07.04.2015 Views

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่<br />

การพันาและส่งเสริมงานความปลอดัย<br />

ทางชีวาพของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม<br />

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety) เป็นเรื่องที่มีความสาคัญทั้งในส่วนของการ<br />

วิจัยและพัฒนา รวมทั้งมีผลต่อธุรกิจเทคโนโลยีชีวภาพ อีกทั้งได้รับความสนใจมากขึ้นจาก<br />

สาธารณะ ดังนั้นไบโอเทคเล็งเห็นความจาเป็นที่ประเทศไทยจะต้องเตรียมความพร้อมให้กับ<br />

หน่วยงานวิจัยต่าง ทั้งภาครัฐ เอกชน เพื่อให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในเวทีสากล โดยได้<br />

มีการศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย การจัดทาแนวทางปฏิบัติต่าง การผลักดันให้เกิดการพัฒนา<br />

ระบบการบริหารจัดการ การสร้างความสามารถในการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ<br />

สานภาพและประเด็นท้าทาต่อประเทไท พชดัดแปลง<br />

พันธุกรรมและความปลอดภัทางชีวภาพ<br />

สถานภาพปจจุบันมีการปลูกพืชดัดแปลงพันธุกรรมใน 29 ประเทศทั่วโลก รวมทั้ง<br />

ในกลุ่มประเทศที่มีนโยบายเข้มงวดอย่างสหภาพยุโรป แม้ว่าพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่ปลูก<br />

เพื ่อการค้าส่วนใหญ่พัฒนาขึ ้นโดยบริษัทข้ามชาติ แต่หลายประเทศได้มีนโยบายส่งเสริมการวิจัย<br />

และพัฒนาพืชของตนเอง และจดสิทธิบัตรเพื่อเป็นเจ้าของพืชหรือยีนที ่ใช้ในการพัฒนา โดย<br />

ประเทศที่มีการยอมรับการปลูกพืชดัดแปลงพันธุกรรมตั้งแต่ระยะแรก เช่น จีน บราซิล เริ่มอนุญาต<br />

ให้มีการปลูกพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่พัฒนาจากหน่วยงานภาครัฐภายในประเทศของตนเอง<br />

แล้ว นอกจากนี้ประเทศในภูมิภาคอาเซียน ทั้งฟิลิปปินส์ อินโดนีเชีย มาเลเซีย เวียดนาม<br />

สิงคโปร์ และพม่า รัฐบาลให้การสนับสนุนการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม และมีการทดสอบ<br />

ภาคสนามในพืชหลายชนิดอยู ่ในเวลานี ้ ในขณะที ่ประเทศไทยยังไม่มีการทดสอบภาคสนาม<br />

แม้ว่าคณะรัฐมนตรีจะอนุญาตให้ขยายการทดสอบไปสู่แปลงทดลองของราชการได้ แต่ด้วย<br />

มาตรการที ่เข้มงวดซึ ่งกาหนดให้ต้องนาเสนอ ครม. พิจารณาอนุมัติการทดลองในแต่ละพื ้นที<br />

เป็นราย ไป ด้วยความก้าวหน้าของการวิจัยพัฒนาผนวกกับแนวโน้มการยอมรับเทคโนโลยี<br />

ของประเทศเพื่อนบ้าน จึงส่งผลให้มีความเป็นไปได้อย่างยิ่งที่ประเทศไทยจะถูกล้อมรอบด้วย<br />

ประเทศที่ยอมรับพืชดัดแปลงพันธุกรรม การไหลบ่าของพืชดัดแปลงพันธุกรรม ทั้งตัวพืชเอง<br />

และสินค้าที่เป็นผลผลิตจากการนาเข้าอย่างถูกกฎหมายและการลักลอบนาเข้า จึงเป็น<br />

ประเด็นท้าทายที่ประเทศไทยควรมีนโยบายในการเร่งสร้างความเข้มแข็งด้านพันธุวิศวกรรม<br />

และความปลอดภัยทางชีวภาพให้มีความพร้อมทั้งในการกากับดูแลและการวิจัยพัฒนา ควบคู่<br />

กับการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่สังคมไทยเพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกที่เหมาะสม<br />

บนฐานของความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong> 47

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!