23.10.2014 Views

Objective :การทบทวนวรรณกรรม (literature review) เกี่ยว ... - Thaiwonders

Objective :การทบทวนวรรณกรรม (literature review) เกี่ยว ... - Thaiwonders

Objective :การทบทวนวรรณกรรม (literature review) เกี่ยว ... - Thaiwonders

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

หัวขอ ( Topic ) : ยาตานไวรัสที่มีความไวตอ Influenza A (H1N1) virus 2009<br />

ชนิดา ทองพิฑูรรัตน, ดุษฎี หนูอินทร<br />

<strong>Objective</strong> : การทบทวนวรรณกรรม (<strong>literature</strong> <strong>review</strong>) เกี่ยวกับโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 และการ<br />

รักษาดวยยาตานไวรัส<br />

Request : โรคไขหวัดใหญ 2009 มียารักษาคือยาใด รักษาไดผลดีหรือไม<br />

Data sources : วรรณกรรมสืบคนมาจาก science direct, medline, pubmed ฐานขอมูลของ center of disease<br />

control and prevention และฐานขอมูลของกรมวิทยาศาสตรการแพทย คําที่ใชในการสืบคนคือ flu 2009 , swine<br />

flu, influenza A (H1N1) and treatment และสิ่งสงตรวจ<br />

Study selection and data selection : การสืบคนเกี่ยวกับโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 และการรักษา โดย<br />

วรรณกรรมที่สืบคนไดสวนใหญเปนภาษาอังกฤษ มีทั้งขอมูลที่ไดมาจากการทําการศึกษาวิจัยและขอมูลที่เปน<br />

แนวทางการรักษาโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 จาก center of disease control and prevention (CDC)<br />

ขอมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ใชในการรักษาโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ขอมูลเกี่ยวกับการดื้อ<br />

ของยาที่ใชในการรักษา โดยในลักษณะการศึกษาแบบการวิจัย (trail) จะเปนแบบ clinical trails, randomizedcontrolled<br />

trail, randomized placebo-controlled trail ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งสงตรวจและสถานที่สงตรวจ specimen ใน<br />

การวินิจฉัยโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009<br />

Data synthesis : มีขอมูลจาก CDC guideline แนะนําใหใชยา Oseltamivir และ Zanamivir ในการรักษา และควร<br />

เริ่มยาภายใน 24 ชั่วโมงเมื่อมีอาการ มี 1 รายงานเกี่ยวกับประสิทธิภาพการรักษากลาววาภายใน 36 ชั่วโมง<br />

หลังจากเกิดอาการจะลดระยะเวลาความจ็บปวย 30% ลดความรุนแรง 40% และสามารถกลับมาทํากิจกรรมตางๆ<br />

ตามปกติภายใน 2-3 วัน


มี 3 รายงานการดื้อยา Oseltamivir ตอการรักษา influenza A(H1N1) โดย คือ 1 รายงานกลาววา ในเดือน<br />

พฤศจิกายน 2007 ถึงเดือนมกราคม 2008 มีรายงานดื้อยา oseltamivir ในทวีปยุโรปตอ influenza A(H1N1)<br />

viruses 14% , มี 1 รายงานกลาววา ในป ค.ศ. 2007 ถึง 2008 มีรายงานดื้อยา oseltamivir ในสหรัฐอเมริกาตอ<br />

influenza A(H1N1) viruses 12.3 % และมีรายงานเบื้องตนในป 2008-2009 วามีการดื้อยา oseltamivirตอ<br />

influenza A(H1N1) viruses 98.5% และมี 1 รายงานกลาววา ในเดือนพฤษภาคม ป คศ. 2009 พบวามีรายงานดื้อยา<br />

oseltamivir ในสหรัฐอเมริกาตอ influenza A(H1N1) viruses 99.2 % แตยังไมมีรายงานการดื้อยาตอ zanamivir<br />

มี 1 รายงาน ที่พบการดื้อยา Zanamivir ตอ influenza Bในเด็กที่ภูมิตานทานต่ํา<br />

Conclusion: ยาที่ใชในการรักษาและปองกันโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ตามแนวทางการรักษาของ<br />

CDC guideline มี 2 ชนิด คือ Oseltamivir และ Zanamivir ยาที่เลือกใชไปตัวแรกคือ Oseltamivir หากเกิดการดื้อ<br />

ยาหรือมีการใชยา Oseltamivir ไปแลวยังใหผลการรักษาที่ไมดีพอรวมทั้งผูปวยมีตอบสนองตอการรักษาก็<br />

สามารถใชยา Zanamivir เปนยาที่ใชรักษาตอไป โดยระยะเวลาในกสรรักษา คือ 5 วัน สวนระยะเลาในการ<br />

ปองกันคือ 10 วัน<br />

Key words : flu 2009 , swine flu, influenza A (H1N1) and treatment และสิ่งสงตรวจสําหรับการวินิจฉัย


คําถาม: โรคไขหวัด 2009 มียารักษาคือยาใด รักษาไดผลดีหรือไม<br />

บทนํา<br />

ไวรัสไขหวัดใหญ (Influenza virus) ประกอบดวย 3 สายพันธุ คือ A, B และ C แตสายพันธุที่มี<br />

ความสําคัญมากที่สุดคือ สายพันธุ A เพราะเชื้อพบไดในคนและสัตวซึ่งเปนปจจัยที่ทําใหเกิดการระบาดใหญ<br />

สายพันธุ B เปนชนิดที่พบไดตามฤดูกาลไมมีความรุนแรงมาก สําหรับสายพันธุ C จะพบไดนอย นอกจากนี้แต<br />

ละสายพันธุ ยังแบงเปนสายพันธุยอย (subtype) อีกหลายชนิด โดยใชสัญลักษณแทนวา H และ N ซึ่งเฉพาะ<br />

