07.04.2015 Views

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ด้านนวัตกรรมอาหาร<br />

ไบโอเทคมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านการประเมินความ<br />

เสี่ยงและความปลอดภัยในอาหาร จุลินทรีย์ต้นเชื้อบริสุทธิ์ และเคมีอาหาร<br />

ความปลอดัยของอาหาร<br />

คัดเลือกเชื้อ Pediococcus pentosaceus BCC3772 ซึ่งมี<br />

ความสามารถในการสร้างแบคเทอริโอซินที่ยับยั้งเชื้อ Listeria monocytogenes<br />

สูงสุด โดยเมื่อเติมเชื้อ P. pentosaceus BCC3772 ในแหนม จะสามารถลดปริมาณ<br />

ของเชื้อ L. monocytogenes ได้ 3.2 log ภายในเวลา 18-24 ชั่วโมง เมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับจานวนเชื้อเริ่มต้น แสดงให้เห็นว่าเชื้อ P. pentosaceus BCC3772<br />

มีศักยภาพในการเป็นต้นเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถนาไปใช้ควบคุมปริมาณของเชื้อ<br />

L. monocytogenes และช่วยคงคุณภาพของแหนมได้<br />

Listeria monocytogenes เป็นแบคทีเรียในสกุล Listeria สามารถทนทาน<br />

ต่อสภาวะต่าง ในสิ่งแวดล้อมได้ดี เช่น ในสภาวะอาหารที่เป็นกรด<br />

ในอาหารที่มี water activity ต่า เป็นเชื้อที่ทาให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ<br />

ติดต่อผ่านทางอาหาร ทาให้เกิดโรคลิสเทอริโอสิส โรคเยื่อหุ้มสมอง<br />

อักเสบ การติดเชื้อในกระแสเลือด และการแท้ง การระบาดของเชื้อนี้<br />

เกิดขึ้นได้หลายทาง เช่น จากแม่สู่ลูก จากสัตว์สู่คน และจากโรงพยาบาล<br />

การศึกษาคุณลักษณะแบคเทอริโอซินจาก Lactococcus garvieae BCC43578<br />

ที่แยกได้จากผลิตภัณฑ์แหนม ด้วยเทคนิค MALDI-TOF MS เพื่อวัดมวลและวิเคราะห์ลาดับกรด<br />

อะมิโนของเปปไทด์ พบว่าสเปคตรัมที่ได้ประกอบด้วยเปปไทด์เพียงชนิดเดียวที่มีมวลขนาด 5.3<br />

กิโลดาลตัน และลาดับกรดอะมิโนของเปปไทด์ที่ผลิตจากเชื้อ L. garvieae BCC43578 มีความ<br />

แตกต่างจากลาดับกรดอะมิโนของแบคเทอริโอซินอื่น ที่เคยมีการรายงานมาก่อน จึงตั้งชื่อ<br />

แบคเทอริโอซินใหม่ว่า garvieacin Q ซึ่งเป็นแบคเทอริโอซิน class II ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญ<br />

ของเชื้อ L. monocytogenes ATCC19115 และ L. garvieae สายพันธุ์อื่น แต่ไม่ยับยั้งเชื้อ<br />

E. coli และ Salmonella โดยสามารถใช้แบคเทอริโอซินเสริมสร้างความปลอดภัยด้านจุลินทรีย์<br />

ในผลิตภัณฑ์อาหารได้<br />

การศึกษาเปรียบเทียบเทคนิคการจาแนกสายพันธุ์เชื้อ Campylobacter jejuni<br />

ที่อาจพบการปนเป้อนได้ในไก่เนื้อ โดยเทคนิค repetitive sequence based PCR (rep-PCR)<br />

และเทคนิค Multilocus Sequence Typing (MLST) ผลจากการเปรียบเทียบพบว่าเทคนิคทั้งสอง<br />

มีประสิทธิภาพในการแยกสายพันธุ์ได้เท่าเทียมกัน แต่เทคนิค rep-PCR มีข้อดีคือรวดเร็วและ<br />

ราคาถูก รวมทั้งสามารถใช้ศึกษาเชื้อจานวนมากได้ จึงเป็นทางเลือกที่จะนาไปใช้ในการควบคุม<br />

และป้องกันการระบาดของเชื้อ C. jejuni ต่อไป<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

5

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!