23.10.2014 Views

ตัวอยางของยาที่มีความเสี่ยงสูง - Thaiwonders

ตัวอยางของยาที่มีความเสี่ยงสูง - Thaiwonders

ตัวอยางของยาที่มีความเสี่ยงสูง - Thaiwonders

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

DIS for Patient Safety:<br />

High Alert Drugs<br />

งานบริการเภสัชสนเทศเพื่อเพิ่มความปลอดภัยใหแกผูปวย<br />

ยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

ยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

High Alert Drugs<br />

กลุมยาที่มีโอกาสสูงที่จะเกิดอันตรายตอผูปวย<br />

ซึ่งอาจเกิดเนื่องจาก ยามีดัชนีการรักษาแคบ<br />

(Narrow Therapeutic Index) การใหยาแกผูปวย<br />

จะตองระมัดระวังทั้งในเรื่องการสั่งจายยาใน<br />

ขนาดที่เหมาะสม ถูกตอง และมีการติดตาม<br />

ผูปวยภายหลังการใหยา<br />

จันทิมา โยธาพิทักษ<br />

โรงพยาบาลสุราษฎรธานี<br />

14 กุมภาพันธ 2551<br />

การคัดเลือกยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

ในโรงพยาบาล<br />

• พิจารณาจากขอมูลทางวิชาการ<br />

• รวบรวมจากรายงานอุบัติการณ<br />

– ยาที่เลือกอาจไมจําเปนตองอยูใน list ของ ISMP<br />

• พบอุบัติการณ Red Man Syndrome จากยา Vancomycin<br />

อยูเปนประจํา เนื่องจากการบริหารยาคลาดเคลื่อน<br />

• พบ serious adverse drug reaction i.e. anaphylaxis<br />

จากการใชยา streptokinase ติดตอกันหลาย case<br />

• พบ anaphylaxis จากการใช contrast media ทําให<br />

ผูปวยเสียชีวิต<br />

• ทีมสหวิชาชีพในโรงพยาบาลเห็นสมควร<br />

– รายการยาที่มีความเสี่ยงสูงควรประกาศจากทีมนํา<br />

ตัวอยางของยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

• Adrenergic agonist<br />

------ > dopamine<br />

------ > dobutamine<br />

------ > adrenaline<br />

• Phosphate salt inj i.e. K 2 HPO 4<br />

• Magnesium IV i.e. 50% MgSO 4<br />

• Calcium IV i.e Calcium gluconate inj<br />

• Potassium Chloride (KCl) inj<br />

• Hypertonic saline<br />

------ > 3% NaCl<br />

ที่มา: www.ismp.org<br />

ตัวอยางของยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

• Oral hypoglycemic drugs<br />

------ > glibenclamide, glipizide<br />

• Digoxin<br />

• Heparin<br />

• Warfarin<br />

• Chloral hydrate<br />

• Narcotic&Opiates<br />

------ > morphine, pethidine, fentanyl,<br />

methadone<br />

• Neuromuscular Blocking Agents<br />

------ > pavulon ที่มา: www.ismp.org


การคัดเลือกยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

ในโรงพยาบาล<br />

• พิจารณาจากขอมูลทางวิชาการ<br />

• รวบรวมจากรายงานอุบัติการณ<br />

– ยาที่เลือกอาจไมจําเปนตองอยูใน list ของ ISMP<br />

• พบอุบัติการณ Red Man Syndrome จากยา Vancomycin<br />

