07.04.2015 Views

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2555 - National Center for Genetic Engineering and ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ให้ความสำคัญ<br />

ต่อบุคลากร เน้นการ<br />

พัฒนาเสริมสร้างศักยภาพ<br />

ของบุคลากร ทั้งด้านการวิจัยและ<br />

การบริหารงานวิจัย เสริมสร้าง<br />

นักวิจัยอาชีพ สร้างเสริมความ<br />

เข้มแข็งของกลุ่มงานวิจัย<br />

ทำงานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร<br />

เน้นการใช้ทรัพยากรร่วมเพื่อ<br />

ให้เกิดประโยชน์ร่วมอย่างมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

แนวทางการดำเนินงาน<br />

เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ<br />

เพื่อส่งมอบการใช้ประโยชน์<br />

และเพื่อการสร้าง<br />

ผลกระทบสูง<br />

มีระบบการติดตามประเมิน<br />

คุณภาพของการวิจัยและพัฒนา<br />

ทั้งในระดับโครงการ ระดับหน่วยปฏิบัติการ<br />

และระดับองค์กร<br />

ยึดมั่นในค่านิยมหลักของ สวทช.<br />

• Nation First คำนึงถึงประโยชน์<br />

ของชาติเป็นหลัก<br />

• S&T Excellence ใฝ่รู้ ความคิด<br />

ริเริ่ม สร้างสรรค์ มาตรฐานสูง<br />

• Teamwork ร่วมมือร่วมใจ มุ่งสู่<br />

เป้าหมายเดียวกัน<br />

• Deliverability มุ่งเน้นผลลัพธ์ มุ่งมั่น<br />

กระตือรือร้น มีความคล่องตัว<br />

• Accountability ยึดมั่นจริยธรรม<br />

มีวินัย เชื่อถือได้ โปร่งใส ยืนหยัดใน<br />

สิ่งที่ถูกต้อง<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค)<br />

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)


รายงานประจำปี <strong>2555</strong><br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค)<br />

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)<br />

ISBN : 978-616-12-0286-6<br />

เอกสารเผยแพร่<br />

พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน 2556<br />

จำนวนพิมพ์ 1,000 เล่ม<br />

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2556 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537<br />

โดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ<br />

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

ไม่อนุญาตให้คัดลอก ทำซ้ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้<br />

นอกจากได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น<br />

Copyright © 2012 by:<br />

<strong>National</strong> <strong>Center</strong> <strong>for</strong> <strong>Genetic</strong> <strong>Engineering</strong> <strong>and</strong> Biotechnology<br />

<strong>National</strong> Science <strong>and</strong> Technology Development Agency<br />

Ministry of Science <strong>and</strong> Technology<br />

113 Thail<strong>and</strong> Science Park, Phahonyothin Road, Khlong Nueng,<br />

Khlong Luang, Pathum Thani 12120<br />

Tel. 66 2564 6700 Fax. 66 2564 6701-5<br />

จัดทำโดย<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค)<br />

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)<br />

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน<br />

ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120<br />

โทรศัพท์ 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701-5<br />

http://www.biotec.or.th


4<br />

สารจากประธาน<br />

กรรมการ<br />

5<br />

สารจากผู้อานวยการ<br />

6<br />

บทสรุปสาหรับผู้บริหาร<br />

8<br />

ภาพรวมและแนวทาง<br />

การดาเนินงาน<br />

ของไบโอเทค<br />

สารบั<br />

10<br />

มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ<br />

30<br />

มุ่งมั่นนางานวิจัย<br />

ไปใช้ประโยชน์<br />

38<br />

มุ่งมั่นสร้างผลกระทบต่อ<br />

เศรษฐกิจและสังคม<br />

44<br />

มุ่งมั่นร่วมผลักดันนโยบาย<br />

50<br />

สิทธิบัตรและ<br />

อนุสิทธิบัตร<br />

53<br />

บทความตีพิมพ์<br />

ในวารสารวิชาการ<br />

ระดับนานาชาติ<br />

62<br />

รางวัลแห่งความสาเร็จ<br />

64<br />

คณะกรรมการ


สารจากประธานกรรมการ<br />

เป็นเวลาเกือบ 30 ปี นับตั้งแต่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติการจัดตั้งศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ<br />

