13.01.2015 Views

ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขอ F - บัณฑิตวิทยาลัย ...

ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขอ F - บัณฑิตวิทยาลัย ...

ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขอ F - บัณฑิตวิทยาลัย ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขอ</strong>งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br />

FACTORS AFFECTING ON THE COMPETENCY OF PERSONNEL MANAGEMENT OF LOCAL<br />

ADMINISTRATIVE ORGANIZATION IN THAP SAKAE SUBDISTRICT, PRACHUAP KHIRI KHAN PROVINCE<br />

ทิพย์พร บุญมีพิพิธ<br />

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปี การศึกษา 2554<br />

............................................................................................................................................................ .................................................<br />

บทคัดย่อ<br />

การวิจัยครั ้ งนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะการบริหารงานบุคคล 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะ<br />

การบริหารงานบุคคล และ3) ศึกษาความสัมพันธ์ของ<strong>ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขอ</strong>งองค์การปกครอง<br />

ส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือบุคลากรขององค์กรปกครองส่วน<br />

ท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จ านวน108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็ น แบบสอบถามมาตรา<br />

ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ<br />

ผลการวิจัย พบว่า<br />

1. ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริ หารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก<br />

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง<br />

2. สมรรถนะการบริ หารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก<br />

3. การวิเคราะห์ถดถอยพหุพบว่าตัวแปรอิสระคือความรู้ ทักษะ ความรับผิดชอบ เจตคติ ความโปร่งใสมีผลต่อ<br />

การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ<br />

ABSTRACT<br />

The purposes of this research were to 1) study the competency of personnel management, 2) study the factors<br />

affecting on the competency of personnel management, and 3) study the relation of factors affecting on the competency<br />

of personnel management of local administrative organization in Thap Sakae Subdistrict, Prachuap Khiri Khan Province.<br />

The population included 108 people. Data were collected using 5 point rating scale questionnaire and statistically<br />

analyzed in percentage, mean score, standard deviation, and multiple regression.<br />

The findings revealed as follows :<br />

1. The factors affecting on the personnel management of local administrative organization in Thap Sakae<br />

Subdistrict, Prachuap Khiri Khan Province was generally found at moderate level.<br />

2. The competency of personnel management of local administrative organization in Thap Sakae Subdistrict,<br />

Prachuap Khiri Khan Province was generally found at high level.<br />

3. The knowledge, skill, responsibility, attitude, and transparency affected significantly with the competency of<br />

personnel management of local administrative organization in Thap Sakae Subdistrict, Prachuap Khiri Khan Province.


บทน า<br />

ในพจนานุกรม The Concise Oxford Dictionary of Current English ค าว่า Competence และ Competency<br />

(Crowther, 1995) แปลความได้ว่าเป็ นความสามารถที่จะท างานมีความพอเพียงในการด ารงอยู่ ซึ ่ งมีคุณลักษณะเป็ นทั ้ง<br />

ค านามและค ากริ ยาที่สามารถแทนกันได้ ส่ วนตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ .ศ.2525<br />

(ราชบัณฑิตยสถาน,2552) สมรรถนะ หรือ Competency มีความหมายเช่นเดียวกับค าว่า ความสามารถ โบยาทซีส (Boyatzis,<br />

1982 อ้างใน สีมา สีมานันท์, 2548) อธิบายว่า สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะพื ้นฐาน (Uderlying characteristic) ของ<br />

บุคคล ได้แก่ แรงจูงใจ (Motive) อุปนิสัย (Trait) ทักษะ(Skill) จินตภาพส่วนตน (Self-image) หรือบทบาททางสังคม<br />

(Social role) หรือองค์ความรู้ (Body of knowledge) ซึ ่ งบุคคลจ าเป็ นต้องใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ผลงานสูงกว่า/<br />

เหนือกว่าเกณฑ์เป้ าหมายที่ก าหนดไว้ โดยที่สมรรถนะนี ้ เป็ นคุณลักษณะที่มีส่วนช่วยให้บุคคลสามารถผลิตผลงานที่มี<br />

ประสิทธิภาพ หรือผลงานที่ดีเยี่ยมได้ หรื อหากจะแปลความกลับก็คือ ถ้าคนท างานไม่มีคุณลักษณะเหล่านั ้นแล้วจะไม่<br />

สามารถผลิตผลงานที่มีประสิทธิภาพได้ อีกท่านหนึ ่งคือ แมคคลีแลนด์ (Mc Clelland, 1993 อ้างใน สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ,<br />