ไขหวัดใหญแยกได H 16 และ N 9 ชนิด ซึ่งเชื้อไขหวัดใหญบางสายพันธุอาจผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันระบาด<br />

(1)<br />

ใหญ<br />

ไวรัสไขหวัดใหญสายพันธุใหม คือสายพันธุ A ชนิด H1N1 ซึ่งสายพันธุที่กอใหเกิดการระบาดนี้เปน<br />

สายพันธุใหมที่ยังไมพบการติดเชื้อในคนหรือหมูมากอน (reassortant virus) ระหวางไขหวัดใหญในคน สัตวปก<br />

และหมู แตพบวาสารพันธุกรรมของไวรัสไขหวัดสายพันธุใหมนี้มีความคลายคลึงกับไขหวัดหมูมากที่สุด<br />

(ประมาณ 90%) จึงเปนที่มาของชื่อเรียกโรคไขหวัดหมู อยางไรก็ตาม จนถึงปจจุบันยังไมมีรายงานการพบเชื้อ<br />

ไวรัสชนิดนี้ในหมูหรือหลักฐานที่แสดงวาหมูเปนพาหะแพรกระจายเชื้อดังกลาวซึ่งแตกตางจากไขหวัดนกที่มี<br />

การระบาดมากอนหนานี้ ตามมติในที่ประชุมขององคการอนามัยโลก (WHO) จึงไดใหเรียกไวรัสไขหวัดใหญ<br />

ชนิดนี้วา ไขหวัดสายพันธุใหม (H1N1) 2009 สําหรับประเทศไทย กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข<br />

ใหคําจํากัดความวา “ไขหวัดสายพันธุใหม” โดยพบวาไวรัสนี้เปนไวรัสลูกผสมนี้เกิดจากการพัฒนาการขั้น<br />

สูงสุด (ขั้นที่ 5) ที่กลายมาเปนไวรัสที่ติดตอจากคนสูคนได ซึ่งมีพัฒนาการของเชื้อโรคที่จะเขาสูคนเปน 5 ระดับ<br />

ดังนี้<br />

1. เชื้อโรคอยูในสัตว และไมเคยติดตอมายังคน เชน เชื้อมาลาเรียในลิง<br />

2. มีการติดตอจากสัตวสูคนแตหยุดเพียงคนนั้นโดยไมมีการแพรจากคนสูคนเชน โรคพิษสุนัขบาจากสุนัข<br />

3. เริ่มมีการขามสายพันธุ โดยไวรัสจากชนิดหนึ่งถายทอดไปยังสัตวอีกชนิดและแพรไปยังคนเชน โรค<br />

Ebola ที่มีแหลงรังโรคในคางคาวแพรไปยังลิงและสงตอถึงคนโดยมีการติดตอจากคนสูคนแตอยูใน<br />

วงจํากัด เนื่องจากโรคมีความรุนแรงมากในคนและผูติดเชื้อเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วจนไมสามารถสง<br />

ตอไปคนอื่นๆ<br />

4. เชื้ออยูในสัตวไดหลายชนิด ขึ้นกับสภาวะภูมิอากาศอากาศ ความแหงแลง หรืออุดมสมบูรณ เชน ไวรัส


ในตระกูลไขเลือดออก ไขสมองอักเสบ โดยอาจแฝงในลิงหรือสัตวขุดรูตางๆและมียุงเปนพาหะกัดคน<br />

และเมื่อคนมีจํานวนไวรัสหรือเชื้อโรคมากขึ้น ก็จะถูกกัดยุงกัดและนําเชื้อไปใหคนอื่นอีกซึ่งเห็นไดชัด<br />

ในไขเลือดออก<br />

5. มีวิวัฒนาการในสัตว และติดตอไปยังคนและติดเชื้อในคนไดอยางสมบูรณจนกระทั่งมีการติดตอ<br />

ระหวางคนสูคน ไมตองอาศัยสัตวอีกตอไป เชน โรคเอดสที่มีตนกําเนิดมาจากลิง<br />

ไวรัสไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 นี้มีสายพันธุกรรมผสมระหวางไวรัสไขหวัดใหญในคน ในหมู<br />

และในนกจึงนับเปนพัฒนาการขั้นสูงสุด แตจะไมมีการถายทอดเมื่อมีการบริโภคเนื้อสัตวเหลานี้โดยเฉพาะอยาง<br />

ยิ่งเมื่อปรุงสุก (1)<br />

การแพรเชื้อ<br />

จะมีการแพรติดตอเชนเดียวกับโรคไขหวัดใหญทั่วไป คือ<br />

1. แพรไปยังผูอื่นโดยการไอหรือจามรดกัน ( เชื้อจะอยูในเสมหะ น้ํามูก น้ําลาย)<br />

2. ติดจากมือและสิ่งของที่มีเชื้อปนเปอนอยู และเชื้อจะเขาสูรางกายทางจมูกและตา หากนํามือที่มีเชื้อไป<br />

สัมผัส (1)<br />

อาการ<br />

ลักษณะอาการของผูที่ติดเชื้อไขหวัดใหญสายพันธุใหมนี้จะเหมือนกับอาการปวยดวยโรคจาก<br />

การติดเชื้อทางเดินหายใจทั่วไปเชน เชื้อ parainfluenza virus หรือ rhinovirus โดยระยะฟกตัว<br />

ประมาณ 1 สัปดาห กลาวคือ มีไข มีอาการทางระบบทางเดินหายใจ คือ ไอ เจ็บคอ คัดจมูก น้ํามูกไหล<br />

ออนเพลียและปวดเมื่อตามตัว มีขอนาสังเกตอยางยิ่งจากการรายงานใน N Eng J Med 2009 พบวา<br />

