07.04.2015 Views

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การึกษาวิจัด้านกุ้ง<br />

มุ่งเน้นการนาเทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับการวิจัยและพัฒนาในเรื่องการ<br />

เจริญเติบโตและระบบสืบพันธุ์กุ้ง การเกิดโรค ระบบภูมิคุ้มกันกุ้ง และวิธีตรวจ<br />

วินิจฉัยโรคกุ้ง เพื่อนาไปสู่การแก้ไขปญหาของเกษตรกรและผู้ประกอบการ<br />

ของไทยให้สามารถผลิตกุ้งที่มีคุณภาพดีส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิต<br />

กุ้งของประเทศ<br />

การเกิดรค ระบบูมิคุ้มกันและพันาวิธีการตรวจวินิจฉัยรค<br />

ศึกษากลไกการก่อโรคของไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง โดยศึกษาโปรตีน VP15<br />

ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกันเป็นอนุภาคไวรัส ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับโปรตีน PmFKBP46<br />

ของกุ้งในนิวเคลียสโดยทางานร่วมกันในการจับดีเอ็นเอ แสดงว่า PmFKBP46 อาจ<br />

เกี่ยวข้องกับกระบวนการ genome packaging ร่วมกับ VP15 ในการประกอบกัน<br />

เป็นอนุภาคไวรัส<br />

ศึกษาโปรตีน PmRab7 ในการป้องกันกุ้งจากการติดเชื้อไวรัส<br />

ตัวแดงดวงขาว และเมื่อฉีดโปรตีน PmRab7 เข้าในตัวกุ้งที่ถูก challenged<br />

ด้วยเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว พบว่ากุ้งมีอัตราการรอดเพิ่มขึ้น จึงเป็นทางเลือก<br />

ที่ในอนาคตสามารถนาไปพัฒนาเป็นอาหารเสริมป้องกันการติดเชื้อไวรัสตัวแดง<br />

ดวงขาวสาหรับอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งได้<br />

ศึกษาการใช้อาร์เอ็นเอสายคู่เพื่อยับยั้งการแพร่ของไวรัสกุ้ง โดยได้สร้าง<br />

อาร์เอ็นเอสายคู่ที่มีความจาเพาะต่อยีนส่วน RNA dependent RNA polymerase (RdRp)<br />

ของไวรัสหัวเหลืองและประเมินประสิทธิภาพในการยับยั้งไวรัสและความเป็นพิษต่อเซลล์พบว่า<br />

ระดับการแสดงออกและจานวนไวรัสลดลง ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเป็นอาหาร<br />

ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไวรัสในกุ้งต่อไป<br />

พัฒนาวิธีการวินิจฉัยเชื้อไวรัสหัวเหลืองโดยใช้ปฏิกิริยาแลมป์ร่วมกับการเปลี่ยนสี<br />

ของอนุภาคทองคานาโน (LAMP-nanogold) เป็นเทคนิคที่อาศัยหลักการของการเปลี่ยนแปลง<br />

ความเสถียรของอนุภาคทองคานาโน ซึ่งเทคนิคนี้สามารถทดสอบได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว<br />

ไม่จาเป็นต้องอาศัยเครื่องมือวิเคราะห์ที่มีราคาแพงหรือใช้บุคคลที่มีความชานาญ เป็นเทคนิค<br />

ที่มีความไวเทียบเท่าการทดสอบด้วยเทคนิค nested RT-PCR และยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้<br />

วินิจฉัยเชื้อก่อโรคชนิดอื่น ได้<br />

ปี <strong>2555</strong> อุตสาหกรรมกุ้งไทยไม่สดใสนักเนื่องจากเกิดวิกฤตปญหาที่สาคัญ คือปญหาโรคระบาด<br />

ที่เกิดขึ้นซ้าเติมการสูญเสียโอกาสในตลาดส่งออกของไทย โดยเริ่มระบาดอย่างหนักตั้งแต่ต้นปี<br />

กระทั่งทาให้ผลผลิตกุ้งโดยรวมปี <strong>2555</strong> ลดลงประมาณร้อยละ 10-20 เนื่องมาจากโรคระบาด<br />

3 ชนิด คือ 1) โรคไวรัสตัวแดงดวงขาวและโรคไวรัสหัวเหลือง ซึ่งระบาดมากทางภาคกลางและ<br />

ภาคตะวันออกตั้งแต่ต้นปี รวมทั้งภาคใต้ช่วงปลายปี 2) โรคขี้ขาว ซึ่งพบกระจายในหลายพื้นที่<br />

แต่การระบาดยังไม่รุนแรง และ 3) โรคกุ้งตายในลักษณะเซลล์ตับตายเฉียบพลันคล้ายกับโรคตายด่วน<br />

(อีเอ็มเอส) ทาให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมกุ้งไทยต้องร่วมมือกันและเร่งปรับตัว<br />

โดยในส่วนของภาครัฐควรหาแนวทางการรักษาโรคระบาดในกุ้ง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อ<br />

อุตสาหกรรมกุ้งโดยรวมของไทย<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!