07.01.2015 Views

ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา O - บัณฑิตวิทยาลัย ...

ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา O - บัณฑิตวิทยาลัย ...

ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา O - บัณฑิตวิทยาลัย ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา</strong>รส่วนต าบลทุ ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี<br />

ORGANIZATIONAL COMMITMENT OF EMPLOYEES IN THUNG THONG SUB-DISTRICT<br />

ADMINISTRATIVE ORGANIZATION THAMUANG DISTRICT<br />

KANCHANABURI PROVINCE<br />

กอบกิจ สบายยิ่ง<br />

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปี การศึกษา 2553<br />

.................................................................................................................................................................................................<br />

บทคัดย่อ<br />

การวิจัยครั ้ งนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา<strong>ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา</strong>รส่วนต าบลทุ่งทอง<br />

อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โดยศึกษาองค์ประกอบของความผูกพันต่อองค์การ 5 ด้าน คือ ด้านสภาพแวดล้อมในการ<br />

ท างาน, ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในการท างาน, ด้านการยอมรับในสังคม, ด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถ<br />

และด้านสวัสดิการในองค์การ ประชากรในการวิจัย ครั ้ งนี ้ได้แก่พนักงานองค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งทองจ านวน 24 คน<br />

ระยะเวลาท าการศึกษาอยู่ในช่วงวันที่ 1-31พฤษภาคม 2553 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็ นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณ<br />

ค่า (Rating Scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (Mean:) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

(Standard Deviation:) โดยท าการวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป<br />

ผลการวิจัยพบว่า พนักงานองค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี มีความผูกพันต่อ<br />

องค์การ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่าความผูกพันต่อองค์การ ด้านการยอมรับในสังคม มี<br />

ค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านสวัสดิการในองค์การ ส่วนความผูกพันต่อองค์การ ด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถ มี<br />

ค่าเฉลี่ยน้อยสุด<br />

ABSTRACT<br />

The objective of the research is to study about organizational commitment of employees in Thung Thong Sub -<br />

District Administrative Organization Thamuang District Kanchanaburi Province according to 5 categories of<br />

commitment: The environment aspect in the work, progress and stability of the job, acceptance from the society,<br />

development of the capability and welfare in the organization. The population used in this research was 24 employees in<br />

Thung Thong Sub - District Administrative Organization in the study during 1–31 May 2010. The research instrument<br />

were rating scale questionnaires. The data analysis was by percentage :%, Mean : , and Standard Deviation : <br />

The results of study found that, the organizational commitment of employees in Thung Thong Sub - District<br />

Administrative Organization Thamuang District Kanchanaburi Province in the whole view was in high level. When<br />

considered in each dimension it was found that the acceptance from the society was in highest level and the respective<br />

level was the welfare in the organization and the development of the capability was the lowest level.<br />

บทน า


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้ให้ความส าคัญกับการปกครองท้องถิ่น ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ ้น<br />

ในองค์กรปกครองท้องถิ่นไทยครั ้ งใหญ่และให้มีการกระจายอ านาจ (Decentralization) ด้วยการโอนกิจการบริการสาธารณะ<br />

บางเรื่องจากรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนกลางไปให้ชุมชนซึ ่งตั ้งอยู่ในท้องถิ่นต่างๆ ของประเทศหรือหน่วยงานบางหน่วยงาน<br />

รับผิดชอบจัดท าอย่างเป็ นอิสระจากองค์กรปกครองส่วนกลาง การให้บริการประชาชนของรัฐ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการ<br />

ที่ดีกว่า นับว่าเป็ นนโยบายที่ส าคัญของทุกรัฐบาล ในยุคของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทั ้งนี ้ เพราะการ<br />

ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนเป็ นสิ่งที่รัฐบาลพึงกระท าและส าหรับช่วงปัจจุบันที่โลกก าลังก้าวสู่ทศวรรษ<br />

ใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารที่สามารถไหลเวียนจากจุดหนึ ่งของโลกไปสู่อีกจุดหนึ ่งได้อย่าง<br />

รวดเร็ว ภาพหนึ ่งที่ประชาชนได้ประจักษ์จากสื่อต่างๆ ก็คือกระแสการเรียกร้องในการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเพื่อเข้าสู่ความ<br />

เป็ นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ดังนั ้น การส่งเสริมบริการประชาชนของรัฐเป็ นสิ่งที่มีความส าคัญอย่างหนึ ่งของรัฐบาล ที่ไม่<br />