รอยละ 25 มีอาการทองเสียรวมดวย ดังนั้นจึงเปนการยากที่จะคัดแยกผูที่ติดเชื้อไขหวัดใหญออกจาก<br />

ผูปวยจากการติดเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจชนิดอื่นดวยอาการทางคลินิกเพียงอยางเดียว<br />

โดยการคัดแยกผูปวยจะตองกระทํารวมกับการสอบประวัติการสัมผัสโรคในประเทศที่เปน<br />

แหลงระบาดดวย ซึ่งผูที่เปนกลุมเสี่ยงเชน เด็กเล็ก ผูสูงอายุและหญิงตั้งครรภรวมทั้งผูที่เปน<br />

โรคเบาหวานและผูที่ติดยาเสพติดเปนตน (1)


การปองกัน<br />

1. รักษาสุขภาพรางกายใหแข็งแรงอยูเสมอ<br />

2. ออกกําลังกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ<br />

3. หลีกเลี่ยงการไปในที่ชุมชน หรือสถานที่แออัดและลางมือบอยๆ<br />

4. ผูที่ปวยเปนหวัด ควรสวมหนากากอนามัย เพื่อปองกันโอกาสการกลายพันธุของเชื้อไวรัส<br />

สายพันธุใหม ที่จะเขาผสมกับไวรัสไขหวัดใหญตามฤดูกาลในตัวผูปวย ซึ่งอาจจะทําใหเกิด<br />

เชื้อใหมที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ดื้อยาเพิ่มขึ้น และแพรระบาดจากคนสูคนมากขึ้นตอไป (1)<br />

ผูปวยควรมาพบแพทยเมื่อไร<br />

1. ผูที่เดินทางมาจากตางประเทศหรือมีประวัติสัมผัสกับผูตองสงสัยติดเชื้อไขหวัดใหญสายพันธุ<br />

ใหม<br />

2. หากมีอาการไขสูง 38.5 O Cไขนาน 7 วัน เจ็บหนาอก ปวดทอง อาเจียน มีจุดเลือดตามตัว ตา<br />

เหลือง เจ็บคอมาก มีเสมหะสีเขียวๆเหลืองๆ ผิวสีมวงหรือไดพยายามรักษาตัวเองแลวแตยัง<br />

ไมหาย ควรไปพบแพทยเพื่อตรวจรางกายดวยวิธี PCR ซึ่งการตรวจดวยวิธีนี้สามารถหาเชื้อ<br />

ไขหวัดสายพันธุใหมไดภายใน 24 ชั่วโมง และควรเขารับการตรวจรักษาภายในหองตรวจ<br />

พิเศษ Negative pressure เพื่อปองกันการกระจายของเชื้อไวรัสตอไปยังผูอื่น (1)<br />

การสงตัวอยางตรวจวิเคราะหเชื้อไวรัสไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิด A (H1N1) (2)<br />

เมื่อพบผูปวยที่สงสัย ใหรายงานสํานักระบาดวิทยากอนทุกครั้ง และขอใหคณะผูเฝาระวังการระบาดแตละ<br />

พื้นที่ ประสานกับโรงพยาบาลของเอกชนวา หากไมไดแจงผานทางหองปฏิบัติการจะใหบริการโดยคิดคาใชจาย<br />

ตามปกติ<br />

วิธีเก็บตัวอยางและสงตัวอยาง<br />

ควรเก็บตัวอยางใหเร็วที่สุดภายใน 1-3 วัน เมื่อเริ่มปรากฏอาการของโรคและเก็บซ้ําอีกครั้ง หากมี<br />

อาการปอดบวมหรือปอดอักเสบ การเก็บใชวิธีไรเชื้อ (aseptic technique) ตัวอยางเพื่อตรวจหาสารพันธุกรรม<br />

หรือแยกเชื้อ ไดแก throat swab, nasopharyngeal swab, nasopharyngeal aspiration, nasal swab


1. Throat swab ใช swab ปายภายในบริเวณ posterior pharynx จุมปลาย swab ใน viral transport media<br />

(VTM) หักดาม swab ทิ้งปดหลอดใหสนิท<br />

2. Nasopharyngeal swab เก็บโดยสอดลวด swab เขาไปในรูจมูกถึงสวนของ nasopharynx ทิ้งไว<br />

ประมาณ 2-3 วินาที คอยๆ หมุนลวด swab แลวดึงออก จุมปลาย swab ลงใน VTM และตัดปลายลวด<br />

สวนเกินจากหลอด ปดฝาใหสนิท<br />

3. Nasopharyngeal aspiratation เก็บโดยใชสายพลาสติกที่ตอกับเครื่องดูดสอดใสเขาไปในชองจมูกดูด<br />

ตัวอยางประมาณ 2-3 ml. ใสในหลอดที่ปราศจากเชื้อ กรณีดูดเสมหะไดนอยใหใช viral transport media<br />

(VTM) ลางเซลลที่คางสายลงในหลอด<br />

4. Nasal swab ใช swab สอดเขาในรูจมูกขนานกับ palate ทิ้งไวประมาณ 2-3 วินาทีคอยๆหมุน swab<br />

ออกแลวดึงออกจุมปลาย swab ใน viral transport media หักดาม swab ทิ้งเพื่อปดหลอดใหสนิท<br />

หมายเหตุ : ไมควรใช swab ที่มี calcium alginate หรือ swab ที่ดามทําดวยไมเพราะอาจมีสารที่ยับยั้งไวรัสบาง<br />

ชนิดหรือยับยั้งปฏิกิริยา PCR ควรใช Dacron หรือ Rayon swab ที่ดามทําดวยลวดหรือพลาสติก<br />

การสงสิ่งสงตรวจและขอควรระวัง<br />

ตัวอยางสารคัดหลั่งหรือ swab ที่บรรจุในภาชนะตองปดจุกใหสนิท พันดวยเทป ปดฉลาก แจงชื่อผูปวย<br />

