02.11.2014 Views

ฉบับที่ 5 : กรกฎาคม 2551 - Faculty of Medicine - มหาวิทยาลัยนเรศวร

ฉบับที่ 5 : กรกฎาคม 2551 - Faculty of Medicine - มหาวิทยาลัยนเรศวร

ฉบับที่ 5 : กรกฎาคม 2551 - Faculty of Medicine - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

⌫⌫ ⌫ <br />

www.med.nu.ac.th<br />

ISSN 1906-2346


้<br />

บทบรรณาธิการ<br />

นักเขียนระดับรางวัลพูลิตเซอร์ชาวอเมริกัน นำเสนอ ข้อคิดสิบข้อ<br />

ที่จะช่วยให้พวกเราหลีกเลี่ยงการทำให้โลกแย่ลงกว่าเดิม น่าจะได้นำไป<br />

ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างยิ่งทีเดียว ผมขอถอดความ และตัดต่อใหม่<br />

ดังนี้ครับ<br />

ข้อที ่1 จงหาโอกาส ก้มลงดมกลิ ่นดอกไม้เสียบ้าง<br />

ข้อที่2 อย่าใส่เสื้อผ้าที่พูดได้เลย(ถ้าไม่จำเป็นจริงๆ) เพราะโลกนี้เราพูดกัน<br />

มากแล้ว คนฟังแทบจะไม่เหลือแล้ว ยังจะใส่เสื้อผ้าที่พูด(ด้วยตัวอักษร)<br />

อีกหรือ?<br />

ข้อที่3 สืบเนื่องจากข้อ2 ฟังให้มากขึ้น บางทีเราอาจได้ยินเสียงที่เราหลงลืม<br />

ไปนานแล้ว รวมถึงเราอาจได้หยุดฟังเสียงภายในของเราได้บ่อยขึ ้น (และจะรู<br />

ว่า บางครั ้งที ่พูดไปมากๆ นั ้น อาจไม่ฉลาดเลย)<br />

ข้อที่4 นอนไม่ใส่เสื้อผ้าซะบ้าง(คืนตัวตนสู่ธรรมชาติ ตามแต่โอกาสอัน<br />

เหมาะสม ไม่เป็นบาปใดๆ)<br />

ข้อที่5 ปิดทีวีหนึ่งถึงสองครั้งต่อเดือน แล้วเปิดหนังสืออ่านแทน(ถ้าอ่านหนัง<br />

สือ แล้วง่วง แล้วหลับไป ก็ยังชนะอยู่ดี เพราะได้พักผ่อน และลดมลภาวะ<br />

ทางสายตา จากทีวี(น้ำเน่า)ได้อีกด้วย)<br />

ข้อที่6 อย่าพกปืน อย่าเก็บปืนไว้ที่บ้าน ยกเว้นจะได้เก็บกระสุนแยกไว้ใน<br />

ตู้นิรภัยอย่างแน่นหนาแล้ว<br />

ข้อที่7 เรียนรู้ที่จะกลัวรถยนต์(กำลังหมายถึงว่า ผลิตเท่าไรก็ไม่พอ ทั้งรถทั้ง<br />

ทางให้รถวิ่ง)<br />

ข้อที ่8 ข้อนี ้เด็ดมาก กระทบหลายชิ ่งทีเดียว ข้อนี ้บอกไว้ว่า ให้พยามมีลูกกัน<br />

ซะทุกคน เพราะนอกจากลูกจะทำให้ชีวิตมีสีสันขึ ้นแล้ว ที ่สำคัญ ลูกจะทำให้<br />

เรารู้สึกผิดเมื่อต้องทวงบุญคุณกับเขาเมื่อเขาเป็นผู้ไม่รู้จักบุญคุณเรา (สังคม<br />

ปัจจุบัน จะหาคนที ่รู ้สึก(สำนึก)ผิด ยากขึ ้นๆ ทุกทีแล้ว)<br />

ข้อที่9 แต่งงานซะ! แล้วจะดีในระยะยาว นอกจากจะได้มีแหล่งให้ใช้เงิน<br />

(และมีช่องทางมอบมรดก) ที ่สำคัญ ลูกจะได้มีผู ้ปกครองที ่มีมาตรฐาน<br />

ข้อที่10 จงยิ้ม และพึงพอใจกับทุกๆ ขณะที่ใช้ชีวิตอยู่บนโลกนี้ เพราะปัจจุบัน<br />

เท่านั ้น ที ่เป็นจริง!<br />

Leader Guide<br />

โครงการคืนแก้วตาให้ผู้ยากไร้<br />

การวิจัยขมิ้นชันเพื่อชtลอภาวะตับถูกทำลาย<br />

โดย นพ.เอกวีร์ ศรีปริวุฒิ<br />

Case Report<br />

สถาบันร่วมผลิตแพทย์<br />

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา ชั้นคลินิก โรงพยาบาลพิจิตร<br />

กระกวดหนูน้อยสุขภาพดีครั้งที่ 3<br />

มหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพ สู่<br />

“โรงเรียนแพทย์สร้างเสริมสุขภาพ”<br />

ศูนย์ปลูกถ่ายกระดูก<br />

โครงการผลิตแพทย์แนวใหม่ NEW TRACK<br />

โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ<br />

โภชนบำบัด อาหารสำหรับหน้าฝน<br />

สวนแห่งความสุข<br />

Activity กิจกรรมคณะแพทยศาสตร์<br />

3<br />

4<br />

6<br />

7<br />

8<br />

10<br />

12<br />

14<br />

16<br />

18<br />

20<br />

21<br />

22<br />

เดินต่อไป และเดินต่อไป เรียนรู้และเรียนรู้ต่อไป ทำหน้าที่อย่างเต็มภาคภูมิ<br />

เพื่อตนและคนรอบข้าง<br />

ทำชีวิตให้สนุก และมีคุณค่าในทุกๆ ขณะที่ก้าวย่างอยู่บนโลกนี้<br />

มอง QA HA TQA ก็คือ ตองA ที ่เราจะชนะในเกมส์นี ้ อย่างแน่นอนครับ!<br />

ผศ.นพ.ศิริเกษม ศิริลักษณ์<br />

รองคณบดีฝ่ายพัฒนาและบริหาร<br />

F aculty <strong>of</strong> M edicine<br />

บรรณาธิการที ่ปรึกษา ศ.นพ.ดร.ศุภสิทธิ ์ พรรณารุโณทัย บรรณาธิการ ผศ.นพ.ศิริเกษม ศิริลักษณ์ กองบรรณาธิการ ธนาสุข พ่วงก้อน ณัฐพร แก้วแดง<br />

นเรศ พันอินทร์ อานัดต์ คันธะด้วง วันชัย ชอบละคร ถ่ายภาพ ณัฐพล นามะวงศ์ ออกแบบ วินัย พ่วงกระทุ่ม วิระธิดา สีดาเดช สัตตกมล นุ่มพรม<br />

คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> 99 หมู ่ 9 ต.ท่าโพธิ ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 Tel.(055)261890-9 Fax.(055)261900 www.med.nu.ac.th<br />

พิมพ์ที ่ : ดาวเงินการพิมพ์ 225/16 ถ.บรมไตรโลกนารถ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 Tel.(055)219786 Fax.(055)219646


LEADER<br />

G U I D E<br />

ในฐานะคณะแพทยศาสตร์ ของมหาวิทยาลัย<br />

แห่งหนึ่งในประเทศไทย และในฐานะคณะวิชาหนึ่ง<br />

ของ<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>ต้องเดินเครื่องเต็มกำลัง<br />

กับกระบวนการคุณภาพต่างๆ เพื่อสะท้อนให้เห็น<br />

ศักยภาพของคณะในการไปสู่วิสัยทัศน์ "เป็นโรงเรียน<br />

แพทย์ที่มีมาตรฐานสากล มีเครือข่ายพันธมิตรที่<br />

เข้มแข็ง สร้างเสริมสุขภาพคนไทยและเอเชีย”<br />

มาตรฐานสากลมีหลากหลายให้เลือก<br />

ภายหลังการเลือกสรรแล้ว คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> และเครือข่ายการผลิตแพทย์<br />

ซึ่งต้องพัฒนาคุณภาพทั้งด้านการศึกษา และด้าน<br />

บริการที่ตอบสนองภารกิจหลักคือการศึกษา เลือก<br />

เดินตามทางคุณภาพในปี <strong>2551</strong>-2552 ดังนี้<br />

เดือนพฤศจิกายน <strong>2551</strong> คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จะฝึกซ้อมการประเมินรับรอง<br />

คุณภาพการศึกษากับมหาวิทยาลัยเดรสเดน เยอรมนี<br />

ตามมาตรฐานสมาพันธ์โลกด้านแพทยศาสตรศึกษา<br />

(World Federation for Medical Education<br />

ดูเอกสารฉบับเต็มจาก www.wfme.org)<br />

ภายในปี <strong>2551</strong> โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย<br />

นเรศวร มุ่งมั่นผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล<br />

จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล<br />

ตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ<br />

ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราช สมบัติครบ 60 ปี<br />

(ดูเอกสารฉบับเต็มจาก www.ha.or.th)<br />

ภายในเดือนมีนาคม 2552 คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จะฝึกซ้อมการประเมินรับรอง<br />

คุณภาพกับกลุ ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย<br />

ตามมาตรฐานเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand<br />

Quality Award, ดูเอกสารต้นฉบับภาษา<br />

อังกฤษจาก www.baldrige.nist.gov.)<br />

ภายในเดือนพฤษภาคม 2552 (หรือ<br />

ตลอดปีการศึกษา <strong>2551</strong>) คณะแพทยศาสตร์ จะ<br />

ประเมินคุณภาพการศึกษาโดยใช้มาตรฐานสำนักงาน<br />

คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ดูเอกสารฉบับเต็มจาก<br />

www.mua.go.th/users/bhes/catalog.htm)<br />

ณ วันนี ้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

นเรศวร (รวมถึงเครือข่ายศูนย์แพทยศาสตรศึกษา<br />

ชั้นคลินิกทุกแห่ง) ประกาศเจตจำนงร่วมกันที่ต้องฝึก<br />

และผ่านมาตรฐานที่กล่าวแล้ว ส่วนจะได้คะแนน<br />

เท่าไร มาตรฐานนั้นอยู่ที่ความจริง ณ เวลาที่ระบุ<br />

ไว้นั้น<br />

คำถามว่า ถ้าไม่ได้คุณภาพหรือมีคุณภาพ<br />

ต่ำตามมาตรฐาน และเวลาที่ประกาศไว้แล้วจะเป็น<br />

อย่างไร องค์กรต้องประเมินผลกระทบกันต่อไป แต่<br />

เชื่อว่านักวิชาชีพมักจะรักษามาตรฐานของตนไว้<br />

เป็นอย่างดี มีแต่เพียงมาตรฐานองค์กร ที่ต้องอาศัย<br />

นักวิชาชีพทำงานประสานกัน หรือทำคร่อมสายงาน<br />

เพื่อให้คุณภาพทั้งองค์กรแน่นทุกอณู เดิมพันครั้งนี้<br />

เกี ่ยวข้องกับสมาชิกทุกคนในองค์กร<br />

ศ.นพ.ดร.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย<br />

คณบดีคณะแพทยศาสตร์<br />

<br />


โรคต้อกระจก (Cataract) คือ การเสื่อมของเลนส์แก้วตา จากที่เคยใสดุจแก้วกลายเป็นขุ่นมัว เมื่ออายุ<br />