แห่งชาติ (ศช. หรือไบโอเทค) ภายใต้สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและพลังงานในปี พ.ศ. 2526 ตลอดระยะเวลา<br />

ที่ผ่านมา ไบโอเทคได้ดาเนินการและสนับสนุนการสร้างความสามารถด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศ โดยการร่วมมือ<br />

กับหน่วยงานพันธมิตรต่าง ที่สาคัญ เช่น สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย หน่วยงานทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อ<br />

ส่งเสริมและผลักดันการวิจัยพัฒนาที่เป็นโจทย์วิจัยสาคัญของสังคมชุมชน และ/หรืออุตสาหกรรมของประเทศ รวมถึง<br />

การนาองค์ความรู้และผลงานวิจัยที่พัฒนาได้ไปประยุกต์พัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์เป็นรูปธรรม ซึ่งนาไปสู่การใช้ประโยชน์<br />

อย่างกว้างขวางทั้งในเชิงการค้า และการพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของสังคมและชุมชนชนบท และภารกิจ<br />

อีกประการหนึ่งซึ่งเป็นพื้นฐานของสังคมที่มีความสาคัญสูงและมีความหมายที่ไบโอเทคดาเนินการมาต่อเนื่อง ได้แก่<br />

การส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรียนชนบท เพื่อการพัฒนาและส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์<br />

และเทคโนโลยีให้แก่เด็กและเยาวชน<br />

ไบโอเทคเป็นหน่วยงานวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศที่มุ่งสร้างผลงานทั้งในเชิงการสร้างองค์ความรู้ที่<br />

เป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังเห็นได้จากผลงานวิชาการของไบโอเทคที่ได้รับการตีพิมพ์<br />

ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลมาอย่างต่อเนื่องทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ การที่<br />

บุคลากรของไบโอเทคได้รับรางวัลเกียรติยศทางวิชาการทั้งในระดับนานาชาติและระดับชาติอย่างสม่าเสมอทุกปี นอกจากนี้ ไบโอเทค<br />

ยังให้ความสาคัญในการผลักดันให้เกิดการส่งมอบผลงานสู่ผู้ใช้ประโยชน์เพื่อสร้างผลกระทบและมีคุณค่าต่อเศรษฐกิจ สังคมและ<br />

ชุมชนให้กับประเทศ ซึ่งในปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ไบโอเทคได้แสดงผลงานที่เป็นรูปธรรมและเป็นที่ประจักษ์แก่ประชาคมวิจัยและ<br />

สังคมทั่วไปได้เป็นอย่างดีและน่าชื่นชม<br />

ในนามของคณะกรรมการบริหารไบโอเทค ผมขอแสดงความยินดีกับไบโอเทคที่ดาเนินงานได้ผลสาเร็จตามเป้าหมาย<br />

และความมุ่งหมาย ผมขอสนับสนุนและส่งเสริมให้ไบโอเทคเป็นองค์กรหลักด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร<br />

ในประเทศเพื่อนาผลงานเทคโนโลยีชีวภาพไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่า และเป็นพลังขับเคลื่อนให้ประเทศก้าวหน้า<br />

ได้อย่างยั่งยืนต่อไป<br />

นำยศักรินทร์ ภูมิรัตน<br />

ประธานกรรมการบริหาร<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ<br />

4 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


สารจากผู้อานวยการ<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)<br />

มีเป้าหมายการดาเนินงานวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความสามารถด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศให้เกิดผลในเชิงความเป็นเลิศทาง<br />