ชนิดของตัวอยาง วันที่เก็บ บรรจุใสถุงพลาสติก รัดยางใหแนน แชในกระติกน้ําแข็งรีบนําสงทันที ถาจําเปนตอง<br />

รอ ควรเก็บไวในตูเย็น (4 o C) หามแชในชองแชแข็งของตูเย็น (-20 o C) ถาตองการเก็บนานเกิน 48 ชั่วโมง ให<br />

เก็บ –70 o C<br />

Viral transport media (VTM) ขอไดที่<br />

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย โทร. 029510000 ตอ 99248<br />

ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย<br />

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด<br />

สถานที่สงตัวอยางตรวจวิเคราะห ไขหวัดใหญสายพันธุใหม กรมวิทยาศาสตรการแพทย<br />

สวนกลาง<br />

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข<br />

ตั้งอยู กรมวิทยาศาสตรการแพทย อาคาร 1 เลขที่ 88/7 ถนนติวานนท ตําบล ตลาดขวัญ อ. เมือง<br />

จ.นนทบรี 11000 โทรศัพท (02) 5912153, (02) 9510000 ตอ 99248 โทรสาร : (02) 5912153


สวนภูมิภาค<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยเชียงราย<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยเชียงใหม<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย นครสวรรค<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยชลบุรี<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยสมุทรสงคราม<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยขอนแกน<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยนครราชสีมา<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยอุดรธานี<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยอุบลราชธานี<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยตรัง<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยสงขลา<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยสุราษฎรธานี<br />

- ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยภูเก็ต<br />

(3)<br />

แนวทางการรักษาโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม<br />

ยาตานเชื้อไวรัส<br />

ยาตานเชื้อไวรัสไขหวัดใหญที่ยอมรับใหใชในประเทศสหรัฐอเมริการมี 4 ชนิด คือ Oseltamivir,<br />

Zanamivir, Amantadine และ Rimantadine แตพบวาสายพันธุของเชื้อไวรัสไขหวัดใหญสายพันธุใหมชนิด A<br />

สายพันธุ H1N1 พบวามีการดื้อยา Amantadine และ Rimantadine จึงไมมีการใชในการรักษาไขหวัดใหญสาย<br />

พันธุใหมในประเทศสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก การทดสอบจากหองทดลองพบวา สายพันธุของเชื้อไวรัส<br />

ไขหวัดใหญใหญสายพันธุใหม ยังมีความไวตอยา Oseltamivir และ Zanamivir Center Of Disease Control<br />

(CDC) guideline แนะนําวาสามารถใช Oseltamivir หรือ Zanamivir สําหรับการรักษาหรือปองกันการติดเชื้อ<br />

ไขหวัดใหญสายพันธุใหม ซึ่งสามารถรักษาอาการจากไขหวัดใหญเทานั้นไมสามารถรักษาอาการไขอื่นๆจาก<br />

การติดเชื้อไวรัสที่มีอาการใกลเคียงกัน และควรเริ่มยาภายใน 48 ชั่วโมง เพราะมีโอกาสที่เชื้อไวรัสจะ


กลายพันธุไดอีกในอนาคต หลังจากที่เริ่มมีอาการ และอาจมีการใหยาปฏิชีวนะ ในผูปวยที่มีการเชื้อ<br />

แบคทีเรียแทรกซอนเชน pneumonia เปนตน<br />

1. Oseltamivir ใชในการรักษาและปองกันการติดเชื้อไวรัสไขหวัดใหญทั้งชนิด A และ B ในคนที่มีอายุ 1<br />

ปขึ้นไป<br />

2. Zanamivir ใชในการรักษาการติดเชื้อไวรัสไขหวัดใหญทั้งชนิด A และ Bในคนที่มีอายุ 7 ปขึ้นไปและ<br />

ใชในการปองกันการติดเชื้อไวรัสไขหวัดใหญทั้งชนิด A และ Bในคนที่มีอายุ 5 ปขึ้นไป ไมแนะนําให<br />

ใชในคนที่เปนโรคปอดเรื้อรัง เชนโรคหอบหืด เปนตน


ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไปของยา Oseltaivir และ Zanamivir<br />

Oseltamivir<br />

Zanamivir<br />

ชื่อสามัญทางยา (4) Oseltamivir phosphate Zanamivir<br />

ชื่อทางการคา (5) Fluhalt ® , Rimivat ® , Virobin (DI) ® , Relenza ®<br />

Tamiflu ® , GPO-A-Flu ®<br />

ชื่อทางเคมีและสูตร<br />

โครงสราง<br />

ethyl (3R,4R,5S)-5-amino-4- (2R,3R,4S)- 4-<br />

acetamido-3-<br />

[(diaminomethylidene)amino]- 3-<br />

(pentan-3-yloxy)cyclohex-1-ene- acetamido- 2-[(1R,2R)- 1,2,3-<br />

1-carboxylate (6) trihydroxypropyl]- 3,4-dihydro- 2Hpyran-<br />

6-carboxylic acid (7)<br />

http://www.rxlist.com/relenza-drug.htm<br />

ออกฤทธิ์ยับยั้ง influenza virus<br />

การจัดกลุมยา (4) Antiviral agent; Neuraminidase Antiviral; Neuraminidase Inhibitor<br />

Inhibitor<br />

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ออกฤทธิ์ยับยั้ง influenza virus<br />

คือ oseltamivir carboxylate (8)<br />

neurominidase<br />

Oseltamivir เปน prodrug<br />

Hydrolyzed เปนรูป active form<br />

neurominidase (9)


ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไปของยา Oseltamivir และ Zanamivir (ตอ)<br />