สามารถปฏิเสธได้ โดยรัฐจะต้องสร้างระบบการบริหารและการบริการที่รวดเร็ว เป็ นที่พึงพอใจแก่ประชาชนให้มากที่สุด การ<br />

ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดของหน่วยงานของรัฐ ซึ ่งรัฐได้ก าหนดวิธีการโดย การจัดกลุ่มภารกิจของรัฐ การจัดโครงสร้าง<br />

ส่วนราชการให้สอดคล้องกับการจัดกลุ่มภารกิจ เพื่อการกระจายอ านาจการปกครองสู่องค์กรส่วนท้องถิ่น การมอบอ านาจการ<br />

บริหารราชการจากกระทรวง กรม กองต่างๆ ไปสู่ จังหวัด องค์กรปกครองท้องถิ่นและประชาชน ตามล าดับ<br />

อย่างไรก็ตาม ความมีประสิทธิภาพในการด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมต้องอาศัยทรัพยากร<br />

บุคคลเป็ นหัวใจส าคัญ ประสิทธิภาพของทรัพยากรบุคคลจะมีมากน้อยเพียงใดก็ต้องขึ ้ นอยู่กับความผูกพันต่อองค์การ<br />

(Organization commitment) เป็ นสิ่งที่มีความส าคัญต่อความมีประสิทธิผลขององค์การ และยังเป็ นปัจจัยส าคัญในการพัฒนา<br />

องค์การ ตลอดจนปัญหาในการบริหารงาน เช่น การมาสาย การขาดงาน การลาออกของข้าราชการ ความพึงพอใจในการ<br />

ท างาน มักจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความผูกพันในองค์การ ผู้ที่มีความผูกพันต่อองค์การสูง จะปฏิบัติงานได้ดีกว่าผู้ที่มี<br />

ความผูกพันต่อองค์การต ่าหรือไม่มีเลย การสร้างความผูกพันในองค์การผลดีก็จะตกอยู่กับองค์การและผู้ปฏิบัติเอง และสิ่ง<br />

เหล่านี ้เป็ นคุณสมบัติที่ทุกองค์การปรารถนา<br />

ด้วยเหตุผลดังกล่าวมานี ้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษา<strong>ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา</strong>ร<br />

ส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อให้ทราบระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การ<br />

บริ หารส่วนต าบลทุ่งทอง อันจะเป็ นประโยชน์ในการเสริ มสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรมีควา มรัก ความตั ้งใจในการ<br />

ปฏิบัติงาน และเอื ้อต่อการสร้างให้เป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Organization) เกิด Knowledge Worker ซึ ่ งจะ<br />

เป็ นต้นทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) ของสังคม ส่งผลต่อความส าเร็จในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human<br />

Resource Management) ขององค์การที่จะน าพาองค์การบรรลุเป้ าหมายที่ได้ตั ้งไว้ได้อย่างยั่งยืน<br />

วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

เพื่อศึกษาระดับ<strong>ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา</strong>รส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัด<br />

กาญจนบุรี ในด้านสภาพแวดล้อมในการท างาน ,ด้านความก้าวหน้า และความมั่นคงในการท างาน , ด้านการยอมรับใน<br />

สังคม , ด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถ และด้านสวัสดิการในองค์การ<br />

ขอบเขตของการวิจัย


ประชากร ได้แก่ พนักงานองค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จ านวนทั ้งสิ้น 24 คน<br />

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย<br />

1. ตัวแปรอิสระ (IndependentVariable) ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริ หารส่วนต าบลทุ่งทอง<br />

อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ใน 5 ด้าน ด้วยกันคือ ด้านสภาพแวดล้อมในการท างาน, ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคง<br />

ในการท างาน, ด้านการยอมรับในสังคม, ด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถ และด้านสวัสดิการในองค์การ<br />

2. ตัวแปรตาม (DependentVariable) <strong>ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา</strong>รส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอ<br />

ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี<br />

วิธีการด าเนินการวิจัย<br />

1. ท าหนังสือถึงคณะมนุษย์ศาสตร์ และ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เพื่อขอหนังสือถึง<br />

นายกองค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งทอง ขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแจกแบบสอบถามให้แก่พนักงาน<br />