องค์ความรู้ (Excellence) และนาไปสู่การใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยทั้งในเชิงพาณิชย์และการพัฒนาสังคมชุมชน (Relevance) เพื่อให้<br />

เกิดผลกระทบสูง (Impact) แก่ประเทศ<br />

ไบโอเทคมุ่งมั่นในการวิจัยและพัฒนา สั่งสมความรู้ความเชี่ยวชาญจนเป็นที่ยอมรับของพันธมิตรวิจัยระดับชาติและนานาชาติ<br />

ในปีงบประมาณ <strong>2555</strong> มีการสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อน าไปสู่การใช้ประโยชน์ เช่น การศึกษากลไกการเหนี่ยวน าการเจริญพันธุ์ในรังไข่<br />

กุ้งกุลาดาที่เกิดจากการตัดตาแม่พันธุ์กุ้งด้วยเทคนิคไมโครอะเรย์ เพื่อน าไปสู่การค้นหาวิธีกระตุ้นการเจริญพันธุ์ในกุ้งกุลาด าเพศเมียโดย<br />

ไม่ต้องตัดตา การค้นพบแบคเทอริโอซินที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อก่อโรค าหรับนาไปใช้เสริมสร้างความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์<br />

ส<br />

อาหาร ประสบผลสาเร็จในการพัฒนาเชื้อมาลาเรียเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมเพื่อใช้เป็นแบบจ าลองสาหรับการตรวจคัดกรองสารต้าน<br />

มาลาเรียชนิดแอนติโฟเลต รวมทั้งสามารถผลิตเอนไซม์ที่คัดแยกยีนจากแบคทีเรียในล าไส้ปลวกด้วยเทคนิคเมตาจีโนมิกส์ที่ทนต่อสภาวะ<br />

ความเป็นด่างสูงได้ดี จึงได้รับความสนใจจากภาคเอกชนส าหรับนาไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการฟอกเยื่อกระดาษ<br />

จากเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยช่วงต้นปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ไบโอเทค สวทช. อยู่ในพื้นที่ที่ประสบอุทกภัย<br />

ทาให้ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานต่าง ไม่สามารถใช้งานหรือรองรับกิจกรรมต่าง ได้ตามปกติ ไบโอเทคได้ให้ความส าคัญอย่างสูงสุด<br />

ในการดูแลป้องกันรักษาคลังเก็บรักษาสายพันธุ์จุลินทรีย์และวัสดุชีวภาพจ านวนกว่าห้าหมื่นตัวอย่าง ซึ่งเป็นทรัพยากรชีวภาพที่ส าคัญ<br />

ของประเทศที่ได้เก็บสะสมรวบรวมไว้มากกว่า 20 ปี และในที่สุดด้วยการบริหารจัดการและความร่วมมือร่วมแรงของพนักงานไบโอเทค<br />

ทาให้ไม่เกิดการสูญเสียคลังทรัพยากรชีวภาพดังกล่าวแม้แต่น้อย นับเป็นความภาคภูมิใจของไบโอเทคที่ได้ท าหน้าที่สาคัญในการรักษา<br />

ทรัพยากรอันมีคุณค่ามหาศาลและหาทดแทนอีกไม่ได้ของประเทศไว้ได้<br />

นำงสำวกัญญวิมว์ กีรติกร<br />

ผู้อานวยการ<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

5


บทสรุปสาหรับผู้บริหาร<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภำพแห่งชำติ ไบโอเทค มีเปำหมำยนกำร<br />

วิจัยและพัฒนำเพื่อสร้ำงควำมสำมำรด้ำนเทคโนโลยีชีวภำพของประเทศห้เกิดผลทั้งน<br />

เชิงควำมเปนเลิศทำงองค์ควำมรู้ excellence และเปนควำมต้องกำรของผู้ช้ประโยชน์จำก<br />

ผลงำนวิจัยทั้งนเชิงพำณิชย์ และกำรพัฒนำสังคมและชุมชน relevance เพื่อห้เกิดผล<br />

