07.04.2015 Views

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่<br />

การศกาวิจัยเชิงนยบายเทคนลยีชีวาพ<br />

ไบอเทค ดาเนินการศกานยบายเพื่อเปนข้อมูลประกอบการตัดสินใจ<br />

การวางแผนขององค์กรและประเทศทังในเชิงรุกเพื่อก้าวให้ทันกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางเทคนลยี มาตรการด้านเศรกิจและสังคม และเชิงรับเพื่อเตรียม<br />

ความพร้อมรับมือต่อประเด็นที่มีความสาคัสูง ทังในการลงทุนการวิจัยและพันา<br />

ครงสร้างพืนานขององค์กรและประเทศ และมาตรการสนับสนุนของรั<br />

้อเสนอเชิงุทธาสตร์การวิจัและพันาเทคโนโลีเอนไม์<br />

องประเทไท<br />

ในการดาเนินงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านเอนไซม์ให้ครบทั้งห่วงโซ่คุณค่าต้อง<br />

มีกลไกดึงดูดให้นักวิจัยได้ทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย เพื ่อพัฒนาตั ้งแต่งานวิจัยต้นน้ า กลางน้ า<br />

และส่งมอบองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรม ดังนั้นการรวมกลุ่มเครือข่าย<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี นักวิจัยด้านเอนไซม์ และภาคเอกชน เป็นสิ่งสาคัญเพื่อให้สามารถ<br />

ใช้เทคโนโลยีร่วมกับวิธีการดั้งเดิม และตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้<br />

ภาคอุตสาหกรรมมีความต้องการโครงสร้างพื้นฐานระดับขยายขนาดและเครื่องมืออุปกรณ์<br />

จึงควรสนับสนุนให้เกิดธุรกิจรับจ้างผลิตเอนไซม์ โปรตีน และหัวเชื ้อ หรือสนับสนุนให้นักวิจัย<br />

spin-o เพื่อรองรับความต้องการของทั้งภาควิจัยและภาคเอกชน ส่วนโครงสร้างพื้นฐานที่มี<br />

อยู่แล้วต้องมีกลไกบริหารจัดการให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานเพื่อใช้เครื่องมือ<br />

อุปกรณ์ได้เต็มประสิทธิภาพ โดยดาเนินการควบคู ่ไปกับการจัดทามาตรฐานของผลิตภัณฑ์ที<br />

เกี ่ยวข้องกับอาหารและยา ข้อเสนอแนะทิศทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ได้แก่<br />

การเตรียมพร้อมเทคโนโลยีฐานเพื่ออนาคตและการจัดการเชื่อมโยงเครือข่าย การเพิ่มจานวน<br />

โครงสร้างพื้นฐานในระดับขยายขนาด โดยควรให้ความสาคัญในอุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ<br />

อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และตัวเร่งชีวภาพเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมที่ใช้สารเคมี<br />

้อเสนอทิทางการพันาอุตสาหกรรมกุ้งองประเทไท<br />

สวทช. โดย ไบโอเทคได้ศึกษาวิเคราะห์ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้งของ<br />

ประเทศไทย พบว่าอุตสาหกรรมกุ้งไทยเปลี่ยนไปเลี้ยงกุ้งขาวตั้งแต่ปี 2546 ปจจุบันผลผลิต<br />

กุ้งขาวต่อกุ้งกุลาดาอยู่ที่ระดับร้อยละ 99 : 1 จากการวิเคราะห์โอกาสและศักยภาพในการ<br />

แข่งขันอุตสาหกรรมกุ้งกุลาดาของประเทศไทย อย่างไรก็ตามประเทศไทยควรจะต้องเพิ่ม<br />

ผลผลิตกุ้งกุลาดาเป็นร้อยละ 10 ของปริมาณผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยง เนื่องจากการเลี้ยง<br />

กุ้งกุลาดายังเป็นจุดแข็งสาหรับประเทศไทย ดังนั้น จึงจาเป็นต้องเร่งรัดพัฒนาเพื่อเพิ่มความ<br />

แข็งแกร่งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของความยั่งยืนของ<br />

อุตสาหกรรมกุ้งไทย โดยเฉพาะในด้านพัฒนาพ่อแม่พันธุ์ที่มีคุณภาพ (โตเร็ว ทนโรค) ทั้งกุ้ง<br />

กุลาดา กุ้งขาว และ/หรือกุ้งก้ามกราม การพัฒนาระบบวินิจฉัยโรค การบริหารจัดการฟาร์มที่ดี<br />

เพื ่อเ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการระบาดของโรคที ่รวดเร็ว การพัฒนาอาหารที ่มีประสิทธิภาพสูง<br />

และพัฒนาระบบการเลี้ยงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong> 5

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!