มากขึ้น เป็นโรคที่พบมากในผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่เสื่อมสภาพตามวัย ทำให้เลนส์ตาที่เคยมีสีใสกลับกลาย<br />

เป็นขุ่นมัวลง และจะขุ่นมัวมากขึ้นเรื่อยๆ หากไม่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนเลนส์ตาจะเกิดโรคแทรกซ้อนจนถึงกับตาบอดได้<br />

โรคต้อกระจกเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้คนไทยตาบอดถึงร้อยละ 74 ซึ่งนอกจากจะเป็นปัญหาด้านสุขภาพ<br />

อนามัยของผู้ป่วยแล้ว ยังเป็นภาระต่อครอบครัวอีกด้วย ซึ่งปัจจุบันจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดน่านมีผู้สูงอายุที่มี<br />

ปัญหาเกี่ยวกับตาต้อกระจกเป็นจำนวนมาก ประกอบกับผู้สูงอายุส่วนใหญ่ที่มีปัญหาต้อกระจกเป็นผู้มีฐานะยากจน<br />

และอยู่ในพื้นที่ห่างไกล หากไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้ตาบอดได้ ประกอบกับจะต้องรอคิวผ่าตัดเป็นระยะเวลาค่อนข้าง<br />

นาน ซึ่งเป็นผลกระทบต่อผู้ป่วยและญาติเป็นอย่างมาก และสมควรได้รับการพิจารณาให้ความช่วยเหลือเป็นการเร่งด่วน<br />

สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดพิษณุโลก และภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> และ<br />

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการให้ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ให้กับผู้สูงอายุ<br />

ที่มีปัญหาต้อกระจกให้รับการรักษา ผ่าตัด ได้ในระยะเวลาอันเหมาะสม ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

ผู้สูงอายุให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ด้วยการมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี ไม่เป็นภาระแก่ญาติพี่น้องหรือผู้ใกล้ชิดอีกต่อไป<br />

จึงได้จัดทำโครงการคืนแก้วตาให้ผู้ยากไร้ ด้วยการผ่าตัดต้อกระจก 84 ดวงตา อุทิศถวาย 84 พรรษา<br />

เสด็จสู่สวรรคาลัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่เป็นผู้ริเริ่มและให้<br />

ความช่วยเหลือผู้ป่วยตาต้อกระจกมาโดยตลอด โดยจะให้การช่วยเหลือโดยเร่งด่วนกับผู้ป่วย ผู้สูงอายุที่มีปัญหา<br />

ต้อกระจกและเป็นผู้ที่มีฐานะยากจน ขาดแคลนทุนทรัพย์ที่จะเข้ารับการรักษาจากผู้เชี่ยวชาญด้านจักษุแพทย์ โดยจะ<br />

ดำเนินการผ่าตัดต้อกระจกให้กับผู้ที่เข้าร่วมโครงการในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 84 ราย ภายในปี <strong>2551</strong> ทั้งนี้ได้รับการ<br />

สนับสนุนงบประมาณจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดสลายต้อกระจก แบบแผลเล็ก<br />

โดยใช้เลนส์พับ(phaco) รวมเป็นเงินทั ้งสิ ้น 840,000 บาท<br />

โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสังคม ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ระหว่างหน่วย<br />

งานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั ่วไป ให้ความร่วมมือและให้ความช่วยเหลือผู ้ได้รับความเดือดร้อนให้สามารถกลับมา<br />

ดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขอีกครั้ง...<br />

<br />

<br />


แพทย์หญิงรสสุคนธ์ ศรีพัฒนาวัฒน์<br />

หัวหน้าภาควิชาจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์<br />

“ต้องขอขอบคุณทุกหน่วยงาน รวมถึงบุคลากรทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีโครงการนี้ขึ้น ไม่ว่าจะเป็น<br />

สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดพิษณุโลกที่ดำเนินงานจัดโครงการนี้ขึ้นมา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ<br />

ไทยที่สนับสนุนด้านงบประมาณ คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>ในการดำเนินการผ่าตัด<br />

โรงพยาบาลพุทธชินราชในการตรวจคัดกรองผู้ป่วยเข้าโครงการและให้การสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์<br />

รวมทั้งบุคลากร โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ในการให้ความอนุเคราะห์เครื่องมืออุปกรณ์ รวมถึงทีมแพทย์<br />

และบุคลากรที่ร่วมในการดำเนินงานทุกคน”<br />

คุณยายบุญธรรม หวังแซงกลาง อายุ 69 ปี<br />

จากอำเภอบางกระทุ ่ม จังหวัดพิษณุโลก<br />

“ยายเป็นต้อกระจก 1 ข้าง มีอาการตามัวและเป็นฝ้า มองไม่ค่อยเห็น ดำเนินชีวิตก็ไม่สะดวก รู้สึกดีที่มี<br />

โครงการนี ้ และขอขอบคุณทุกๆ คน”<br />

คุณยายมุก สร้อยสุวรณ อายุ 70 ปี<br />

จากอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก<br />

“ยายเป็นต้อกระจกที่ข้างซ้าย ส่วนข้างขวาเป็นต้อเนื้อ ตาเป็นฝ้ามาก มองอะไรก็ไม่เห็น มัวไปหมด<br />

ลำบากมากในการใช้ชีวิต จะไปไหนก็ไม่สะดวก เข้ารักษาตัวครั้งแรกที่โรงพยาบาลวังทอง และถูกส่งตัว<br />

มาที่โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก เลยได้ส่งมาเข้าโครงการนี้ รู้สึกดีใจมากที่ตาจะหายดี ขอขอบคุณ<br />

ทุกคนที่ทำงานนี้”<br />

คุณยายกวัก คำโบสถ์ อายุ 73 ปี<br />

จากอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก<br />

“ยายเป็นต้อมา 4-5 ปีแล้ว ตามัวมากมองไม่ค่อยเห็น เดินทางก็ลำบาก สถานีอนามัยตำบลท้อแท้<br />

ช่วยประสานงานกับโรงพยาบาลวัดโบสถ์ส่งยายเข้ารักษากับโครงการนี้ ต้องขอขอบคุณทีมงาน<br />

และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ที่ทำโครงการนี้ขึ้นมา ทำให้มองเห็นอีกครั้งเหมือนได้เกิดใหม่”<br />

คุณยายปั้น อ้วนอินทร์ อายุ 63 ปี<br />

จากอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก<br />

“ยายเป็นต้อทั ้ง 2 ข้างมา 3-4 ปีแล้ว อยู ่ 2 คนตายาย ทำสวนพุทรา ใช้ชีวิตลำบากมาก มักจะได้รับอุบัติเหตุ<br />

จากการเดินชนสิ่งของอยู่บ่อยๆ ได้รับการติดต่อจากอนามัยเข้ารักษาที่โรงพยาบาลพรหมพิราม และส่งมา<br />

รักษาที่โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ต้องขอขอบคุณสมเด็จพระพี่นางเธอฯ ที่ทำให้มีโครงการนี้”<br />

<br />


ขอแสดงความยินดีกับ นายแพทย์เอกวีร์ ศรีปริวุฒิ หัวหน้าภาควิชา<br />

อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ที ่ได้รับงบประมาณ<br />

การอุดหนุนวิจัยเรื ่อง “ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของขมิ ้นชันในการ<br />

เป็นสารปกป้องตับเพื ่อชะลอการทำลายเซลล์ตับในผู ้ป่วยโรคตับแข็ง” จากสำนักงาน<br />

กองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.)<br />

นายแพทย์เอกวีร์ ศรีปริวุฒิ ได้กล่าวถึงโครงการวิจัยประสิทธิภาพและความปลอดภัย<br />

ของขมิ้นชันในการเป็นสารปกป้องตับเพื่อชะลอการทำลายเซลล์ตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งว่าเป็น<br />

โครงการเพื่อทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของขมิ้นชันในการปกป้องตับ โดยจะทำ<br />

การศึกษาในหนูทดลองก่อน แล้วจึงศึกษาในผู้ป่วยโรคตับแข็ง ทั้งนี้ ประโยชน์ของโครงการนี้จะ<br />

ทำให้ทราบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ ขมิ้นชันว่าสามารถจะชะลอการทำลาย<br />

เซลล์ตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งได้หรือไม่ เนื่องจากวิธีการรักษาเฉพาะของโรคตับแข็งในปัจจุบัน<br />

คือการผ่าตัดเปลี่ยนตับ ซึ่งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง ที่สำคัญในปัจจุบันยังขาดแคลน<br />

ผู้บริจาคอวัยวะอยู่มาก ถ้ามียาที่สามารถชะลอความเสื่อมของตับแข็ง ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพ<br />

ชีวิตที่ดีขึ้น อาจหลีกเลี่ยงการผ่าตัดหรือสามารถรอจนกว่าจะมีผู้บริจาคอวัยวะมาให้ทำการ<br />

ผ่าตัดเปลี่ยนตับได้<br />

โครงการวิจัยในครั้งนี้เป็นโครงการวิจัย 2 ปี คาดว่าน่าจะแล้วเสร็จประมาณเดือน<br />

พฤษภาคม พ.ศ.2553<br />

“ตับ”<br />

เป็นอวัยวะที ่ใหญ่ที ่สุดในร่างกาย มีหน้าที ่สำคัญในการควบคุมสภาพร่างกายให้<br />

อยู่ดีมีสุข โดยทำหน้าที่หลายอย่าง ตัวอย่าง เช่น ขจัดสารพิษออกจากเลือด สร้างภูมิคุ้มกันบางอย่างขึ้นมา<br />

ต่อสู้โรคติดเชื้อ ตลอดจนกำจัดเชื้อโรคต่างๆ ออกจากเลือด นอกจากนั้นตับยังทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่เป็น<br />

ส่วนประกอบในการทำให้เลือดแข็งตัว ตลอดจนสร้างน้ำดี ซึ ่งมีหน้าที ่ช่วยการดูดซึมไขมันและไวตามินชนิด<br />

ละลายในน้ำมัน<br />

<br />

<br />


นพ.อาทิตย์ เหล่าเรืองธนา<br />

Artit Laoruengthana, MD.*, Sompope Phuphitaya, MD.**<br />

*Department <strong>of</strong> Orthopaedics, <strong>Faculty</strong> <strong>of</strong> <strong>Medicine</strong>, Naresuan University, Phitsanulok, Thailand<br />

**Department <strong>of</strong> Orthopaedics, Phramongkutklao Hospital and College <strong>of</strong> <strong>Medicine</strong>, Bangkok, Thailand<br />

Introduction<br />

Osteoid osteoma is rare, benign tumors in spine1,2. Osteoid osteoma and osteoblastoma should be included in the<br />

differential diagnosis <strong>of</strong> any young patient with pain in the back, painful scoliosis, or radicular or referred-type pain into the lower limb<br />

or the shoulder. These tumors <strong>of</strong>ten produce pain before they are detectable on roentgenograms, therefore, dependence on routine<br />

roentgenograms can <strong>of</strong>ten delay the diagnosis3. Early diagnosis and excision <strong>of</strong> these tumors are important to reduce the duration<br />

<strong>of</strong> pain and hopefully to reverse the associated scoliosis4,5. With recently imaging techniques, we could identify it earlier, however this<br />

report describe the difficulty <strong>of</strong> localization and surgical removal <strong>of</strong> the lesion by MRI. The patient and family were informed that data<br />

concerning this case would be submitted for publication.<br />

<br />


โรงพยาบาลพิจิตร เริ ่มก่อสร้างเมื ่อ พ.ศ. 2496<br />

ด้วยเงินงบประมาณแผ่นดิน และเปิดให้บริการผู้ป่วย<br />

นอกในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2496 สำหรับผู ้ป่วยในนั ้นเปิด<br />