องค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งทอง<br />

2. ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลด าเนินการ ในช่วงวันที่ 1- 31 พฤษภาคม 2553 โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามแจก<br />

พนักงานองค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ด้วยตนเอง จ านวน 24 ชุด และได้แบบสอบถาม<br />

กลับมา 24 ชุด คิดเป็ นร้อยละ 100<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

วิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริ หารส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัด<br />

กาญจนบุรี ที่มีลักษณะเป็ นแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วิธีหาค่าเฉลี่ย (Mean:) และค่าส่วนเบี่ยงเบน<br />

มาตรฐาน (Standard Deviation: )<br />

ผลการวิจัย<br />

ระดับ<strong>ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา</strong>รส่วนต าบลทุ่งทอง จังหวัดกาญจนบุรี ในภาพรวมทั ้ง 5<br />

ด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (=3.72) เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่าด้านการยอมรับในสังคม มีค่าเฉลี่ย<br />

สูงสุดเท่ากับ (=3.83) รองลงมาคือ ด้านสวัสดิการในองค์การ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ ( =3.72) ส่วนด้านการพัฒนาความรู้<br />

ความสามารถ มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด (= 3.67) ตามล าดับ<br />

อภิปรายผล<br />

จากผลการศึกษาวิจัย<strong>ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหา</strong>รส่วนต าบลทุ่งทอง อ าเภอท่าม่วง จังหวัด<br />

กาญจนบุรี พบว่าพนักงานมีความผูกพันต่อองค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั ้งนี ้ อาจจะเป็ นเพราะด้านความก้าวหน้า<br />

ความมั่นคงในการท างาน สภาพแวดล้อม ด้านการยอมรับนับถือในหน้าที่การงานในด้านสังคม อีกทั ้งมีแนวคิดในการ<br />

พัฒนาองค์การและส่งเสริมพนักงาน ในการพัฒนาความรู้ความสามารถด้วยการเข้าร่วมอบรมสัมมนาเพื่อให้ได้ความรู้<br />

ประสบการณ์ ทันต่อสภาวการณ์ในปัจจุบันอย่างสม ่าเสมอ มีการสร้างขวัญและก าลังใจในด้านสวัสดิการ ท าให้พนักงานมี<br />

ความเชื่อมั่น ในความมั่นคงขององค์การ ซึ ่งเป็ นสิ่งส าคัญในสร้างความผูกพันความรักในองค์การ เมื่อพิจารณาระดับความ<br />

ผูกพันต่อองค์การในด้านทฤษฎี จะพบว่าพนักงานองค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งทอง มีความผูกพันต่อองค์การ ซึ ่ งสอดคล้อง<br />

ตามหลักของทฤษฎี กิลล์เมอร์ ( Gillmer,1967 :124 ) ซึ ่งมีองค์ประกอบที่เอื ้ออ านวยต่อความผูกพันกับองค์การ ในการท างาน


ไว้อีก 10 ประการ ดังนี ้ ความมั่นคงปลอดภัย ( Securi ty), โอกาสก้าวหน้าในการท างาน ( Opportunity for Advancement) ,<br />

สถานที่ท างานและการจัดการ (Company and Management), ค่าจ้าง (Wages), ลักษณะของงานที่ท า (Intrinsic Aspects of<br />

the job), การปกครองบังคับบัญชา (Supervision), ลักษณะทางสังคมของงาน (Social Aspects of the job), การติดต่อสื่อสาร<br />

(Communication), สภาพการท างาน (Working Condition), สิ่งตอบแทนหรื อประโยชน์เกื ้อกูลต่างๆ (Benefits) ซึ ่ ง<br />

ย่อมขึ ้นอยู่กับองค์ประกอบที่กล่าวมา<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

พิสิทธิ ์ สารวิจิตร. (2523). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จ ากัด<br />

กรณีศึกษาฝ่ ายวิศวกรรมจราจรทางอากาศ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหา<strong>บัณฑิตวิทยาลัย</strong> : มหาวิทยาลัยบูรพา.<br />

สุชาดา นิภานนท์.(2526). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการในกรมการฝึ กหัดครู .วิทยานิพนธ์ปริญญาโท :<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.<br />

ธีระศักดิ ์ ก าบรรณารักษ์. (2527). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.<br />

วีระนารถ มานะกิจ. (2535). พฤติกรรมของบุคคลในบุคคลองค์การกรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามค าแหง.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!