อยูเปนประจํา เนื่องจากการบริหารยาคลาดเคลื่อน<br />

• พบ serious adverse drug reaction i.e. anaphylaxis<br />

จากการใชยา streptokinase ติดตอกันหลาย case<br />

• พบ anaphylaxis จากการใช contrast media ทําให<br />

ผูปวยเสียชีวิต<br />

• ทีมสหวิชาชีพในโรงพยาบาลเห็นสมควร<br />

– รายการยาที่มีความเสี่ยงสูงควรประกาศจากทีมนํา<br />

เรียนรูจากเรื่องเลา<br />

รายงานความคลาดเคลื่อนทางยานําไปสูการกําหนดรายการ<br />

ยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

จากการเก็บขอมูลรายงานความคลาดเคลื่อนทางยาพบวา มี<br />

รายงานความคลาดเคลื่อนจากการ บริหารยา จนทําใหผูปวยเกิดอันตรายตองให<br />

การรักษา ระดับความรุนแรง เทากับ E จํานวน 2 รายงาน ในรอบ 1 เดือน ซึ่งเมื่อ<br />

ศึกษารายงานในรายละเอียดพบวาผูปวยทั้ง 2 รายเกิดอาการ red man<br />

syndrome จากการบริหารยา vancomycin โดยผูปวยทั้ง 2 ราย แพทยสั่ง<br />

vancomycin 500 mg IV ในหอผูปวยที่ไมคอยมีการใช vancomycin พยาบาล<br />

ไดบริหารยาโดยวิธี IV push หลังฉีดยาเสร็จไมถึง 5 นาที ผูปวยเกิดอาการผื่น<br />

แดงบริเวณหนาอก คอ และใบหนา ความดันโลหิตลดต่ําลง จากการสอบถาม<br />

ขอมูลพบวาพยาบาลไมทราบวา หามบริหารยา vancomycin โดยวิธี IV push<br />

หลังจากใหการรักษาผูปวยจนเปนปกติ การบริหารยา vancomycin ใน dose<br />

ถัดไป พยาบาลไดบริหารโดยวิธี IV infusion ผูปวยไมมีอาการผิดปกติใดๆ จาก<br />

รายงานดังกลาวทําใหโรงพยาบาลกําหนดใหยา vancomycin เปนยาที่มีความ<br />

เสี่ยงสูง และเภสัชกรไดทําขอมูลแนวทางการบริหารยาแนบไปกับยาที่จายทุก<br />

ครั ้ง ตลอดจนทําสัญญลักษณแจงเตือนวาเปนยาที่มีความเสี่ยงสูง กอนบริหารยา<br />

ควรอานวิธีการเตรียมยาและการบริหารยาที่แนบมากอน<br />

เรียนรูจากเรื่องเลา<br />

ADR ที่รุนแรง<br />

นําไปสูการกําหนดรายการยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

จากขอมูลรายงานอุบัติการณเกิดอาการไมพึงประสงคจากการใชยา พบวา<br />

มีรายงานการเกิดอาการไมพึงประสงคที่รายแรงที่เกิดจากยา streptokinase ถึง 4<br />

ราย โดย 2 รายเกิด anaphylaxis และอีก 2 รายเกิด intracerebral hemorrhage<br />

(ICH) ถึงแมวาอาการ anaphylaxis ในผูปวยจะเปนอาการแพยาที่ไมสามารถ<br />

ปองกันได แตถาบุคลากรทางการแพทยที่ทําหนาที่ดูแลผูปวยทราบวายาดังกลาวทํา<br />

ใหเกิด anaphylaxis ได และมีแนวทางในการติดตามผูปวยหลังการใชยาที่ชัดเจนก็<br />

จะทําใหลดความรุนแรงของการเกิดและสามารถชวยชีวิตผูปวยไดทันทวงที สําหรับ<br />

อาการ ICH นั้น อาจลดความเสี่ยงของการเกิดลงไดถามีการคัดกรองผูปวยกลุม<br />

เสี่ยงออกไป บทเรียนจากอุบัติการณดังกลาว จึงกําหนดใหยา streptokinase เปน<br />

ยาที่มีความเสี่ยงสูง และมีการจัดทํา pre-print order ที่มีขอบงใช และขอหามใชยา<br />

