดเวลา<br />

การดําเนินการทดลอง<br />

สุมกุงที่จํานวน<br />

10 ตัว/ซ้ํา<br />

ของแตละทรีทเมนตที่ระยะเวลาตามกําหนด<br />

ของการเลี้ยงมา<br />

ใสโหลแกวที่เตรียมไว<br />

36


ที่ระดับความเค็ม<br />

0 ppt และ 40 ppt ทําการบันทึกผลการทดลอง โดยการสังเกต<br />

พฤติกรรม และนับจํานวนลูกกุงที่ตายที่ระยะเวลา<br />

5,15,30,60,90,120,180 นาที และ6,12,24 ชั่วโมง<br />

แลวนําขอมูลไปเปรียบเทียบอัตราการตายในแตละชุดทดลอง<br />

2.2 การศึกษาผลของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

ของลูกกุงเมื่อหยุดใหอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปนระยะเวลา 15 วัน (หลังจากกุงกินอาหาร<br />

ผสมเบทาอีน 45 วัน แลวหยุดใหอาหารเปนระยะเวลา 15 วัน)<br />

ดําเนินการทดลองเชนเดียวกับขอ 2.1 ที่ความเค็ม<br />

0 และ 40 ppt<br />

3. การศึกษาความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางเฉียบพลันของของลูกกุง<br />

กุลาดําที่ไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีนในระดับตาง<br />

ๆ กัน<br />

การศึกษาความทนทานตอความเครียดโดยการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

เนื่องจากสภาพ<br />

ปกติในการเลี้ยงจะมีคาอุณหภูมิเหมาะสมอยูที่ระดับหนึ่ง<br />

การเปลี่ยนอุณหภูมิอยางกะทันหันอาจทํา<br />

ใหกุงไมสามารถปรับตัวไดทันเปนผลทําใหเกิดความเครียดจนเกิดการตายได<br />

3.1 การศึกษาผลของเบทาอีนที่ตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

ของลูกกุง<br />

หลังจากไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

0,15,30 และ45 วัน<br />

การเตรียมการทดลอง<br />

นําโหลแกวที่มีความจุ<br />

1.5 ลิตร ใสน้ําเค็มที่ไดผานการเจือจางใหมีความเค็มที่<br />

20 ppt<br />

ในปริมาตร 1 ลิตร พรอมใหอากาศตลอดเวลา ในถังที่มีการปรับอุณหภูมิโดยใชน้ําแข็ง<br />

และ เครื่อง<br />

หลอเย็นชวยใหไดอุณหภูมิที่<br />

15 O C และในถังที่มีการปรับอุณหภูมิโดยใชตัวทําความรอน<br />

ใหได<br />

อุณหภูมิที่<br />

35 O C<br />

37


การดําเนินการทดลอง<br />

สุมกุงที่จํานวน<br />

10 ตัว/ซ้ํา<br />

ของแตละทรีทเมนตตามระยะเวลาที่กําหนด<br />

ของการเลี้ยงมา<br />

ดําเนินการทดลอง นํามาใสโหลแกวที่เตรียมไว<br />

ที่อุณหภูมิ<br />

15 O C และ 35 O C ทําการบันทึกผลการทดลอง โดยการสังเกตพฤติกรรม<br />

และนับจํานวนลูกกุงที่ตายที่ระยะเวลา<br />

5,15,30,60,90,120,180 นาที และ6,12,24 ชั่วโมง<br />

ตามลําดับ<br />

แลวนําขอมูลไปเปรียบเทียบอัตราการตายในแตละชุดทดลอง<br />

3.2 การศึกษาผลของเบทาอีนที่ตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

ของลูกกุงเมื่อหยุดใหอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปนระยะเวลา 15 วัน (หลังจากกุงกินอาหาร<br />

ผสมเบทาอีน 45 วัน แลวหยุดใหอาหารเปนระยะเวลา 15 วัน)<br />

ดําเนินการทดลองเชนเดียวกับขอ 3.1 ที่อุณหภูมิ<br />

15 O C และ 35 O C<br />

4. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซมแคทาเลสในลูกกุงกุลาดําที่ใหอาหารที่มี<br />

สวนผสมของเบทาอีนในระดับตาง ๆ กันเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

การศึกษาปริมาณเอนไซมแคทาเลสซึ่งเปนเอนไซมที่กําจัดอนุมูลอิสระ<br />

H2O2ที่อาจเปน อัตราตอเซลล โดยพวกอนุมูลอิสระนี้สามารถที่จะเกิดไดมากในสภาวะที่มีความเครียด<br />

4.1 การศึกษาผลของเบทาอีนตอระดับเอนไซมแคทาเลสในลูกกุงหลังจากไดรับ<br />

ความเครียดหลังจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

(ลูกกุงไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่<br />

ระยะเวลา 45 วัน)<br />

การเตรียมการทดลอง<br />

นําโหลแกวที่มีความจุ<br />

13 ลิตร ใสน้ําเค็ม<br />

40 ppt และ 20 ppt ในปริมาตร 6 ลิตร พรอม<br />

ใหอากาศตลอดเวลา<br />

38


การดําเนินการทดลอง<br />

สุมกุงที่จํานวน<br />

10 ตัว/ซ้ํา<br />

ของแตละทรีทเมนตตามระยะเวลาที่กําหนด<br />

ของการเลี้ยงมา<br />

ใสโหลแกวที่เตรียมไว<br />

ที่ระดับความเค็ม<br />

20 ppt และ 40 ppt ทําการสุมกุงไปทําการตรวจวิเคราะหปริมาณ<br />

เอนไซมแคทาเลสตามวิธีการของ Claiborne,1985 ที่ระยะเวลา<br />

6 ชั่วโมง<br />

แลวนําขอมูลไป<br />

เปรียบเทียบปริมาณเอมไซมในแตละชุดทดลอง<br />

การเตรียม PMS<br />

บดเนื้อเยื่อใน<br />

phosphate buffer (0.1M,pH 7.4) (KCl 1.17%) โดยใชเครื่อง<br />

homogenizer<br />

วิธีการวิเคราะหแคทาเลส (Claiborne, 1985)<br />

นํามา centrifuge ที่<br />

10,000 rpm 30 นาที ที่<br />

4 O C<br />

Post-mitochondrial supernatant (PMS)<br />

1.95 ml phosphate buffer (0.05 M pH 7)+1 ml H 2O 2 (0.019 M) และ 0.05 ml ของ 10% PMS<br />

วิธีการวิเคราะหปริมาณโปรตีน (Lowry,1951)<br />

วัดคาการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น<br />

240 nm<br />

PMS 1 ml+Alkali-copper solution 3 ml ตั้งทิ้งไว<br />

10 นาที<br />

เติม Folin Ciocalteau reagent 0.3 ml ตั้งทิ้งไว<br />

30 นาที<br />

วัดคาการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น<br />

750 nm<br />

39


การคํานวณปริมาณเอมไซม<br />

นําคาที่ไดไปคํานวณหาปริมาณโปรตีนจากกราฟมาตรฐาน<br />

specific activity (units/mg protein/min) = ( A 240 nm (1 min) × 1000)/43.6 × (mg of protein/<br />

ml Reaction Mix)<br />

4.2 การศึกษาผลของเบทาอีนตอระดับเอนไซมแคทาเลสในลูกกุง<br />

หลังจากไดรับ<br />

ความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

เมื่อหยุดใหอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปน<br />

ระยะเวลา 15 วัน (หลังจากกุงกินอาหารผสมเบทาอีน<br />

45 วัน แลวหยุดใหอาหารเปนระยะเวลา 15<br />

วัน)<br />

ดําเนินการทดลองเชนเดียวกับขอ 4.1<br />

5. การศึกษาความเปนพิษเฉียบพลันของแอมโมเนียที่เวลา<br />

24 ชั่วโมง<br />

(LC50) ตอลูกกุง<br />

กุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนในระดับตาง<br />

ๆ<br />

การประเมินความเปนพิษแบบเฉียบพลันของแอมโมเนีย (ในรูปสารประกอบ<br />

แอมโมเนียมคลอไรด) ที่ทําใหกุงทดลองตาย<br />

50 เปอรเซ็นต โดยการหาคา Median Lethal<br />

Concentration หรือ Lethal Concentration (LC50) ที่เวลา<br />

24 ชั่วโมง<br />

โดยวิธีชีววิเคราะหแบบนํ้านิ่ง<br />

(Static Bioassay) ของ American Public Health Association (APHA) (1992)<br />

5.1 การศึกษาความเปนพิษเฉียบพลันของแอมโมเนีย หลังจากไดรับอาหารที่มีสวนผสม<br />

ของเบทาอีน ที่ระยะเวลา<br />

45 วัน<br />

การเตรียมการทดลอง<br />

1. การเตรียมสารเคมี<br />

นําแอมโมเนียมคลอไรดมาชั่งทําเปนสารลายที่มีความเขมขน<br />

1,000 ppm ในน้ํากลั่นที่<br />

ปราศจากแอมโมเนีย<br />

40


2. การเตรียมชุดทดลอง<br />

นําโหลแกวที่มีความจุ<br />

13 ลิตร ใสน้ําเค็ม<br />

20 ppt ที่ไดผานการผสมสารละลาย<br />

แอมโมเนียมคลอไรดที่เตรียมใหมีความเขมขนตาง<br />

ๆ ที่จะใชทดลอง<br />

เปนจํานวนโหลละ 6 ลิตร<br />

พรอมใหอากาศตลอดเวลา<br />

การดําเนินการทดลอง<br />

สุมกุงที่จํานวน<br />

10 ตัว/ซ้ํา<br />

ของแตละทรีทเมนตตามระยะเวลาที่กําหนด<br />

ของการเลี้ยงมา<br />

ใสโหลแกวที่เตรียมไว<br />

ทดลอง 2 ขั้นตอนดังนี้<br />

1. การทดลองขั้นตน<br />

(preliminary test หรือ range finding test) เปนการทดลองเพื่อ<br />

หาระดับความเขมขนตํ่าสุดของแอมโมเนียที่ทําใหลูกกุงกุลาดําตาย<br />

100% และความเขมขนสูงสุดที่<br />

ลูกกุงกุลาดํามีชีวิตรอด<br />

100% ภายในเวลา 24 ชั่วโมง<br />

โดยจัดระดับความเขมขนเปน 6 ระดับ แตละ<br />

ระดับมี 3 ซํ้า<br />

ทําการสังเกตลักษณะการตาย และบันทึกอัตราการตายที่<br />

24 ชั่วโมง<br />

แลวนําขอมูลที่ได<br />

ไปจัดระดับความเขมขนที่เหมาะสมในการทดลองขั้นละเอียดตอไป<br />

2. การทดลองขั้นละเอียด<br />

(full-scale test) เปนการทดลองโดยจัดระดับความเขมขน<br />

ซึ่งอยูในชวงที่ลูกกุงตาย<br />

100% และมีชีวิตรอด 100% จากการทดลองในขอ 1. เพื่อหาระดับความ<br />

เขมขน ของแอมโมเนียที่ทําใหลูกกุงตาย<br />

50% ภายในเวลา 24 ชั่วโมง<br />

โดยนําผลการทดลองจากการ<br />

ทดลองขั้นตนมาจัดระดับความเขมขนแอมโมเนียใหมตามสัดสวนลอกการิทึม<br />

โดยแบงระดับความ<br />

เขมขนเปน 7 ระดับ และกลุ มควบคุมที่ไมเติมสารเคมี<br />

3. การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลอัตราการตายสะสมของลูกกุงที่<br />

24 ชั่วโมง<br />

วิเคราะห<br />

หาคา 24 hr-LC50 และคาฟงกชันความลาดเอียง (slope function) ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% ตามวิธี<br />

ของ Litchfield and Wilcoxon (1949)<br />

41


6. การศึกษาอัตราการใชออกซิเจนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

ของลูก<br />

กุงกุลาดํา<br />

ที่ไดรับอาหารที่ผสมเบทาอีนในระดับตาง<br />

ๆ กัน<br />

การศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

ซึ่งอาจจะทําใหลูกกุงเกิด<br />

ความเครียดโดยเมื่อเกิดความเครียดแลวจะทําใหอัตราเมทาบอลิซึมของรางกายสูงขึ้น<br />

ซึ่งสงผลให<br />

อัตราการหายใจมากขึ้นเพื่อนําออกซิเจนไปใชในกระบวนการเผาผลาญพลังงานในรางกาย<br />

6.1 การศึกษาผลของเบทาอีนตออัตราการใชออกซิเจนของลูกกุงหลังจากไดรับ<br />

อาหารที่มี<br />

สวนผสมของเบทาอีน ที่ระยะเวลา<br />

45 วัน<br />

การเตรียมการทดลอง<br />

นําขวดบีโอดีที่มีขนาด<br />

300 ซีซี ใสน้ําเค็มที่<br />

40 ppt และ 20 ppt ซึ่งผานการใหอากาศใน<br />

น้ําจนอิ่มตัวดวยออกซิเจน<br />

แลวนําไปคํานวณหาปริมาณออกซิเจนดวยวิธี Azidemodification<br />

Method<br />

การดําเนินการทดลอง<br />

สุมกุงตามระยะเวลาที่กําหนดของแตละทรีทเมนต<br />

เปนจํานวน 5 ตัว/ซ้ํา<br />

แลวนําไปชั่ง<br />

น้ําหนักรวม<br />

โดยคัดเลือกกุงที่มีขนาดใกลเคียงกัน<br />

เพื่อขจัดปญหาจากน้ําหนักตัวที่ไมเทากันซึ่งจะมี<br />

ผลตออัตราการใชออกซิเจน เสร็จแลวนํามาใสขวดบีโอดี<br />

ที่ความเค็ม<br />

20 ppt และ 40 ppt ทําการวิเคราะหออกซิเจนที่ระยะเวลา<br />

1 ชั่วโมงครึ่ง<br />

ดวยวิธี Azidemodification Winker Method แลวนําขอมูลไปเปรียบเทียบอัตราการใชออกซิเจนใน<br />

แตละชุดทดลอง<br />

42


การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ<br />

การวิเคราะหผลการทดลองของอาหารทั้ง<br />

3 สูตร โดยวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis<br />

of variance : ANOVA) และเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยโดยวิธี<br />

Duncan’ New Multiple<br />

Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% (อนันตชัย, 2542)<br />

ตารางที่<br />

5 แผนการวิจัย (Timetable)<br />

แผนการดําเนินการ<br />

1. จัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ<br />

ในการเลี้ยง<br />

2. จัดเตรียมเครื่องมือในการทํา<br />

วิเคราะหตาง ๆ<br />

3. การเตรียมน้ําและตรวจสอบ<br />

คุณภาพน้ําเพื่อการเลี้ยงกุง<br />

4. อนุบาลลูกกุงกอนลงทดลอง<br />

5. ลงกุงทดลอง<br />

แลวดําเนินการ<br />

เลี้ยงเปนระยะเวลา<br />

2 เดือน<br />

6. นําขอมูลที่ไดไปวิเคราะห<br />

ทางสถิติ<br />

7. สรุปผลและวิจารณผล<br />

มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฏาคม<br />

43


สถานที่ทําการทดลอง<br />

ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

ระยะเวลาในการทดลอง<br />

มีนาคม 2548 – พฤษภาคม 2548 รวมระยะเวลาทดลอง 60 วัน<br />

44


ผลและวิจารณ<br />

1. การศึกษาการเจริญเติบโตและปริมาณอาหารที่ไดรับ<br />

1.1 การเจริญเติบโตและอัตรารอด<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