ให้บริการในปี พ.ศ. 2497 โดยมีนายแพทย์ดำรงค์<br />

เจ่าสกุล รักษาการผู้อำนวยการโรงพยาบาล และเปิด<br />

รับผู้ป่วยในด้วยจำนวนเตียง 10 เตียง ในสมัยนั้นการ<br />

คมนาคมไปมาลำบาก โรงพยาบาลพิจิตรจึงต้องเป็น<br />

ที่พึ่งพาของประชาชนในการรักษาสุขภาพ ทำให้มี<br />

ผู้ป่วยมาขอใช้บริการมากขึ้น จึงต้องขยายเตียงรองรับ<br />

เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพื่อสนองความต้องการของประชาชนใน<br />

เขตพื้นที่รับผิดชอบและพื้นที่ใกล้เคียงโดยใช้เงินบริจาค<br />

เป็นส่วนใหญ่<br />

โรงพยาบาลพิจิตร จัดบริการอยู่ในระดับ<br />

ทุติยภูมิระดับสูง มีเตียงไว้บริการ 405 เตียง นำทีมบริหาร<br />

โดย พญ.สุนีย์ ธีรการุณวงศ์ ในรูปแบบคณะกรรมการ<br />

บริหารโรงพยาบาลที่ร่วมวางยุทธศาสตร์การพัฒนา<br />

ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า “พัฒนาให้เป็นโรงพยาบาล<br />

คุณภาพชั้นนำในเขตภาคเหนือตอนล่าง” พร้อม<br />

พันธกิจที่จะมุ่งสู่เป้าหมายในทิศทางเดียวกัน ด้วยข้อ<br />

ตกลงร่วมกันว่า “มุ่งมั่นบริการ มาตรฐานสากล<br />

ทุกคนมีค่า พัฒนาต่อเนื่อง” การพัฒนาในแต่ละปีนั้น<br />

จะมี การกำหนดเป็นนโยบาย เข็มมุ่งการพัฒนาและ<br />

สื่อสารสู่ผู้ปฏิบัติได้อย่างทั่วถึง<br />

ด้านการรักษาพยาบาล<br />

พบว่าจำนวนผู้รับบริการเพิ่มขึ้นจากจำนวน<br />

ผู้ป่วยเรื้อรังที่เพิ่มขึ้นและการนัดตรวจผู้ป่วยต่อเนื่อง<br />

จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยนอก เฉลี่ยวันละ 873 ราย<br />

ผู้ป่วยในที่นอนโรงพยาบาล เฉลี่ยวันละ 332 ราย<br />

จำนวนวันนอนเฉลี่ยมีแนวโน้มลดลง เฉลี่ย 4.41 วัน<br />

อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตมีแนวโน้มลดลง ด้านโครงสร้าง<br />

กายภาพและสิ่งแวดล้อม มีการพัฒนาด้านอาคาร<br />

สถานที่และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง มีทั้งการขอ<br />

งบประมาณจากกระทรวงมาก่อสร้างใหม่ และการใช้เงิน<br />

บำรุงปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสถานที่ที่มีสภาพชำรุด<br />

ด้านวิชาการและการเรียนรู ้<br />

ยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาลที่มุ่งเน้นพัฒนา<br />

โรงพยาบาลพิจิตรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เช่น เป็น<br />

ศูนย์แพทยศาสตร์ชั้นคลินิกของ<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

ที่มีการจัดการเรียนการสอนในชั้นปีที่ 4 – 6 เป็นสถานที่<br />

ฝึกงานของสหสาขาวิชาชีพและพยาบาลระดับต่างๆ<br />

นำการจัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยน<br />

เรียนรู้ในโรงพยาบาลและเครือข่ายโรงพยาบาลในเขต<br />

ภาคเหนือตอนล่างร่วมกับ<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

จนเกิดองค์ความรู้ที่เผยแพร่มากมาย นอกจากนี้<br />

ยังมีการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยการนำระบบ<br />

คอมพิวเตอร์เครือข่ายเชื่อมโยงกันทั้งผู้ป่วยนอกและ<br />

ผู้ป่วยใน<br />

<br />

<br />


ด้านบุคลากรของโรงพยาบาลพิจิตร<br />

พบว่า มีจำนวนทั ้งสิ ้น 937 คน พบว่าบุคลากร<br />

สายวิชาชีพยังขาดแคลนอยู่ บุคลากรทุกคนจะได้รับ<br />

การพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามการประเมินศักยภาพ<br />

ที่มีอยู่ โดยจะมีงบรายหัวสำหรับการพัฒนาในแต่ละคน<br />

ซึ่งมีเป้าหมายที่จะพัฒนาให้ได้ 3 วันต่อคนต่อปี นอก<br />

จากเป้าหมายให้ทุกคนได้รับการพัฒนาแล้ว<br />

คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลได้วิเคราะห์<br />

บรรยากาศขององค์กรและได้มีการจัดอบรมในภาพกลาง<br />

ของโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่องเสมอมา<br />

ด้านการพัฒนาบุคลากร<br />

โรงพยาบาลได้นำการพัฒนาคุณภาพมาใช้<br />

กับโรงพยาบาลตั้งแต่ปีงบประมาณ 2542 จนถึงปัจจุบัน<br />

โดยเริ่มต้นจากการนำแนวคิดการพัฒนาคุณภาพแบบ<br />

TQM มาเป็นพื้นฐานการพัฒนาแล้วนำมาตรฐาน<br />

โรงพยาบาล มาบูรณาการกับงานประจำ จึงเกิดเป็น<br />

วัฒนธรรมทำงานอย่างมีคุณภาพ ผลของการพัฒนา<br />

อย่างเป็นรูปธรรมและการมีส่วนร่วมของภาคีทั้งภาครัฐ<br />

และประชาชน ส่งผลให้โรงพยาบาลได้รับการรับรอง ดังนี ้<br />

ผ่านการประเมินเป็นสถานที่ทำงานน่าอยู่<br />

น่าทำงาน ระดับทอง จากกรมอนามัย<br />

ผ่านการรับรองเป็นโรงพยาบาลสร้างเสริม<br />

สุขภาพ จากกรมอนามัย<br />

ผ่านการรับรองเป็นโรงพยาบาลคุณภาพ( HA )<br />

จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ<br />

โรงพยาบาล<br />

ผ่านการประเมินเป็นโรงพยาบาลคุณภาพตาม<br />

มาตรฐานบริการสาธารณสุข ของกระทรวง<br />

สาธารณสุข<br />

รางวัล Quality Prize <strong>of</strong> the year 2007เครือ<br />

ข่ายบริการ HNQA จากกระทรวงสาธารณสุข<br />

ผู ้อำนวยการและรองผู ้อำนวยการฝ่ายการพยาบาล<br />

ได้รับเชิดชูเกียรติเป็นผู้บริหารโรงพยาบาลดีเด่น<br />

ประเภทผู้บริหารโรงพยาบาล ศูนย์/โรงพยาบาล<br />

ทั่วไป จากสมาคมนักบริการโรงพยาบาล<br />

ประเทศไทย<br />

อาจารย์นายแพทย์สมบัติ ภูนวกุล<br />

ผู ้อำนวยการศูนย์แพทยศาสตรศึกษา ชั ้นคลินิก โรงพยาบาลพิจิตร<br />

<br />

<br />

<br />

⌫ <br />

⌫<br />

<br />

⌦ <br />

⌫ ⌫ <br />

⌫⌫⌫<br />

⌦⌫<br />

⌫⌫<br />

⌫<br />

นอกจากนี้ยังมีรางวัลที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจอีก<br />

มากมาย ได้แก่รางวัลการดำเนินงานด้านคุณธรรม<br />

จริยธรรม อันดับ 2 นำเสนอเรื่องจิตอาสาจากสำนัก<br />

งานสาธารณสุข เขต 3 รวมถึงผลงานวิชาการต่างๆ อีก<br />

มากมาย ความสำเร็จที่เกิดขึ้นเกิดจากการมุ่งมั่นและ<br />

ทุ่มเททั้งแรงกายและแรงใจของบุคลากร ทั้งแพทย์<br />

พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร วิชาชีพอื่นๆ และเครือ<br />

ข่ายบริการ ที่ช่วยกันเสริมช่วยกันสร้างให้เกิดสุขภาวะ<br />

ที่ดีแก่ประชาชน<br />

<br />


⌫⌫⌫ ⌫⌫<br />

⌦ ⌫⌫⌫⌫<br />

<br />

⌫⌫⌫ ⌫<br />

เมื่อ 1 สิงหาคมที่ผ่านมา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จึงได้จัดการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี<br />

ครั้งที่ 3 ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว รวมทั้งให้ผู้ปกครองดูแลให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัยและ<br />

การเลี้ยงดูบุตรให้ถูกวิธี<br />

ในการประกวดครั้งนี้มีเกณฑ์ในการให้คะแนนโดยดูจาก น้ำหนักตัว ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะของเด็ก<br />

ต้องอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน มีประวัติการฝากครรภ์ของมารดาครบมากกว่า 5 ครั้ง ได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์<br />

มีสุขภาพในช่องปากดี น้ำหนักแรกคลอดต้องอยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้ดื่มนมแม่ตั้งแต่เกิดจนถึง 6 เดือน รวมถึงสุขภาพ<br />

โดยทั่วไปและการมีพัฒนาการที่สมวัย<br />

นอกจากกิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดีแล้ว ในงานยังมีการตรวจสุขภาพโดยแพทย์ผู ้เชี ่ยวชาญ ซุ ้มถ่ายรูป<br />

ซุ้มของเล่น ซุ้มระบายสี การสนทนาปัญหาการเลี้ยงดูบุตร โดยมีผู้เข้าร่วมงานอย่างคับคั่ง<br />

นอกจากการดูแลสุขภาพของลูกน้อยแล้ว พ่อแม่ควรส่งเสริมพัฒนาการของลูกน้อยในด้านของการเรียนรู้อื่นๆ<br />

เพิ่มเติมด้วย เช่น การใช้ของเล่นเพื่อพัฒนาและส่งเสริมพัฒนาการของลูก เพราะของเล่นหรือการเล่น มีความสำคัญ<br />

ต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างมาก ถือว่าเป็นกุญแจดอกสำคัญที่จะนำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กในอนาคต<br />

ดังนั้นถ้าพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูได้เข้าใจและสามารถนำของเล่นหรือกิจกรรมการเล่นไปใช้กับเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว<br />

ทักษะพัฒนาการ และการเรียนรู้เด็กจะก้าวไปอย่างมีคุณภาพยิ่งขึ้น ซึ่งเมื่อเด็กมีพื้นฐานทางพัฒนาการ<br />

ที่ดีและเหมาะสมกับวัย เด็กจะสามารถนำประสบการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมาไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ในอนาคตได้<br />