เพื่อใหแพทยคัดกรองกอนการตัดสินใจสั่งยา มีการสั่งตรวจทางหองปฏิบัติการที่<br />

จําเปนและแนวทางการติดตามผูปวยหลังไดรับยา นอกจากนี้ยังไดจัดใหมีกิจกรรม<br />

ใหความรูเรื่อง ยา streptokinase ชี้แจงแนวทางปฏิบัติในหนวยงานที่เกี่ยวของ การ<br />

conference case ที่พบอาการไมพึงประสงคจากการใชยา streptokinase เปนการ<br />

เรียนรูจาก case หาจุดออนและวิเคราะหแนวทางปองกันรวมกัน และเพื่อเปนการ<br />

เตือนวาตองระวังอาการไมพึงประสงคอะไรบางจากยา streptokinase จึงไดมีการ<br />

จัดทําปากกาติดสติ๊กเกอร ADR ที่ตองระวัง แจกพยาบาลทุกคนในหอผูปวยที่มีการ<br />

ใช streptokinase


Pre-Print Order<br />

การบริหารจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

• มีคณะกรรมการ/ คณะทํางานที่<br />

เปนสหวิชาชีพ<br />

• med safety committee<br />

• high alert drug committee<br />

• ทํางานภายใตคณะกรรมการบริหาร<br />

ความเสี่ยงของโรงพยาบาล (RM) และ<br />

คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด<br />

(PTC)<br />

การบริหารจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

การคัดเลือก-จัดซื้อยา<br />

ตองครอบคลุมทุกกระบวนการ<br />

• การจัดซื้อ<br />

• การเก็บรักษา<br />

• การสั่งจายยา<br />

• การกระจายยา<br />

• การสงยาไปหอผูปวย<br />

• การสงยาใหแกผูปวย<br />

• การบริหารยา<br />

• การติดตามการรักษา<br />

• ประสิทธิภาพ<br />

• ความปลอดภัย<br />

• คัดเลือกผูผลิตที่มี<br />

คุณภาพ<br />

• มีการตรวจคุณภาพ<br />

ยากอนรับยา<br />

• ไมควรเปลี่ยนบริษัท<br />

บอยๆ โดยเฉพาะ<br />

บางกลุมยา


การเก็บรักษายา<br />

• เก็บยาแยกจากยา<br />

ชนิดอื่น<br />

• มีสัญลักษณเตือนวา<br />

เปนยาที่มีความเสี่ยง<br />

สูง<br />

• ยาเสพติดตองใสตู<br />

หรือลิ้นชักที่มีกุญแจ<br />

การสั่งจายยาโดยแพทย<br />

• ไมสั่งดวยวาจา ยกเวนกรณีเรงดวน<br />

– ถาจําเปนผูรับคําสั่งตองจดและทวนใหฟงทันที<br />

• ไมใชคํายอ<br />

• ระบุตัวผูปวยอยาง<br />

ถูกตองกอนสั่งยา<br />

• พิจารณาผลตรวจ<br />

lab/ parameter ที่สําคัญ<br />

กอนสั่งยา<br />

การสั่งจายยาโดยแพทย<br />

การจายยาโดยเภสัชกร<br />

• คํานวณขนาดยาซ้ําถาตองมีการคํานวณ<br />

• พิจารณาขอหามใช (contraindication)<br />

และ drug interaction เสมอ<br />

• ใชใบสั่งยาสําเร็จรูป (ถามี)<br />

– Pre-print order ยาเคมีบําบัด<br />

– Pre-print order ยา thrombolytic<br />

agents<br />

• ถาใชนอกแบบแผน protocol ควรระบุ<br />

ความจําเปนเสมอ<br />

• มี double independent check<br />

• ตรวจสอบ contraindication,<br />

drug interaction<br />

• พบปญหาปรึกษาแพทยทันที<br />

• ใหขอมูลที่จําเปนเพื่อลดความ<br />