กระทบสูง impact ต่อประเทศและห้ควำมสำคัญกับกำรทำงำนร่วมกับพันธมิตรต่ำง<br />

ทั้งนประเทศและต่ำงประเทศ โดยสรุปนปงบประมำณ มีผลกำรดำเนินงำน ดังนี้<br />

มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ<br />

กำรวิจัยและพัฒนำ ไบโอเทคมีบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติจานวน 216<br />

เรื่อง โดยเป็นบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล Science Citation Index Exp<strong>and</strong>ed จานวน<br />

202 บทความ ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารที่มีค่า impact factor มากกว่า 4 จานวน 29 บทความ ในจานวนนี้มีการ<br />

ตีพิมพ์ในวารสารที่มีค่า impact factor มากกว่า 10 จานวน 1 บทความ ไบโอเทคยื่นจดสิทธิบัตรทั้งในและ<br />

ต่างประเทศ 16 คาขอ ยื่นจดอนุสิทธิบัตร 24 คาขอ และได้รับคู่มืออนุสิทธิบัตร 2 ฉบับ ไบโอเทคมีผลงาน<br />

วิจัยที่สร้างองค์ความรู้และการพัฒนาเทคโนโลยี เช่น การค้นพบข้อมูลคลอโรพลาสต์จีโนมของปาล์มน้ามัน<br />

ที่สมบูรณ์ การคัดเลือกเชื้อ Pediococcus pentosaceus BCC3772 ที่สร้างแบคเทอริโอซินมีความสามารถ<br />

ในการยับยั้งเชื้อ Listeria monocytogenes การศึกษาคุณสมบัติของแอนติบอดี 2H12 ที่จดจาไวรัสเด็งกี่ทั้ง<br />

4 สายพันธุ์ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออก การค้นหาศักยภาพดีเอ็นเอเครื่องหมายที่ใช้<br />

เป็นสากลโดยใช้ตาแหน่ง nuclear ribosomal RNA, internal transcribed spacer (ITS) ซึ่งเหมาะสมที่สุด<br />

ในการระบุและยืนยันกลุ่มเชื้อราส่วนใหญ่ การค้นพบเอนไซม์จากจุลินทรีย์ในลาไส้ปลวกชั้นสูงด้วยเทคนิค<br />

เมตาจีโนมิกส์ ซึ่งมีศักยภาพในการนาไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมฟอกเยื่อกระดาษ<br />

ควำมร่วมมือวิจัยและวิชำกำรระดับนำนำชำติ ไบโอเทคมีการลงนามความร่วมมือทางวิชาการ<br />

กับสถาบันวิจัยและสถาบันการศึกษาในต่างประเทศจานวน 7 หน่วยงาน จัดการประชุมวิชาการร่วมกับ<br />

หน่วยงานต่างประเทศเพื่อส่งเสริมแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลวิจัยระหว่างนักวิจัยไทย กับนักวิจัยต่างชาติ<br />

จานวน 2 เรื่อง สนับสนุนทุนให้แก่บุคลากรวิจัยจากประเทศเพื่อนบ้าน ภายใต้โครงการ HRD Program in<br />

Biotechnology จานวน 11 ทุน และมีนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศได้รับการกอบรมในการ<br />

ทาวิจัยกับไบโอเทคภายใต้โครงการ International Exchange Program จานวน 71 คน นอกจากนี้ไบโอเทค<br />

ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติ ซึ่งทาให้ได้ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางการดาเนิน<br />

งานด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีฐานของไบโอเทค และกลไกการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีจาก<br />

ห้องปฏิบัติการสู่การใช้ประโยชน์<br />

เสริมสร้ำงศักยภำพบุคลำกร เพื่อการพัฒนากาลังคนและการเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร<br />

ด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ได้แก่ การสนับสนุนบุคลากรวิจัยระดับหลัง<br />