2 สัปดาหพบวาคา น้ําหนักเฉลี่ย,น้ําหนักเพิ่ม,น้ําหนักเพิ่ม<br />

เฉลี่ยตอวัน,อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ<br />

(p>0.05) โดยมีคาอยูในชวง<br />

0.027-0.036 กรัม/ตัว ,0.586-0.968 กรัม/ตัว ,0.0007-0.0012 กรัม/ตัว/วัน และ 0.032-0.052<br />

เปอรเซ็นต/วันตามลําดับ สวนคาอัตรารอดมีคาแตกตางกันทางสถิติ (p0.05) ที่<br />

ระยะเวลา 4 สัปดาห มีคาอยูในชวง<br />

0.066-0.068 กรัม/ตัว ,2.888-2.992 กรัม/ตัว ,0.0017-0.0018<br />

กรัม/ตัว/วัน,0.048-0.049 เปอรเซ็นต/วัน และ 73.429-79.286 เปอรเซ็นตตามลําดับ ที่ระยะเวลา<br />

6<br />

สัปดาห มีคาอยูในชวง<br />

0.148-0.184 กรัม/ตัว ,7.703-9.841 กรัม/ตัว ,0.0038-0.0048 กรัม/ตัว/วัน<br />

,0.061-0.067 เปอรเซ็นต/วัน และ 77.381-80.952 เปอรเซ็นตตามลําดับ ดังตารางที่<br />

6<br />

45


ตารางที่<br />

6 การเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ<br />

กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

การ<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

เจริญเติบโต 0 % 0.75% 1.5%<br />

น้ําหนักเริ่มตน<br />

(กรัม/ตัว)<br />

2 สัปดาห<br />

0.017+0.003 -<br />

น้ําหนักเฉลี่ย<br />

(กรัม/ตัว)<br />

0.033+0.004 a 0.036+0.010 a 0.027+0.007 a 0.079<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

(กรัม/ตัว)<br />

0.968+0.257 a 1.120+0.583 a 0.586+0.280 a 0.083<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

เฉลี่ยตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

0.0012+0.0003 a 0.0009+0.0000 a 0.0007+0.0003 a 0.067<br />

อัตราการ<br />

เจริญเติบโต<br />

จําเพาะ<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

0.048+0.009 a 0.052+0.018 a 0.032+0.012 a 0.062<br />

อัตรารอด<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

88.571+2.555 c 78.571+3.780 b 95.238+2.660 a 4 สัปดาห<br />

0.000<br />

น้ําหนักเฉลี่ย<br />

(กรัม/ตัว)<br />

0.066+0.014 a 0.068+0.013 a 0.066+0.016 a 0.973<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

(กรัม/ตัว)<br />

2.888+0.853 a 2.992+0.755 a 2.894+0.918 a 0.973<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

6 (ตอ) การเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนที่ระดับ<br />

ตาง ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

การ<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

เจริญเติบโต<br />

4 สัปดาห<br />

0 % 0.75% 1.5%<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

เฉลี่ยตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

0.0018+0.0005 a 0.0018+0.0004 a 0.0017+0.0005 a 0.971<br />

อัตราการ<br />

เจริญเติบโต<br />

จําเพาะ<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

0.048+0.008 a 0.049+0.007 a 0.048+0.007 a 0.930<br />

อัตรารอด<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

73.429+5.402 a 77.619+6.303 a 79.286+10.488 a 6 สัปดาห<br />

0.474<br />

น้ําหนักเฉลี่ย<br />

(กรัม/ตัว)<br />

0.148+0.034 a 0.175+0.012 a 0.184+0.053 a 0.244<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

(กรัม/ตัว)<br />

7.703+2.026 a 9.275+0.681 a 9.841+3.107 a 0.244<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

6 (ตอ) การเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนที่ระดับ<br />

ตาง ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

การ<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

เจริญเติบโต<br />

6 สัปดาห<br />

0 % 0.75% 1.5%<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

เฉลี่ยตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

0.0038+0.0010 a 0.0045+0.0003 a 0.0048+0.0015 a 0.249<br />

อัตราการ<br />

เจริญเติบโต<br />

จําเพาะ<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

0.061+0.006 a 0.067+0.002 a 0.067+0.008 a 0.195<br />

อัตรารอด<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

80.952+10.562 a 77.381+10.078 a 79.762+15.344 a 0.877<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p0.05) มีคาอยูในชวง<br />

0.317-0.385 กรัม/ตัว ,17.665-21.640 กรัม/ตัว ,0.0072-0.0088 กรัม/ตัว/วัน,0.070-0.074 เปอรเซ็นต/<br />

วัน และ 67.000-77.250 เปอรเซ็นตตามลําดับ ดังตารางที่<br />

7<br />

48


ตารางที่<br />

7 การเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุงกุลาดําหลังจากหยุดอาหารผสมเบทาอีน<br />

เปน<br />

ระยะเวลา 15 วัน ในการเลี้ยง<br />

(คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

การ ระดับเบทาอีนในอาหารที่ไดรับกอนการศึกษา<br />

p-value<br />

เจริญเติบโต 0 % 0.75% 1.5%<br />

น้ําหนักเฉลี่ย<br />

(กรัม/ตัว)<br />

0.317+0.032 a 0.320+0.065 a 0.385+0.037 a 0.187<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

(กรัม/ตัว)<br />

17.665+1.903 a 17.802+3.843 a 21.640+2.169 a 0.189<br />

น้ําหนักเพิ่ม<br />

เฉลี่ยตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

0.0072+0.0008 a 0.0072+0.0016 a 0.0088+0.0009 a 0.189<br />

อัตราการ<br />

เจริญเติบโต<br />

จําเพาะ<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

0.070+0.002 a 0.070+0.005 a 0.074+0.002 a 0.248<br />

อัตรารอด<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

77.250+8.578 a 68.250+10.532 a 67.000+23.516 a 0.590<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


กรัม<br />

0.45<br />

0.4<br />

0.35<br />

0.3<br />

0.25<br />

0.2<br />

0.15<br />

0.1<br />

0.05<br />

0<br />

หยุดใหอาหารเสริมเบทาอีน<br />

0 2 4 6 8<br />

สัปดาห<br />

ภาพที่<br />

7 อัตราการเจริญเติบโตของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ<br />

100<br />

80<br />

60<br />

อัตรารอด<br />

40<br />

20<br />

0<br />

ไมเสริมเบทาอีน เบทาอีน 0.75% เบทาอีน 1.5%<br />

ไมเสริมเบทาอีน<br />

เบทาอีน 0.75%<br />

เบทาอีน 1.5%<br />

ภาพที่<br />

8 อัตรารอดเมื่อสิ้นสุดการเลี้ยงของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนระดับตาง<br />

ๆ<br />

จากผลการศึกษาพบวาการเจริญเติบโต จะมีคาไมแตกตางกันระหวางชุดทดลอง โดย<br />

ในการศึกษาของ Penaflorida and Virtanen (1996) ที่ทําการเสริมเบทาอีนที่ระดับ<br />

0.5,1.5 และ 2.0<br />

% ในกุงกุลาดําระยะจูเวนไนล<br />

พบวาอัตรารอด ,อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ มีคาไมแตกตางกัน<br />

ทางสถิติ (p>0.05) แตน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นมีคาแตกตางกันทางสถิติ<br />

(p


6-8 สัปดาหกุงจะมีอัตราการเจริญเติบโตสูงสุดดังภาพที่<br />

7 กุงเมื่อสิ้นสุดการเลี้ยงจะมีอัตรารอดไม<br />

แตกตางกัน ดังภาพที่<br />

8<br />

1.2 ประสิทธิภาพการใชประโยชนอาหาร<br />

จากการศึกษาประสิทธิภาพการใชประโยชนอาหารของกุงที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีน<br />

0,0.75 และ 1.5% ที่ระยะเวลา<br />

2 สัปดาหซึ่งใหอาหารตอวัน<br />

0.180 กรัม และปริมาณอาหารสะสม<br />

ทั้งหมดเปน<br />

2.520 กรัม พบวาคาอัตราการกินอาหารตอวัน มีคาแตกตางกันทางสถิติ(p0.05) โดยมีคาอยูในชวง<br />

11.605-12.560<br />

เปอรเซ็นต/วัน และ3.176-4.991 ตามลําดับ ดังตารางที่<br />

8<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

4,6 สัปดาหซึ่งใหอาหารตอวัน<br />

0.300 และ0.720 กรัม<br />

ตามลําดับ และปริมาณอาหารสะสมทั้งหมดเปน<br />

6.720 และ16.800 กรัม ตามลําดับ พบวาคา อัตรา<br />

การกินอาหารตอวัน, อัตราการกินอาหาร และอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อมีคาไมแตกตางกันทาง<br />

สถิติ (p>0.05) ที่ระยะเวลา<br />

4 สัปดาหมีคาอยูในชวง<br />

0.0043-0.0046 กรัม/ตัว/วัน ,10.714-11.480<br />

เปอรเซ็นต/วัน และ 2.968-3.284 ตามลําดับ ที่ระยะเวลา<br />

6 สัปดาหมีคาอยูในชวง<br />

0.0086-0.0090<br />

กรัม/ตัว/วัน ,9.218-10.637 เปอรเซ็นต/วัน และ 2.065-2.465 ตามลําดับ ดังตารางที่<br />

8<br />

51


ตารางที่<br />

8 อาหารที่ใหและประสิทธิภาพของอาหาร<br />

ในกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนที่<br />

ระดับตาง ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ประสิทธิภาพ<br />

การใช<br />

ประโยชน<br />

อาหาร<br />

2 สัปดาห<br />

ปริมาณอาหาร<br />

ที่ใหตอวัน<br />

(กรัม)<br />

ปริมาณอาหาร<br />

สะสม (กรัม)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหารตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหาร<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

อัตราการ<br />

เปลี่ยนอาหาร<br />

เปนเนื้อ<br />

0 %<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

0.75% 1.5%<br />

p-value<br />

0.180 0.180 0.180 -<br />

2.520 2.520 2.520 -<br />

0.0029+0.0000 b 0.0033+0.0001 a 0.0027+0.0000 c 0.000<br />

11.605+1.265 a 12.560+1.610 a 12.402+1.248 a 0.490<br />

3.176+1.192 a 3.905+1.760 a 4.991+1.980 a 0.205<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

8 (ตอ) อาหารที่ใหและประสิทธิภาพของอาหาร<br />

ในกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนที่<br />

ระดับตาง ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ประสิทธิภาพ<br />

การใช<br />

ประโยชน<br />

อาหาร<br />

4 สัปดาห<br />

ปริมาณอาหาร<br />

ที่ใหตอวัน<br />

(กรัม)<br />

ปริมาณอาหาร<br />

สะสม (กรัม)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหารตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหาร<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

อัตราการ<br />

เปลี่ยนอาหาร<br />

เปนเนื้อ<br />

0 %<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

0.75% 1.5%<br />

p-value<br />

0.300 0.300 0.300 -<br />

6.720 6.720 6.720 -<br />

0.0046+0.0003 a 0.0044+0.0004 a 0.0043+0.0005 a 0.516<br />

11.480+1.475 a 10.714+2.168 a 10.840+2.415 a 0.817<br />

3.284+0.908 a 2.968+1.107 a 3.071+1.149 a 0.886<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

8 (ตอ) อาหารที่ใหและประสิทธิภาพของอาหาร<br />

ในกุงกุลาดําที่ไดรับอาหารผสมเบทาอีนที่<br />

ระดับตาง ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ประสิทธิภาพ<br />

การใช<br />

ประโยชน<br />

อาหาร<br />

6 สัปดาห<br />

ปริมาณอาหาร<br />

ที่ใหตอวัน<br />

(กรัม)<br />

ปริมาณอาหาร<br />

สะสม (กรัม)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหารตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหาร<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

อัตราการ<br />

เปลี่ยนอาหาร<br />

เปนเนื้อ<br />

0 %<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

0.75% 1.5%<br />

p-value<br />

0.720 0.720 0.720 -<br />

16.800 16.800 16.800 -<br />

0.0086+0.0012 a 0.0090+0.0011 a 0.0089+0.0017 a 0.899<br />

10.637+1.731 a 9.427+1.520 a 9.218+2.780 a 0.463<br />

2.465+0.520 a 2.087+0.398 a 2.065+0.777 a 0.435<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


การเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ<br />

(p>0.05) มีคาอยูในชวง<br />

0.0118-0.0147 กรัม/<br />

ตัว/วัน ,7.128-8.273 เปอรเซ็นต/วัน และ 1.664-1.957 ตามลําดับ ดังตารางที่<br />

9<br />

ตารางที่<br />

9 อาหารที่ใหและประสิทธิภาพของอาหาร<br />

ในกุงกุลาดําหลังจากหยุดอาหารผสมเบทาอีน<br />

เปนเวลา 15 วัน(คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ประสิทธิภาพ<br />

การใช<br />

ประโยชน<br />

อาหาร<br />

ปริมาณอาหาร<br />

ที่ใหตอวัน<br />

(กรัม)<br />

ปริมาณอาหาร<br />

สะสม (กรัม)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหารตอวัน<br />

(กรัม/ตัว/วัน)<br />

อัตราการกิน<br />

อาหาร<br />

(เปอรเซ็นต/<br />

วัน)<br />

อัตราการ<br />

เปลี่ยนอาหาร<br />

เปนเนื้อ<br />

ระดับเบทาอีนในอาหารที่ไดรับกอนการศึกษา<br />

0 % 0.75% 1.5%<br />

p-value<br />

1.500 1.500 1.500 -<br />

37.800 37.800 37.800 -<br />

0.0118+0.0014 a 0.0134+0.0018 a 0.0147+0.0056 a 0.496<br />

7.128+1.415 a 8.273+2.292 a 7.488+3.467 a 0.794<br />

1.664+0.357 a 1.957+0.589 a 1.748+0.865 a 0.787<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


อัตราการเปลี่ยน<br />

อาหารเปนเนื้อ<br />

2<br />

1.9<br />

1.8<br />

1.7<br />

1.6<br />

1.5<br />

ไมเสริมเบทาอีน เบทาอีน 0.75% เบทาอีน 1.5%<br />

ภาพที่<br />

9 อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อเมื่อสิ้นสุดการเลี้ยงของกุงกุลาดําที่ไดรับอาหาร<br />

ผสมเบทาอีนระดับตาง ๆ<br />

จากผลที่ไดจะเห็นไดวาที่คาตาง<br />

ๆ จะมีคาไมแตกตางกันระหวางชุดทดลอง กุงเมื่อ<br />

สิ้นสุดการเลี้ยงจะมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อไมแตกตางกัน<br />

โดยจะมีแนวโนมอัตราการ<br />

เปลี่ยนอาหารเปนเนื้อนอยที่สุดในชุดไมเสริมเบทาอีน<br />

ดังภาพที่<br />

9<br />

2. การศึกษาความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลันของลูกกุงกุลาดําที่ไดรับ<br />

อาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีนในระดับตาง<br />

ๆ กัน<br />

2.1 การศึกษาผลของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

ของลูกกุง<br />

หลังจากไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

0,15,30 และ45 วัน (จาก 20<br />

พีพีทีเปน 40 พีพีที)<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

0 สัปดาห (ยังไมไดรับอาหารทดลอง) พบวาหลังจากยายกุง<br />

ที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมานั้น<br />

ที่ระยะเวลาภายใน<br />

30 นาทีจะไมมีการตายเกิดขึ้น<br />

จนเมื่อเวลาผาน<br />

ไปที่<br />

60 นาทีจะเริ่มมีอัตราการตายเกิดขึ้นที่<br />

8.89+10.54 เปอรเซ็นต และจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเปน<br />