เสี่ยง


การจายยาโดยเภสัชกร<br />

• มีสัญลักษณเตือนวาเปนยา<br />

ที่มีความเสี่ยงสูง<br />

• สงมอบยาใหแกผูปวยโดย<br />

เภสัชกร<br />

การให/บริหารยาโดยพยาบาล<br />

การเฝาระวังหลังใชยา<br />

• มี cross check ยาที่ถูกสงมา<br />

จากหองจายยา<br />

• มี double independent check<br />

• เทียบ MAR กับคําสั่งปจจุบันทุก<br />

วัน<br />

• สังเกตอาการผูปวยและดูคา<br />

parameter ที่สําคัญกอนการให<br />

ยา<br />

• พบปญหาปรึกษาแพทยทันที<br />

• ลงบันทึกทันทีที่ใหยาเสร็จ<br />

• บันทึกการเปลี่ยนแปลงหลังใชยาไวในแฟม<br />

ผูปวย<br />

• แจงแพทยทันทีเมื่อพบความผิดปกติหรือเกิด<br />

ความผิดพลาด<br />

• มีการสงตรวจ ติดตามตาม<br />

มาตรฐานที่กําหนด<br />

• รายงานอุบัติการณทันทีเมื่อ<br />

พบอาการไมพึงประสงคที่<br />

รุนแรง หรือเกิดความ<br />

ผิดพลาดที่ถึงตัวผูปวย<br />

ตัวอยางที่ 1<br />

• ผูปวยเด็กควรไดรับยา morphine 3 mg<br />

แตอานเปน 3 ml ทําใหผูปวยเสียชีวิตจาก<br />

respiratory arrest<br />

Fact about Morphine<br />

• Morphine รูปแบบยาที่มีใน<br />

โรงพยาบาล<br />

– Syrup 0.2% (10 mg/<br />

5 ml) in 60 ml<br />

– Injection 10 mg/ml<br />

in 1 ml ampule<br />

– SR capsule 20 mg<br />

• รูปแบบยาที่ตางกัน การออกฤทธิ์ตางกัน<br />

– MST® ออกฤทธิ์ 12 ชม.<br />

– Kapanol® ออกฤทธิ์ 12-24 ชม.<br />

– การบริหารยาทาง NG Tube ควรเลือกรูปแบบ syrup


Fact about Morphine<br />

• เปนยาระงับปวดอยางแรง<br />

• ควรระวังการใชในผูปวยสูงอายุ เด็ก ผูปวย<br />

โรคหัวใจ ไต ตับ<br />

• การใชยาเกินขนาดจะกดการหายใจ<br />

• การสั่งยาควรสั่งเปน mg ไมควรสั่งเปน 1<br />

amp หรือ 1 ml<br />

• ยาแกพิษ คือ naloxone (Narcan®)<br />

Fact about Morphine<br />

• เมื่อผูปวยใช morphine<br />

– ควรมีการตรวจการหายใจของผูปวย<br />

• ถาหายใจต่ํากวานาทีละ 12 ครั้ง ใหตาม<br />

แพทย<br />

– ควรมีการตรวจรูมานตาของผูปวย<br />

• ถาตีบเทารูเข็ม อาจเกิด overdose<br />

– ควรมีการตรวจปริมาณปสสาวะ<br />

• ถานอยกวาวันละ 600 ซีซี อาจเกิดการ<br />

สะสมยาได<br />

ตัวอยางที่ 2<br />

• ผูปวยเคยไดรับยา digoxin 0.25 mg 1 tab<br />

OD ตอมาแพทยใหยา omeprazole รวมดวย<br />

และปรับลด digoxin เปน ½ tab OD 1 เดือน<br />

ตอมาผูปวยมา admit ที่รพ. แพทยสั่งยา<br />

digoxin 1 tab OD ผูปวยยังคงใชยาที่ไดรับ<br />

มาครั้งกอนดวย ผูปวยเริ่มมีอาการคลื่นไส<br />

อาเจียนมาก ผลการตรวจ K = 2.5 แตผูปวย<br />

ยังคงไดรับ digoxin ตอ<br />

Fact about Digoxin<br />

• มีดัชนีการรักษาแคบ (Narrow Therapeutic Index )<br />

• ในกรณี electrolyte ผิดปกติ เชน hypokalemia,<br />

