07.04.2015 Views

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การพัฒนาวิธีการตรวจนับเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อมาลาเรียในหนูโดยการย้อม<br />

เซลล์เม็ดเลือดแดงด้วยสารเรืองแสง SYBR Green I ซึ่งมีความจาเพาะกับดีเอ็นเอสายคู่ทาให้<br />

สามารถจาแนกเซลล์เม็ดเลือดแดงปกติที่ไม่มีนิวเคลียสออกจากเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีการติดเชื้อ<br />

มาลาเรียได้ แล้วทาการตรวจนับเม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อมาลาเรียด้วยเทคนิคโฟลไซโทเมทรีแบบ<br />

สองมิติ ซึ่งให้ผลการทดสอบเทียบเท่ากับการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ มีความรวดเร็ว ถูกต้อง<br />

และเชื่อถือได้แม้มีปริมาณเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อมาลาเรียเพียง 0.02<br />

รคไข้เลือดออก<br />

ศึกษาบทบาทของโปรตีน nonstructural protein 5 (NS5) ของเชื้อไวรัสเด็งกี่ในการ<br />

กระตุ้นการสร้างไซโตไคน์และเคโมไคน์ซึ่งเป็นสารน้าในระบบภูมิคุ้มกันที่ถูกสร้างขึ้นในปริมาณ<br />

มากของผู้ปวยที่ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ โดยพบว่า NS5 มีปฏิสัมพันธ์กับโปรตีน death-domainassociate<br />

protein (Daxx) ของเซลล์เจ้าบ้าน และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระตุ้นการสร้างเคโมไคน์<br />

ที่เรียกว่า RANTES (CCL5) ทั้งนี้การสร้าง RANTES อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดพยาธิสภาพ<br />

ของโรคไข้เลือดออกเด็งกี่<br />

การศึกษาคุณสมบัติของแอนติบอดี2H12 ที่จดจาไวรัสเด็งกี่ได้ทั้ง4 สายพันธุ์ ผลการ<br />

ศึกษาโครงสร้างของแอนติบอดีขณะจับกับโปรตีนของไวรัสเด็งกี่ด้วยวิธีx-ray crystallography พบ<br />

ว่าแอนติบอดี 2H12 จับกับโปรตีนไวรัสเด็งกี่ส่วนเปลือกหุ้มบริเวณโดเมนที่ 3 (ED3) ในตาแหน่ง<br />

ที่เข้าถึงได้ยาก บ่งชี้ว่าการที่แอนติบอดีจะจับได้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทางโครงสร้าง<br />

บนผิวของไวรัส แอนติบอดี 2H12 มีความสามารถในการทาลายไวรัสไม่เท่ากันคือไม่สามารถ<br />

ทาลายไวรัสเด็งกี่สายพันธุ์ที่ 2 และไม่เหนี่ยวนาให้เกิดการเพิ่มจานวนเซลล์ติดเชื้อในหลอด<br />

ทดลอง องค์ความรู้ที่ได้ทาให้เกิดความเข้าใจระบบภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเด็งกี่และเป็นประโยชน์ใน<br />

การพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออก<br />

ไข้หวัดให่ ไข้หวัดนก<br />

ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดบีในการควบคุมการติดเชื้อ<br />

ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอในสัตว์ปีก โดยพบว่านิวคลีโอโปรตีนของไวรัสชนิดบี (BNP) มีบทบาทสาคัญ<br />

ต่อการยับยั้งการทางานของโพลิเมอเรสของไวรัสชนิดเออย่างมีนัยสาคัญ และพบว่าคุณสมบัติ<br />

การยับยั้งดังกล่าวจะลดลงเมื่อมีนิวคลีโอโปรตีนของไวรัสชนิดเอสูงขึ้น บ่งชี้ได้ว่านิวคลีโอโปรตีน<br />

ของไวรัสทั้งสองชนิดอาจจะมีปฏิสัมพันธ์กันหลังจากไวรัสทั้งสองชนิดติดเชื้อเข้าสู่เซลล์เจ้าบ้าน<br />

และน่าจะเกิดขึ้นภายหลังที่โปรตีนกลุ่มโพลิเมอเรสเดินทางเข้าสู่นิวเคลียสของโฮสต์และเริ่ม<br />

กระบวนการทรานสคริปชั่นของ viral gene<br />

ศึกษากลไกการก่อโรคจากเชื้อไวรัสไข้หวัดนกที่ทาให้เกิดพยาธิสภาพรุนแรง ซึ่งพบ<br />

ว่าโปรตีนฮีมแอกกลูตินินเป็นตัวยับยั้งการต้านทานระบบภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กาเนิดของร่างกาย<br />

โดยได้ทาการวิเคราะห์ตาแหน่งการเติมน้าตาลบนโครงสร้างของโปรตีนฮีมแอกกลูตินินบนไวรัส<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

17

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!