อย่างมีคุณภาพ<br />

<br />

<br />


่<br />

ประโยชน์ของการเล่น :<br />

1. ช่วยเสริมสร้างให้เด็กมีพัฒนาการในทุกด้าน<br />

2. ช่วยเสริมสร้างการใช้ประสาทสัมผัสทั ้ง 5<br />

3. ช่วยพัฒนาด้านสติปัญญา เสริมสร้างจินตนาการ<br />

และความคิดสร้างสรรค์<br />

4. ช่วยพัฒนาความสามารถในด้านการสื ่อสาร โดยเฉพาะคำศัพท์<br />

5. ช่วยเสริมสร้างความมั ่นใจในตัวเอง<br />

6. ช่วยเสริมสร้างลักษณะนิสัยที ่ดีทางสังคม<br />

7. ช่วยเสริมสร้างให้เด็กรู ้จักตนเองได้ดีขึ ้นซึ ่งจะนำไปสู ่ความสำเร็จที<br />

ได้กระทำ<br />

8. ช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตและอารมณ์ที ่ดี<br />

9. ช่วยพัฒนาและส่งเสริมบทบาททางเพศ และบทบาทสมมติ<br />

10. ช่วยพัฒนาและเสริมสร้างความสนใจและสมาธิ<br />

ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

หวังว่าพ่อแม่ทุกคนจะเลี้ยงดูลูกด้วยความรัก ความเมตตา ใช้เหตุผล<br />

อย่างเสมอต้นเสมอปลาย เป็นตัวอย่างที ่ดี ฝึกให้ลูกรู ้จักคิด มีน้ำใจ และ<br />

คุณธรรม สิ่งเหล่านี้จะทำให้เขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพใน<br />

อนาคตได้<br />

รางวัลชนะเลิศในช่วงอายุ 8 – 11 เดือน ได้แก่ ด.ช.ชุติเทพ นางาม<br />

รางวัลชมเชย ได้แก่ ด.ช.อภินันธ์ พงศ์หิรัญ<br />

รางวัลชนะเลิศในช่วงอายุ 11 - 18 เดือน ได้แก่ ด.ช.จิรัฎ พิพัฒน์ศาสตร์<br />

รางวัลชมเชย ได้แก่ ด.ช.ภรภัทร กาญจนนาด<br />

รางวัลชนะเลิศในช่วงอายุ 18 เดือน - 3 ปี ได้แก่ ด.ช.ณิธศ วาดสันทัด<br />

รางวัลชมเชย ได้แก่ ด.ช.ภัทรพล บัวทองท้าว<br />

รางวัลหนูน้อยอินเทรนด์ ได้แก่ ด.ญ.มาลิสา ริซ่า ศรีพรม<br />

รางวัลหนูน้อยแก้มป่อง ได้แก่ ด.ช.อินทัช วงษ์ไทย<br />

รางวัลหนูน้อยขวัญใจช่างภาพ ได้แก่ ด.ญ.ฉันชนก คงกระจ่าง<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

12345678901234567890123456789012123456789012345678901<br />

ย้ำคิด ย้ำทำ เป็นโรคทางจิตเวชอย่างหนึ ่งรักษาหายได้<br />

ยั ้งคิด ย้ำธรรม เป็นยาใจชนิดหนึ ่งที ่สนับสนุนให้หายได้เร็วขึ ้น<br />

มีการศึกษาวัยชิ ้นหนึ ่งเกี ่ยวกับการวิตกกังวล พบว่า คนเรากังวลถึงสิ ่งที ่ยังไม่เกิดขึ ้นถึง<br />

40% อีก 30% กังวลเรื ่องอดีตที ่ไม่อาจเปลี ่ยนแปลงได้ นอกนั ้นก็เป็นสุขภาพ และอื ่นๆ จิปาถะ<br />

หนังสือ ยั ้งคิด ย้ำธรรม โดยพระไพศาล วิสาโล พูดในทำนองคล้ายกันว่า คนเรา "ทุกข์เพราะ<br />

ความคิด" ยิ ่งกว่าอะไรอื ่น จึงไม่แปลกที ่พบว่า แม้ผู ้คนในปัจจุบันจะมีชีวิตที ่มั ่งคั ่ง สะดวก สบาย<br />

แต่กลับเต็มไปด้วยความทุกข์ ฉะนั้นหาก "ความคิดนั้นถ้าใช้ถูก ใช้เป็น ก็เห็นสุข ได้ไม่ยาก"<br />

ภายในเล่มแบ่งเนื ้อหาคราวละ 2 เรื ่อง ก่อนพักเพื ่อเรียนรู ้วิธีอยู ่กับปัจจุบันขณะ อาทิ<br />

เดินจงกรม อาบน้ำ กินอาหาร เดินทาง ทำงาน ก่อนนอน แม้แต่เวลาหายใจที ่บอกว่า เราไม่เพียง<br />

ดูดออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ในร่างกายเท่านั้น หากยังเป็นโอกาสที่เราจะนำเอาความสงบ<br />

เย็นไปหล่อเลี ้ยงจิตใจด้วย สิ ่งต่างๆ เหล่านี ้ คิดไป พูดไปก็เท่านั ้น ต้องลงมือปฏิบัติจึงจะรู ้จริง<br />

เพราะ...ความคิดที ่มีสติกำกับ ทุกขณะจิตที ่มีสติประคองใจ เป็นเหมือนการ " ย้ำรอย<br />

ธรรม " จนเป็นทางดำเนินของจิต ชักนำชีวิตให้ถูกต้อง ดีงาม เป็นสุข จนพบกับอิสรภาพในที ่สุด<br />

ยั ้งคิด ย้ำธรรม ...เริ ่มทำ<br />

บทความ : จามรี อ่างหิรัญ<br />

ส่งจดหมายหรือไปรษณียบัตร ขอรับหนังสือ<br />

“ย้ำคิด ย้ำธรรม” จำนวน 1 เล่ม ส่งถึงกองบรรณาธิการ<br />

วารสารใต้ร่มเสลา New Version ชั้น 3 อาคารสิรินธร<br />

โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000<br />

<br />


จาก<br />

นโยบายหลักในการให้<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>เป็นมหาวิทยาลัยแห่งการสร้างเสริมสุขภาพ โดยอธิการบดีและสถาบัน<br />

อุดมศึกษาอีก 7 แห่ง ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

สนับสนุนให้ทุกหน่วยงานหรือหน่วยกิจกรรม มีการจัดทำแผนงานด้านการสร้างเสริมสุขภาวะ พัฒนาองค์กรและรูปแบบการจัดกิจกรรม<br />

ด้านการสร้างเสริมสุขภาวะ และจัดกระบวนการเสริมสร้างให้นิสิต บุคลากร เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ<br />

การสร้างเสริมสุขภาพ จึงเป็นยุทธวิธีใหม่ที่จะต่อสู้กับปัญหาที่มาในรูปแบบใหม่นี้ และเป็นยุทธวิธีในเชิงรุกที่จะให้ผลในการแก้ปัญหา<br />

สุขภาพได้ดีที่สุด อีกทั้งยังเป็นการลงทุนที่ต่ำมากเมื่อเปรียบกับการลงทุนทางการแพทย์และที่สำคัญก็คือ การสร้างเสริมสุขภาพเป็นส่วน<br />

สำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การสร้างเสริมสุขภาพ ไม่ใช่เป็นเพียงกระบวนการป้องกัน ดังที่เข้าใจกันเท่านั้น ยังเป็นขบวนการที่<br />

นำมาใช้เพื่อการขจัดและหลีกเลี่ยงปัญหาสุขภาพที่มนุษย์กำลังเผชิญอยู่<br />

คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ในฐานะโรงเรียนแพทย์<br />

จึงมุ ่งพัฒนาสู ่การเป็น “โรงเรียนแพทย์สร้างเสริมสุขภาพ” โดยให้ความสำคัญกับการดูแล<br />

และสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากร เพื ่อให้บุคลากรมีสุขภาพร่างกายที ่แข็งแรง และปฏิบัติงาน<br />

อย่างมีความสุข มีความปลอดภัยและเป็นแบบอย่างที่ดีในการดูแลสร้างเสริมสุขภาพให้กับ<br />

ผู้รับบริการและบุคลากรคณะอื่น ๆ ภายใน<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> มีการส่งบุคลากรเข้าร่วม<br />

โครงการการประกวด “ทูตสุขภาพ” ซึ่งบุคลากรของคณะแพทยศาสตร์ ได้รับรางวัล<br />

ชนะเลิศ ทั้งประเภทฝ่ายชายและประเภทฝ่ายหญิง<br />

<br />

<br />


เรามาค้นหาเคล็ดลับการดูแลสุขภาพจากทูตสุขภาพ<br />

ของเรากันดีกว่าค่ะ<br />

ดูแลสุขภาพกันอย่างไรให้มีสุขภาพที่ดีขนาดนี้คะ<br />

น้องกุ้ง : เริ่มจากการทานอาหารที่มีประโยชน์ เน้นของสด ผักสด ผลไม้สด<br />

ทานน้ำเยอะๆ นอนพักผ่อนให้เต็มที ่ และออกกำลังกายเป็นประจำค่ะ<br />

น้องแมว : ผมเริ ่มจากร่างกายก่อนครับ คือ ออกกำลังกายอย่างน้อย 3-4 ครั ้ง/สัปดาห์<br />

พอร่างกาย แข็งแรงแล้ว ก็ต้องมีจิตใจที่แข็งแรงด้วยครับ รู้จักจัดการความเครียดของตัวเอง<br />

และทำให้ตัวเอง อารมณ์ดีอยู่เสมอ สุดท้ายก็เรื่องของอาหาร ผมจะทานอาหารประเภท<br />

ผักและผลไม้ มากกว่าพวกแป้งหรือขนมขบเคี้ยว เพราะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สุขภาพเสื่อม<br />

ลงครับ<br />

ช่วยฝากอะไรถึงคนที่กำลังจะหันมาดูแลสุขภาพค่ะ<br />

น้องกุ้ง : สำหรับใครที่ยังไม่ได้หันมาดูแลสุขภาพ ไม่มีคำว่าสาย เรามา<br />

เริ่มต้นกันตั้งแต่วันนี้ หันมาออกกำลังกาย และดูแลสุขภาพกันเถอะค่ะ<br />

น้องแมว : อยากให้บุคลากร และนิสิตหันมาออกกำลังกาย เพื ่อ<br />

ประโยชน์ต่อตนเอง คือ เรามาร่วมกันสร้างสุขภาพกันก่อน ก่อนที่เรา<br />

จะต้องมาซ่อมสุขภาพครับ<br />

<br />


รายงานพิเศษ<br />

นายแพทย์มณฑล กาฬสีห์<br />

กระดูกเป็นส่วนประกอบของร่างกายที่มีผู้ได้รับการบริจาคมากเป็นอันดับ 2 รองจากเลือด บุคคลที่<br />

สามารถบริจาคกระดูกให้ผู้อื่นได้ควรมีอายุระหว่าง 18-65 ปี สามารถแบ่งผู้บริจาคได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ผู้บริจาคที่ยังมี<br />

ชีวิตอยู่กับผู้บริจาคที่เสียชีวิตแล้ว ในกรณีที่ผู้บริจาคยังมีชีวิตอยู่ คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเนื่อง<br />

จากมีภาวะข้อสะโพกเสื่อม เนื่องจากการผ่าตัดจะมีการตัดหัวกระดูกต้นขาออก (Femoral head) เพื่อใส่ข้อสะโพก<br />

เทียม ซึ่งกระดูกส่วนนี้สามารถนำมาบริจาคให้ผู้อื่นได้ ในกรณีผู้บริจาคที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนของกระดูกที่สามารถ<br />

บริจาคจะได้เกือบทุกส่วนของร่างกาย แต่ส่วนใหญ่จะได้แก่ กระดูกหน้าแข้ง (Tibia และ Fibula) กระดูกต้นแขน (Humerus)<br />