hypomagnesemia จะเพิ่มโอกาสเกิด toxicity จากยา<br />

digoxin<br />

• มี drug interaction กับยาหลายชนิด เชน<br />

– Amiodarone<br />

– Itraconazole<br />

– Macorlide i.e. erythromycin, clarithromycin,<br />

– Cimetidine, ranitidine, famotidine<br />

– Omeprazole<br />

– etc<br />

Fact about Digoxin<br />

Fact about Digoxin<br />

• อาการแสดงของพิษเฉียบพลันจาก digoxin (acute toxicity)<br />

– คลื่นไส อาเจียน<br />

– Sinus bradycadia<br />

– Ventricular tachycardia, fibrillation<br />

– S-A arrest, A-V block<br />

• อาการแสดงของพิษเรื้อรังจาก digoxin (chronic toxicity)<br />

– คลื่นไส อาเจียน<br />

– Visual disturbance<br />

– Weakness<br />

– Sinus bradycadia<br />

– Ventricular tachycardia, fibrillation<br />

• เมื่อผูปวยใช Digoxin<br />

– สอนผูปวยใหกินยาตามแพทยสั่ง<br />

– สอนผูปวยใหจับชีพจรตนเอง<br />

• ถาต่ํากวา 60 ครั้ง/นาที ใหแจงบุคลากร<br />

– ตรวจระดับ K ของผูปวย<br />

– ทวนขนาดยาซ้ํากอนการใหยา<br />

– เมื่อใหยาน้ําตองใชหลอดหยดที่มีขีดระบุชัดเจน<br />

– ตรวจสอบ drug interaction ทุกครั้งที่มีการสั่งยาที่<br />

ผูปวยไมเคยไดรับเพิ่ม


IV electrolytes<br />

สิ่งที่ตองรู<br />

สําหรับ<br />

ยาที่มีความ เสี่ยงสูง<br />

• Potassium<br />

• Calcium<br />

• Magnesium<br />

Potassium Chloride<br />

(KCl)<br />

Potassium Chloride (KCl)<br />

• คาปกติ 3.5-5.3 mEq/l<br />

• คาวิกฤตของ K ที่รพ.กําหนด เมื่อพบคาวิกฤตมี<br />

ระบบการรายงานอยางไร<br />

• หามให IV push เพราะจะทําใหหัวใจหยุดเตนได<br />

• การผสมยาตองเจือจางกอนใช<br />

• ถาใหทาง peripheral line ความเขมขนตองไมเกิน<br />

80 meq/L<br />

• ความเร็วในการใหยาไมควรเกิน 20-40 meq/hr<br />

• K ต่ําเกินไป ผูปวยจะเกิดคลื่นไส อาเจียน หัวใจเตน<br />

ผิดจังหวะ ปวดในทอง กลามเนื้อออนแรง เพิ่มความ<br />

เสี่ยงจากการเกิดผิดจากยา digoxin<br />

• K สูงเกินไป ผูปวยจะปสสาวะบอย คลื่นไส ใจสั่น หัว<br />

ใจเตนชาลง ออนเพลีย ชาปลายมือ ปลายเทา<br />

• ยาบางอยางทําให K ลดลงได เชน insulin,<br />

glucose, calcium gluconate, kayexalate<br />

• การดูแลผูปวยที่ไดรับ KCl i.e. monitor EKG, vital<br />

sign, K blood level<br />

Calcium IV<br />

Magnesium sulfate IV<br />

• คาปกติของ total Ca = 8.5-10.5 mg/dl<br />

• คาวิกฤตของ Ca ที่รพ.กําหนด<br />

• Ca ต่ําเกินไป ผูปวยจะชักกระตุก ปากเบี้ยว นิ้วชา<br />

กลามเนื้อเปนตะคริว หัวใจบีบตัวออนลง<br />

• Ca สูงเกินไป ผูปวยจะมีอาการกลามเนื้อเปลี้ย<br />

ปวดบริเวณกระดูก<br />

• หามผสมรวมกับ bicarbonate เพราะจะ<br />

ตกตะกอน<br />

• ควรผสมใน D5W ไมควรใช NSS เพราะ sodium<br />