24.44+15.09 เปอรเซ็นต จากนั้นจะคอยเพิ่มขึ้นจนถึงที่ระยะเวลา<br />

6 ชั่วโมงอัตราการตายจะคอยคงที่<br />

จนถึงที่<br />

24 ชั่วโมงจะมีอัตราการตายสูงสุดคือ<br />

52.22+14.81 เปอรเซ็นต ดังตารางที่<br />

10<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

2 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมา<br />

นั้นภายในระยะเวลา<br />

15 นาที จะไมมีการตายของกุงเกิดขึ้น<br />

ที่ระยะเวลา<br />

30 นาทีจะเริ่มมีการตายของ<br />

56


กุงเกิดขึ้นเล็กนอยในชุดควบคุม<br />

และชุดที่เสริมเบทาอีนที่ระดับ<br />

1.5 % ที่ระยะเวลา<br />

60 นาที จะเริ่มมี<br />

การตายเกิดขึ้นเล็กนอยในชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75% ที่ระยะเวลา<br />

30 ถึง 90 นาที จะมีไมมีความ<br />

แตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ของการตาย ที่ระยะเวลา<br />

120 และ 180 นาที การตายจะมีความ<br />

แตกตางทางสถิติ (p0.05) ดังตารางที่<br />

10<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

4 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมา<br />

นั้นภายในระยะเวลา<br />

30 นาที จะไมมีการตายของกุงเกิดขึ้น<br />

ระยะเวลา 60 นาทีจะเริ่มมีอัตราการตาย<br />

เกิดขึ้น<br />

ชวงระยะเวลา 60 นาทีถึง 24 ชั่วโมงอัตราการตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ<br />

(p>0.05)<br />

ดังตารางที่<br />

10<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

6 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมา<br />

นั้นภายในระยะเวลา<br />

30 นาที จะไมมีการตายของกุงเกิดขึ้น<br />

ระยะเวลา 60 นาทีจะเริ่มมีอัตราการตาย<br />

เกิดขึ้น<br />

ในชุดควบคุม สวนชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75% จะเริ่มตายที่ระยะเวลา<br />

90 นาที สวนชุดที่<br />

เสริมเบทาอีนจะไมมีการตายเกิดเลยทุกชวงเวลา โดยชวงระยะเวลา 60 นาที ถึง 180 อัตราการตาย<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) สวนที่ระยะเวลา<br />

6 ถึง 24 ชั่วโมง<br />

มีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติระหวางชุดควบคุมกับชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

1.5% โดยคาที่ไดชุดควบคุม,ชุดเสริม<br />

เบทาอีน 0.75% และชุดเสริมเบทาอีน 1.5% ที่ระยะเวลา<br />

6 ชั่วโมงมีคา<br />

11.67+ 11.69,3.33+5.16 และ<br />

0.00+0.00 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ที่ระยะเวลา<br />

12,24 ชั่วโมงมีคา<br />

20.00+ 20.98,5.00+5.48 และ<br />

0.00+0.00 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ดังตารางที่<br />

10<br />

57


ตารางที่<br />

10 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 40 พีพีที อยางเฉียบพลัน<br />

ของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

0 สัปดาห<br />

(ยังไมไดรับ<br />

อาหารทดลอง)<br />

5 นาที 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 -<br />

60 นาที 8.89+10.54 -<br />

90 นาที 24.44+15.09 -<br />

120 นาที 31.11+14.53 -<br />

180 นาที 36.67+15.00 -<br />

6 ชั่วโมง<br />

46.67+20.62 -<br />

12 ชั่วโมง<br />

50.00+16.58 -<br />

24 ชั่วโมง<br />

2 สัปดาห<br />

52.22+14.81 -<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

60 นาที 1.67+4.08 a 3.33+5.16 a 1.67+4.08 a 0.761<br />

90 นาที 1.67+4.08 a 5.00+5.48 a 6.67+5.16 a 0.236<br />

120 นาที 1.67+4.08 b 6.67+5.16 ab 13.33+8.17 a 0.015<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

10 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 40 พีพีที อยาง<br />

เฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

2 สัปดาห<br />

180 นาที 6.67+5.16 b 8.33+7.53 ab 16.67+5.16 a 0.026<br />

6 ชั่วโมง<br />

18.33+13.29 a 18.33+9.83 a 23.33+8.17 a 0.651<br />

12 ชั่วโมง<br />

18.33+13.29 a 18.33+9.83 a 23.33+8.17 a 0.651<br />

24 ชั่วโมง<br />

30.00+10.95 a 30.00+6.33 a 36.67+12.11 a 4 สัปดาห<br />

0.439<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

60 นาที 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 0.391<br />

90 นาที 3.33+5.16 a 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 0.116<br />

120 นาที 3.33+5.16 a 1.67+4.08 a 5.00+8.37 a 0.651<br />

180 นาที 6.67+5.16 a 3.33+5.16 a 8.33+11.69 a 0.554<br />

6 ชั่วโมง<br />

8.33+7.53 a 6.67+5.16 a 8.33+11.69 a 0.927<br />

12 ชั่วโมง<br />

10.00+6.33 a 13.33+8.17 a 10.00+12.65 a 0.782<br />

24 ชั่วโมง<br />

15.00+8.37 a 13.33+8.17 a 11.67+13.29 a 6 สัปดาห<br />

0.854<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

10 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 40 พีพีที อยาง<br />

เฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

6 สัปดาห<br />

60 นาที 3.33+8.17 a 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 0.391<br />

90 นาที 3.33+8.17 a 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 0.561<br />

120 นาที 3.33+8.17 a 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 0.561<br />

180 นาที 10.00+10.96 a 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 0.047<br />

6 ชั่วโมง<br />

11.67+11.69 a 3.33+5.16 ab 0.00+0.00 b 0.041<br />

12 ชั่วโมง<br />

20.00+20.98 a 5.00+5.48 ab 0.00+0.00 b 0.037<br />

24 ชั่วโมง<br />

20.00+20.98 a 5.00+5.48 ab 0.00+0.00 b 0.037<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p0.05) ดัง<br />

ตารางที่<br />

11<br />

60


ตารางที่<br />

11 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 40 พีพีที อยางเฉียบพลัน<br />

ของกุงกุลาดํา<br />

หลังจากเปลี่ยนอาหารเปนไมมีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปนเวลา 15 วัน<br />

(คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา ระดับเบทาอีนในอาหารที่ไดรับกอนการศึกษา<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

5 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

15 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 3.33+5.16 a 0.116<br />

30 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 3.33+5.16 a 0.116<br />

60 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 3.33+5.16 a 0.116<br />

90 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 3.33+5.16 a 0.116<br />

120 นาที 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 5.00+8.37 a 0.290<br />

180 นาที 1.67+4.08 a 3.33+5.16 a 5.00+8.37 a 0.651<br />

6 ชั่วโมง<br />

3.33+5.16 a 3.33+5.16 a 8.33+11.69 a 0.472<br />

12 ชั่วโมง<br />

3.33+5.16 a 5.00+5.48 a 8.33+11.69 a 0.560<br />

24 ชั่วโมง<br />

5.00+5.48 a 5.00+5.48 a 8.33+11.69 a 0.718<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


หยุดใหเบทาอีนที่ระยะเวลา<br />

8 สัปดาห จะทําใหอัตราการตายไมมีคาแตกตางกันระหวางชุดการ<br />

ทดลอง แสดงใหเห็นวาการใหเบทาอีนนั้นจะตองใหอยางตอเนื่อง<br />

2.3 การศึกษาผลของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

ของลูกกุง<br />

หลังจากไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

0,15,30 และ45 วัน (จาก 20<br />

พีพีทีเปน 0 พีพีที)<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

0 สัปดาห (ยังไมไดรับอาหารทดลอง) พบวาหลังจากยายกุง<br />

ที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมานั้น<br />

ที่ระยะเวลาภายใน<br />

15 นาทีจะไมมีการตายเกิดขึ้น<br />

แตจะเริ่มตายที่<br />

ระยะเวลา 30 นาที และตาย 100 % ที่ระยะเวลา<br />

60 นาที ดังตารางที่<br />

12<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

2 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมา<br />

นั้น<br />

ที่ระยะเวลาภายใน<br />

5 นาทีจะไมมีการตายเกิดขึ้น<br />

แตจะเริ่มตายที่ระยะเวลา<br />

15 นาที ในชุด<br />

ควบคุม สวนชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75% และ 1.5% จะเริ่มตายที่ระยะเวลา<br />

30 นาที ที่ระยะเวลา<br />

15<br />

และ 30 นาที อัตราการตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ ที่ระยะเวลา<br />

60 นาที อัตราการตายจะมี<br />

ความแตกตางทางสถิติ (p0.05) ที่<br />

ระยะเวลา 120 นาทีอัตราการตายมีความแตกตางกันทางสถิติ (p0.05) ดังตารางที่<br />

12<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

4 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมา<br />

นั้น<br />

ที่ระยะเวลาภายใน<br />

5 นาทีจะไมมีการตายเกิดขึ้นในชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75% สวนชุดควบคุม<br />

และชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

1.5% จะมีการตายเริ่มที่<br />

5 นาทีแรก โดยที่ระยะเวลา<br />

5 นาทีถึง 60 นาทีอัตรา<br />

การตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ระยะเวลา 90 นาทีอัตราการตายจะมีความแตกตาง<br />

กันทางสถิติ (p


เปอรเซ็นต ตามลําดับ ระยะเวลา 120 นาทีถึง 24 ชั่วโมงอัตราการตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ<br />

(p>0.05) ดังตารางที่<br />

12<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

6 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่ความเค็ม<br />

20 พีพีทีมา<br />

นั้น<br />

ที่ระยะเวลาภายใน<br />

15 นาทีจะไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชุดการทดลอง<br />

ที่ระยะเวลา<br />

30 นาที จะเริ่ม<br />

มีอัตราการตายของชุดควบคุม และอัตราการตายมีความแตกตางกันทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

12 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 0 พีพีที อยาง<br />

เฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

0 สัปดาห<br />

(ยังไมไดรับ<br />

อาหารทดลอง)<br />

90 นาที 100.00+0.00 -<br />

120 นาที 100.00+0.00 -<br />

180 นาที 100.00+0.00 -<br />

6 ชั่วโมง<br />

100.00+0.00 -<br />

12 ชั่วโมง<br />

100.00+0.00 -<br />

24 ชั่วโมง<br />

2 สัปดาห<br />

100.00+0.00 -<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 3.33+5.16 a 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 0.116<br />

30 นาที 8.33+7.53 a 3.33+5.16 a 3.33+5.16 a 0.286<br />

60 นาที 20.00+6.33 a 6.67+8.17 b 6.67+5.16 b 0.004<br />

90 นาที 36.67+10.33 a 23.33+5.16 a 30.00+10.96 a 0.072<br />

120 นาที 73.33+10.33 a 43.33+12.11 b 40.00+22.80 b 0.050<br />

180 นาที 80.00+10.96 a 75.00+18.71 a 75.00+24.29 a 0.869<br />

6 ชั่วโมง<br />

85.00+8.37 a 83.33+19.66 a 78.33+24.01 a 0.813<br />

12 ชั่วโมง<br />

86.67+10.33 a 85.00+19.75 a 78.33+24.01 a 0.727<br />

24 ชั่วโมง<br />

90.00+8.94 a 86.67+17.51 a 81.67+22.29 a 0.705<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

12 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 0 พีพีที อยาง<br />

เฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

4 สัปดาห<br />

5 นาที 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

15 นาที 1.67+4.08 a 1.67+4.08 a 1.67+4.08 a 1.000<br />

30 นาที 10.00+8.94 a 6.67+8.17 a 8.33+11.69 a 0.840<br />

60 นาที 33.33+10.33 a 16.67+10.33 a 28.33+21.37 a 0.175<br />

90 นาที 55.00+10.49 a 38.33+14.72 ab 30.00+20.00 b 0.040<br />

120 นาที 66.67+10.33 a 46.67+20.66 a 38.33+24.83 a 0.064<br />

180 นาที 81.67+13.29 a 65.00+25.88 a 56.67+20.66 a 0.135<br />

6 ชั่วโมง<br />

90.00+10.96 a 75.00+28.81 a 70.00+27.57 a 0.346<br />

12 ชั่วโมง<br />

93.33+8.17 a 81.67+21.37 a 75.00+24.29 a 0.279<br />

24 ชั่วโมง<br />

93.33+10.33 a 83.33+22.51 a 76.67+22.51 a 6 สัปดาห<br />

0.349<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 5.00+5.48 a 0.00+0.00 b 0.00+0.00 b 0.022<br />

60 นาที 13.33+12.11 a 13.33+12.11 a 5.00+8.37 a 0.344<br />

90 นาที 33.33+30.77 a 21.67+17.22 a 15.00+15.17 a 0.374<br />

120 นาที 38.33+27.14 a 31.68+14.72 a 23.33+21.60 a 0.505<br />

180 นาที 83.33+19.66 a 63.33+18.62 a 63.33+25.03 a 0.205<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

12 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 0 พีพีที อยาง<br />

เฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

6 สัปดาห<br />

6 ชั่วโมง<br />

100.00+0.00 a 93.33+12.11 a 86.67+15.07 a 0.152<br />

12 ชั่วโมง<br />

100.00+0.00 a 93.33+12.11 a 90.00+12.65 a 0.250<br />

24 ชั่วโมง<br />

100.00+0.00 a 93.33+12.11 a 93.33+12.11 a 0.424<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p0.05) ดังตารางที่<br />

13<br />

66


ตารางที่<br />

13 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20 พีพีทีเปน 0 พีพีที อยาง<br />

เฉียบพลันของกุงกุลาดํา<br />

หลังจากเปลี่ยนอาหารเปนไมมีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปน<br />

เวลา 15 วัน(คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา ระดับเบทาอีนในอาหารที่ไดรับกอนการศึกษา<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 3.33+5.16 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.342<br />

30 นาที 8.33+7.53 a 8.33+4.08 a 6.67+5.16 a 0.848<br />

60 นาที 15.00+13.78 a 20.00+15.49 a 15.00+13.78 a 0.788<br />

90 นาที 25.00+20.74 a 26.67+18.62 a 20.00+14.14 a 0.804<br />

120 นาที 28.33+21.37 a 31.67+14.72 a 26.67+17.51 a 0.889<br />

180 นาที 56.67+24.22 a 55.00+17.61 a 55.00+16.43 a 0.986<br />

6 ชั่วโมง<br />

86.67+17.51 a 71.67+18.35 a 78.33+11.69 a 0.301<br />

12 ชั่วโมง<br />

88.33+18.35 a 76.67+23.38 a 83.33+15.06 a 0.585<br />

24 ชั่วโมง<br />

90.00+15.49 a 81.67+21.37 a 85.00+16.43 a 0.726<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ไอออน จะทําใหตัวพองและน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น<br />

ซึ่งจะทําใหการทํางานของกระบวนการเมตาบอลิซึม<br />

ผิดปกติ (Cattaert et al., 1994) หรือเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของความเขมขนของสารละลาย<br />

ภายนอกที่มีความเจือจางกวาภายในรางกาย<br />

ซึ่งสัตวน้ําจะตอบสนองดวยการลดการแพรออกของ<br />

โซเดียมไอออน และคลอไรดไอออน ที่จะทําใหปริมาณไอออนในน้ําเลือด<br />

และคลอไรดไอออน<br />

ลดลง ทําใหสัตวน้ําตายได<br />

(Eddy, 1981; Chen and Lin, 1994)<br />

3. การศึกษาความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางเฉียบพลันของของลูกกุงกุลาดําที่ไดรับ<br />

อาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีนในระดับตาง<br />

ๆ กัน<br />

3.1 การศึกษาผลของเบทาอีนที่ตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

ของลูกกุง<br />

หลังจากไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

0,15,30 และ45 วัน (อุณหภูมิ<br />

ปกติไปเปน 35 องศาเซสเซียส)<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

0 สัปดาห (ยังไมไดรับอาหารทดลอง) พบวาหลังจากยายกุง<br />

ที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ทุกระยะเวลาไมมีอัตราการตายของกุงเกิดขึ้น<br />

ดังตารางที่<br />

14<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

2 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ชุดความคุมและชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75% จะไมมีอัตราการตายทุกชวงเวลา สวนชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

1.5% จะมีอัตราการตายเกิดขึ้น ที่ระยะเวลา<br />

5 นาที หลังจากนั้นไมมีการตายเกิดเพิ่มขึ้น<br />

ทุก<br />

ระยะเวลาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่<br />

14<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

4 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ระยะเวลา 5 ถึง 30 นาทีจะไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชุดการทดลอง<br />

ที่ระยะเวลา<br />

60 นาที จะเริ่มมีการ<br />

ตายของชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

1.5% ที่ระยะเวลา<br />

90 นาทีจะเริ่มมีการตายของชุดควบคุม<br />

สวนชุดที่<br />

เสริมเบทาอีนไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชวงเวลา<br />

ที่ระยะเวลา<br />

60 นาทีถึง 24 ชั่วโมงอัตราการตายไมมี<br />

ความแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่<br />

14<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

6 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ระยะเวลา 5 ถึง 90 นาทีจะไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชุดการทดลอง<br />

ที่ระยะเวลา<br />

120 นาที จึงจะเริ่มมี<br />

68


การตายของทุกชุดการทดลอง ที่ระยะเวลา<br />

120 นาทีถึง 24 ชั่วโมงอัตราการตายไมมีความแตกตาง<br />

กันทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่<br />

14<br />

ตารางที่<br />

14 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

35 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

0 สัปดาห<br />

(ยังไมไดรับ<br />

อาหารทดลอง)<br />

5 นาที 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 -<br />

60 นาที 0.00 -<br />

90 นาที 0.00 -<br />

120 นาที 0.00 -<br />

180 นาที 0.00 -<br />

6 ชั่วโมง<br />

0.00 -<br />

12 ชั่วโมง<br />

0.00 -<br />

24 ชั่วโมง<br />

2 สัปดาห<br />

0.00 -<br />

5 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

15 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

30 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

14 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

35 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

2 สัปดาห<br />

60 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

90 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

120 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

180 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

6 ชั่วโมง<br />

0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

12 ชั่วโมง<br />

0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

24 ชั่วโมง<br />

0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 4 สัปดาห<br />

0.391<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

60 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

90 นาที 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

120 นาที 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

180 นาที 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

6 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

12 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

24 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

14 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

35 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

6 สัปดาห<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

60 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

90 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

120 นาที 3.33+5.16 a 1.67+4.08 a 3.33+5.16 a 0.791<br />

180 นาที 3.33+5.16 a 1.67+4.08 a 8.33+16.02 a 0.502<br />

6 ชั่วโมง<br />

6.67+8.16 a 3.33+8.17 a 8.33+16.02 a 0.746<br />

12 ชั่วโมง<br />

10.00+15.49 a 3.33+8.17 a 10.00+15.49 a 0.623<br />

24 ชั่วโมง<br />

18.33+18.35 a 10.00+12.65 a 20.00+22.80 a 0.612<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p0.05) ดังตารางที่<br />

15<br />

71


ตารางที่<br />

15 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

35 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําหลังจากเปลี่ยนอาหารเปนไมมีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปนเวลา 15 วัน(คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา ระดับเบทาอีนในอาหารที่ไดรับกอนการศึกษา<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

60 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

90 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

120 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

180 นาที 3.33+5.77 a 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 0.422<br />

6 ชั่วโมง<br />

3.33+5.77 a 0.00+0.00 a 3.33+5.77 a 0.630<br />

12 ชั่วโมง<br />

3.33+5.77 a 0.00+0.00 a 6.67+5.77 a<br />

0.296<br />

24 ชั่วโมง<br />

3.33+5.77 a 0.00+0.00 a 6.67+5.77 a<br />

0.296<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


จะสรางฮอรโมนเพื่อยับยั้งการสรางฮีโมไซยานิน<br />

มีผลทําใหกุงมีอาการออนเพลีย<br />

กินอาหารนอยลง<br />

(ประจวบ, 2537)<br />

3.3 การศึกษาผลของเบทาอีนที่ตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

ของลูกกุง<br />

หลังจากไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่ระยะเวลา<br />

0,15,30 และ45 วัน (อุณหภูมิ<br />

ปกติไปเปน 15 องศาเซสเซียส)<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

0 สัปดาห (ยังไมไดรับอาหารทดลอง) พบวาหลังจากยายกุง<br />

ที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ระยะเวลา 5 ถึง 6 ชั่วโมง<br />

จะไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชุดการทดลอง<br />

ที่<br />

ระยะเวลา 12 ชั่วโมง<br />

จึงจะเริ่มมีการตายของทุกชุดการทดลอง<br />

ดังตารางที่<br />

16<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

2 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ระยะเวลา 5 นาที จะไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชุดการทดลอง<br />

ที่ระยะเวลา<br />

15 นาที ชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

1.5% จะมีการตายเกิดขึ้น<br />

ที่ระยะเวลา<br />

180 นาทีชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75% จะเริ่มมีการตายเกิดขึ้น<br />

ที่<br />

ระยะเวลา 6 ชั่วโมง<br />

ชุดควบคุม จะเริ่มมีการตายเกิดขึ้น<br />

ที่ระยะเวลา<br />

15 นาทีถึง24 ชั่วโมงอัตราการ<br />

ตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่<br />

16<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

4 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ระยะเวลา 5 ถึง 180 นาที จะไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชุดการทดลอง<br />

ที่ระยะเวลา<br />

6 ชั่วโมง<br />

ชุดที่<br />

เสริมเบทาอีน 0.75% จะมีการตายเกิดขึ้น<br />

ที่ระยะเวลา<br />

12 ชั่วโมง<br />

ชุดควบคุม จะเริ่มมีการตายเกิดขึ้น<br />

สวนชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

1.5% จะไมมีการตายเกิดขึ้นทุดชวงเวลา<br />

ที่ระยะเวลา<br />

6 ชั่วโมง<br />

ถึง24 ชั่วโมง<br />

อัตราการตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่<br />

16<br />

จากการศึกษาที่ระยะเวลา<br />

6 สัปดาห พบวาหลังจากยายกุงที่เลี้ยงที่อุณหภูมิปกติมานั้น<br />

ระยะเวลา 5 นาที จะไมมีการตายเกิดขึ้นทุกชุดการทดลอง<br />

ที่ระยะเวลา<br />

15 นาที ชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75 และ 1.5 % จะมีการตายเกิดขึ้น<br />

ที่ระยะเวลา<br />

30 นาที ชุดควบคุม จะเริ่มมีการตายเกิดขึ้น<br />

ที่<br />

ระยะเวลา 15 นาที ถึง 24 ชั่วโมงอัตราการตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ<br />

(p>0.05) ดังตารางที่<br />

16<br />

73


ตารางที่<br />

16 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

15 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

0 สัปดาห<br />

(ยังไมไดรับ<br />

อาหารทดลอง)<br />

5 นาที 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 -<br />

60 นาที 0.00 -<br />

90 นาที 0.00 -<br />

120 นาที 0.00 -<br />

180 นาที 0.00 -<br />

6 ชั่วโมง<br />

0.00 -<br />

12 ชั่วโมง<br />

6.67+11.18 -<br />

24 ชั่วโมง<br />

13.33+15.81 -<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

16 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

15 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

2 สัปดาห<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

30 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

60 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

90 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

120 นาที 0.00+0.00 a 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.391<br />

180 นาที 0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 1.67+4.08 a 0.616<br />

6 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 1.67+4.08 a 3.33+5.16 a 0.761<br />

12 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 1.67+4.08 a 3.33+5.16 a 0.761<br />

24 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 3.33+5.16 a 3.33+5.16 a 4 สัปดาห<br />

0.791<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

60 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

90 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

120 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

180 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

6 ชั่วโมง<br />

0.00+0.00 a 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 0.391<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที<br />

่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

16 (ตอ) อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

15 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

4 สัปดาห<br />

12 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 0.616<br />

24 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 1.67+4.08 a 0.00+0.00 a 6 สัปดาห<br />

0.616<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00+0.00 3.33+8.17 a 1.67+4.08 a 0.561<br />

30 นาที 1.67+4.08 a 3.33+8.17 a 1.67+4.08 a 0.848<br />

60 นาที 1.67+4.08 a 3.33+8.17 a 1.67+4.08 a 0.848<br />

90 นาที 1.67+4.08 a 3.33+8.17 a 3.33+8.17 a 0.896<br />

120 นาที 1.67+4.08 a 3.33+8.17 a 3.33+8.17 a 0.896<br />

180 นาที 1.67+4.08 a 10.00+16.73 a 8.33+20.41 a 0.622<br />

6 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 20.00+40.00 a 11.67+28.58 a 0.550<br />

12 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 20.00+40.00 a 15.00+36.74 a 0.591<br />

24 ชั่วโมง<br />

1.67+4.08 a 20.00+40.00 a 20.00+40.00 a 0.548<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


เสริมเบทาอีน 0.75 จะมีการตายเกิดขึ้น<br />

ที่ระยะเวลา<br />

6 ชั่วโมง<br />

ชุดควบคุม จะเริ่มมีการตายเกิดขึ้น<br />

สวนชุดเสริมเบทาอีน 1.5 % ไมมีการตายเกิดขึ้นทุกเวลา<br />

ที่ระยะเวลา<br />

120 นาที ถึง 24 ชั่วโมงอัตรา<br />

การตายไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ดังตารางที่<br />

17<br />

ตารางที่<br />

17 อัตราการตายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความอุณหภูมิจากปกติเปน<br />

15 องศาเซสเซียส<br />

อยางเฉียบพลันของกุงกุลาดําหลังจากเปลี่ยนอาหารเปนไมมีสวนผสมของเบทาอีน<br />

เปนเวลา 15 วัน(คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ระยะเวลา ระดับเบทาอีนในอาหารที่ไดรับกอนการศึกษา<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

5 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

15 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

30 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

60 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

90 นาที 0.00 0.00 0.00 -<br />

120 นาที 0.00+0.00 a 5.00+10.00 a 0.00+0.00 a 0.463<br />

180 นาที 0.00+0.00 a 5.00+10.00 a 0.00+0.00 a 0.463<br />

6 ชั่วโมง<br />

5.00+5.77 a 7.50+15.00 a 0.00+0.00 a 0.622<br />

12 ชั่วโมง<br />

5.00+5.77 a 7.50+15.00 a 0.00+0.00 a 0.622<br />

24 ชั่วโมง<br />

5.00+5.77 a 7.50+15.00 a 0.00+0.00 a 0.622<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


4. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับเอนไซมแคทาเลสในลูกกุงกุลาดําที่ใหอาหารที่มีสวนผสมของ<br />

เบทาอีนในระดับตาง ๆ กันเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

4.1 การศึกษาผลของเบทาอีนตอระดับเอนไซมแคทาเลสในลูกกุงหลังจากไดรับ<br />

ความเครียดหลังจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

(ลูกกุงไดรับอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ที่<br />

ระยะเวลา 45 วัน)<br />

จากการศึกษาปริมาณเอนไซมแคทาเลส พบวา ระดับความเค็ม 20 พีพีที คาปริมาณ<br />

เอนไซมแคทาเลสมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ระดับความเค็ม 40 พีพีที คาปริมาณเอนไซม<br />

แคทาเลสมีคาแตกตางกันทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

18 ปริมาณเอนไซมแคทาเลสหลังจากไดรับการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

ของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน ที่ระยะเวลา<br />

45 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ปริมาณเอนไซมแค<br />

ทาเลส (units/mg<br />

protein/min)<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

ความเค็ม 0% 0.75% 1.5%<br />

20 ppt 0.278+0.108 a 0.165+0.007 a 0.163+0.090 a 0.265<br />

40 ppt 0.737+0.206 a 0.130+0.030 b 0.440+0.272 ab 0.026<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p0.05) ระดับความเค็ม 40 พีพีที คาปริมาณเอนไซม<br />

แคทาเลสมีคาแตกตางกันทางสถิติ (p


อุณหภูมิหรือความเค็มเปลี่ยนไปชวยทําใหเอนไซมภายในเซลลยังคงทํางานไดปกติ<br />

(Yancey et al.,<br />

1982) โดยจากผลจะเห็นไดวากุงที่ไดรับเบทาอีนในระดับ<br />

1.5% จะมีปริมาณเอมไซมนอยสุด โดยมี<br />

คาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญกับชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0% และ เสริมเบทาอีน 0.75 % ซึ่งจะเห็นวาที่<br />

ระดับเบทาอีน 1.5 % จะมีปริมาณเอนไซมต่ําสุด<br />

นาจะมาจากการที่หยุดใหเบทาอีนเปนระยะเวลา<br />

2<br />

สัปดาห แตการใหเบทาอีนในระดับที่มาก<br />

จะยังคงมีผลในการรักษาสมดุลไอออน<br />

ตารางที่<br />

19 ปริมาณเอนไซมแคทาเลสหลังจากไดรับการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

ของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน ที่ระยะเวลา<br />

60 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ปริมาณเอนไซมแค<br />

ทาเลส (units/mg<br />

protein/min)<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

ความเค็ม 0% 0.75% 1.5%<br />

20 ppt 0.175+0.053 a 0.247+0.125 a 0.120+0.061 a 0.233<br />

40 ppt 0.603+0.078 a 0.413+0.091 b 0.230+0.026 c 0.001<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


พีพีเอ็ม จะเริ่มตั้งแตใสไปที่ระยะเวลาประมาณ<br />

1 ชั่วโมง<br />

จะมีอาการเหมือนกันใน 3 ชุดการทดลอง<br />

ตั้งแตเริ่มการทดลองโดยวายนํ้าอยางกระวนกระวายไปรอบ<br />

ๆ โหล และดีดตัวไปมาในนํ้า<br />

บางครั้ง<br />

จะดีดตัวขึ้นจากผิวนํ้าโดยกุ<br />

งเกือบทุกตัวจะพยายามวายขึ้นสูผิวนํ้าอยู<br />

ตลอดเวลา เมื่อเวลาผานไป<br />

กุงจะเริ่มวายนํ้าชาลง<br />

ความสามารถในการดีดตัวขึ้นสูผิวนํ้าลดลง<br />

จากนั้นกุ<br />

งจะจมตัวลงไปอยู นิ่ง<br />

ๆ<br />

ที่พื้นโหล<br />

และคอย ๆ ตายไปในที่สุด<br />

สวนกุ งในกลุ มที่ไดรับสารเคมีที่ความเขมขน<br />

48.87-65.92<br />

พีพีเอ็ม จะมีอาการเหมือนกันใน 3 ชุดการทดลอง สวนมากจะเริ่มตายที่ระยะเวลาประมาณ<br />