ขอบงใชในการรักษา<br />

Oseltamivir<br />

Treatment, influenza A and B<br />

Chemoprophylaxis, influenza A<br />

and B (8)<br />

Zanamivir<br />

1.Treatment, influenza A<br />

2.Chemoprophylaxis, influenza A (9)<br />

Pharmacokinetics (8),(9)<br />

Absorption ดูดซึมได 80% จากทางเดินอาหาร ดูดซึมได 7% - 21% จากทางเดินอาหาร<br />

เขาปอด<br />

ดูดซึม 70-87% จากทางเดินอาหารเขา<br />

oropharynx<br />

Bioavailability 75% N/A<br />

Plasma Protein binding<br />

3% Oseltamivir carboxylate<br />

42% Oseltamivir<br />

< 10%<br />

Half life<br />

Oseltamivir carboxylate 6-10 hr 2.5-5.1 hr<br />

Oseltamivir 1-3 hr<br />

Metabolism Hepatic (CYP450) N/A<br />

Excretion ยาที่ดูดซึมไดและไมดูดซึมถูกขับ<br />

ออกทางปสสาวะ<br />

รูปแบบยา (8),(9)<br />

Capsule 75 mg/cap.<br />

Suspension 15 mg/ml<br />

ชองทางการบริหารยา (8),(9) รับประทาน Oral Inhalation<br />

ยาที่ดูดซึมไดจะถูกขับออกทาง<br />

ปสสาวะ และยาที่ไมดูดซึมจะถูกขับ<br />

ออกทางอุจจาระ<br />

Oral inhalation: 5 mg/blister


ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไปของยา Oseltamivir และ Zanamivir (ตอ)<br />

(10)<br />

ความเสี่ยงในหญิงมีครรภ<br />

Oseltamivir<br />

Risk factor : C M<br />

Zanamivir<br />

Risk factor : C M<br />

ความเสี่ยงในหญิงใหนมบุตร<br />

(11)<br />

อาการไมพึงประสงคจากการ<br />

ใชยา<br />

• ปวดศีรษะ (prophylaxis 13-24%,<br />

ยาผานน้ํานม / ไมแนะนํา ไมทราบขอมูลการขับออกทาง<br />

น้ํานม / ควรใชอยางระวัง<br />

• อาเจียน 2-15% (8)<br />

ไดรับยาอยางใกลชิด (11) อาการหลอดลมหดเกร็ง<br />

• คลื่นไส 3-10% (8)<br />

treatment 2%) (9)<br />

(การรับประทานพรอมอาหารชวย • เจ็บคอ(prophylaxis 8-19%) (9)<br />

ลดอาการคลื่นไสอาเจียนได) • อาการทางจมูก (prophylaxis 12-<br />

• ปวดทอง 2-5% (6)<br />

20%, treatment 2%) (9)<br />

• Transient neuropsychiatric events • ไอ (prophylaxis 7-17%, treatment<br />

(self-injury หรือ delirium) พบ


ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไปของยา Oseltamivir และ Zanamivir (ตอ<br />

(8),(9)<br />

ขอหามใช<br />

อันตรกิริยาระหวางยา<br />

(12),(13)<br />

Oseltamivir<br />

หามใชในผูที่แพยา Oseltamivir<br />

phosphateและสวนประกอบอื่นๆ ใน<br />

ตํารับ<br />

- มีผลในการลด therapeutic effect<br />

ของ Influenza virus vaccine ซึ่งมีผล<br />

เฉพาะ live และ attenuated Influenza<br />

virus vaccine โดยมีความเสี่ยงใน<br />

ระดับ D (Consider therapy<br />

modification) 18.<br />

- ไมมีผลตอปฏิกิริยาทางเภสัช<br />

จลนศาสตรของ Acetaminophen<br />

- ไมมีผลปฏิกิริยาทางเภสัช<br />

จลนศาสตรที่แนนอนเมื่อมีการใชยา<br />

Zanamivir<br />

หามใชในผูที่แพยา Zanamivir และ<br />

สวนประกอบอื่นๆ ในตํารับ<br />

- Zanamivirไมถูกเปลี่ยนแปลงหรือไม<br />

มีผลตอเอนไซม CYP ประกอบดวย<br />

CYP1A1,1A2,2A6,2C9,2C18,2D6,2E1<br />

และ 3A4 ปฏิกิริยาของยาที่เปนสารตั้ง<br />

ตนหรือตัวยับยั้งของเอนไซมขางตนมี<br />

ผลที่ไมแนนอน 21.<br />

- มีผลในการลด therapeutic effect ของ<br />

Influenza virus vaccine ซึ่งมีผลเฉพาะ<br />

live และ attenuated Influenza virus<br />

vaccine โดยมีความเสี่ยงใน


ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไปของยา Oseltamivir และ Zanamivir (ตอ)<br />