2548) ซึ ่ งจัดว่าเป็ นนักวิชาการที่มีชื่อเสี ยงในเรื่ องนี ้ ได้ให้ค าจ ากัดความของสมรรถนะ (Competency) ไว้ว่าเป็ น<br />

บุคลิกลักษณะที่ซ่อนอยู่ภายในปัจเจกบุคคล ซึ ่ งสามารถผลักดันให้ปัจเจกบุคคลนั ้นสร้างผลการปฏิบัติงานที่ดีหรือตาม<br />

เกณฑ์ที่ก าหนดในงานที่ตนรับผิดชอบ โดยสมรรถนะ (Competency) ประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 5 ส่วน ได้แก่ ความรู้<br />

(Knowledge) และทักษะ (Skills) ทัศนคติ ค่านิยม (Self-concept) บุคลิกลักษณะประจ าของแต่ละบุคคล (Trait) แรงจูงใจ<br />

หรือแรงขับภายใน (Motive) ซึ ่งท าให้บุคคลแสดงพฤติกรรมที่มุ่งไปสู่สิ่งที่เป็ นเป้ าหมายของเขา เช่น บุคคลที่มุ่งผลส าเร็จ<br />

(Achievement orientation) มักชอบตั ้งเป้ าหมายที่ท้าทายและพยายามท างานให้ส าเร็จตามเป้ าที่ตั ้งไว้ ตลอดจนพยายาม<br />

ปรับปรุงวิธีการท างานของตนเองตลอดเวลา จากที่กล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า สมรรถนะจึงเป็ น ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ<br />

ที่จ าเป็ นของบุคคลในการท างานให้ประสบความส าเร็จ มีผลงานได้ตามเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ก าหนดหรือสูงกว่า<br />

แนวคิดเรื่องสมรรถนะ (Competency) เป็ นเรื่องที่ก าลังได้รับความสนใจจากคนหลายระดับในองค์การเพราะเป็ น<br />

แนวคิดใหม่ที่เข้ามามีบทบาทต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล สมรรถนะเป็ นแนวคิดทางจิตวิทยาที่เห็นว่า องค์ประกอบ<br />

ส าคัญที่ท าให้บุคคลประสบความส าเร็จในการท างานไม่ได้ขึ ้นอยู่กับ ระดับสติปัญญาของบุคคลเท่านั ้น แต่จะเกี่ยวข้องกับ<br />

คุณลักษณะอื่นๆของบุคคล เช่น แรงจูงใจ อุปนิสัย ทัศนคติ หรื อวุฒิภาวะทางอารมณ์ แนวคิดเรื่ องสมรรถนะจึงมี<br />

ความส าคัญอย่างยิ่งในกิจกรรมของการบริหารงานบุคคล นับตั ้งแต่การคัดเลือกบุคคลเข้าท างาน (Recruitment) การ<br />

ฝึ กอบรมและพัฒนา (Training & development) การโยกย้ายต าแหน่งหน้าที่ (Rotation) การประเมินผลการปฏิบัติงาน<br />

(Performance appraisal) และการบริหารผลตอบแทน (Compensation) โดยส านักงาน ก.พ. ได้น าแนวคิดเรื่องสมรรถนะเข้า<br />

มาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคลในระบบจ าแนก ต าแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ ซึ ่ งมีผลการศึกษาสนับสนุนว่าเมื่อน า<br />

โมเดลสมรรถนะ (Competency model) มาใช้ในองค์การแล้วจะช่วยให้การบริหารทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น<br />

ส านักงาน ก.พ. จึงได้ท าการศึกษาเพื่อน าแนวคิดสมรรถนะมาปรับใช้กับราชการพลเรือนในเรื่องของระบบสรรหาและ<br />

คัดเลือก ระบบนักบริหารระดับกลาง ระบบนักบริหารระดับสูง และระบบพนักงานราชการ ในปัจจุบันองค์การของเอกชน<br />

ชั ้นน าได้น าแนวคิดสมรรถนะไปใช้เป็ นเครื่องมือในการบริหารงานมากขึ ้น และยอมรับว่าเป็ นเครื่องมือสมัยใหม่ที่องค์การ<br />

ต้องได้รับความพึงพอใจอยู่ในระดับต้นๆมีการส ารวจพบว่ามี 708 บริษัททั่วโลกน า Core competency เป็ น 1 ใน 25<br />

เครื่องมือที่ได้รับความนิยมเป็ นอันดับ 3 รองจาก Coporate code of ethics และ Strategic planning (อ้างใน พสุ เดชะ<br />