6 ชั่วโมง<br />

โดยเริ่มตนจะมีอาการปกติ<br />

วายนํ้าอยู<br />

บริเวณพื้นโหล<br />

มีบางตัวที่มีอาการเหมือนกุ<br />

งใน<br />

กลุมที่ไดรับสารเคมีที่ความเขมขน<br />

88.92-120 พีพีเอ็ม แตเมื่อเวลาผานไปกุ<br />

งบางสวนจะคลื่อนไหว<br />

นอยลง และตายลงอยางชา ๆ ลักษณะของกุงที่ตายคือกุ<br />

งที่ไมมีการตอบสนองเมื่อถูกเขี่ยดวยแทง<br />

แกว ตัวจะขุ นและเริ่มเปลี่ยนเปนสีชมพู<br />

สวนที่ไดรับสารเคมีที่ระดับ<br />

20.00-36.22 พีพีเอ็ม จะไม<br />

แสดงอาการใหเห็นแตจะเริ่มตายที่ระยะเวลาคอนขางชา<br />

คือ ประมาณ 12 ชั่วโมง<br />

เปนตนไป ซึ่ง<br />

การที่กุงตายในการทดลองนี้ก็นาจะมากจากวาแอมโมเนียมีผลตอสรีรวิทยาสัตวน้ําที่สําคัญ<br />

คือ<br />

เหงือกจะเพิ่มจํานวนเซลลและเชื่อมติดกัน<br />

ทําใหการแลกเปลี่ยนอากาศเปนไปไดยาก<br />

และ<br />

อิพิทีเลียม ของเซลลเหงือกถูกทําลาย เซลลมีการบวมน้ํามีผลทําใหผนังเซลลยอมใหน้ําผานมากขึ้น<br />

มีการหยุดชะงักของกระบวนการเมทาบอลิซึม ทําใหสัตวน้ําตายได<br />

(Lloyd and Orr, 1969) อัตรา<br />

การตายของกุ งกุลาดําวัยรุน<br />

ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

ไดแสดงไวใน ตารางที่<br />

20<br />

81


ตารางที่<br />

20 อัตราการตายของกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ในการทดลองหาคา LC50 ของสารแอมโมเนีย ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

(10 ตัว/ซ้ํา)<br />

ความเขมขนของ<br />

การตายเฉลี่ยของกุง<br />

(ตัว)<br />

แอมโมเนีย<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

(พีพีเอ็ม) ตัว เปอรเซ็นต ตัว เปอรเซ็นต ตัว เปอรเซ็นต<br />

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00<br />

20.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00<br />

26.85 0.67 6.67 0.00 0.00 0.33 3.33<br />

36.22 1.33 13.33 0.67 6.67 1.00 10.00<br />

48.87 4.67 46.67 3.00 30.00 4.67 46.67<br />

65.92 7.00 70.00 7.00 70.00 8.00 80.00<br />

88.92 9.00 90.00 9.00 90.00 9.67 96.67<br />

120.00 10.00 100.00 9.67 96.67 10.00 100.00<br />

82


อัตราการตาย<br />

สะสม<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

ตามมาตรา<br />

สวนโปรบิท<br />

ความเขมขนของแอมโมเนีย (ppm) ตามมาตราสวนลอการิทึม<br />

ภาพที่<br />

10 ความสัมพันธระหวางอัตราการตายสะสมและความเขนขมของแอมโมเนียในชุดไมเสริมเบทาอีน<br />

ที่ใชในการประเมินคา<br />

24 hr-LC50 ของกุงที่ระยะเวลา<br />

45 วัน<br />

83


อัตราการตาย<br />

สะสม<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

ตามมาตรา<br />

สวนโปรบิท<br />

ความเขมขนของแอมโมเนีย (ppm) ตามมาตราสวนลอการิทึม<br />

ภาพที่<br />

11 ความสัมพันธระหวางอัตราการตายสะสมและความเขนขมของแอมโมเนียในชุดเสริมเบทาอีน 0.75%<br />

ที่ใชในการประเมินคา<br />

24 hr-LC50 ของกุงที่ระยะเวลา<br />

45 วัน<br />

84


อัตราการตาย<br />

สะสม<br />

(เปอรเซ็นต)<br />

ตามมาตรา<br />

สวนโปรบิท<br />

ความเขมขนของแอมโมเนีย (ppm) ตามมาตราสวนลอการิทึม<br />

ภาพที่<br />

12 ความสัมพันธระหวางอัตราการตายสะสมและความเขนขมของแอมโมเนียในชุดเสริมเบทาอีน 1.5%<br />

ที่ใชในการประเมินคา<br />

24 hr-LC50 ของกุงที่ระยะเวลา<br />

45 วัน<br />

85


เมื่อนําอัตราการตายของกุงในตารางที่<br />

20 มาวิเคราะหหาคาความเขมขนของสาร<br />

แอมโมเนีย ที่ทําใหกุงกุลาดําวัยรุนตาย<br />

50 เปอรเซ็นต ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

ตามวิธีของ<br />

Litchfield และ Wilcoxon (1949) โดยการนําคา X 2 ของเสนที่ลากบน<br />

Logarithmic probability paper<br />

ภาพที่<br />

10,11,12 ที่ไดจากการคํานวณมาเปรียบเทียบกับคา<br />

X 2 ที่เปดไดจากตาราง<br />

พบวา คา X 2 ที่ได<br />

จากการคํานวณมีคานอยกวาคา X 2 ที่เปดจากตาราง<br />

แสดงวา ขอมูลที่<br />

plot ไดมีการกระจายของจุด<br />

เบี่ยงเบนไปจากเสนตรงที่ลาก<br />

เพื่อใชในการประเมินคา<br />

LC50 อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ จึง<br />

สามารถใชเสนตรงมาประเมินคา LC50 ไดดังนี้<br />

คา LC50 ของสารแอมโมเนีย สําหรับกุงกุลาดําวัยรุน<br />

ชุดควบคุมมีคาเทากับ 54.000<br />

(45.724-63.774) พีพีเอ็ม และคาฟงคชั่นความลาดเอียง<br />

(Slope function) ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95%<br />

มีคาเทากับ 1.309 (1.200-1.427) ชุดเสริมเบทาอีน 0.75% มีคาเทากับ 60.000 (49.669-72.480)<br />

พีพีเอ็ม และคาฟงคชั่นความลาดเอียง<br />

(Slope function) ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% มีคาเทากับ 1.357<br />

(1.216-1.514) ชุดเสริมเบทาอีน 1.5% มีคาเทากับ 48.000 (38.217-60.288) พีพีเอ็ม และคาฟงคชั่น<br />

ความลาดเอียง (Slope function) ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% มีคาเทากับ1.682 (1.342-2.108) ดังแสดง<br />

ในตารางที่<br />

3 ซึ่งคา<br />

LC50 ที่ไดทุกชุดการทดลองมีคาอยูใกลเคียงกับ<br />

Chin and Chen (1987) ทําการ<br />

หาคา LC50ในกุงกุลาดําระยะโพสตลารวามีคา 52.11 พีพีเอ็ม ,ปกปอง (2543) โดยทําการเสริม<br />

HUFA ที่มีอัตราสวนของ<br />

EPA:DHA ในระดับ 1:1, 1:2 และ 1:5 ในกุงกุลาดําระยะโพสตลารวา<br />

พบวามีคา LC50 เทากับ 56.00, 53.00 และ 53.50 พีพีเอ็ม และ สมศักดิ์<br />

(2540) ที่ทําการหาคา<br />

LC50 ในกุงกุลาดําระยะโพสตลารวา<br />

15 พบวามีคาเทากับ 53.50 พีพีเอ็ม โดยคาที่ไดจากการทดลองจะมี<br />

คาสูงสุดในชุดที่มีการเสริมเบทาอีนที่ระดับ<br />

0.75% ซึ่งหมายความวากุงชุดที่เสริมเบทาอีนระดับนี้<br />

มีความทนทานตอพิษของแอมโมเนียไดดีที่สุด<br />

สวนชุดที่เสริมเบทาอีนที่ระดับ<br />

1.5% จะมีระดับ<br />

ความทนทานตอพิษของแอมโมเนียต่ํากวาชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75% ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากกุงจะ<br />

สังเคราะหโปรตีนไดมากเพราะเบทาอีนเปนผูใหหมูเมธิลในการสรางเมทไธโอนีน<br />

และไปเปน<br />

โปรตีน ตามลําดับ ซึ่งจะยอยสลายออกมาเปนแอมโมเนียในรางกาย<br />

และขับออกซึ่งเมื่อรวมกับ<br />

แอมโมเนียในน้ําที่ได<br />

จากการเติมลงไปจะทํามีแอมโมเนียในปริมาณที่มากขึ้น<br />

ซึ่งจะทําใหเปนพิษ<br />

ตอตัวกุงในอัตราที่มากขึ้น<br />

86


ตารางที่<br />

21 คา LC50 และคาฟงคชั่นความลาดเอียง<br />

(Slope function) ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95%<br />

ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

ของสารแอมโมเนีย สําหรับกุงกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่<br />

ระดับตาง ๆ<br />

ชุดการ<br />

ทดลอง<br />

เบทาอีน<br />

0%<br />

เบทาอีน<br />

0.75%<br />

เบทาอีน<br />

1.5%<br />

x 2 ที่คํานวณไดของเสนที่<br />

ลาก< x 2 คา 24 hrs- LC50 (ppm)<br />

จากตาราง(n=5)<br />

= 11.07<br />

3.343


ในรางกายจะใชไปเพื่อการดํารงชีวิตเพียงอยางเดียว<br />

โดยอยูกอนจุดที่เรียกวา<br />

ระดับออกซิเจนละลาย<br />

น้ําที่กอใหเกิดการตาย<br />

(incipient lethal level) สวนชุดเสริมเบทาอีนที่ระดับ<br />

0.75 และ1.5% จะยังมี<br />

อัตราการหายใจสูงกวาเนื่องจากมีเบทาอีนชวยปกปองรักษาสมดุลไอออน<br />

ตารางที่<br />

22 อัตราการใชออกซิเจนเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลันของกุงกุลาดํา<br />

ที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ กัน ที่ระยะเวลา<br />

45 วัน (คาเฉลี่ย+<br />

SD)<br />

ความเค็ม<br />

ระดับเบทาอีนในอาหาร<br />

p-value<br />

0% 0.75% 1.5%<br />

อัตราการใชออกซิเจน (มิลลิกรัม/กรัม/ชั่วโมง)<br />

20 พีพีที 1.22+0.18 a 1.16+0.15 a 1.33+0.27 a 0.567<br />

40 พีพีที 0.89+0.07 b 1.20+0.11 a 1.24+0.01 a 0.001<br />

หมายเหตุ a,b,c อักษรที่แตกตางกันในแนวนอนเดียวกันแสดงถึงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


สรุป<br />

ผลของเบทาอีนตอความทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม,<br />

อุณหภูมิ และ<br />

ความเปนพิษเพียบพลันของแอมโมเนียในกุงกุลาดําวัยรุน<br />

ที่<br />

3 ระดับ คือ 0, 0.75 และ 1.5 เปอรเซ็นต<br />

ของเบทาอีน โดยทําการทดลองกุงกุลาดําระยะวัยรุน<br />

ซึ่งแบงการทดลองเปน<br />

2 ชวง คือ ชวง<br />

ระยะเวลาในการเลี้ยง<br />

0-6 สัปดาห ใหอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

และ ระยะเวลาในการเลี้ยง<br />

6-8 สัปดาห หยุดใหอาหารที่มีสวนผสมของเบทาอีน<br />

ผลที่ไดตอการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพ<br />

ของอาหาร,อัตรารอด เมื่อไดรับการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน,อุณหภูมิอยางเฉียบพลัน,<br />

ระดับเอนไซมแคทาเลสเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

,ความเปนพิษเฉียบพลัน<br />

ของแอมโมเนีย และ อัตราการใชออกซิเจนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มอยางเฉียบพลัน<br />

ดังนี้<br />

1. การเสริมเบทาอีนในอาหารที่ระดับตาง<br />

ๆ ไมมีผลตอ น้ําหนักเพิ่ม,น้ําหนักเพิ<br />

่มเฉลี่ยตอ<br />

วัน,อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ,อัตรารอด,อัตราการการกินอาหารตอวัน, อัตราการกินอาหาร และ<br />

อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ<br />

ที่ระยะเวลา<br />

2,4,6,8 สัปดาห จะมีเฉพาะอัตรารอดที่ระยะเวลา<br />

2<br />

สัปดาห จะสูงสุดในชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

1.5 เปอรเซ็นต<br />

2. การเสริมเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ตอการเปลี่ยนแปลงจากความเค็ม<br />

20 พีพีทีไปเปน 40<br />

พีพีที จะมีผลตออัตราการตายที่ระยะเวลา<br />

6 สัปดาหเทานั้น<br />

โดยจะมีผลในชวงเวลาหลังจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

ในชวงระยะเวลา 6 ,12, 24 ชั่วโมง<br />

สวนการเปลี่ยนแปลงความเค็มจาก<br />

20<br />

พีพีทีไปเปน 0 พีพีที จะไมมีผลอยางชัดเจนเปนชวงเวลา<br />

3. การเสริมเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ตอการเปลี่ยนแปลงจากอุณหภูมิปกติไปเปน<br />

35 องศา<br />

เซสเซียส และจากอุณหภูมิปกติไปเปน 15 องศาเซสเซียส ไมมีผลตออัตราการตายทุกสัปดาหในการ<br />

เลี้ยง<br />

4. การเสริมเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ตอปริมาณเอนไซมแคทาเลสที่ระยะเวลา<br />

6 สัปดาห<br />

พบวา เบทาอีนที่ระดับ<br />

0.75 เปอรเซ็นตจะมีผลตอการลดปริมาณเอนไซมแคทาเลสไดดีที่สุด<br />

สวนที่<br />

ระยะเวลา 8 สัปดาห เบทาอีนที่ระดับ<br />

1.5 เปอรเซ็นตจะมีผลตอการลดปริมาณเอนไซมแคทาเลส<br />

ไดดี่ที่สุด<br />

5. การเสริมเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ตอความเปนพิษเฉียบพลันของแอมโมเนีย (LC50) จะมี<br />

คาดีที่สุดในชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75 เปอรเซ็นต<br />

89


6. การเสริมเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ตออัตราการใชออกซิเจนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความ<br />

เค็มอยางเฉียบพลัน ชุดที่เสริมเบทาอีน<br />

0.75,1.5 เปอรเซ็นต ที่ระดับความเค็ม<br />

40 พีพีที จะมีคา<br />

ใกลเคียงกับชุดที่ไมเสริมเบทาอีน<br />

0,0.75 และ 1.5 เปอรเซ็นต ที่ระดับความเค็ม<br />

20 พีพีที สวนชุดที่<br />

เสริมเบทาอีนที่ระดับ<br />

0 เปอรเซ็นต จะมีคาอัตราการใชออกซิเจนต่ําที่สุด<br />

การเสริมเบทาอีนในระดับ 0.75 % เปนระดับที่เหมาะสมมีผลทําใหกุงกุลาดําวัยออนมีความ<br />

ทนทานความเครียดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็ม<br />

เมื่อพิจารณาจากอัตราการตาย,ระดับเอนไซม<br />

แคทาเลส ,ความทนทานแอมโมเนีย และอัตราการใชออกซิเจน<br />

90


ขอเสนอแนะ<br />

1. ควรมีการศึกษาวัดพารามิเตอรอื่น<br />

ๆ ที่เปนตัวชี้ถึงความเครียดของสัตว<br />

เชน เอนไซมใน<br />

กลุมแอนติออกซิแดนทอื่น<br />

ๆ เชน ซุเปอรออกไซดดีสมิวเตส,คาดัชนีระบบภูมิคุมกัน<br />

เชน ปริมาณ<br />

เม็ดเลือดขาว,ปริมาณไกลโคเจนในตับ เปนตน<br />

2. ควรมีการศึกษาอัตราการใชออกซิเจน โดยทําใหระยะเวลาถี่มากขึ้น<br />

เพื่อจะไดนําไปทํา<br />

กราฟเพื่อบอกถึงอัตราเมทาบอลิซึมในแตละชวง<br />

รวมทั้งระดับออกซิเจนที่วิกฤต<br />

และที่กอใหเกิด<br />

การตายขึ้น<br />

91


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

โชติ สหกิจรุงเรือง.<br />

2533. ผลของการใชอาหารชนิดตาง ๆ ที่มีตอคุณสมบัติบางประการของ<br />

น้ําและอัตราของลูกกุงกุลาดํา<br />

(Penaeus monodon Fabricus). วิทยานิพนธปริญญา<br />

โท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

ทวี จินตธรรม. 2539. ปญหาการสงออกผลิตภัณฑกุงทะเล.<br />

วารสารการประมง 49 (6) : 557- 565.<br />

บรรจง เทียนสงรัศมี. 2521. หลักการเลี้ยงกุงทะเล.<br />

ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล, คณะประมง<br />

,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 115 น.<br />

_____ . 2523. หลักการเลี้ยงกุงทะเล.<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 164 น.<br />

_____. 2543. อดีต-อนาคตกุงไทย,<br />

น. 1-66. ใน เสวนาวิชาการเรื่องกุง.<br />

ภาควิชาวิทยาศาสตร<br />

ทางทะเล, คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

บุญรัตน ประทุมชาติ. 2545. ความสําคัญของแรธาตุกับการเลี้ยงกุง.<br />

เอกสารเผยแพรทาง<br />

วิชาการ บริษัทซิสเคมอครีคัลเจอรรัล จํากัด, กรุงเทพฯ.<br />

ปกปอง อุมอยู.<br />

2543. ผลของกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว<br />

(กลุมโอเมกา<br />

3) ที่มีอัตราสวนของ<br />

กรด Eicosapentaenoic (EPA) และกรด Docosahexaenoic (DHA) ตางกัน ตอ<br />

ความเครียดและความตานทานโรคของกุงกุลาดํา<br />

(Peneaus monodon Fabricius)<br />

โดยการใหผานอารทีเมีย. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

มะลิ บุณยรัตผลิน. 2531. อาหารและการใหอาหารกุงกุลาดํา,<br />

น. 108-141. ใน การเพาะเลี้ยง<br />

กุงกุลาดํา.<br />

ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล, คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

92


มั่นสิน<br />

ตัณฑุลเวศน และไพพรรณ พรประภา. 2538. การจัดการคุณภาพน้ําและการบําบัดน้ํา<br />

เสียในบอเลี้ยงปลาและสัตวน้ําอื่น<br />

ๆ : เลม 1 การจัดการคุณภาพน้ํา.<br />

ภาควิชา<br />

วิศวกรรมสิ่งแวดลอม,คณะวิศวกรรมศาสตร,จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.<br />

319 น.<br />

วีรพงศ วุฒิพันธุชัย.<br />

2531. การเพาะเลี้ยงกุงกุลาดํา.<br />

ภาควิชาวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน, ชลบุรี. 23 น.<br />

วัลลภ คงเพิ่มพูน.<br />

2532. กุงกุลาดํา.<br />

โครงการหนังสือเกษตรชุมชน, กรุงเทพฯ. 135 น.<br />

สมศักดิ์<br />

ระยัน. 2540. ผลของวิตามินซีตอความเครียดและการเจริญเติบโตของลูกกุง<br />

กุลาดํา. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

สุธีวัฒน สมสืบ, พิสมัย สมสืบ, มะลิ บุณยรัตผลิน และ อมรรัตน เสริมวัฒนากุล. 2539. การ<br />

ทดสอบปจจัยสภาพแวดลอมที่มีผลตอกุงกุลาดํา,<br />

น. 354-366. ใน รายงานการประชุมทาง<br />

วิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่<br />

35 สาขาประมง, กรุงเทพฯ.<br />

สุวิทย ชื่นสินธุ.<br />

2531. การเลี้ยงกุงแชบวยและกุงกุลาดํา.<br />

สํานักพิมพศูนยหนังสือเกษตร,<br />

กรุงเทพฯ. 63 น.<br />

อนันตชัย เขื่อนธรรม.<br />

2542. หลักการวางแผนการทดลอง . ภาควิชาสถิติ, คณะวิทยาศาสตร,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร , กรุงเทพฯ . 348 น.<br />

อรพินท จินตสถาพร 2530. การใชออกซิเจนของกุงทะเลชนิดที่พบในนากุงธรรมชาติของ<br />

ประเทศไทย.วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

Aebi, H. 1984 Catalase in vitro. Methods Enzymol. 105: 121-126.<br />

93


Ahmad, I., T. Hamid, M. Fatima, H.S. Chand, S.K. Jain, M. Athar and S. Raisuddin.<br />

2000. Induction of hepatic antioxidants in freshwater catfish (Channa punctuates<br />

Bloch) is a biomarker of paper mill effluent exposure. Biochem. Biophys. Acta<br />

1519, 37-48.<br />

Ainsworth, J. A., C. Dexiang and P. R. Waterstrat. 1991. High physiological concentrations of<br />

cortisol in vivo can initiate phagocyte suppression. J. Aquat. Anim. Health. 3:41-47.<br />

AOAC. 1990. Officail methods of analysis. 15 th ed ., Asscociation of official analytical<br />

chemist, Inc., Virginia . 1360 p.<br />

AOAC. 2000. Official Methods of Analysis of the Association of Official Analysis Chemists.<br />

17 th ed. Vol 1, Association of Official Analysis Chemists , Ch4, p1-54.<br />

Barja de Quiroga, G., M. Lopez-Torres and P.Gil. 1989a. Hypoxia decreases lung size<br />

of amphibian tafdpoles without changing GSH-peroxidases or tissue peroxidation. Comp.<br />

Biochem. Physiol. 92A, 581-588.<br />

Bellamy, D. and I. J. Chester 1961. Studies on Myxine glutinosa-1. The chemical composition of<br />

the tissues. Comp. Biochem. Physiol.,3, 175-183.<br />

Bouaricha, N., P.Thuet, M. Charmantier-Daures and J.P. Trilles 1991. Na–K ATPase and<br />

carbonic anhydrase activities in larvae, postlarvae and adults of the shrimp<br />

Penaeus japonicus (Decapoda, Penaeidae). Comp. Biochem. Physiol. 100A,<br />

433– 437.<br />

Carr, W. E. S. 1978. Chemoreception in the shrimp, Palaemonetes pugio: the role of amino acid<br />

and betaine in the elicitation of a feeding response by extracts Comp. Biochem. Physiol.,<br />

61A,127-132.<br />

94


Cattaert, D.,A. Araque. W. Buno and F. Clarac. 1994. Mortor neurons of the crayfish walking<br />

system posses TEA + reavealed regenerative electrical properties. J. exp. Biol. 188:339-<br />

345.<br />

Chance, B., H. Sies and A. Boveris. 1979. Hydroperoxide metabolism in mammalian organs.<br />

Physiol. Rev. 59,527-605.<br />

Charmantier, G., C. Soyez, & Aquacop 1994. Effect of molt stage and hypoxia on<br />

osmoregulatory capacity in the peneid shrimp Penaeus vannamei. J. Exp. Mar. Biol.<br />

Ecol., 178, 233–246.<br />

Charmantier, G., M. Charmantier-Daures, N. Bouaricha, P. Thuet, D.E. Aiken, J.P. Trilles<br />

1988. Ontogeny of osmoregulation and salinity tolerance in two decapod<br />

crustaceans: Homarus americanus and Penaeus japonicus. Biol. Bull. 175, 102–<br />

110.<br />

Chen, J.C. and Lai, S.H., 1993. Effects of temperature and salinity on oxygen<br />

consumption and ammonia-N excretion of juvenile Penaeus japonicus Bate. J.<br />

Exp. Mar.Biol. Ecol., 165:161-170.<br />

Chen, J.C. and J. L. Lin. 1994. Osmolality and chloride concentration in the haemolymph<br />

of subadult Penaeus chinenesis subjected to different salinity levels. Aquaculture<br />

125 :167-174.<br />

Chen, J.C.,P.C. Liu and S.C. Lei. 1990. Toxicities of ammonia and nitrite of Penaeus<br />

monodon adolescents. Aquaculture 89: 127-137.<br />

Chin, T.C. and J.C. Chen. 1987. Acute toxicity of ammonia to larvae of the tiger prawn,<br />

Penaeus monodon. Aquaculture 66: 247-253.<br />

95


Colt, J. and D. Armstrong. 1979. Nitrogen Toxicity of fish, Crustaceans and Molluscs.<br />

Dept. Cilvil Eng., Univ. California, Davis. 30 p.<br />

Colt, J. and G. Tchobanoblous. 1976. Evaluation of the short-term toxicity of nitrogen compound<br />

to channel catfish, Ictalurus Punctatus. Aquaculture 8:209-224.<br />

Claiborne A: Catalase activity. In: Handbook of Methods for Oxygen Radical Research.<br />

Greenwald RA (ed). CRC Press Inc.,pp283-284, 1985.<br />

Dalla Via, G.J., 1986. Salinity response of the juvenile penaeid shrimp Penaeus<br />

Japonicus Ι. Oxygen consumption and estimation of productivity. Aquaculture,<br />

55:297-306.<br />

Eddy, F.B. 1981. Effect of stress on osmotic and ionic regulation in fish, pp. 77-102. In<br />

A.D. Pickering (ed.). Stress and fish. Academic Press, London.<br />

Eduardo, A.A.,P. L.Rodolfo,A. R. Edemar and B.C.D. Afonso. 2004. Effect of captivity<br />

and eyestalk ablation on antioxidant status of shrimps (Farfantepenaeus paulensis)<br />

Aquaculture 238:523-528.<br />

Elamparithy, R. 1995. Influence of selected additives on pellet quality and biogrowth<br />

parameters of Penaeid shrimp juveniles. MFSc thesis, Tanuvas, 75 pp.<br />

Ellsaesser, C.E. and L.W. Clem. 1986. Haematological and immunological changes in channel<br />

catfish stressed by hand ling and transport. J. Fish. Biol. 288:511-521.<br />

Ferraris, R.P., E.G. Parado-Estepa, E.G. De Jesus and J.M. Ladja. 1987. Osmotic and<br />

chloride regulation in the hemolymph of the tiger prawn Penaeus monodon<br />

during molting in various salinity. Mar. Biol., 95, 377–385.<br />

96


Filho, D.W.,1996. Fish antioxidant defenses-a comparative approach. Braz. J. Med. Biol.<br />

Res. 29,1735-1742.<br />

Filho, D.W.,C. Giulivi and A. Boveris. 1993. Antioxidant defenses in marine fish: Ι. Teleosts.<br />

Comp. Biochem. Physiol. 106C, 409-413.<br />

Florey, E. 1969. An Introduction to General and Comparative Animal Physiology. W.B.<br />

Saunders Company, Philadelphia. 713 p.<br />

Freeman, B.A. and J.D. Crapo. 1982. Biology of disease: free radicals and tissue injury.<br />

Lab Invest 47, 412-426.<br />

Frei, B., 1999. Molecular and biological mechanisms of antioxidant action. FASEB J. 13, 963-<br />

964.<br />

Goh, Y. and T. Tamura. 1980. Olfactory and gustatory responses to amino acids in two arine<br />

teleosts – red sea bream and mullet. Comp. Biochem. Physiol.,66C:217-224.<br />

Gower, D.B. 1984. Regulation of steroidogenesis, pp. 293-384. In H.L.J. Makin (ed.).<br />

Biochemistry of Steroid Hormones. Blackwell, Oxford.<br />

Houghton, G. and R.A. Matthews. 1986. Immunosuppression of carp (Cyprinus carpio L.) to<br />

icthyophthiriasis using the corticosteroid triaminolone acetonide. Vet. Immunol.<br />

Immunopathol. 12:413-419.<br />

Jasmine, G.I.,S.P. Pillai and S. Athithan. 1993. Effect of feeding stimulants on the<br />

biochemical composition and growth of Indian white prawn Penaeus indicus. In: From<br />

Discovery to Commercialization,Vol. 19 (Carrillo, M., Dahle, L., Morales, J.,<br />

Sorgeloos, P., Svennevig, N. & Wyban, J. eds), p. 139. Oostende Beligium European-<br />

Aquaculture Society, Torremolinos, Spain.<br />

97


Jones, D.P., L. Eklow, H. Thor and S. Orrennius. 1981. Metabolism of hydrogenperoxide in<br />

isolated hepatocytes: Relative contributions of catalase and glutathione peroxidase in<br />

decomposition of endogenously generated H 2O 2.Arch. Biochem. Biophys. 210,505-516.<br />

Kungvankij, P., T. E. Chua, J. Pudadera, G. Corre, T. B. Tirno, I. O. Potestas, G. A.<br />

Taleon and J. N. Paw. 1986. Shrimp culture : pond design, operation and<br />

management. NACA Training Manual Series No. 2. Network of Aquaculture Centres in<br />

Asia. Bangkok, Thailand.<br />

Kutty, M.N., G. Muragapoopathy and T.S. Krishnan. 1971. Influence of Salinity and Temperature<br />

on the oxygen Consumption in Young Juveniles of the Indian Prawn, Penaeus indicus.<br />

Mar. Biol. (Ber.) 11:125-131.<br />

Lemaire, P.,A. Matthews, L. Forlin , D.R. Livingstone. 1994. Stimulation of oxyradical<br />

production of hepatic microsomes of flounder (Platichthys flesus) and perch<br />

(Perca fluvialis) by model and pollutant xenobiotic. Arch. Environ. Contam.<br />

Toxicol. 26, 191-200.<br />

Lignot, J.-H., J.-C. Cochard, C. Soyez, P. Lemaire and G.Charmantier. 1999. Haemolymph<br />

osmolality according to nutritional status,molting stage and body weight of Penaeus<br />

stylirostris. Aquaculture,170, 79–92.<br />

Liu, C.I. 1989. Shrimp diseases, prevention and treatment, pp. 64-74. In D.M. Akiyama<br />

(ed.). Proceedings of the Southeast Asia Shrimp Farm Management Workshop.<br />

American Soybean Association, Singapore.<br />

Litchfield, J.T. and F.W. Wilcoxon. 1949. A simplified method of evaluating of dose-effect<br />

experiments. J. Pharmacol. Exp. Ther. 96: 99-115.<br />

98


Lofts, B. 1956. The effects of salinity changes on the respiratory rate of the prawn<br />

