02.11.2014 Views

ฉบับที่ 5 : กรกฎาคม 2551 - Faculty of Medicine - มหาวิทยาลัยนเรศวร

ฉบับที่ 5 : กรกฎาคม 2551 - Faculty of Medicine - มหาวิทยาลัยนเรศวร

ฉบับที่ 5 : กรกฎาคม 2551 - Faculty of Medicine - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ขอแสดงความยินดีกับ นายแพทย์เอกวีร์ ศรีปริวุฒิ หัวหน้าภาควิชา<br />

อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ที ่ได้รับงบประมาณ<br />

การอุดหนุนวิจัยเรื ่อง “ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของขมิ ้นชันในการ<br />

เป็นสารปกป้องตับเพื ่อชะลอการทำลายเซลล์ตับในผู ้ป่วยโรคตับแข็ง” จากสำนักงาน<br />

กองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.)<br />

นายแพทย์เอกวีร์ ศรีปริวุฒิ ได้กล่าวถึงโครงการวิจัยประสิทธิภาพและความปลอดภัย<br />

ของขมิ้นชันในการเป็นสารปกป้องตับเพื่อชะลอการทำลายเซลล์ตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งว่าเป็น<br />

โครงการเพื่อทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของขมิ้นชันในการปกป้องตับ โดยจะทำ<br />

การศึกษาในหนูทดลองก่อน แล้วจึงศึกษาในผู้ป่วยโรคตับแข็ง ทั้งนี้ ประโยชน์ของโครงการนี้จะ<br />

ทำให้ทราบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ ขมิ้นชันว่าสามารถจะชะลอการทำลาย<br />

เซลล์ตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งได้หรือไม่ เนื่องจากวิธีการรักษาเฉพาะของโรคตับแข็งในปัจจุบัน<br />

คือการผ่าตัดเปลี่ยนตับ ซึ่งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง ที่สำคัญในปัจจุบันยังขาดแคลน<br />

ผู้บริจาคอวัยวะอยู่มาก ถ้ามียาที่สามารถชะลอความเสื่อมของตับแข็ง ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพ<br />

ชีวิตที่ดีขึ้น อาจหลีกเลี่ยงการผ่าตัดหรือสามารถรอจนกว่าจะมีผู้บริจาคอวัยวะมาให้ทำการ<br />

ผ่าตัดเปลี่ยนตับได้<br />

โครงการวิจัยในครั้งนี้เป็นโครงการวิจัย 2 ปี คาดว่าน่าจะแล้วเสร็จประมาณเดือน<br />

พฤษภาคม พ.ศ.2553<br />

“ตับ”<br />

เป็นอวัยวะที ่ใหญ่ที ่สุดในร่างกาย มีหน้าที ่สำคัญในการควบคุมสภาพร่างกายให้<br />

อยู่ดีมีสุข โดยทำหน้าที่หลายอย่าง ตัวอย่าง เช่น ขจัดสารพิษออกจากเลือด สร้างภูมิคุ้มกันบางอย่างขึ้นมา<br />

ต่อสู้โรคติดเชื้อ ตลอดจนกำจัดเชื้อโรคต่างๆ ออกจากเลือด นอกจากนั้นตับยังทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่เป็น<br />

ส่วนประกอบในการทำให้เลือดแข็งตัว ตลอดจนสร้างน้ำดี ซึ ่งมีหน้าที ่ช่วยการดูดซึมไขมันและไวตามินชนิด<br />

ละลายในน้ำมัน<br />

<br />

<br />

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!