ปริญญาเอกจานวน 11 คน ไบโอเทคได้ร่วมพัฒนาศักยภาพ ทักษะในการวิจัยร่วมกับอาจารย์มหาวิทยาลัย<br />

ต่าง โดยมีนักศึกษาใหม่เข้าร่วมโครงการจานวน 38 คน แบ่งเป็นระดับปริญญาเอก 8 คน ปริญญาโท<br />

15 คน และปริญญาตรี 15 คน การจัดกอบรมเชิงปฏิบัติการและประชุมสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีชีวภาพ<br />

ให้แก่นักวิจัย นักวิชาการ จานวน 6 เรื่อง มีผู้เข้าร่วมอบรม 895 คนหรือ 1,623 คน-วัน<br />

6 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


มุ่งมั่นนางานวิจัยไปใช้ประโยชน์<br />

เพื่อพัฒนำธุรกิจชีวภำพไทย ไบโอเทคอนุญาตให้ภาคอุตสาหกรรมได้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทาง<br />

ปญญาจากงานวิจัย เพื่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีชีวภาพไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โดยถ่ายทอด<br />

เทคโนโลยีจานวน 6 โครงการให้กับ 5 บริษัท/หน่วยงาน มีโครงการร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย และให้บริการที่ปรึกษา<br />

อุตสาหกรรมจานวน 42 โครงการ ซึ่งเป็นโครงการใหม่ 23 โครงการ จัดกิจกรรมเปิดห้องปฏิบัติการเพื่อให้<br />

ภาคเอกชน 6 ราย เข้าศึกษากระบวนการทางานของโรงงานต้นแบบผลิตไวรัสเอ็นพีวี<br />

เพื่อพัฒนำชุมชนชนบท ไบโอเทคส่งเสริมการนาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การ<br />

ปรับใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับชุมชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง ผ่านกิจกรรมต่าง ได้แก่<br />

การจัดอบรมเพื่อการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหารสู่มาตรฐานสากล การพัฒนาการเรียนรู้<br />

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรียนชนบทด้วยการจัดกิจกรรมและสนับสนุนกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น<br />

โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย โครงการโรงเรียนท้องถิ่นฐานวิทย์<br />

เพื่อเผยแพร่ควำมรู้สู่สังคม ไบโอเทคส่งเสริมการเรียนรู้ สร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และ<br />

เผยแพร่ความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนา โดยจัดทาข้อมูลและเนื้อหาสาหรับรายการโทรทัศน์ที่สนับสนุนโดย<br />

สวทช. และจัดกิจกรรมการเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการวิจัยของไบโอเทค<br />

มุ่งมั่นสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม<br />

จากการประเมินผลกระทบที่เกิดจากการนาผลงานวิจัยและพัฒนาที่ไบโอเทคมีการถ่ายทอดและ<br />

ขยายผลสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะจานวน 65 โครงการ ได้ก่อให้เกิดผลกระทบใน<br />

ปีงบประมาณ <strong>2555</strong> คิดเป็นมูลค่ารวม 2,561 ล้านบาท โดยเป็นผลกระทบด้านการลงทุน 73 ล้านบาท ผลกระทบ<br />

ทาให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น 1,662 ล้านบาท การลดต้นทุน 732 ล้านบาท และการลดการนาเข้า 94 ล้านบาท<br />

มุ่งมั่นร่วมผลักดันนโยบาย<br />

ไบโอเทคได้ทำกำรศึกษำข้อมูลวิจัยเชิงนโยบำย เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับประกอบการตัดสินใจ การ<br />

วางแผนขององค์กรและประเทศเชิงรุก และเตรียมพร้อมรับมือต่อประเด็นที่มีความสาคัญสูงในการลงทุนวิจัย<br />

และพัฒนา โดยได้จัดทาข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเอนไซม์ของประเทศไทย ศึกษา<br />