Palemonetes varians (Leach). J. Exp. Biol. 33:730-736.<br />

Lowry, O.H., N.J. Rosenbrough, A.L. Farr and R.J. Randell. 1951. Protein measurement<br />

with the Folin phenol reagent. J. Biol. Chem. 193:265-275.<br />

Lloyd, R. and L.D. Orr. 1969. The diuretic response by rainbow trout to sub-lethal concentration<br />

of ammonia Water Res. 3:335-344.<br />

MacArthur, J.I. and T.C. Fletcher. 1985. Phagocytosis in fish, pp. 29-46. In M.J. Manning and<br />

M.F. Tatner (eds.). Fish Immonology. Academic Press, London.<br />

Mackie, A.M., J.W. Adron and P.T. Grant, 1980. Chemical nature of feeding stimulants for the<br />

Dover sole, Solea solea L. J. Fish Biol. 16, 701– 708.<br />

Mackie, A.M. and A.I. Mitchell. 1982. Further studies on the chemical control of feeding<br />

behavior in the Dover sole, Solea solea. Biochem. Phtsiol. 73A:89-93.<br />

Mackie, A.M. and A.I. Mitchell. 1983. Studies on the chemical nature of feeding stimulants for<br />

the juvenile European eel, Anguilla Anguilla (L.). J. Fish. Boil. 22:425-430.<br />

Mason, J.W. 1975. A historical view of the stress field. Part I. J. Human Stress 1:6-12.<br />

Marui, T., R.E. Evans, B. Zielinski and T.J. Hara. 1983. Gustatory responses of the rainbow trout<br />

(Salmo gairdneri) palate to amino acids and derivatives J. Comp. Physiol. 153:423-433.<br />

Mazeaud, M.M. and F. Mazeaud. 1981. Adrenergic response to stress in fish, pp. 49-75.<br />

In A.D. Pickering (ed.) Stress and fish. Academic Press Inc., London.<br />

99


Mazeaud, M.M., F. Mazeaud and E.M. Donaldson. 1977. Primary and secondary effect of stress<br />

in fish : some new data with a general review. Trans. Am. Fish. Soc. 160:201-202.<br />

Motoh, H. 1984. Biology and Ecology of Penaeus monodon Proceeding of the First<br />

International Conference on the Culture of Penaid Prawn shrimps. lloilo City,<br />

Philippines.<br />

Miller, A.L. 2003. The methionine-homocysteine cycle and as affects on cognitive disesses.<br />

Altern Med Rev 8:7-19.<br />

Nohl,H. and W. Jordan. 1980. The metabolic fate of mitochondrial hydrogen peroxide. Eur. J.<br />

Biochem. 111, 203-210.<br />

Newell, R.C. 1979. Biology of intertidal Animals. Marine Ecology Surveys Ltd, Faversham,<br />

Kent. 781 p.<br />

NRC. 1983. Nutrient requirement of warmwater fishes and shell fish. National academy<br />

press, Washington D.C. 102 p.<br />

Oruc, E.O., N. Uner. 2000. Combine effects of 2,4-D and azinphosmethyl on antioxidant enzymes<br />

and lipid peroxidation in liver of Oreochromis niloticus. Comp. Biochem. Physiol.<br />

127C, 291-296.<br />

Palace, V.P., T.A. Dick, S.B. Brown, C.L. Baron and J.F. Klaverkamp. 1996. Oxidative stress in<br />

Lake Sturgeon (Acipenser fulvescens) orally exposed to 2,3,7,8-tetrachlorodibenzofuran.<br />

Aquat. Toxicol. 35,79-92.<br />

Penaflorida, V. and E. Virtanen. 1996. Growth, survival and feed conversion of juvenile shrimp<br />

(Penaeus monodon) fed a betaine/aminoacid additive. Bamidegh, 48, 3–9.<br />

100


Pickering, A. D. 1981. Introduction : the concept of biological stress, pp. 1-9. In A.D. Pickering<br />

(ed.) Stress and Fish. Academic Press Inc., London.<br />

_____. 1989. Stress responses and disease resistance in formed fish, pp. 35-49. In Aqua Nor<br />

87, Conference 2 and 3, Trondheim, Norway.<br />

Pickering, A.D. and T.G. Pottinger. 1985. Cortisol can increase the susceptibility of brown trout,<br />

(Salmo trutta L.) to disease without reducing the white blood cell count. J. Fish Biol.<br />

27:611-619.<br />

Regnault, M., 1987. Nitrogen excretion in marine and freshwater crustacean. Biol. Rev.62, 1-24.<br />

Robertson, J.D. 1957. Osmotic and ionic regulation in aquatic invertebrate in Recent Advances<br />

in Invertebrate Physiology (ed. Scheer, B. T.), University of Oregon,Eugene, 229-246<br />

Ross, M.J. and E.J. Reith. 1985. Histology: A textbook and atlas. Harper and Row, New york.<br />

Ross, S.W., D.A. Dalton, S. Kramer and B.L. Christensen. 2001. Physiological (antioxidant)<br />

responses of estuarine fishes to variability in dissolved oxygen. Comp. Biochem.<br />

Physiol. 130C, 289-303.<br />

Rudeva, I.I., 1997. Blood antioxidant system of Black Sea elasmobranch and teleosts. Comp.<br />

Biochem. Physiol. 118C, 255-260.<br />

Rumsey, G.L., 1991. Choline-betaine requirements of rainbow trout. Aquaculture,95:105-116.<br />

Saunderson, C.L. and J. McKinley. 1990. Changes in body-weight. Composition and hepatic<br />

enzyme activities in response to dietary methionine, betaine and choline levels in growing<br />

chicks. British Journal of Nutrition, 63:339-349.<br />

101


Schwhn BC, Hatner D. Hohlfeld T. et al. Pharmacokinetics of oral bataine in healthy subjects and<br />

patients with homocystinuria. Br J Clin Pharmacol 2003:55:6-13.<br />

Schmidt-Nielson, K. 1941. Aktiv ionoptagales hos flodkreps of strandkrabbe In: The Physiology<br />

of Crustacea.<br />

_____. 1975. Animal Physiology : Adaptation and Environment. Cambridge University Press,<br />

London. 699 p.<br />

Selye, H. 1973. The evolution of the stress concept. Am. Sci. 61:692-699.<br />

Stave, J.W. and B.S. Robertson. 1985. Hydrocortisone suppresses the chemiluminescent<br />

response of stripped bass phagocytes. Dev. Comp. Immunol. 9:77-84.<br />

Stekol, J.A., P.T. Hsu, S. Weiss, and P. Smith. 1953. Labile methyl group and its synthesis de<br />

novo in relation to growth in chicks. Journal of Biological Chemistry, 203:763-773.<br />

Strange, R.J., C.B. Schreck and J.T. Golden. 1977. Corticoid stress responses to handling and<br />

tempera ture in salmonids. Trans. Am. Fish. Soc. 106:213-218.<br />

Vargas-Albores, F. and J.L. Ochoa. 1992. The variation of pH osmolality sodium and<br />

potassium concentrations in the haemolymph of sub-adult blue shrimp Penaeus<br />

stylirostris according to size. Comp. Biochem. Physiol., 102, 1–5.<br />

Virtanen, E., and R. Campbell. 1994. Reduzierung der Ruckenspeckdicke durch<br />

Einsaltz von Betaine bei Mastschweinen (Reduction of Backfat thickness through betaine<br />

supplementation of diets for fattening pigs). Handbuch der tierischen Verdlung.<br />

Verlag H. Kamlage, Osnabruek, Deutschland, 19: 145-150.<br />

102


Virtanen, E. and L. Rosi. 1995. Effect of betaine on methoinine requirement of broilers<br />

under various environmental conditions. Proc. Aust. Poult. Sci. Sym.,7:88-92.<br />

Virtanen, E. and A. Soivio. 1985. The patterns T3, T4,contisol and Na-K-ATP base during<br />

smoltification of hatchery-reared Samol salar and comparison with wild smolts.<br />

Aquaculture, 45:97-109.<br />

Virtanen, E.,R. Hole, J.W. Risink, K-E. Slinning and M. Junnila. 1994. Betaine/amino<br />

acid additive enhances the seawater performance of rainbow trout (Oncorhynchus mykiss)<br />

fed standard fish-meal-based diets. Aquaculture, 124: 219-222. Abstract only.<br />

Virtanen, E., M. Junnila and A. Soivio. 1989. Effect of Food containing betaine/amino<br />

acid additive on the osmotic adaptation of young Atlantic salmon, Samol salar L.<br />

Aquaculture, 83: 109-122.<br />

Virtanen, E., M. Junnila, K-E. Slinning and R. Hole. 1992. Betaine Suplementation of<br />

physiological condition and smoltification of salmon, Presented at the Cultivition of<br />

atlantic salmon Symposiom, 16-20 August 1992, Bergen,Norway, 20 pp.<br />

Wasbort, N., M.D. Krom, A. Gasith, and T. Samocha, 1989. Ammonia excretion of green<br />

tiger prawn Penaeus semisulcatus as a possible limit on the biomass density in shrimp<br />

ponds. The Israeli Journal of Aquaculture. Bamidgeh 41 (4): 159-164.<br />

Wickens, J.F. 1985. Ammonia production and oxidation during the culture of marine<br />

prawns and lobsters in labolatory recirculation systems. Aquacultural.<br />

Thuet, P., M. Charmantier-Daures, G. Charmantier G. 1988. Relation entre smoregulation<br />

et activites d’ATPase Na + -K+ et d’anhydrase carbonique chez larves et postlarves de<br />

Homarus gammarus (L.) (Crustacea: Decapoda).J. Exp. Mar. Biol.<br />

Ecol. 115, 249–261.<br />

103


Ting, Y.Y., 1970. Study on the oxygen consumption of grass shrimp, Penaeus monodon<br />

and sand shrimp, Metapenaeus monoceros. Bull. Taiwan Fish. Res. Inst.,<br />

16:111-118.<br />

Yancey, P.H., 1992. Compatible and counteracting aspects of organic osmolytes in<br />

mammalian kidney cells in vivo and vitro, In: G.N. Somero, C.B. Osmond and Bolis,<br />

C.L. (eds): Water and Lift, pp 33-51, Springer – Verlag, Berlin/Heidelberg<br />

Zakharov, V.M. and G.M. Clarke. 1993. BIOTEST. A new integrated biological approach for<br />

assessing the condition of natural environments. Moscow Affliate of the International<br />

Biotest Foundation, Moscow, 58 p.<br />

104


ภาคผนวก<br />

105


ตารางผนวกที่<br />

1 อัตราการตายของกุ งกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ในการทดลองหาคา<br />

LC50 ของสารแอมโมเนีย ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

่ ่ ่<br />

ความเขมขนของแอมโมเนีย (ppm) จํานวนกุงที่ตาย(ตัว)<br />

เปอรเซ็นต<br />

ซ้ําที<br />

1 ซ้ําที<br />

2 ซ้ําที<br />

3 เฉลี่ย<br />

การตาย<br />

เบทาอีน 0%<br />

0.00 0 0 0 0.00 0.00<br />

20.00 0 0 0 0.00 0.00<br />

26.85 0 0 2 0.67 6.67<br />

36.22 0 0 4 1.33 13.33<br />

48.87 5 6 3 4.67 46.67<br />

65.92 9 8 4 7.00 70.00<br />

88.92 10 9 8 9.00 90.00<br />

120.00<br />

เบทาอีน 0.75%<br />

10 10 10 10.00 100.00<br />

0.00 0 0 0 0.00 0.00<br />

20.00 0 0 0 0.00 0.00<br />

26.85 0 0 0 0.00 0.00<br />

36.22 0 2 0 0.67 6.67<br />

48.87 3 3 3 3.00 30.00<br />

65.92 6 9 6 7.00 70.00<br />

88.92 9 9 9 9.00 90.00<br />

120.00 9 10 10 9.67 96.67<br />

106


ตารางผนวกที่<br />

1 (ตอ) อัตราการตายของกุ งกุลาดําที่ไดรับเบทาอีนที่ระดับตาง<br />

ๆ ในการทดลอง<br />

หาคา LC50 ของสารแอมโมเนีย ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง<br />

่ ่ ่<br />

ความเขมขนของแอมโมเนีย (ppm) จํานวนกุงที่ตาย(ตัว)<br />

เปอรเซ็นต<br />

ซ้ําที<br />

1 ซ้ําที<br />

2 ซ้ําที<br />

3 เฉลี่ย<br />

การตาย<br />

เบทาอีน 1.5%<br />

0.00 0 0 0 0.00 0.00<br />

20.00 0 0 0 0.00 0.00<br />

26.85 0 0 1 0.33 3.33<br />

36.22 0 0 3 1.00 10.00<br />

48.87 6 5 3 4.67 46.67<br />

65.92 9 6 9 8.00 80.00<br />

88.92 10 9 10 9.67 96.67<br />

120.00 10 10 10 10.00 100.00<br />

การหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

0%<br />

การวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคา<br />

LC50 ตามวิธีของ Litchfield and Wilcoxon (1949) สัญลักษณ ที่ใชมี<br />

ดังนี้<br />

K = จํานวนระดับความเขมขนที่ใช<br />

N = Degree of freedom ของคา X 2 ของเสนที่ลาก<br />

หาไดจาก n = K-2<br />

S = คาฟงกชั่นความลาดเอียง<br />

(Slope function)<br />

f LC50 = คาแฟคเตอรของ LC50 fs = คาแฟคเตอรของ S<br />

N = จํานวนสัตวทดลองที่ใชซึ่งอยู<br />

ระหวางคา LC16 และ LC84 R = อัตราสวนระหวางความเขมขนสูงสุดและความเขมขนตํ่าสุด<br />

A = คาที่ไดจากการคํานวณโดยใชคา<br />

S และ R<br />

สามารถคํานวณหาคา LC50 ไดโดยประเมินจากอัตราการตาย ระดับความเขมขน และคาที่ไดจาก<br />

เสนที่ลากบน<br />

Logarithmic probability paper ไดดังนี้<br />

107


ตารางผนวกที่<br />

2 การคํานวณหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

0%<br />

Concentration Dead/Test % Observed<br />

mortality (O)<br />

% Expected<br />

mortality (E)<br />

O-E X 2 = (O-E) 2<br />

E(100-E)<br />

20.00 0.00/10 0.00 0.00 0.00 0.0000<br />

26.85 0.67/10 6.67 1.20 5.47 0.2524<br />

36.22 1.33/10 13.33 12.00 1.33 0.0017<br />

48.87 4.67/10 46.67 44.00 2.67 0.0029<br />

65.92 7.00/10 70.00 72.00 2.00 0.0020<br />

88.92 9.00/10 90.00 95.50 5.50 0.0704<br />

120.00 10.00/10 100.00 99.50 0.50 0.0050<br />

Total 0.3340<br />

คา X 2 ที่คํานวณไดของเสนที่ลาก<br />

= (ΣX 2 × จํานวนสัตวทดลอง) / จํานวนระดับความเขมขน<br />

= (0.3340 × 70) / 7 = 3.343<br />

Degree of freedom , n = K-2 = 7-2 = 5<br />

คา X 2 ที่เปดจากตาราง<br />

เมื่อ<br />

n เทากับ 5 มีคา = 11.07<br />

จากการนําคา X 2 ของเสนที่ลากบน<br />

Logarithmic probability paper ที่ไดจากการคํานวณมา<br />

เปรียบเทียบกับคา X 2 ที่เปดไดจากตาราง<br />

พบวา คา X 2 ที่ไดจากการคํานวณ<br />

มีคานอยกวาคา X 2 ที่<br />

เปดจากตาราง แสดงวา ขอมูลที่<br />

plot ไดมีการกระจายของจุดเบี่ยงเบนไป<br />

จากเสนตรงที่ลากเพื่อใช<br />

ในการประเมินคา LC50 อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงสามารถใชเสนตรงมาประเมินคา LC50 ได<br />