กระดูกแขน (Radius และ Ulna) กระดูกเชิงกราน (Pelvis) เป็นต้น โดยปกติถ้าผู้บริจาคอวัยวะเสียชีวิต<br />

และร่างกายได้รับการแช่เย็นจะสามารถทำการผ่าตัดเก็บกระดูกได้ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง ถ้าไม่ได้ทำการ<br />

แช่เย็นหรือร่างกายอยู่ที่อุณหภูมิห้องจะทำการผ่าตัดเก็บกระดูกในเวลา 12 ชั่วโมง วิธีการผ่าตัดเก็บกระดูกก็เช่น<br />

เดียวกับการผ่าตัดทั่วไป โดยจะทำในห้องผ่าตัดในสภาวะปลอดเชื้อ (sterile technique)<br />

ก่อนทำการผ่าตัดเก็บกระดูกสำหรับผู้บริจาคที่มีชีวิต แพทย์จะทำการตรวจเลือดดังต่อไปนี้<br />

1. ตรวจไวรัสตับอักเสบชนิดบีและซี (hepatitis B and C)<br />

2. ตรวจเชื ้อซิฟิลิส (VDRL)<br />

3. ตรวจหาเชื้อไวรัสเอดส์และตรวจซ้ำอีกครั้งเมื่อครบ 3 เดือน<br />

ในกรณีที่ผู้บริจาคเสียชีวิต แพทย์จะทำการตรวจเลือดดังต่อไปนี้<br />

1. ตรวจไวรัสตับอักเสบบีและซี (hepatitis B and C)<br />

2. ตรวจเชื ้อซิฟิลิส (VDRL)<br />

3. ตรวจเชื้อไวรัสเอดส์<br />

4. ตรวจเพาะเชื้อจากกระแสเลือด (hemoculture)<br />

5. ตรวจหาเชื ้อ Cytomegalovirus<br />

<br />

<br />


ผู ้ป่วยมะเร็งกระดูกชนิด Osteosarcoma<br />

ได้รับการผ่าตัดกระดูกที ่เป็นมะเร็งออกและปลูกถ่ายกระดูกจากผู ้อื ่น<br />

1.<br />

2.<br />

3.<br />

4.<br />

5.<br />

6.<br />

7.<br />

8.<br />

9.<br />

10.<br />

11.<br />

12.<br />

13.<br />

ข้อห้ามสำหรับการบริจาคกระดูก ได้แก่<br />

ผู ้ที ่มีอายุน้อยกว่า 18 ปี<br />

ผู้ที่มีประวัติใช้สารเสพติด<br />

ผู้ที่ได้รับยาสเตียรอยด์เป็นประจำหรือในขนาดสูง<br />

ผู้ที่ได้รับยาเคมีบำบัด<br />

ผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้อินซูลินเป็นเวลานาน<br />

ผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็ง<br />

ผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยโกรทฮอร์โมน<br />

ผู้ที่มีภาวะดีซ่านหรือตับอักเสบ<br />

ผู้ที่มีภาวะความจำเสื่อมหรือวิกลจริต<br />

ผู้ที่มีภาวะติดเชื้อในร่างกาย<br />

ผู้ที่มีโรคทางระบบประสาทเรื้อรัง<br />

ผู้ที่ได้รับวัคซีนชนิดมีชีวิตไม่นานก่อนการบริจาค<br />

ผู้ติดเชื้อไวรัสเอดส์หรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเอดส์<br />

กระดูกที่ได้รับการบริจาคจะได้รับการเก็บรักษาในสภาวะปลอดเชื้อ ในตู้แช่เย็นที่อุณหภูมิ -80 องศาเซลเซียส สามารถเก็บไว้<br />

รอรับการปลูกถ่ายได้นาน 5 ปี กระดูกที ่ได้รับการบริจาคจะนำไปใช้ในผู ้ป่วยที ่เป็นมะเร็งของกระดูกที ่ได้รับการผ่าตัดแบบเก็บรักษาระยางค์ (Limb<br />

salvage surgery) โดยจะไปใช้ทดแทนกระดูกส่วนที่ผ่าตัดออกไป แทนที่ผู้ป่วยจะต้องถูกตัดแขนหรือขา นอกจากนี้ยังนำมาใช้ในการรักษา<br />

ผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกหักแล้วเกิดภาวะกระดูกไม่ติด ผู้ป่วยที่จะได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียมและมีภาวะกระดูกถูกทำลายไปมาก<br />

เพื่อช่วยเสริมความแข็งแรง<br />

ศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะภาคเหนือตอนล่าง โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จะช่วยลดความซ้ำซ้อน ลดระยะเวลาการรอคอย ลดค่า<br />

ใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยหลังการเปลี่ยนอวัยวะ และเป็นคลังความรู้เพื่อผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มีความเป็นเลิศ สำคัญที่สุด คือ<br />

เป็นความหวังของผู้ป่วยที่รอรับการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะในเขตภาคเหนือตอนล่าง<br />

คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ขอเชิญชวนผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคเงินเข้ามูลนิธิโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

เพื่อสร้างศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะภาคเหนือตอนล่าง โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> โดยผู้บริจาคจะได้รับสิทธิ์เป็นผู้อุปการะคุณประเภทต่างๆ<br />

ของโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> สิทธิประโยชน์ที่ผู้บริจาคจะได้รับจากการใช้บริการของโรงพยาบาล คือ การได้รับส่วนลดจากการใช้<br />

บริการตั้งแต่ 10% ถึง 100% ขึ้นอยู่กับประเภทของสมาชิกและชนิดของการให้บริการ ทั้งนี้ผู้บริจาคเงินตั้งแต่ 200,000 บาทขึ้นไป จะได้รับ<br />

เหรียญพระพุทธชินราชทองคำ พระราชทาน ประดิษฐานอักษรพระนามาภิไธยย่อ “ส.ธ.”<br />

ผู้สนใจร่วมบริจาคเงินสมทบมูลนิธิโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> สามารถติดต่อได้ที่<br />

มูลนิธิโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

โทรศัพท์ 0 5526 1919<br />

หรือบริจาคผ่านทางธนาคารกรุงศรีอยุธยา (สาขาย่อย<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>)<br />

ชื ่อบัญชี มูลนิธิโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> เลขบัญชี 346-1-45112-0<br />

<br />


⌫<br />

<br />

⌫ ⌫ ⌫<br />

<br />

⌫ <br />

<br />

แนวคิดที่ทำให้เลือกเรียนต่อวิชาชีพแพทย์คืออะไรคะ<br />

โดยส่วนตัวคิดว่าอาชีพแพทย์จะช่วยคนไข้<br />

ได้มากขึ้น คือสามารถให้การรักษา ให้การวินิจฉัย<br />

ได้ครับ ด้านอาชีพเภสัชกรก็เป็นอาชีพที ่ดีที ่ตัวผมก็รัก<br />

คิดว่าหากเราพัฒนาต่อยอดความรู้ความสามารถ<br />

วินิจฉัยคนไข้ รักษาคนไข้ได้ด้วยตัวของเราเองก็จะมี<br />

ประโยชน์มากขึ้น เพราะพื้นฐานวิชาชีพเภสัชกรก็จะ<br />

มีความรู้ทฤษฎีเรื่องยา ในส่วนการทำหัตถการ<br />

การวินิจฉัยโรค การรักษา เภสัชกรจะทำไม่ได้ จึงเป็น<br />

แนวคิดให้มาต่อยอดความรู้ครับ<br />

การเรียนการสอนแพทย์แนวใหม่ (New Track) เป็น<br />

แบบไหนค่ะ<br />

คือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

นเรศวร จะมีศูนย์แพทย์ทั้งหมด 7 ศูนย์ ช่วงแรก<br />

พรีคลินิกก็เรียนด้วยกันกับน้องทั้งหมด แต่พอขึ้นชั้น<br />

คลินิกก็เรียนแยกตามศูนย์ ถ้าเป็น New Track<br />

จะเรียนที ่ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช<br />

โรงพยาบาลพิจิตร โรงพยาบาลแพร่ ถ้าเป็นน้อง<br />

โควตาปกติก็จะเรียนที่โรงพยาบาลพุทธชินราช กับ<br />

โรงพยาบาลอุตรดิตถ์แต่ถ้าเป็นน้องที ่ Entrance กลาง<br />

จะเรียนที่ โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> กับ<br />

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ครับ<br />

แล้วทำไมถึงเลือกที่จะเรียนแพทย์ มหาวิทยาลัย<br />

นเรศวรคะ<br />

ที ่เลือกเรียนแพทย์ที ่ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

ก็เพราะว่าตัวเองก็เคยจบเภสัชศาสตร์จากมหาวิทยาลัย<br />

นเรศวร ก็มั่นใจในศักยภาพของมหาวิทยาลัยครับ<br />

รวมถึงมหาวิทยาลัยก็ใกล้บ้านด้วยครับ<br />

เป็นยังไงบ้างกับการเรียนที่ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา<br />