ผลกระทบโครงการส่งเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม ข้อเสนอทิศทางการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมกุ้งของประเทศไทย<br />

ส่งเสริมงำนด้ำนควำมปลอดภัยทำงชีวภำพของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ไบโอเทคได้<br />

กระตุ้นในการสร้างความสามารถเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศ โดยศึกษาสถานภาพและประเด็นท้าทายต่อ<br />

ประเทศไทย: พืชดัดแปลงพันธุกรรมและความปลอดภัยทางชีวภาพ แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ<br />

สาหรับการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมในสภาพควบคุมเพื่อใช้ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรมซึ่ง<br />

เป็นฉบับปรับปรุง รวมทั้งการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมและการสร้างความสามารถด้าน<br />

ความปลอดภัยทางชีวภาพของประเทศ<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

7


าพรวมและแนวทาง<br />

การดาเนินงานของไบอเทค<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ได้รับการจัดตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20<br />

กันยายน พ.ศ. 2526 ภายใต้ระบบราชการในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน (ในขณะนั้น) และต่อมา<br />

ในปี พ.ศ. 2534 ไบโอเทคได้รวมเข้าอยู่ภายใต้สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ตามพระราช<br />

บัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 สวทช. เป็นหน่วยงานอิสระสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

ซึ่งมีกลไกการบริหารและกากับดูแลโดยคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) เป็นหน่วยงานพิเศษ<br />

มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระ ที่ไม่ผูกพันไว้กับระเบียบปฏิบัติและข้อบังคับปกติของราชการและรัฐวิสาหกิจ ทาให้มีความคล่องตัวสูง<br />

เป็นแกนหลักในการสนับสนุนและการนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม<br />

รวมทั้งเศรษฐกิจและสังคมประเทศ<br />

นโยบายการดาเนินงานของไบโอเทค ให้ความสาคัญและคานึงถึงความสมดุลของการสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้มีส่วนได้<br />

ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องหลัก ดังนี้ 1) ภาควิชาการ ได้แก่ มหาวิทยาลัย สถานศึกษา สถาบันวิจัย 2) ภาครัฐ ราชการ ได้แก่ องค์กรและ<br />

หน่วยงานต่าง ของรัฐ 3) ภาคเศรษฐกิจ ได้แก่ เอกชนและผู้ประกอบการ และ 4) ภาคสังคมและสาธารณะ ได้แก่ ประชาชน<br />

ทั่วไป เกษตรกร<br />

หน้าที่หลักที่สาคัญของไบโอเทค คือ การดาเนินงานวิจัยและพัฒนาเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีฐานที่สาคัญ และการวิจัย<br />

และพัฒนาที่ตอบสนองต่อการแก้ปญหาและความต้องการของประเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงและส่งเสริมให้มีการนาผลงานวิจัยและ<br />

พัฒนาไปสู่ผู้ใช้ทั้งเพื่อการพาณิชย์และการนาไปพัฒนาเชิงสาธารณประโยชน์ โดยมุ่งหวังให้เกิดการใช้ความรู้และประโยชน์ของ<br />

เทคโนโลยีชีวภาพในการพัฒนาประเทศ ด้านสังคมและเศรษฐกิจ ได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งการสร้างความพร้อมและความสามารถ<br />

ของประเทศ โดยการสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการวิจัยเฉพาะสาขา การเตรียมความพร้อม<br />