ทําให calcium ขับออกเร็วขึ้น<br />

• คาปกติ 1.6-2.5 μg/dl<br />

• คาวิกฤตของ Mg ที่รพ.กําหนด<br />

• อาการแสดงมักพบเมื่อ Mg > 4 mEq/l<br />

– Serum Mg > 4 จะมีอาการ deep tendon<br />

reflexes ลดลง<br />

– Serum Mg > 10 จะมีอาการ deep tendon<br />

reflexes หายไป, respiratory paralysis, heart<br />

block<br />

– Serum Mg > 12 อาจเสียชีวิตได<br />

• ตองปรับขนาดยาในผูปวยที่มีไตบกพรอง<br />

• ไมควรใชในผูปวยที่มี severe renal impairment


Warfarin<br />

Insulin IV<br />

• ขนาดยาที่ไดผลในการรักษาแคบมาก<br />

• มีปฏิกิริยากับยาและอาหารอื่นๆ ไดมาก<br />

• อาการขางเคียงทําใหเลือดออกงาย<br />

• เมื่อผูปวยตองใช warfarin<br />

– ตรวจระดับ INR<br />

– ใหความรูผูปวยเรื่องภาวะเลือดออกเพื่อใหผูปวย<br />

สังเกตตนเอง เมื่อมีเลือดออกตามไรฟน เลือด<br />

กําเดา จ้ําเลือดที่ผิวหนังหรือเลือดออกในปสสาวะ<br />

ใหแจงแพทย<br />

– แนะนําใหผูปวยระมัดระวังการใชของมีคม<br />

– แนะนําใหผูปวยแจงทันตแพทยทุกครั้งวากําลังใช<br />

ยา warfarin<br />

– พก booklet ของ warfarin อยูเสมอ<br />

• ยาแกพิษคือ vitamin K<br />

• ไมควรเขียนชื่อยอของหนวย “U” แทนคําวา unit เพราะอาจ<br />

ทําใหเขาใจเปนเลขศูนย “0” และไดรับยาเกินขนาดถึง 10<br />

เทาได<br />

• ควรเขียนคําสั่งวิธีบริหารยาใหชัดเจน<br />

• ควรเก็บ regular insulin แยกกับ long-acting insulin บนหอ<br />

ผูปวย<br />

• คาปกติของะดับน้ําตาลในเลือดคือ 60-100 mg/dl<br />

• สอนผูปวยวิธีดูดยา และวิธีฉีดยาที่ถูกตอง<br />

• เมื่อผูปวยตองใช insulin<br />

– ตรวจระดับน้ําตาลในเลือด<br />

– ใหความรูผูปวยเรื่อง อาการแสดงของ hypoglycemia และ<br />

แนวทางการแกไข<br />

• ยาแกพิษคือ glucose<br />

Adrenaline (Epinephrine)<br />

• ควรเขียนคําสั่งใชยาใหชัดเจน<br />

• ขอควรระวัง การคํานวณยาผิดพลาด การหยิบยาผิด<br />

– กอนการเตรียมยาควรคํานวณซ้ําเพื่อใหมั่นใจวาได<br />

เตรียมยาอยางถูกตอง<br />

– ควรมี independent check<br />

• อาการแสดงของ overdose<br />

– ใจสั่น หัวใจเตนเร็ว หยุดหายใจ อาจเกิด ventricular<br />

fibrillation, pulmonary edema เสียชีวิตได<br />

• เมื่อผูปวยตองใช adrenaline<br />

– ตรวจ vital sign i.e. BP, pulse rate ทุก 5 นาที<br />

– รายงานแพทยทันทีเมื่อพบอาการ tachycardia,<br />

pulpitation, BP สูง<br />

– ตรวจดู IV site เพราะอาจเกิด necrosis ไดถายารั่ว<br />

ออกมา<br />

Intravenous adrenergic agonist:<br />

Dopamine, Dobutamine<br />

ปญหาที่พบบอย<br />

• ความสับสนของชื่อยา (sound-alike)<br />

• ความเหมือนของลักษณะภายนอกของยา (look-alike)<br />

• ความสับสนในการคํานวณขนาดยา ซึ่งอยูในรูปของอัตราเร็ว<br />