Oseltamivir<br />

การตรวจติดตามผูปวย (8),(9) - virology studies ไมมีความจําเปนใน<br />

การตรวจ<br />

- อาการทางคลินิกของผูปวย เชน ไข ไอ<br />

ปวดเมื่อยกลามเนื้อ เจ็บคอ ปวดศีรษะ<br />

เปนตน<br />

- อาการของ behavioral change ไดแก<br />

confusion delirium<br />

ขอแนะนําในการใชยา (8),(9) - ยานี้ไมสามารถใชแทน influenza<br />

vaccine ได<br />

- ควรรับประทานยาภายใน 2 วันหลัง<br />

เกิดการติดเชื้อหรือมีอาการแสดงของ<br />

ไขหวัด เชน ไข ไอ ปวดเมื่อยกลามเนื้อ<br />

เจ็บคอ ปวดศีรษะ เปนตน<br />

- ไมควรเพิ่มขนาดหรือความถี่การใชยา<br />

เอง<br />

- ยานี้อาจทําใหเกิดอาการคลื่นไสและ<br />

อาเจียน การรับประทานยาพรอมอาหาร<br />

การรักษาความสะอาดในชองปาก เคี้ยว<br />

หมากฝรั่งหรืออมลูกอมอาจชวยลด<br />

อาการดังกลาว<br />

Zanamivir<br />

- virology studies ไมมีความจําเปน<br />

ในการตรวจ<br />

- อาการทางคลินิกของผูปวย เชน<br />

ไข ไอ ปวดเมื่อยกลามเนื้อ เจ็บคอ<br />

ปวดศีรษะ เปนตน<br />

- อาการทางระบบทางเดินหายใจ<br />

จากผลขางเคียงของยา<br />

ยานี้ไมสามารถใชแทน influenza<br />

vaccine ได<br />

- การใชยาควรใชยาตามวิธีการใช<br />

ใหถูกตอง<br />

-ผูปวยที่เปน Asthma หรือ COPD<br />

จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด<br />

bronchospasm อาจจําเปนตองใช<br />

bronchodilator กอนใหยา<br />

- ยาอาจทําใหเกิดอาการมึนงงหรือ<br />

ปวดศีรษะ (ควรขับยาน<br />

ยานพาหนะและทํางานที่มีความ<br />

อันตรายอยางระมัดระวัง) เจ็บคอ<br />

ทองเสีย คลื่นไส อาเจียน เปนตน


Oseltamivir<br />

ความคงตัวและการเก็บ Capsule: เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศา<br />

รักษา (8),(9) เซลเซียส (77 องศาฟาเรนไฮต)<br />

Oral suspension: เก็บที่อุณหภูมิ 25<br />

องศาเซลเซียส (77 องศาฟาเรนไฮต)<br />

เมื่อ reconstitute แลว เก็บในตูเย็นที่<br />

อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส (35-<br />

46องศาฟาเรนไฮต) หามแชแข็งใช<br />

ภายใน 10 วันหลังจากการเตรียม<br />

Zanamivir<br />

เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

(77 องศาฟาเรนไฮต) หามเจาะ<br />

blister จนกวาจะใชยา<br />

วิธีการบริหารยา<br />

การใช Oseltamivir capsule<br />

‐ ผูใหญและเด็กอายุมากกวา 13 ปขึ้นไป รับประทานครั้งละ 75 mg วันละ 2 ครั้ง ติดตอกันเปนเวลา 5 วัน<br />

การรักษาควรเริ่มใหภายใน 2 วันแรกหลังจากผูปวยเริ่มปรากฎอาการ<br />

‐ ในผูปวยเด็กอายุ 1-12 ป ขึ้นกับน้ําหนักตัวของผูปวย<br />

‐ การใชยาในเด็กอายุต่ํากวา 1 ป ขอมูลความปลอดภัยในการใชยา oseltamivir ในเด็กต่ํากวา 1 ปยังไม<br />

เพียงพอ อยางไรก็ตามผูปวยกลุมนี้มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดอาการแทรกซอนที่รุนแรงและเสียชีวิตไดสูง<br />

จากการติดเชื้อไขหวัดใหญตามฤดูกาลเปนไปไดวา oseltamivir อาจไดประโยชน(13)<br />

การใชยา Oseltamivir suspension<br />

1. เขยาผงยาใหกระจายตัว<br />

2. ตวงน้ํา 23 มิลลิลิตรโดยอุปกรณที่เที่ยงตรง เติมน้ําลงไปทั้งหมดเขยาขวด<br />

นาน 15 วินาที เขยาขวดกอนใชทุกครั้ง(13)


การเตรียมยา Oseltamivir capsule เปนยา suspension (14)<br />

1. คํานวณปริมาณของยาโดยดูจากน้ําหนักตัวของผูปวย<br />

ตารางที่ 2 แสดงปริมาณของ oral suspension (15 mg/ml) ที่ตองการโดยพิจารณาจากน้ําหนักตัวของผูปวย<br />

Body Weight (kg)<br />

Body Weight (lbs)<br />

15 kg or less 33 lbs or less 30 mL<br />

16 to 23 kg 34 to 51 lbs 40 mL<br />

24 to 40 kg 52 to 88 lbs 50 mL<br />

41 kg or more 89 lbs or more 60 mL<br />

Total Volume to Compound<br />

per patient (mL)


2. พิจารณาจํานวนแคปซูลและปริมาณ vehicle (Cherry Syrup or Ora-Sweet SF)<br />

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนของ capsule และปริมาณของ vehicle<br />

Total Volume of<br />

Compounded Oral<br />

Suspension needed to<br />

be Prepared<br />

Required number of<br />

TAMIFLU 75 mg<br />

Capsules<br />

Required volume of<br />

vehicle<br />

Cherry Syrup (Humco)<br />

OR Ora-Sweet SF<br />

(Paddock Laboratories<br />

30 mL 40 mL 50 mL 60 mL<br />

6 capsules (450<br />

mg oseltamivir)<br />

8 capsules (600 mg<br />

oseltamivir)<br />

10 capsules (750 mg<br />

oseltamivir)<br />

29 mL 38.5 mL 48 mL 57 mL<br />

12 capsules (900 mg<br />

oseltamivir)<br />

ขั้นตอนการเตรียม (14)<br />

1. แกะแคปซูลออกแลวเคาะผงยาในแคปซูลทั้งหมดลงในโกรงที่สะอาด<br />

2. บดลดขนาด granule ใหได fine powder<br />

3. เติม vehicle ประมาณ 1/3 ของปริมาตรทั้งหมด(ใชประมาณ 10 มล. จากปริมาณ vehicle ทั้งหมด 29<br />

มล.) ลงในโกรงและบดขนาดยาอีกครั้งจนได suspension ที่เปนเนื้อเดียวกัน<br />

4. เท suspension ที่ไดลงในขวดแกวสีชาที่ sterile และมีการ label ปริมาตร 30 มล. เรียบรอยแลว<br />