ชั ้นคลินิก โรงพยาบาลพิจิตร<br />

โดยรวมก็ดีมากครับ แม้อาจารย์แพทย์<br />

(Staff) ยังมีไม่มาก เนื่องจากเราเป็นศูนย์แพทย์ใหม่<br />

แต่ในความมีน้อยก็จะมีข้อดีก็คือเราได้ใกล้ชิดกับ<br />

อาจารย์ Staff ครับ อาจารย์ Staff ก็จะให้ความ<br />

ใกล้ชิดสนิทสนมกับเรา อาจารย์แพทย์จะดูแลดีทุก<br />

Ward ส่วนใหญ่จะได้ใกล้ชิดกับอาจารย์ตลอด<br />

สำหรับโรงพยาบาลพิจิตรก็ไม่ใหญ่มาก มีเจ้าหน้าที่<br />

ประมาณ 1,000 เศษๆ ทำให้ใกล้ชิดสนิทสนมกัน<br />

อย่างที่เราต้องการจะติดต่อประสานงาน ถ้าเรา<br />

ต้องการความช่วยเหลือเราก็สามารถเดินตรงเข้าไป<br />

ประสานงานได้เลยครับก็จะได้รับความร่วมมือ<br />

ความช่วยเหลืออย่างดีครับ สำรับคนไข้ก็เยอะถ้าเป็น<br />

OPD วันหนึ่งก็เกือบพันคนครับ ถ้าเป็น IPD เช่น<br />

ภาคอายุรศาสตร์ อัตราของครองเตียงก็เกิน 100 %<br />

ครับ Case แต่ละ Case ก็ค่อนข้างหลากหลาย<br />

แต่พอมี Case ที่ยากๆ ที่ Advance เราต้องส่งต่อ<br />

ไปยังโรงพยาบาลศูนย์ครับ ตรงนี้ก็ทำให้ยากที่เราจะ<br />

ติดตามอาการต่อไป คิดว่านี่ก็คือจุดที่ต้องพัฒนาต่อ<br />

ครับ<br />

ประทับใจอะไรที ่โรงพยาบาลพิจิตร<br />

ประทับใจทุกอย่างครับ ทั้งอาจารย์<br />

ทั้งคนไข้ เนื่องจากที่นี่เป็นโรงพยาบาลต่างจังหวัด<br />

<br />

<br />


คนไข้ก็น่ารักให้ความเป็นกันเอง อย่างตอนขึ้นชั้น<br />

คลินิกใหม่ๆ ตอนปี 4 ต้องมีการเจาะเลือดก็จะมีคนไข้<br />

คุณตาคุณยาย ที ่อายุมากแล้วรู ้ว่าเราเป็น นสพ. มือใหม่<br />

จะมือสั่นเจาะโดนบ้างไม่โดนบ้าง คุณตาคุณยายจะ<br />

บอกว่าไม่เป็นอะไรหมอเจาะได้เลยทำไปเลย ผมถือว่า<br />

คนไข้ทุกคนเป็นครูครับ ผมให้เกียรติคนไข้ทุกคนผมจะ<br />

ขออนุญาตคนไข้ และแนะนำตัวทุกครั้ง ถือว่าคนไข้<br />

ทุกคนมีบุญคุณกับผม และก็นิสิตแพทย์ทุกคนครับ<br />

มาถึงจุดเริ ่มต้นของการเป็นแพทย์แล้วรู ้สึกอย่างไร<br />

ตอนเรียนชั ้นพรีคลินิกส่วนใหญ่เรานั ่งเรียน<br />

ในห้องเรียน เตรียมทำรายงาน การเรียนการสอนเน้น<br />

ทฤษฎีเป็นส่วนใหญ่ แต่พอขึ้นเรียนชั้นคลินิกเราต้อง<br />

เจอคนไข้จริง ต้องอยู่เวร ต้องใช้ชีวิตจริงใน Ward<br />

ต้องเขียน Case Report ต้องราวน์ (Round) เช้า<br />

ราวน์บ่าย ต้องมี Activity ตอนเย็นทุกวัน ถ้ามี Case<br />

พิเศษเข้ามาจะมีเพื่อนที่อยู่เวรโทรตามครับ ไม่ว่าจะ<br />

เป็นเวลาไหน อาจารย์ไม่ได้บังคับนะครับว่าจะต้องไป<br />

แต่ทุกคนไปด้วยใจครับ<br />

คิดว่าการเรียนแพทย์ให้อะไรกับตัวเองและสังคม<br />

สำหรับตัวเองสิ่งที่ได้ก็คือ ศักยภาพของ<br />

ตัวเอง อย่างเมื่อก่อนนี้ตัวเองก็จะมีแค่ความรู้เรื่องยา<br />

ซึ่งความรู้ถ้าเราไม่ได้ใช้เราก็ลืม เป็นเหมือนกันทุก<br />

วิชาชีพ พอเรากลับมาเรียนใหม่เราก็ได้ความรู้เรื่อง<br />

ยากลับมา ความรู้เรื่องคลินิกเรื่องการบริหารจัดการ<br />

คนไข้ ส่วนสิ่งที่สังคมจะได้เมื่อเราเรียนจบแล้ว คือ<br />

ต้องกลับไปใช้ทุนที ่โรงพยาบาลที ่จังหวัดสุโขทัย ก็จะ<br />

ตั ้งใจกลับไปทำงานที ่โรงพยาบาลชุมชนให้เต็มที ่ การ<br />

ที ่เราเป็นหมอ เราสามารถช่วยคนได้เยอะขึ ้น การเป็น<br />

หมอที่ดีไม่ต้องใช้ความพยายามอย่างอื่นมากเลย<br />

ยกเว้นเรื ่องเรียน คือ เราต้องเอาใจไส่คนไข้ สื ่อสารกับ<br />

คนไข้ดีๆ ให้เข้าใจ<br />

คำว่าหมอที่ดีในอุดมคติคืออะไร<br />

หมอที่ดีสำหรับผมประการแรก ต้องมี<br />

ความรู้ตามมาตรฐาน ประการที่สองต้องมีจิตใจที่ดี<br />

ต้องเสียสละ มองเห็นประโยชน์ของคนไข้มาก่อน<br />

ทุกอย่าง เห็นว่าอะไรที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />

แก่คนไข้ ผมว่าแค่ 2 ข้อนี ้ก็เป็นหมอที ่ดีได้แล้วครับ<br />

นโยบายของ<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>จะก้าวสู่การเป็น<br />

มหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพ ในฐานะที ่เราเป็นนิสิต<br />

แพทย์ มีวิธีการดูแลสุขภาพอย่างไร<br />

สำหรับกิจวัตรประจำวันของผม คือต้อง<br />

ตื่นเช้าทุกวัน บางวันอยู่เวรถึง ตี 1 ตี 2 ต้องตื่นมา<br />

รับคนไข้ตั้งแต่ 6-7 โมงเช้าทุกวัน ถ้าเราไม่แข็งแรง<br />

จริงๆ ก็คงไม่ไหวครับ ถ้าร่างกายเราอ่อนแอ เราอาจ<br />

จะได้รับเชื้อจากคนไข้มาก็ได้ และเราก็จะนำเชื้อไป<br />

แพร่ให้คนอื่นต่อ ผมเลยมองว่าสุขภาพของเรา<br />

ต้องทำให้ดีก่อน ก่อนที่จะไปรักษาคนอื่น ผมเลือก<br />

ออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานทุกวัน เป็นวิธีหนึ่ง<br />

ที ่จะช่วยลดภาวะโลกร้อน ประหยัดพลังงาน รวมทั ้ง<br />

ได้สุขภาพร่างกายที ่แข็งแรงกลับคืนมาเป็นกำไรให้กับ<br />

ชีวิตอีกด้วยครับ ฝากถึงทุกคนที่รักสุขภาพครับ ให้<br />

ทุกคนดื ่มน้ำเยอะๆ ดูแลรักษาสุขภาพ ออกกำลังกาย<br />

3-5 ครั ้ง/สัปดาห์ ถ้าได้ทุกวันก็ยิ ่งดีครับ ทำได้เท่าไร<br />

ก็กลับคืนเรามามากเท่านั้นครับ<br />

<br />

⌫<br />

<br />

⌫<br />

<br />


่<br />

นายแพทย์นนท์ โสวัณณะ<br />

หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน ครอบครัว และอาชีวเวชศาสตร์<br />

คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

" ศูนย์สุขภาพชุมชน " เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็น<br />

จุดบริการระดับแรกที ่มีความสำคัญยิ ่งและอยู ่ใกล้ชิดชุมชนมากที ่สุด ทำหน้าที<br />

ให้บริการแบบผสมผสานทั ้งการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม<br />

ป้องกันโรคและการฟื ้นฟูสภาพ โดยใช้หลักเวชศาสตร์ครอบครัวดูแลสุขภาพ<br />

ประชาชนทั ้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนทั ้งด้านร่างกาย จิตใจสังคม<br />

และจิตวิญญาณเพื ่อก้าวสู ่สภาวะของประชาชนในทุกกลุ ่มอายุได้อย่างบรรลุ<br />

ผลและเกิดเป็น "ชุมชนเข้มแข็ง" ท้ายที ่สุดต่อไป<br />

รูปแบบบริการของศูนย์สุขภาพชุมชน<br />

1. การจัดบริการในศูนย์สุขภาพชุมชนฯ<br />

- การรักษาพยาบาลผู ้ป่วยโรคเฉียบพลันและโรคเรื ้อรัง<br />

- การส่งเสริมสุขภาพ การตรวจคัดกรอง<br />

- การป้องกันควบคุมโรค<br />

- การให้คำปรึกษา<br />

- การทำแผล ฉีดยา<br />

- อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน<br />

- การชันสูตรขั ้นพื ้นฐาน<br />

- ทันตกรรม<br />

2. การจัดบริการเชิงรุกในชุมชน<br />

- บริการดูแลสุขภาพที ่บ้าน<br />

- บริการเชิงรุกเพื ่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในกลุ ่มเสี ่ยง<br />

- สนับสนุนการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน<br />

วันนี ้คุณหมอนนท์ (นพ.นนท์โสวัณณะ) มีโอกาสลงพื ้นที ่ในความ<br />

รับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชน เพื ่อตรวจเยี ่ยมอาการของลุงเลียบ คนไข้<br />

รายนี ้อาศัยอยู ่ในชุมชนท่าทอง เป็นคนไข้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ลุงเลียบ<br />

เป็นคนไข้ที่ทางศูนย์ได้รับทราบข้อมูลจากทางเจ้าหน้าที่ อสม.ในหมู่บ้าน<br />

ดังนั้นทางเราจึงต้องเดินทางเข้าไปตรวจเยี่ยมอาการของคนไข้รายนี้<br />

เพราะคนไข้ไม่สามารถเดินทางมาหาหมอเองได้<br />

บ้านลุงเลียบ เป็นบ้านตึกชั้นเดียวหลังเล็กๆมีสุนัขพันธุ์บางแก้ว<br />

1 ตัว ลุงเลียบป่วยเป็นความดันโลหิตสูง มีภาวะเส้นเลือดในสมองแตก ทำให้<br />

แขนขาข้างซ้ายอ่อนแรง ไม่สามารถลุกนั ่งได้และไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้<br />

คุณหมอนนท์เล่าถึงอาการป่วยของลุงเลียบว่า “วันนี ้อาการลุงเลียบ<br />

ดีขึ้น แขนข้างซ้ายที่อ่อนแรงเริ่มขยับได้จากที่คนไข้ไม่สามารถพลิกตัวได้ ก็<br />

พลิกตัวได้ แผลกดทับที ่เป็นอยู ่ก็แห้งแล้ว ต้องขอขอบคุณ อสม.ที ่เข้าไปดูแล<br />

จนอาการของลุงเลียบดีขึ ้น”<br />

การลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมคนไข้ในแต่ละครั้ง จะมีเจ้าหน้าที่จากทาง<br />

โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>ร่วมกับ อสม.ในพื ้นที ่นั ่นๆ ร่วมมือกันเข้าไป<br />

ดูแลคนไข้ เหมือนให้ชาวบ้านดูแลชาวบ้านกันเอง โดยเราจะจัดการอบรมใน<br />

เรื่องของการดูแลคนไข้ให้ปีละ 2 ครั้ง พื้นที่รับผิดชอบของทางโรงพยาบาล<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> มีต.ท่าโพธิ ์ต.ท่าทอง ต.วัดพริก ต.วังน้ำคู ้และ ต.งิ ้วงาม<br />

มีประชากรเขตละประมาณ 10,000 คน และตอนนี้เทศบาลนครพิษณุโลก<br />

ให้เราช่วยดูแลคนไข้ในเขต ต.พันปีและในเขตศูนย์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน<br />

เทศบาลนครพิษณุโลก ส่วนสนามบินด้วย<br />

การลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมคนไข้ของคุณหมอนนท์ ได้รับความ<br />

ร่วมมือจากคนในชุมชนเป็นอย่างดีต่างช่วยเหลือซึ ่งกันและกัน ซึ ่งทำให้มองเห็น<br />

ความสัมพันธ์อันดีต่อกันในชุมชน อันจะส่งผลอันดีต่อการดูแลสุขภาพ<br />

ประชาชนต่อไป<br />

<br />

<br />


่<br />

คุณพิศมัย ศักดิ ์มณี<br />

เจ้าหน้าที ่บริหารงานสาธารณสุข ระดับ 6<br />

คุณพิศมัย เป็นคนพิจิตรปฏิบัติงานอยู ่ที ่สถานีอนามัยตำบลวัดพริก<br />

มานานกว่า 30 ปี คนที ่นี ่น่ารัก ทุกอย่างที ่เป็นที ่นี ่ ทำให้คุณพิศมัยหลงใหลใน<br />

ความเป็นกันเอง เอื ้อเฟื ้อเผื ่อแผ่ช่วยเหลือซึ ่งกันและกัน คุณพิศมัยจึงตั ้งใจที<br />