ในการใหยา<br />

• ขนาดของยาสูงสุดไมสามารถทํานายได<br />

• ยารั่วจากหลอดเลือดไปยังเนื้อเยื่อขางเคียง (extravasation)<br />

จากการใหยาทางหลอดเลือดสวนปลาย<br />

• ความไมเขากันของยา<br />

– ยาจะไมคงตัวใน<br />

สารละลายที่เปนดาง<br />

เชน sodium bicarbonate<br />

Dopamine, Dobutamine<br />

• ควรเขียนคําสั่งใชยาใหชัดเจน<br />

• ฉลากแยกความแตกตางของชื่อยาได<br />

– “DOBUTamine” และ “DOPamine”<br />

• ขอควรระวัง การคํานวณยาผิดพลาด การหยิบยาผิด<br />

– กอนการเตรียมยาควรคํานวณซ้ําเพื่อใหมั่นใจวาได<br />

เตรียมยาอยางถูกตอง<br />

– ควรมี independent check<br />

• หลีกเลี่ยงการใหยารวมกับ sodium bicarbonate<br />

• เมื่อผูปวยตองใชยา<br />

– ตรวจบริเวณที่ใหยาทุก 30-60 นาที เพราะยาอาจรั่วซึม<br />

แลวทําใหเกิดเนื้อตายได<br />

– ถาเปนไปไดควรใหยาทาง central line > peripheral<br />

line


Take Home Message<br />

Take Home Message<br />

• โรงพยาบาลจะตองมีนโยบายในการจัดการยา high<br />

alert drug ที่ชัดเจน<br />

– มีคณะทํางานที่เปนสหวิชาชีพ<br />

– สหวิชาชีพมีสวนรวมในการเลือกยา<br />

– สหวิชาชีพจะตองรับทราบ ปฏิบัติตามนโยบายเขาใจ<br />

บทบาท และหนาที่ของตนเองในการจัดการยาที่มีความ<br />

เสี่ยงสูง<br />

– มีการกําหนดคาวิกฤติของยา<br />

– มีมาตรการที่ชัดเจนเมื่อพบความผิดปกติ จะมีระบบ<br />

รายงานอยางไร<br />

– กระบวนการสื่อสารขอมูล<br />

• ตัวอยางนโยบายการบริหารจัดการยาที่มีความ<br />

เสี่ยงสูง<br />

– ประกาศคํายอที่หามเขียน เชน u<br />

– ประกาศหามใชคํายอกับยาที่มีความเสี่ยงสูง<br />

– หามสั่งยาที่มีความเสี่ยงสูงดวยวาจา<br />

– ตองมีการ cross check และ independent check ทุก<br />

ครั้ง<br />

– แผนรองรับกรณีเกิด adverse event จากยาที่มีความ<br />

เสี่ยงสูง<br />

– มีกระบวนการรายงานอุบัติการณที่ชัดเจนเมื่อพบ<br />

เหตุการณและควรทํา RCA ทุกครั้ง<br />

Take Home Message<br />

• มาตรการ 3 ขั้น<br />

– สรางระบบปองกันไมใหเกิดความ<br />

ผิดพลาด<br />

– สรางระบบใหมีผูพบเห็นเมื่อมีความ<br />

ผิดพลาดเกิดขึ้น<br />

– เมื่อเกิด adverse event แลวมีวิธีการ<br />

แกไขที่จะลดความรุนแรงของ AE นั้นได<br />

Take Home Message<br />

บทบาทของเภสัชกร (DIS?)<br />

• กําหนด high alert จากอุบัติการณที่พบ<br />

• กําหนด high alert จากความเสี่ยงของยา<br />

• การจัดการครอบคลุมทุกขั้นตอน<br />

– การเก็บรักษายา<br />

– การสํารองยา<br />

– การเตรียมยา<br />

– การบริหารยา<br />

– การติดตามผูปวยหลังการใชยา<br />

Thank you for you kind attention<br />

Any Questions?

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!