รินทร์ 2546,น. 13) แสดงว่า Core Competency จะมีบทบาทส าคัญที่จะเข้าไปช่วยให้งานบริหารประสบความส าเร็จ จึงมี<br />

ผู้สนใจศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการน าหลักการของสมรรถนะมาปรับให้เพิ่มมากขึ ้น หน่วยงานของรัฐและเอกชนของไทย<br />

หลายหน่วยงานได้ให้ความสนใจน ามาใช้เช่น บริษัทปูนซีเมนต์ไทย ปตท. และส านักงานข้าราชการพลเรือน เป็ นต้น การ


้<br />

พัฒนาทรัพยากรบุคคลจึงเป็ นปัจจัยหนึ ่งที่องค์กรต่างๆก าลังให้ความส าคัญอย่างยิ่ง เพราะทรัพยากรบุคคลเปรียบเสมือน<br />

สินทรัพย์ที่ทรงคุณค่ามากที่สุดขององค์กร เป็ นกลยุทธ์หนึ ่งที่ สามารถสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันขององค์กร ด้วย<br />

เหตุผลดังกล่าวองค์กรต่างๆจึงพยายามที่จะแสวงหากลยุทธ์หรือเครื่องมือต่างๆมาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น การ<br />

บริหารจัดการผู้มีความสามารถสูง (Talent management) การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลโดย ใช้ทักษะเป็ นพื ้นฐาน (Skill<br />

based human resource management) การบริหารผลการ ปฏิบัติงาน (Performance management) และการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลโดยใช้สมรรถนะเป็ นพื ้นฐาน (Competency-based human resource management) เป็ นต้น<br />

อ าเภอทับสะแกเป็ นอ าเภอหนึ ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตั ้งอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัดอ าเภอทับสะแกแบ่งพื ้นที่<br />

การปกครองส่วนท้องถิ่นออกเป็ น 7 แห่ง ได้แก่ เทศบาลต าบลทับสะแก องค์การบริ หารส่วนต าบลทับสะแก องค์การ<br />

บริหารส่วนต าบลอ่างทอง องค์การบริหารส่วนต าบลนาหูกวาง องค์การบริหารส่วนต าบลเขาล้าน องค์การบริหารส่วน<br />

ต าบลห้วยยาง และองค์การบริหารส่วนต าบลแสงอรุณ ปัญหาสมรรถนะการบริหารงานบุคคลที่แต่ละท้องถิ่นประสบปัญหา<br />

ในปัจจุบัน คือการโยกย้ายของบุคลากร ซึ ่งในการโยกย้ายแต่ละครั ้ งบุคลากรที่โยกย้ายต้องปรับตัวใหม่ให้ปฏิบัติหน้าที่ให้<br />

สอดคล้องกับงานในหน้าที่ใหม่หรือคณะผู้บริหารของแต่ละท้องถิ่นแห่งใหม่ ซึ ่ งอาจท าให้เกิดการบกพร่องในการปฏิบัติ<br />

หน้าที่ ขาดการควบคุม ติดตาม การปฏิบัติงานจึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างเต็มก าลัง<br />

ความสามารถ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กรได้เท่าที่ควร<br />

จาก ปัญหาและความส าคัญดังกล่าวผู้วิจัยจึงมีความสนใจจะศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะในการบริหารงาน<br />

บุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการ<br />

บริหารงานบุคคลของผู้บริหาร เพื่อเป็ นแนวทางในการก าหนดนโยบาย ปรับปรุงและพัฒนาสมรรถนะการบริหารงาน<br />

บุคคลขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรี ขันธ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ<br />

ความสามารถในการบริหารงานบุคคลขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br />

ต่อไป<br />

วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

1. เพื่อศึกษาสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์<br />

2. เพื่อศึกษา<strong>ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขอ</strong>งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับ<br />

สะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br />

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของ<strong>ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขอ</strong>งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น<br />

ในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br />

สมมติฐานการวิจัย<br />

ในการวิจัยครั ้ งนี ้ ผู้วิจัยได้ตั ้งสมมติฐานที่ใช้ในการศึกษาไว้ดังนี<br />

ปัจจัยด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ ความรับผิดชอบ และความโปร่ งใส มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะการ<br />

บริหารงานบุคคลขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


ขอบเขตของการศึกษา<br />

1.ประชากรและกลุ ่มตัวอย่าง<br />

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั ้ งนี ้ ได้แก่ บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์ จ านวน 108 คน<br />

2. ตัวแปร<br />

ตัวแปรอิสระ คือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะ ได้แก่ ความรู้ ทักษะ เจตคติ ความรับผิดชอบ และความโปร่งใส<br />

