11.01.2015 Views

Thailand's First Risk Neutral Transition Probability Matrix

Thailand's First Risk Neutral Transition Probability Matrix

Thailand's First Risk Neutral Transition Probability Matrix

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การคัดกรองวิธีทางเลือกเพื่อการเปรียบเทียบ<br />

การศึกษาจะเปรียบเทียบวิธีทางเลือกเพื่อระบุวิธีที่เหมาะสมสําหรับการใชงานจริงในตลาดตราสารหนี้ไทย<br />

การศึกษาเสนอจะคัดกรองวิธีทางเลือกที่มีเหลานั้นในชั้นตนเพื่อใหเหลือวิธีที่เหมาะสมจํานวนหนึ่งสําหรับเปรียบเทียบ<br />

การคัดกรองสําคัญเพราะ การศึกษาวิธีการทางเลือกทั้งหมดที่เปนจํานวนมากสิ้นเปลืองทรัพยากร ในขณะที่ทรัพยากร<br />

มีจํากัด นอกจากนี้ การวิเคราะหในเบื้องตนถึงวิธีทางเลือกทําใหผูเขียนสามารถระบุเหตุผลที่ตรงไปตรงมาและเพียงพอ<br />

สําหรับการตัดไมพิจารณาวิธีทางเลือกบางวิธีหรือบางกลุมไดแลว<br />

ผูเขียนเสนอเปรียบเทียบวิธีทางเลือกจํานวน 3 วิธี คือวิธีของ Jarrow et al. (1997) วิธีของ Kajima and<br />

Komoribayashi (1998) และวิธี Modifying Default Intensities ของ Lando (2000) ผูเขียนเลือกที่จะพิจารณาวิธีของ<br />

Jarrow et al. (1997) และวิธีของ Kajima and Komoribayashi (1998) เพราะเปนวิธีที่มีผูอางอิงถึงมากที่สุด เรียบงาย<br />

และไดรับการยอมรับแลวอยางกวางขวางจนถึงระดับที่บรรจุในหนังสือ เชน หนังสือของ Trueck and Rachev (2009)<br />

และใชเปนตัวแบบจําลองเพื่อการเปรียบเทียบในงานวิจัย เชนงานวิจัยของ Albanese and Chen (2006) ผูเขียนเลือก<br />

พิจารณาวิธี Modifying the Row of the Generator <strong>Matrix</strong> ของ Lando (2000) เพราะ Trueck and Rachev (2009) ชี้<br />

วา <strong>Risk</strong>-<strong>Neutral</strong> TPM ที่เปนผลลัพธของวิธีนี้มีลักษณะเหมาะสมกับพฤติกรรมความเสี่ยงดานเครดิตในตลาดการเงินใน<br />

กรณีทั่วไป ในขณะที่วิธี Modifying the Rows of the Generator <strong>Matrix</strong> และวิธี Modifying Eigenvalues of the<br />

<strong>Transition</strong> <strong>Probability</strong> <strong>Matrix</strong> ที่ Lando เสนอไวพรอมกัน ให <strong>Risk</strong>-<strong>Neutral</strong> TPM ที่มีลักษณะเหมาะกับพฤติกรรม<br />

ความเสี่ยงดานเครดิตเฉพาะในชวงที่ตลาดตราสารหนี้มีความผันผวนสูง<br />

ผูเขียนเลือกที่จะไมพิจารณาวิธีที่ McNulty and Levin (2000) เสนอเพราะการกําหนด <strong>Risk</strong>-<strong>Neutral</strong> TPM<br />

ตองอางอิงกับอันดับเครดิตและยังตองอางอิงกับคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธที่หุนสามัญของผูออกมีตออัตราผลตอบแทน<br />

ของตลาด เงื่อนไขการอางอิงกับคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนเงื่อนไขเพิ่มเติมที่ไมสอดคลองกับการวิเคราะหความ<br />

เสี่ยงดานเครดิตที่อางอิงถึงเฉพาะตัวอันดับเครดิตที่สนใจเพียงอยางเดียว นอกจากนั้น การระบุ <strong>Risk</strong>-<strong>Neutral</strong> TPM<br />

ของ McNulty and Levin ยังไมอางอิงราคาตามทฤษฎีกับราคาตลาดของหุนกู ผูเขียนเลือกที่จะไมพิจารณาวิธีของ<br />

Lando and Mortensen (2005) เพราะวิธีนี้ไมสามารถระบุ <strong>Risk</strong>-<strong>Neutral</strong> TPM สําหรับกระแสเงินที่มีระยะเวลา 1 ปได<br />

แมวิธีนี้จะไดรับการออกแบบให <strong>Risk</strong>-<strong>Neutral</strong> TPM ที่ไดเปนผลลัพธมีระดับความนาจะเปนที่สอดคลองกับพฤติกรรม<br />

ตามความเชื่อของตลาดก็ตาม สุดทาย ผูเขียนเลือกที่จะไมพิจารณาวิธีของ Albanese and Chen (2006) แม <strong>Risk</strong>-<br />

<strong>Neutral</strong> TPM ที่เปนผลลัพธสามารถใหระดับความนาจะเปนที่สอดคลองกับความเชื่อของตลาดไดเชนกัน เพราะ ตัว<br />

แบบจําลองอางอิงถึงคาพารามิเตอรจํานวนมากที่จําเปนตองใชเพื่อพรรณนาพฤติกรรมของตัวแปรที่ชี้ระดับความ<br />

นาเชื่อถือดานเครดิต ตัวแบบจําลองมีความซับซอนมาก และการกําหนดตัวแบบจําลองมีขั้นตอนยุงยากเกินกวาที่จะ<br />

นํามาประยุกตใชงานจริงในตลาดตราสารหนี้ไทย<br />

รายละเอียดของวิธีที่เลือกมาพิจารณาเปรียบเทียบ<br />

กําหนดให P N เปน Real-World TPM สําหรับกระแสเงินที่มีอายุ N ป ซึ่งมีขนาด K K โดยที่สมาชิก<br />

N<br />

p , ที่อยูในแถวนอนที่ i และแถวตั้งที่ j ทําหนาที่ระบุระดับความนาจะเปนที่ตราสารหนี้ที่มีอันดับเครดิต i ณ ตนปที่<br />

1 จะมีอันดับเครดิตเปลี่ยนแปลงไปเปนอันดับเครดิต j ณ สิ้นปที่ N ดังนี้<br />

P N <br />

N N<br />

p , … p ,K<br />

<br />

N N<br />

P N (1)<br />

… p K,K<br />

0.00 … 1.00<br />

p K,<br />

13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!