จะทุ ่มเทเวลาทั ้งหมดให้กับที ่นี ่ด้วยระบบการบริหารงานหลักๆ 4 ด้านของทาง<br />

สถานีอนามัย คือ การส่งเสริมสุขภาพ งานด้านป้องกันโรค งานด้านการรักษา<br />

และการฟื ้นฟูสภาพ<br />

สถานีอนามัยตำบลวัดพริกตั ้งอยู ่ในเขตเทศบาลหมู ่ที ่ 1 รับผิดชอบ<br />

พื ้นที ่ในเขต อบต. ทั ้ง 10 หมู ่ และ หมู ่ 1 ต.วัดพริก เป็นสถานีอนามัยแห่งเดียว<br />

ที่มีองค์กรท้องถิ่น 2 แห่ง คือ เทศบาลกับองค์การบริหารส่วนตำบลที่ต้อง<br />

ทำงานร่วมกัน<br />

ตั้งแต่ปี 2549 สถานีอนามัยมีศักยภาพมากขึ้น เพราะทาง<br />

โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>ได้เข้ามารับผิดชอบดูแล และให้ความรู ้กับ<br />

เจ้าหน้าที่ในเรื่องของการดูแลรักษาผู้ป่วย และในทุกวันอังคารจะมีคุณหมอ<br />

จากทางโรงพยาบาลเข้ามาปฏิบัติงาน ตรวจรักษาสำหรับผู ้ป่วยที ่มีอาการเรื ้อรัง<br />

ส่วนผู้ป่วยที่มีอาการไม่มากนักทางเจ้าหน้าที่ของทางศูนย์ก็จะทำการรักษา<br />

ตามอาการ<br />

ทางโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จึงได้มุ่งพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพของสถานีอนามัยให้เป็นศูนย์สุขภาพชุมชน (PCU) เพื่อการ<br />

ดูแลสุขภาพของคนในชุมชน โดยทางโรงพยาบาลจะดำเนินการประสานกับแนวคิดของศูนย์สุขภาพชุมชน จัดทีมเยี่ยมบ้านของโรงพยาบาล<br />

ซึ่งประกอบด้วย เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ และเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชน โดยวางแผนการเยี่ยมบ้าน เน้นที่ผู้ป่วยที่ต้องการดูแลรักษาต่อเนื่อง<br />

เป็นโรคเรื้อรัง เป็นผู้ป่วยที่มีปัญหาในการรักษา หรือขาดการรักษา พร้อมกับจัดทำแฟ้มประวัติครอบครัว และขยายงานด้านการป้องกันโรค<br />

และการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งทางโรงพยาบาลหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะให้คนในทุกๆ ชุมชนมีสุขภาพที่แข็งแรงกันถ้วนหน้า<br />

<br />


⌫ ⌫ ⌫ ⌫ ⌫<br />

⌫ ⌫⌫<br />

⌫ ⌫ ⌫ <br />

⌫ ⌫ <br />

สมุนไพรเหล่านี้จะไล่ความเย็นชื้นจาก<br />

ร่างกาย เวลาฝนตกติดๆ กัน ให้กินอาหารที่มีส่วน<br />

ประกอบของสมุนไพรต่างๆ จะป้องกันไม่ให้ป่วยได้เช่น<br />

ต้มยำ แกงเลียง แกงส้ม เป็นต้น<br />

แกงไทยๆ ที่ว่ามา หากซดน้ำร้อนๆ เหงื่อ<br />

จะออกทำให้สบายตัว นอกจากนี้อาหารที่กินควรเป็น<br />

กลุ ่มที ่เพิ ่มภูมิต้านทาน ได้แก่กลุ ่มที ่มีวิตามินซีสูงๆ เช่น<br />

มะขามป้อม ยอดมะกอก ผักเม็ก ผักติ้ว ยอดกระโดน<br />

ส้มทุกประเภท (ส้มเขียวหวาน ส้มโอ ส้มเช้ง)<br />

และควรกินผักสด หรือน้ำคั้นจากผักสด ผลไม้สด<br />

เป็นประจำในระยะนี้ เช่น น้ำส้มคั้น น้ำแครอท อย่าง<br />

น้อยวันละ 1-2 แก้ว<br />

แถมท้ายด้วยวิธีเก็บอาหารแห้ง ไม่ให้ขึ ้นรา<br />

เน่าเสีย ในช่วงอากาศชื ้น แบบง่ายๆ ค่ะ<br />

หอมและกระเทียม ไวต่อความชื้นและเชื้อรา หาก<br />

เก็บไว้ในตะกร้าโปร่งที่อากาศถ่ายเทสะดวก แล้วยัง<br />

ไม่ได้ผล ลองเก็บใส่ถุงพลาสติก (ถุงเย็น) มัดปากถุง<br />

ให้แน่นหรือใช้ถุงซิปล็อคก่อนนำเข้าตู้เย็น หยิบใช้<br />

ตามสะดวก รับรองเชื ้อราไม่มากล้ำกราย<br />

เกลือและน้ำตาล ใส่ในขวดโหลปิดฝาให้สนิทกัน<br />

มดแมลง ขณะใช้งานไม่ควรใช้ช้อนเปียกหรือชื้นตัก<br />

เพราะจะทำให้น้ำตาลหรือเกลือจับเป็นก้อน<br />

น้ำตาลไอซิ่ง ให้โรยแป้งข้าวโพดลงไปเล็กน้อย เพื่อ<br />

ช่วยดูดความชื ้น ก่อนเก็บในขวดแห้งและสะอาด<br />

กุ้งแห้ง ส่วนใหญ่มักใส่สีให้น่ากิน ก่อนเก็บควรล้าง<br />

ให้สะอาดแล้วนำไปต้มพอเดือดใส่เกลือเล็กน้อย ตัก<br />

ขึ ้นให้สะเด็ดน้ำแล้วนำมาคั ่วให้แห้ง เก็บใส่ถุงซิปล็อค<br />

ในช่องแช่แข็ง กุ้งจะสะอาดปราศจากสารปนเปื้อน<br />

และเก็บได้นานเป็นปี<br />

ข้าวสาร ยุคข้าวสารแพงอย่างนี้ เเนะนำให้ซื้อแบบ<br />

แพ็คสุญญากาศ นำมาเก็บในถังพลาสติกปิดสนิท<br />

จะสะอาดปลอดภัยกว่า หากข้าวสารมีมอด แมลง<br />

ให้นำข้าวใส่ถุง แช่ช่องแช่แข็งสัก 2-3 วัน เพื่อกำจัด<br />

แมลง ก่อนนำมาล้างและหุงตามปกติ<br />

ที ่มา : http://www.asoke.info/ ,http://learners.in.th/<br />

พุทธชาด แก้วอนงคณ์<br />

นักวิชาการโภชนาการ<br />

พริกไทย มีปริมาณน้ำในแต่ละเม็ดน้อยมาก จึงไม่<br />

ค่อยเป็นรา การเก็บในโหลแก้วมิดชิดก็เพียงพอ<br />

พริกไทยป่น ควรบดเก็บแต่น้อยในขวดที่แห้งสนิท<br />

และปิดมิดชิดเช่นกัน<br />

<br />

<br />


สวนแห่งความสุข Garden <strong>of</strong> Happiness<br />

ความเจ็บป่วยของมนุษย์ประกอบขึ้นด้วยสองส่วน คือ โรคและความทุกข์ทรมาน การแพทย์แผนปัจจุบัน<br />

นอกจากมุ่งค้นหาโรค ยังส่งเสริมให้ค้นหาทุกข์ของผู้ป่วยด้วย ซึ่งทุกข์นั้นอาจเป็นสาเหตุที่แท้จริงของโรคมากกว่าที่เห็น<br />

ทางกาย<br />

สวนแห่งความสุข เกิดขึ้นจากบุคลากรโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ที่เข้าใจทุกข์ของผู้ป่วยและมีเจตนา<br />

ช่วยเหลือให้ความทุกข์เหล่านั ้นบรรเทาลง เป็นความสุขของผู ้ให้ที ่ยินดีทำสิ ่งเล็กๆ น้อย ๆ ให้ผู ้อื ่นมีความสุข และเป็นความสุข<br />

ของผู้พบเห็นที่จะนำเอาความสุขนั้นเติมเต็มแก่ชีวิต<br />

สวนแห่งความสุขเปิดประตูครั้งแรกด้วยการแสดงดนตรีไทย วงเครื่องสายผสมเปียโน และรำพลายชุมพล<br />

โดยอาจารย์แพทย์ นิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> และเพื่อนอาจารย์จิตอาสาจากคณะเภสัชศาสตร์<br />

คณะมนุษยศาสตร์ สร้างบรรยากาศที ่งดงาม อบอุ ่นด้วยเสียงเพลง<br />

ครั ้งที ่สองเปิดรับอาสาสมัครเล่านิทานให้เด็กฟัง หนังสือนิทานก็ได้รับจากการบริจาค การหยิบยืมด้วยความมีน้ำใจ<br />

เปิดหนังสือเล่านิทานแฝงธรรมะ พร้อมเกมส์และภาพระบายสี สร้างความสนุกสนานกับเด็กโรคหัวใจที ่คลินิกเด็กโรคหัวใจ<br />

ระหว่างรอตรวจ รอยยิ ้มและเสียงหัวเราะของเด็กวันนั ้น ยังสวยงาม สดใส ในใจเราอยู ่ตลอดมา<br />

"ศิลป์อีสาน" หมอแคน หมอโหวด และนางรำ จากภาคอีสาน โดยนิสิตชมรมอีสานและภูมิภาคอินโดจีน นิสิตหัวใจอาสา นำบทเพลงแห่งท้องทุ่งเสียงแคน<br />

มาบรรเลงขับกล่อมผู้ป่วย ญาติ และบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ ซึ่งบางคนบอกว่าเหมือนได้กลับบ้าน แววตาแห่งความสุข เสียงเพลงไพเราะ แถมด้วยเกร็ดความรู้เรื่อง<br />

วิถีอิสาน ติดกระเป๋ายา ติดใจไปบ้านด้วย<br />

ในฐานะหน่วยงานรักษา ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ หวังเป็นอย่างยิ ่งว่า สวนแห่งความสุขจะทำให้ผู ้ป่วย<br />

ผู ้มารับบริการและบุคลากร มีความสุขยิ ่งขึ ้น ดังคำที ่ ศ.นพ.ฝน แสงสิงแก้ว บิดาแห่งจิตเวชศาสตร์ไทยเคยกล่าวไว้ว่า<br />

<br />


CTIVITY<br />

A<strong>Faculty</strong> <strong>of</strong> <strong>Medicine</strong><br />

ข่าว : ณัฐพร แก้วแดง<br />

สัตตกมล นุ่มพรม<br />

ภาพ : ณัฐพล นามะวงศ์<br />

วันที่ 29-31 พฤษภาคม <strong>2551</strong> บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> เข้าร่วมโครงการผู้นำ<br />

การเปลี่ยนแปลง (Change Agent) เพื่อสร้างแกนนำในการเปลี่ยนแปลงของคณะแพทยศาสตร์โดยใช้<br />

แนวคิดจากกระบวนการจิตวิวัฒน์และองค์กรอัจฉริยะ รวมทั ้งเป็นการสร้างเครือข่ายผู ้นำการเปลี ่ยนแปลง<br />

ขององค์กร นำไปสู่องค์กรที่มีชีวิตชีวาและสังคมแห่งความสุข ณ ทรัพย์ไพรวัลย์แกรนด์ โฮเต็ล แอนด์<br />

รีสอร์ท จ.พิษณุโลก<br />

วันที่ 2 มิ.ย. 51 ฯพณฯบุญลือ ประเสริฐโสภา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมคณะ เข้า<br />

เยี ่ยมชมการดำเนินงานของคณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> โดยมี รศ. ดร.มณฑล สงวนเสริมศรี<br />

อธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> และศ.นพ.ดร.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย คณบดีคณะแพทยศาสตร์<br />

พร้อมทั้งคณะผู้บริหารให้การต้อนรับและพาเยี่ยมชมโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ณ อาคารสิรินธร<br />

โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

วันที่ 4 มิ.ย. 51 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เข้าเยี่ยมชมการดำเนิน<br />

งานของศูนย์โรคหัวใจ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>และศูนย์วิจัยเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อ<br />

บูรณาการวิจัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข ให้สอดคล้องกับนโยบายและทิศทางการพัฒนาของ<br />

ประเทศ ในการดำเนินโครงการโปรแกรมวิจัยและพัฒนาระบบการแพทย์อัจฉริยะ (Intelligent Medical<br />

System ; IMS) ณ อาคารสิรินธร โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

วันที ่ 5 มิถุนายน <strong>2551</strong> นายสมบูรณ์ ศรีพัฒนาวัฒน์ ผู ้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก พร้อมด้วย นายกเหล่า<br />

กาชาด จ.พิษณุโลก มอบกล้องจุลทรรศน์ สำหรับผ่าตัดตาพร้อมจอมอนิเตอร์และเครื่องบันทึกภาพมูลค่า<br />

2,000,000 บาท (สองล้านบาท) ให้แก่โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> โดยมี ศ.นพ.ดร.ศุภสิทธิ์<br />

พรรณารุโณทัยคณบดีคณะแพทยศาสตร์ พร้อมผู้บริหารรับมอบ เครื่องมือดังกล่าวจะสามารถ<br />

ทำการผ่าตัดตา บันทึกภาพขณะผ่าตัดสามารถนำภาพการทำผ่าตัดตากลับมาฉายซ้ำเพื่อการดูแล<br />

ผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และสามารถบันทึกไว้สำหรับการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>อีกด้วย<br />

วันที่ 12 มิ.ย. 51 คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จัดพิธีไหว้ครู ประจำปีการศึกษา <strong>2551</strong><br />

โดยมีการทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งบริเวณหน้าโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> และจัด<br />

พิธีไหว้ครู ณ ห้องประชุมเอกาทศรถ 9 โดยในงานนี้ได้มีพิธีการมอบประกาศนียบัตรแก่นิสิตที่ได้<br />

คะแนนสูงสุดในแต่ละสาขาวิชา และมอบประกาศนียบัตรแก่สโมสรนิสิตแพทย์ที ่ดำรงตำแหน่งในปีที ่ผ่านมา<br />

รวมถึงการมอบประกาศนียบัตรแก่อาจารย์ในดวงใจที ่นิสิตโหวตให้คะแนนสูงสุดและมอบโล่เกียรติคุณจาก<br />

แพทยสภาให้แก่อาจารย์ที ่มีคุณธรรม จริยธรรม<br />

วันที่ 13 มิ.ย. 51 ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จัดการบรรยายเรื่อง<br />

“Leading the way in HER2 positive breast cancer” โดยมีวิทยากร ผศ.พญ.เอื้อมแข สุขประเสริฐ<br />

อาจารย์แพทย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และพลตรี นพ.สุรพงษ์ สุภาภรณ์ อาจารย์<br />

แพทย์ทางด้านศัลยกรรมโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ร่วมบรรยาย ณ ห้องประชุมเอกาทศรถ 1 อาคารสิรินธร<br />

โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

วันที ่ 16-17 มิถุนายน <strong>2551</strong> งานประกันคุณภาพการศึกษา จัดโครงการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน<br />

คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ประจำปีการศึกษา 2550 โดยได้รับเกียรติจากรศ.นพ.จิตเจริญ<br />

ไชยาคำ เป็นประธานคณะกรรมการผู้ประเมิน รศ.นพ.อานุภาพ เลขะกุล รศ.ดร.จันทรรัตน์ สิทธวรนันท์<br />

อ.จินตนา พนมชัยชยวัฒน์ ร่วมเป็นคณะกรรมการ โดยคณะแพทยศาสตร์ได้รับคะแนนการประเมินเท่ากับ<br />

1.54 คะแนน จากคะแนนเต็มทั ้งหมด 3 คะแนน<br />

<br />

<br />


CTIVITY<br />

A<strong>Faculty</strong> <strong>of</strong> <strong>Medicine</strong><br />

ข่าว : ณัฐพร แก้วแดง<br />

สัตตกมล นุ่มพรม<br />

ภาพ : ณัฐพล นามะวงศ์<br />

วันที ่ 23-24 มิ.ย. 51 โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> รับการเยี ่ยมให้คำปรึกษาเข้มก่อนการเยี ่ยมสำรวจ<br />

(Intensive Consultation Visit) จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โดยมี ภก.ปรมินทร์<br />

วีระอนันตวัฒน์ หัวหน้าคณะผู้เยี่ยมให้คำปรึกษา รศ.นพ.รณชัย อธิสุข และอาจารย์สงกรานต์ พุทธิขจร<br />

ผู ้เยี ่ยมให้คำปรึกษา ณ ห้องประชุมทองจันทร์ อาคารสิรินธร โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

วันที ่ 3-4 ก.ค. 51 คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทำแผน<br />

ยุทธศาสตร์คณะแพทยศาสตร์และการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2552” ตามกรอบของแผนพัฒนาการ<br />

ศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.<strong>2551</strong>-2565) โดยมีอาจารย์ศุภชัย เมืองรักษ์ ผู้จัดการส่วน<br />

Center <strong>of</strong> Excellence ฝ่ายวิจัยและระบบสารสนเทศ สถาบันเพิ ่มผลผลิตแห่งชาติเป็นวิทยากร รวมถึงจัดทำ<br />

WORKSHOP และสรุปร่างแผนกลยุทธ์องค์กร ณ ห้องประชุมขวัญเมือง 1 และ 2 อาคารขวัญเมือง<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

วันที่ 7-9 ก.ค. 51 ศูนย์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

คณะแพทยศาสตร์ ร่วมกับสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ.) จัด “โครงการประชุม<br />

วิชาการการพัฒนาคุณภาพระดับภาค ภาคเหนือตอนล่าง Regional Forum” ในหัวข้อ “องค์กรที่มีชีวิต<br />

Living Organization” ขึ ้น โดยมี รศ.ดร.มณฑล สงวนเสริมศรี อธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>เป็นประธาน<br />

ในพิธีเปิด สำหรับโครงการประชุมครั ้งนี ้ มีการประกวดผลงาน จำนวนกว่า 40 ผลงาน จากโรงพยาบาล<br />

ในเขต 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ภายใต้หัวข้อ องค์กรที่มีชีวิต Living Organization ซึ่งเป็นประเด็นหลัก<br />

ของการพัฒนาคุณภาพสำหรับปี <strong>2551</strong> ในระดับประเทศ ที่เน้นให้บุคลากรขององค์กรที่ให้บริการทาง<br />

สาธารณสุขมีสุขภาพดี มีความสุข ที ่ทำงานน่าอยู ่ ส่งผลให้ผู ้รับบริการได้รับบริการที ่ดี การรักษาที ่มีคุณภาพ<br />

มีความสุข รวมทั ้งยังเพิ ่มเติมในเรื ่อง Healing Environment ซึ ่งจะเป็นประเด็นนำเสนอในระดับประเทศของปี<br />

2552 อีกด้วยสำหรับผลงานคุณภาพที ่ได้รับรางวัลจากเวทีนี ้ก็จะนำส่งเข้าประกวดในเวทีระดับประเทศต่อไป<br />

นอกจากการประกวดผลงานคุณภาพ การแสดงนิทรรศการแล้ว ยังมีการบรรยายทางวิชาการในหลายๆเรื ่อง<br />

อาทิ จิตอาสาที ่มีจิตวิญญาณ, องค์กร ผัสสะ และสุนทรียภาพ, วิจัยร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลให้มีชีวิตชีวา<br />

เป็นต้น การจัดประชุมครั้งนี้นับเป็นประโยชน์ต่อคนทำงานด้านบริการสุขภาพที่จะต้องพัฒนาคุณภาพ<br />

ตลอดเวลา และยังเป็นเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนนวัตกรรมใหม่ๆ ที่สามารถคิด ทำ<br />

เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบายขึ้น คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> ต้องขอขอบคุณความร่วมมือ<br />

จากโรงพยาบาลในเขต 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่างและผู้สนใจที่เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้<br />

วันที ่ 15 ก.ค. 51 คณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> นำโดย ศ.นพ.ดร.ศุภสิทธิ ์ พรรณารุโณทัย คณบดี<br />

คณะแพทยศาสตร์ ผศ.(พิเศษ)พญ.พิริยา นฤขัตรพิชัย ผู ้อำนวยการโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> และ<br />

บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ ร่วมทำบุญถวายเทียนพรรษาและทอดผ้าป่า ประจำปี <strong>2551</strong> ณ วัดนครป่า<br />

หมาก ตำบลดอนทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก<br />

วันที ่ 15-16 ก.ค. 51ศูนย์ความร่วมมือเพื ่อการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล (HACC: NU) คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> จัดโครงการต่อยอดเครือข่ายการเรียนรู้ระดับจังหวัดและในเขตพื้นที่รับผิดชอบ<br />

ในงานนี ้ผู ้เข้าร่วมประชุมได้แก่ทันตแพทย์ทันตาภิบาล เภสัชกร เจ้าพนักงานเภสัชกรรม นักเทคนิคการแพทย์<br />

นักรังสีการแพทย์ รังสีแพทย์ จาก 9 จังหวัดในเขตพื ้นที ่ภาคเหนือตอนล่าง โดยมีการบรรยายในหัวข้อเรื ่อง<br />

ทักษะการเล่าเรื ่อง การถอดบทเรียนเพื ่อการแลกเปลี ่ยนเรียนรู ้ การแลกเปลี ่ยนเรียนรู ้ (Share and Learn)<br />

การทำกิจกรรมกลุ ่มนำเสนอข้อมูลการฝึกปฏิบัติและบันทึกการเรียนรู ้ วิทยากรโดยคุณไพฑูรย์ ช่วงฉ่ำ และ<br />

คุณสุกานดา เมฆทรงกลด ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการความรู้(KM) ณ อาคารสิรินธร โรงพยาบาล<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

วันที ่ 16 ก.ค. 51 รองผู ้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก นายนริศ ปิยพฤทธิ ์ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ<br />

รณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก และมอบชุดสำรวจและควบคุมป้องกันไข้เลือดออกแด่ ผศ.(พิเศษ)พญ.พิริยา<br />

นฤขัตรพิชัย ผู ้อำนวยการโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong> และเครือข่าย อสม. 5 ตำบล 6 สถานีอนามัย<br />

รอบมหาวิทยาลัย ภายในงานมีการจัดนิทรรศการให้ความรู ้เรื ่องโรคไข้เลือดออก มีการเดินขบวนรณรงค์<br />

ป้องกันไข้เลือดออกจาก อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

คณะแพทยศาสตร์ กองกิจการนิสิต<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong>กว่า 200 คน<br />

<br />


คณะแพทยศาสตร์<br />

<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

ต.ท่าโพธิ ์ อ.เมือง<br />

จ.พิษณุโลก 65000<br />

ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน<br />

ใบอนุญาตเลขที ่ 85/2521<br />

พิษณุโลก<br />

⌫ <br />

<br />

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!