ตัวแปรตาม คือ สมรรถนะการบริหารงานบุคคล ประกอบด้วย การสรรหาบุคลากร การจัดบุคลากรให้เหมาะสม<br />

กับหน้าที่ การพัฒนาบุคลากร การเสริมสร้างขวัญและก าลังใจ และการให้ค าปรึกษาและแก้ไขปัญหาการท างาน<br />

ผลการวิจัย<br />

ผลจากการวิเคราะห์ในตัวแปรอิสระ5 ตัว พบว่าตัวแปรอิสระทั ้ง 5 ตัวมีผลเชิงบวกต่อตัวแปรตามอย่างมีนัยส าคัญ<br />

ทางสถิติ ตัวแปรอิสระคือความรู้ ทักษะ ความรับผิดชอบ เจตคติ ความโปร่ งใส ตัวแปรทั ้ง 5 ตัวสามารถอธิบายการ<br />

เปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม ได้ร้อยละ 90.9 แสดงว่ายังมีปัจจัยอื่นที่ไม่ได้น ามาศึกษาในครั ้ งนี ้อีก 9.1 และสมการที่ได้จาก<br />

การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั ้นตอน (Stepwise) ที่มีนัยส าคัญทางสถิติ มีค่าผิดพลาดของการคาดประมาณด้วยสมการ<br />

(Standard error of the estimate)เกี่ยวกับสมรรถนะการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับ<br />

สะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เท่ากับ .18508<br />

อภิปรายผล<br />

ในการปฏิบัติงานซึ ่งบุคคลต้องมีและเป็ นความรู้ของบุคคลที่มีตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ ต าแหน่งหน้าที่ ระดับความ<br />

คิดเห็นของของบุคลากรที่มีต่อปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะการบริ หารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วน<br />

ท้องถิ่นในเขตอ าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ด้านความรู้ อยู่ในระดับปานกลาง โดยการบริหารงานบุคคลของ<br />

องค์การบริหารส่วนต าบลและเทศบาลในเขตอ าเภอทับสะแก ผู้ปฏิบัติหน้าที่ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ ซึ ่ งแต่ละ<br />

ฝ่ ายมีความรู้เฉพาะทางเป็ นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ฝ่ ายบุคคลมีการพัฒนาตนเองและมีความทันสมัยเป็ นปัจจุบัน ซึ ่ งไม่<br />

สอดคล้องกับงานวิจัยของ จันจิรา อินต๊ะเสาร์ (2550,น.51-56) ได้ท าการศึกษาการบริหารงานบุคลากรในสถานศึกษาสังกัด<br />

เทศบาลนครเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาที่พบคือ มีบุคลากรไม่ตรงตามความต้องการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงานไม่<br />

ตรงตามความสามารถ การพัฒนาบุคลากรยังไม่ครอบคลุม มีการจัดสวัสดิการน้อยและไม่ทั่วถึง การประเมินผลการ<br />

ปฏิบัติงานไม่ยุติธรรมและบุคลากรไม่มีส่วนร่วมในการก าหนดเกณฑ์ ข้อเสนอแนะ ควรเสนอข้อมูลจ านวนบุคลากรที่<br />

ต้องการต่อหน่วยงานต้นสังกัด ควรจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงานให้ตรงกับความรู้ความสามารถ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ<br />

ดนัย เทียนพุฒ (2545,น. 25) กล่าวถึง ขอบข่ายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ไว้ว่าการสรรหา หมายถึง การเสาะแสวงหา<br />

เพื่อเลือกสรรให้ได้คนดีมีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับงาน


เอกสารอ้างอิง<br />

เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศักดิ ์. (2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี.<br />

กันตยา เพิ่มผล. (2547). การพัฒนาประสิทธิภาพในการท างาน. กรุงเทพมหานคร ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน<br />

ดุสิต .อมมิวนิเคชั่น.<br />

ครรชิต ชินวงศ์สุวรรณ .(2553.)ขวัญก าลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการต ารวจชั ้นประทวนในกองก ากับการ อารักขา 1<br />

กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน กองบัญชาการต ารวจนครบาล รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.<br />

จิรภา ทองศิริ.ก าลังขวัญในการปฏิบัติของข้าราชการฝ่ ายทะเบียนและบัตร:ศึกษาเฉพาะกรณี ส านักทะเบียนอ าเภอใน<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.ภาคนิพนธ์ ศศ.ม.(พัฒนาสังคม).กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.2542.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!