5. เติม vehicle อีกประมาณ 1/3 ลงในโกรงเพื่อ rinse suspension ที่เหลือจากโกรงลงในขวดยา<br />

6. ทําซ้ําขอ 5 โดยเติม vehicle อีกประมาณ 1/3 ลงในโกรงเพื่อ rinse suspension ที่เหลือจากโกรงลงใน<br />

ขวดยาจนหมด


7. ปดฝาขวดยาดวย child-resistant cap<br />

8. ปดฉลาก เขยาขวดใหยาเขากันกอนใชยา<br />

การเก็บรักษา เก็บไวในตูเย็นชองธรรมดาที่อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียสไดนาน 5 สัปดาห เก็บที่อุณหภูมิหอง<br />

ประมาณ 25 องศาเซลเซียส ได 5 วัน<br />

ตัวอยางสูตรตํารับ (15)<br />

การพัฒนาสูตรตํารับยา Oseltamivir Suspension 10 mg/ml<br />

กลุมงานเภสัชกรรม สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี<br />

สูตรตํารับ 10 mg/ml<br />

ชื่อยา Oseltamivir capsule 75 mg<br />

จํานวนยาที่ใช 4 แคปซูล<br />

น้ํากระสายยาที่ใช น้ําเชื่อมที่มีสารกันเสีย * เติมจนครบ 30 ml<br />

วิธีการเตรียม<br />

1. แกะแคปซูลเอาผงยาใสในโกรงบดใหเปนผงละเอียด<br />

2. ผสมน้ํากระสายยาทีละนอยตาม geometric proportion แลวบดใหเขาเปนเนื้อเดียวกัน<br />

3. เทใสภาชนะบรรจุที่เตรียมไว<br />

4. เติมน้ํากระสายยาลางยาที่เหลือในโกรง และเติมใหครบปริมาตรที่กําหนด<br />

5. เขยาแรงๆ เพื่อใหเปนเนื้อเดียวกัน<br />

การเก็บรักษา เก็บในขวดสีชาและในตูเย็น<br />

ความคงตัว 10 วัน<br />

* น้ําเชื่อมที่มีสารกันเสีย 100 ml<br />

Sucrose 80 g.<br />

Sodium benzoate 0.1 g.<br />

Water qs to<br />

100 ml


ตารางที่ 4 แสดง การใหยาและผสม Oseltamivir suspension เพื่อใชรักษา ( 5 วัน )<br />

น้ําหนัก ( Kg ) ขนาดที่ใช จํานวนเม็ด น้ําเชื่อมที่มีสาร<br />

กันเสีย<br />

กรณีอายุนอยกวา 1 ป<br />

< 3 เดือน 1.2 ml วันละ 2<br />

ครั้ง<br />

3-5 เดือน 2 ml วันละ 2<br />

ครั้ง<br />

6-11 เดือน 2.5 ml วันละ 2<br />

ครั้ง<br />

กรณีอายุมากกวา 1 ป<br />

< 15 kg 3 ml วันละ 2<br />

ครั้ง<br />

> 15 kg – 23 kg 4.5 ml วันละ 2<br />

ครั้ง<br />

> 23 kg – 40 kg 6 ml วันละ 2<br />

ครั้ง<br />

> 40 kg 1 แคปซูล วันละ<br />

2 ครั้ง<br />

2 เม็ด 15 ml<br />

3 เม็ด 22 ml<br />

4 เม็ด 30 ml<br />

4 เม็ด 30 ml<br />

6 เม็ด 45 ml<br />

8 เม็ด 60 ml<br />

ถาผูปวยกลืนไมได ใหแกะแคปซูล<br />

ผสมน้ํา


Zanamivir (16)<br />

ยา Zanamivir มีลักษณะเปนผงยาสีขาว ใชสําหรับสูดพน สามารถละลายในน้ําอุณหภูมิ 20 องศา<br />

เซลเซียส ไดประมาณ 18 mg/ml<br />

5 mg blister บรรจุอยูใน Rotadisk ซึ่งใชสําหรับสูดพนโดยใช diskhaler และ 1 กลองประกอบดวย 5<br />

Rotadisks(รวมทั้งหมด 10 dose)<br />

รูปที่ 1 แสดงตัวอยางผลิตภัณฑ Zanamivir(Relenza ® )


รูปที่2 แสดงสวนประกอบตางๆของ Diskhaler


รูปที่ 3 วิธีการบริหารยา (16)<br />

Step A: ใสยา zanamivir ลงไปในชองของ dishaler<br />

Step B: เจาะ blister เพื่อให blister แตก<br />

Step C: สูดยาพรอมกับหายใจเขา<br />

Step D: นํา blisterที่ใชแลวออกแลวใส blister ใหมแทนที่


(3)<br />

ขนาดยาที่ใชในการรักษาโรคไขหวัดสายพันธุใหม<br />

ตารางที่ 5 แสดงขนาดของยาที่แนะนําในการรักษาและปองกันการติดเชื้อไวรัส H.influenza A (H1N1)<br />

Agent, group Treatment Chemoprophylaxis<br />

Oseltamivir<br />

Adults<br />

75-mg capsule twice per day for 5<br />

days<br />

75-mg capsule once per day for 10 days<br />

Children<br />

12 months<br />

≥<br />

15 kg or less 60 mg per day divided into 2 doses 30 mg once per day<br />

16-23 kg 90 mg per day divided into 2 doses 45 mg once per day<br />

120 mg per day divided into 2<br />

24-40 kg<br />

60 mg once per day<br />

doses<br />

>40 kg<br />

150 mg per day divided into 2<br />

doses<br />

75 mg once per day<br />

Zanamivir<br />

Adults<br />

Two 5-mg inhalations (10 mg total)<br />

twice per day<br />

Two 5-mg inhalations (10 mg total) once<br />

per day<br />

Children<br />

Two 5-mg inhalations (10 mg total) Two 5-mg inhalations (10 mg total) once<br />

twice per day (age, 7 years or older) per day (age, 5 years or older)