และสามารถคํานวณคาตาง ๆ ไดดังนี้<br />

คาความเขมขนบนเสนตรง ที<br />

่เปอรเซ็นตการตายเทากับ 16 50 และ 84 เปอรเซ็นต ไดคา<br />

LC 16 = 42.00<br />

LC 50 = 54.00<br />

LC 84 = 72.00<br />

108


S = [(LC84 / LC50) + (LC50 / LC16)] / 2<br />

= [(72.00 /54.00 ) + (54.00 /42.00 )] / 2 =1.309<br />

เมื่อ<br />

N = 20<br />

f LC 50 = S 2.77/ √ N = (1.309) 2.77/ √ 20 = 1.181<br />

ขีดจํากัดบนของ LC50 ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % มีคาเทากับ<br />

ขีดจํากัดบนของคา LC50 = LC50 × f LC50 = 54.000 × 1.181 = 63.774<br />

ขีดจํากัดลางของคา LC50 = LC50 / f LC50 = 54.000 / 1.181 = 45.724<br />

ดังนั้นคา<br />

LC50 ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % จึงมีคาเทากับ 54.00 (45.724-63.774)<br />

R = ความเขมขนสูงสุด / ความเขมขนตํ่าสุด<br />

= 120 / 20 = 6<br />

A = antilog 1.1 (log S) 2 / log R = antilog 1.1 (log 1.309) 2 / log 6 = 1.046<br />

fs = A 10(K-1) / K√ N = 1.046 10(7-1) / 7√ 20 = 1.090<br />

ขีดจํากัดบนของ S ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % มีคาเทากับ<br />

ขีดจํากัดบนของคา S = S × fs = 1.309×1.090 = 1.427<br />

ขีดจํากัดลางของคา S = S / fs = 1.309/1.090 = 1.200<br />

ดังนั้นคา<br />

S ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % จึงมีคาเทากับ 1.309 (1.200-1.427)<br />

การหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

0.75%<br />

การวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคา<br />

LC50 ตามวิธีของ Litchfield and Wilcoxon (1949) สัญลักษณ ที่ใชมี<br />

ดังนี้<br />

K = จํานวนระดับความเขมขนที่ใช<br />

N = Degree of freedom ของคา X 2 ของเสนที่ลาก<br />

หาไดจาก n = K-2<br />

S = คาฟงกชั่นความลาดเอียง<br />

(Slope function)<br />

109


f LC50 = คาแฟคเตอรของ LC50 fs = คาแฟคเตอรของ S<br />

N = จํานวนสัตวทดลองที่ใชซึ่งอยู<br />

ระหวางคา LC16 และ LC84 R = อัตราสวนระหวางความเขมขนสูงสุดและความเขมขนตํ่าสุด<br />

A = คาที่ไดจากการคํานวณโดยใชคา<br />

S และ R<br />

สามารถคํานวณหาคา LC50 ไดโดยประเมินจากอัตราการตาย ระดับความเขมขน และคาที่ไดจาก<br />

เสนที่ลากบน<br />

Logarithmic probability paper ไดดังนี้<br />

ตารางผนวกที่<br />

3 การคํานวณหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

0.75%<br />

Concentration Dead/Test % Observed<br />

mortality (O)<br />

% Expected<br />

mortality (E)<br />

O-E X 2 = (O-E) 2<br />

E(100-E)<br />

20.00 0.00/10 0.00 0.35 -0.35 0.0035<br />

26.85 0.00/10 0.00 1.40 -1.40 0.0142<br />

36.22 0.67/10 6.67 8.00 -1.33 0.0024<br />

48.87 3.00/10 30.00 28.00 2.00 0.0020<br />

65.92 7.00/10 70.00 60.00 10.00 0.0417<br />

88.92 9.00/10 90.00 87.00 3.00 0.0080<br />

120.00 9.67/10 96.67 96.50 0.17 0.0001<br />

Total 0.0718<br />

คา X 2 ที่คํานวณไดของเสนที่ลาก<br />

= (ΣX 2 × จํานวนสัตวทดลอง) / จํานวนระดับความเขมขน<br />

= (0.0718 × 70) / 7 = 0.7180<br />

Degree of freedom , n = K-2 = 7-2 = 5<br />

คา X 2 ที่เปดจากตาราง<br />

เมื่อ<br />

n เทากับ 5 มีคา = 11.07<br />

110


จากการนําคา X 2 ของเสนที่ลากบน<br />

Logarithmic probability paper ที่ไดจากการคํานวณมา<br />

เปรียบเทียบกับคา X 2 ที่เปดไดจากตาราง<br />

พบวา คา X 2 ที่ไดจากการคํานวณ<br />

มีคานอยกวาคา X 2 ที่<br />

เปดจากตาราง แสดงวา ขอมูลที่<br />

plot ไดมีการกระจายของจุดเบี่ยงเบนไป<br />

จากเสนตรงที่ลากเพื่อใช<br />

ในการประเมินคา LC50 อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงสามารถใชเสนตรงมาประเมินคา LC50 ได<br />

และสามารถคํานวณคาตาง ๆ ไดดังนี้<br />

คาความเขมขนบนเสนตรง ที่เปอรเซ็นตการตายเทากับ<br />

16 50 และ 84 เปอรเซ็นต ไดคา<br />

LC 16 = 44.50<br />

LC 50 = 60.00<br />

LC 84 = 82.00<br />

S = [(LC84 / LC50) + (LC50 / LC16)] / 2<br />

= [(82.00 /60.00 ) + (60.00 /44.50 )] / 2 = 1.357<br />

เมื่อ<br />

N = 20<br />

f LC 50 = S 2.77/ √ N = (1.357) 2.77/ √ 20 = 1.208<br />

ขีดจํากัดบนของ LC50 ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % มีคาเทากับ<br />

ขีดจํากัดบนของคา LC50 = LC50 × f LC50 = 60.000 × 1.208 = 72.480<br />

ขีดจํากัดลางของคา LC50 = LC50 / f LC50 = 60.000 / 1.208 = 49.669<br />

ดังนั้นคา<br />

LC50 ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % จึงมีคาเทากับ 60.000 (49.669-72.480)<br />

R = ความเขมขนสูงสุด / ความเขมขนตํ่าสุด<br />

= 120 / 20 = 6<br />

A = antilog 1.1 (log S) 2 / log R = antilog 1.1 (log 1.357) 2 / log 6 = 1.059<br />

fs = A 10(K-1) / K√ N = 1.059 10(7-1) / 7√ 20 = 1.116<br />

ขีดจํากัดบนของ S ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % มีคาเทากับ<br />

111


ขีดจํากัดบนของคา S = S × f s = 1.357×1.116 = 1.514<br />

ขีดจํากัดลางของคา S = S / f s = 1.357/1.116 = 1.216<br />

ดังนั้นคา<br />

S ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % จึงมีคาเทากับ 1.357 (1.216-1.514)<br />

การหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

1.5%<br />

การวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคา<br />

LC50 ตามวิธีของ Litchfield and Wilcoxon (1949) สัญลักษณ ที่ใชมี<br />

ดังนี้<br />

K = จํานวนระดับความเขมขนที่ใช<br />

N = Degree of freedom ของคา X 2 ของเสนที่ลาก<br />

หาไดจาก n = K-2<br />

S = คาฟงกชั่นความลาดเอียง<br />

(Slope function)<br />

f LC50 = คาแฟคเตอรของ LC50 fs = คาแฟคเตอรของ S<br />

N = จํานวนสัตวทดลองที่ใชซึ่งอยู<br />

ระหวางคา LC16 และ LC84 R = อัตราสวนระหวางความเขมขนสูงสุดและความเขมขนตํ่าสุด<br />

A = คาที่ไดจากการคํานวณโดยใชคา<br />

S และ R<br />

สามารถคํานวณหาคา LC50 ไดโดยประเมินจากอัตราการตาย ระดับความเขมขน และคาที่ไดจาก<br />

เสนที่ลากบน<br />

Logarithmic probability paper ไดดังนี้<br />

112


ตารางผนวกที่<br />

4 การคํานวณหาคา LC50 ที่ระดับเบทาอีน<br />

1.5%<br />

Concentration Dead/Test % Observed<br />

mortality (O)<br />

% Expected<br />

mortality (E)<br />

O-E X 2 = (O-E) 2<br />

E(100-E)<br />

20.00 0.00/10 0.00 0.00 0.00 0.0000<br />

26.85 0.33/10 3.33 1.40 1.93 0.0270<br />

36.22 1.00/10 10.00 15.00 -5.00 0.0196<br />

48.87 4.67/10 46.67 48.00 -1.33 0.0007<br />

65.92 8.00/10 80.00 84.00 -4.00 0.0119<br />

88.92 9.67/10 96.67 98.40 -1.73 0.0190<br />

120.00 10.00/10 100.00 100.00 0.00 0.0000<br />

Total 0.0782<br />

คา X 2 ที่คํานวณไดของเสนที่ลาก<br />

= (ΣX 2 × จํานวนสัตวทดลอง) / จํานวนระดับความเขมขน<br />

= (0.0782 × 70) / 7 = 0.7822<br />

Degree of freedom , n = K-2 = 7-2 = 5<br />

คา X 2 ที่เปดจากตาราง<br />

เมื่อ<br />

n เทากับ 5 มีคา = 11.07<br />

จากการนําคา X 2 ของเสนที่ลากบน<br />

Logarithmic probability paper ที่ไดจากการคํานวณมา<br />

เปรียบเทียบกับคา X 2 ที่เปดไดจากตาราง<br />

พบวา คา X 2 ที่ไดจากการคํานวณ<br />

มีคานอยกวาคา X 2 ที่<br />

เปดจากตาราง แสดงวา ขอมูลที่<br />

plot ไดมีการกระจายของจุดเบี่ยงเบนไป<br />

จากเสนตรงที่ลากเพื่อใช<br />

ในการประเมินคา LC50 อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงสามารถใชเสนตรงมาประเมินคา LC50 ได<br />

และสามารถคํานวณคาตาง ๆ ไดดังนี้<br />

คาความเขมขนบนเสนตรง ที่เปอรเซ็นตการตายเทากับ<br />

16 50 และ 84 เปอรเซ็นต ไดคา<br />

LC 16 = 36.00<br />

LC 50 = 48.00<br />

113


LC 84 = 97.50<br />

S = [(LC84 / LC50) + (LC50 / LC16)] / 2<br />

= [( 97.50/48.00 ) + ( 48.00/36.00 )] /2 = 1.682<br />

เมื่อ<br />

N = 40<br />

f LC 50 = S 2.77/ √ N = (1.682) 2.77/ √ 40 = 1.256<br />

ขีดจํากัดบนของ LC50 ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % มีคาเทากับ<br />

ขีดจํากัดบนของคา LC50 = LC50 × f LC50 = 48.000 × 1.256 = 60.288<br />

ขีดจํากัดลางของคา LC50 = LC50 / f LC50 = 48.000 / 1.256 = 38.217<br />

ดังนั้นคา<br />

LC50 ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % จึงมีคาเทากับ 48.000 (38.217-60.288)<br />

R = ความเขมขนสูงสุด / ความเขมขนตํ่าสุด<br />

= 120 / 20 = 6<br />

A = antilog 1.1 (log S) 2 / log R = antilog 1.1 (log 1.682) 2 / log 6 = 1.181<br />

fs = A 10(K-1) / K√ N = 1.181 10(7-1) / 7√ 40 = 1.253<br />

ขีดจํากัดบนของ S ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % มีคาเทากับ<br />

ขีดจํากัดบนของคา S = S × fs = 1.682×1.253 = 2.108<br />

ขีดจํากัดลางของคา S = S / fs = 1.682/ 1.253= 1.342<br />

ดังนั้นคา<br />

S ที่ชวงความเชื่อมั่น<br />

95 % จึงมีคาเทากับ 1.682 (1.342-2.108)<br />

114


ตารางผนวกที่<br />

5 คุณภาพน้ําในชุดไมเสริมเบทาอีน<br />

ที่ระยะทุก<br />

ๆ 2 สัปดาหในการเลี้ยง<br />

พารามิเตอร ระยะเวลา (สัปดาห)<br />

0 2 4 6<br />

ออกซิเจน<br />

mg/l<br />

6.79 6.92 7.02 6.86<br />

พีเอช 8.7 8.5 8.6 8.4<br />

อุณหภูมิ<br />

O<br />

C<br />

29 28 29 30<br />

ความเค็ม<br />

ppt<br />

20 22 22 23<br />

แอมโมเนีย<br />

mg/l<br />

0.30 1.51 1.61 1.31<br />

ไนไตรท<br />

mg/l<br />

0.01 0.15 0.22 0.17<br />

ไนเตรต<br />

mg/l<br />

0.18 0.46 0.48 0.37<br />

อัลคาไลน<br />

mg/l<br />

100 104 101 102<br />

บีโอดี<br />

mg/l<br />

1.51 2.55 3.24 2.20<br />

115


ตารางผนวกที่<br />

6 คุณภาพน้ําในชุดเสริมเบทาอีน<br />

0.75% ที่ระยะทุก<br />

ๆ 2 สัปดาหในการเลี้ยง<br />

พารามิเตอร ระยะเวลา (สัปดาห)<br />

0 2 4 6<br />

ออกซิเจน<br />

mg/l<br />

7.01 6.85 6.98 6.77<br />

พีเอช 8.6 8.7 8.7 8.5<br />

อุณหภูมิ<br />

O<br />

C<br />

28 29 29 29<br />

ความเค็ม<br />

ppt<br />

20 21 22 22<br />

แอมโมเนีย<br />

mg/l<br />

0.21 1.58 1.53 1.45<br />

ไนไตรท<br />

mg/l<br />

0.02 0.21 0.30 0.16<br />

ไนเตรต<br />

mg/l<br />

0.19 0.39 0.40 0.38<br />

อัลคาไลน<br />

mg/l<br />

101 105 101 99<br />

บีโอดี<br />

mg/l<br />

1.05 2.10 3.10 2.22<br />

116


ตารางผนวกที่<br />

7 คุณภาพน้ําในชุดเสริมเบทาอีน<br />

1.5% ที่ระยะทุก<br />

ๆ 2 สัปดาหในการเลี้ยง<br />

พารามิเตอร ระยะเวลา (สัปดาห)<br />

0 2 4 6<br />

ออกซิเจน<br />

mg/l<br />

6.99 6.91 7.12 6.88<br />

พีเอช 8.6 8.4 8.3 8.5<br />

อุณหภูมิ<br />

O<br />

C<br />

28 29 29 28<br />

ความเค็ม<br />

ppt<br />

20 22 22 23<br />

แอมโมเนีย<br />

mg/l<br />

0.21 1.61 1.40 1.30<br />

ไนไตรท<br />

mg/l<br />

0.02 0.16 0.31 0.15<br />

ไนเตรต<br />

mg/l<br />

0.19 0.45 0.43 0.38<br />

อัลคาไลน<br />

mg/l<br />

106 104 103 100<br />

บีโอดี<br />

mg/l<br />

1.21 2.06 3.10 2.20<br />

117

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!