ตารางที่ 6 แสดงขนาดของยา oseltamivir ที่แนะนําในการรักษา H.influenza A (H1N1) ในเด็กอายุนอยกวา 1 ป<br />

Age<br />

Recommended treatment dose for 5 days<br />


ผูที่ควรไดรับการปองกันโดยการใชยาตานไวรัส (3)<br />

1. ผูที่มีความเสี่ยง (เชน ผูที่เปนโรคเรื้อรัง ผูสูงอายุ)ในการติดเชื้อที่ไดรับการสัมผัสกับผูปวย<br />

2. เด็กนักเรียนที่มีความเสี่ยง (เชน เด็กที่เปนโรคเรื้อรัง) ในการติดเชื้อที่อยูในสถานศึกษาที่มีการสัมผัสกับ<br />

ผูปวยอยางใกลชิด<br />

3. นักทองเที่ยวหรือผูที่ทํางานที่มีความเสี่ยง(เชน ผูที่มีโรคเรื ้อง ผูสูงอายุ)ตอการติดเชื้อ ที่กลับมาแดน<br />

ระบาด(เชน แมกซิโก)<br />

4. บุคลากรทางสาธารณสุขที่ยังไมไดรับการปองกัน ที่มีการสัมผัสกับผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยวาติดเชื้อ<br />

ไขหวัดใหญสายพันธุใหม<br />

ประสิทธิภาพในการรักษา<br />

หากไมมีการดื้อยาแนะนําใหใช oseltamivir เปนยาตัวแรกในการรักษาและปองกันเนื่องจากมี<br />

ประสิทธิภาพสูงและมีผลขางเคียงจากยานอย (17)<br />

มีการศึกษาแนะนําใหใช oselnamivir เพื่อลดความรุนแรงและระยะเวลาในการรักษา acute influenza<br />

ในผูปวยสุขภาพดี และลดอัตราการเกิด secondary complications. โดยผูปวยที่ไดรับ oseltamivir ภายใน 36<br />

ชั่วโมง หลังจากเกิดอาการจะลดระยะเวลาความเจ็บปวยได 30 % ลดความรุนแรง 40 % และฟนกลับมาทํา<br />

กิจกรรมตางๆตามปกติภายใน 2 – 3 วัน (18)


รูปที่ 4 อุบัติการณการดื้อของยา Oseltamivir ตอเชื้อ H.influenza A (H1N1)<br />

จากรูปที่ 4 แสดงอุบัติการณการดื้อของยา Oseltamivir<br />

หมายถึงพื้นที่นั้นมีอุบัติการณดื้อยานอยกวา 1%<br />

หมายถึงพื้นที่นั้นมีอุบัติการณดื้อยา 1.0-9.9%<br />

หมายถึงพื้นที่นั้นมีอุบัติการณดื้อยา 10.0-24.9%<br />

หมายถึงพื้นที่นั้นมีอุบัติการณดื้อยามากกวา 25%<br />

หมายถึงพื้นที่นั้นไมสามารถหาขอมูลการดื้อยาได


จากรูปที่ 1 ขอมูลจาก Public Health Information and Geographic Information System (WHO 2008)<br />

ผูเขียนคาดวาอุบัติการณการดื้อยาในประเทศไทยนาจะอยูในระดับที่ 2 คือมีอุบัติการณดื้อยา 1.0-9.9%<br />

ในเดือนพฤศจิกายน 2007 ถึงเดือนมกราคม 2008 มีรายงานดื้อยา oseltamivir ในทวีปยุโรปตอ<br />

influenza A(H1N1) viruses 14% (17)<br />

ในป ค.ศ. 2007 ถึง 2008 มีรายงานดื้อยา oseltamivir ในสหรัฐอเมริกาตอ influenza A(H1N1) viruses<br />

12.3 % และมีรายงานเบื้องตนในป 2008-2009 วามีการดื้อยา oseltamivirตอ influenza A(H1N1) viruses 98.5%<br />

(19)<br />

และมีการศึกษาของ ในเดือนพฤษภาคม ป คศ. 2009 พบวามีรายงานดื้อยา oseltamivir ในสหรัฐอเมริกาตอ<br />

influenza A(H1N1) viruses 99.2 % แตยังไมมีรายงานการดื้อยาตอ zanamivir (20)<br />

อุบัติการณการดื้อของยา Zanamivir ตอเชื้อ H.influenza A (H1N1) (21)<br />

พบการรายงานการดื้อยา Zanamivir 1 case จากเด็กซึ่งมีภาวะภูมิคุมกันบกพรอง(immunocompromised)<br />

ซึ่งมีการติดเชื้อ influenza B virus<br />

สรุป<br />

โรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมที่มีการแพรระบาดในปจจุบันเกิดจากการติดเชื้อไวรัส influenza A<br />

(H1N1) มียาที่ใชในการรักษาตามแนวทางการรักษาของ CDC guideline คือ ยา Oseltamivir และ Zanamivir<br />

โดยยาทั้ง 2 ชนิดมีประสิทธิภาพในรักษาและปองกันโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหมได ยาตัวแรกที่เลือกใช คือ<br />

Oseltamivir ถาหากมีการคื้อยาในบางพื้นที่ หรือมีการใชยา Oseltamivir ไปแลวยังใหผลการรักษาที่ไมดีพอ<br />

รวมทั้งผูปวยมีตอบสนองตอการรักษาก็สามารถใชยา Zanamivir เปนยาที่ใชรักษาตอไป

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!