ด้านบุคลากรวิจัย<br />

%<br />

%<br />

3 %<br />

4 %<br />

ผลการใช้จ่าย ปงบประมาณ <strong>2555</strong><br />

บริหารจัดการภายใน<br />

โครงสร้างพื้นฐาน<br />

ถ่ายทอดเทคโนโลยี<br />

พัฒนากาลังคน<br />

<br />

ล้านบาท<br />

%<br />

%<br />

%<br />

%<br />

%<br />

%<br />

%<br />

วิจัยและพัฒนำ<br />

เกษตรและอาหาร<br />

สุขภาพและการแพทย์<br />

พลังงานและสิ่งแวดล้อม<br />

ทรัพยากร ชุมชนชนบท<br />

และผู้ด้อยโอกาส<br />

เทคโนโลยีฐาน<br />

บริหารจัดการวิจัย<br />

รายได้จากหน่วยงานภายนอก ปงบประมาณ <strong>2555</strong><br />

% ค่าเช่า/บริการสถานที่<br />

3 % กอบรม/สัมมนา<br />

%<br />

%<br />

บริการเทคนิค/วิชาการ<br />

ลิขสิทธิ์/สิทธิประโยชน์<br />

99<br />

ล้านบาท<br />

47% เงินอุดหนุน<br />

% รับจ้าง/ร่วมวิจัย<br />

8 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


บุคลากร 570 คน (ณ 30 กันยายน <strong>2555</strong>)<br />

ระดับการศึกษา<br />

กลุ่มตาแหน่ง กลุ่มตาแหน่ง<br />

<br />

<br />

<br />

ต่ากว่าปริญญาตรี<br />

ปริญญาตรี<br />

ปริญญาโท<br />

ปริญญาเอก<br />

คน<br />

คน<br />

คน<br />

คน<br />

<br />

ผู้บริหารระดับสูง<br />

บริหารจัดการ คน<br />

9<br />

วิจัย/วิชาการ คน<br />

สนับสนุน คน<br />

โครงสร้างพื้นฐานในการสร้างขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา<br />

หน่วยปิบัติการวิจัยเฉพาะทาง<br />

อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย<br />

หน่วยปิบัติการวิจัย<br />

ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย<br />

หรือหน่วยงานของรั<br />

ศูนย์วิจัยเพื่อความเปนเลิศ<br />

ของมหาวิทยาลัยที่ไบอเทค<br />

มีความร่วมมือหรือสนับสนุน<br />

สถาบันจีโนม<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพอาหาร<br />

หน่วยวิจัยชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์<br />

หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมชีวเคมีและโรงงานต้นแบบ<br />

หน่วยปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์<br />

หน่วยปฏิบัติการเทคโนโลยีแปรรูปมันสาปะหลังและแป้ง<br />

หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์จากยีนข้าว<br />

หน่วยปฏิบัติการวิจัยร่วมทางธรรมชาติวิทยาปาพรุและปาดิบชื้นฮาลา-บาลา<br />

ศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านการจัดการและใช้ประโยชน์<br />

จากของเสียอุตสาหกรรมการเกษตร<br />

หน่วยวิจัยเพื่อความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง<br />

ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล<br />

ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านอณูชีววิทยาและจีโนมกุ้ง<br />

ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์<br />

โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อนางานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์<br />

ศูนย์วิจัยและพัฒนำสำยพันธุ์กุ้ง<br />

ณ อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี<br />

หน่วยธุรกิจโครงกำรเทคโนโลยีชีวภำพกุ้ง<br />

ณ อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี<br />

โรงงำนต้นแบบเพื่อกำรผลิตไวรัสเอนพีวีเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช<br />

ณ อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี<br />

โครงกำรวิจัยและพัฒนำธุรกิจกำรผลิตโคนม<br />

ณ สถานีวิจัยและทดสอบพันธุ์สัตว์ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา<br />

และศูนย์วิจัยและบารุงพันธุ์สัตว์ลาพญากลาง จังหวัดลพบุรี<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


มุ่งมั่นสู่ความเปนเลิ<br />

EXCELLENCE<br />

10 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


่<br />

ด้านการวิจัยและพันา<br />

ไบโอเทค ดำเนินงำนวิจัยและพัฒนำเทคโนโลยีชีวภำพทั้งกำรวิจัย<br />

พื้นฐำนและกำรวิจัยเชิงประยุกต์ เพื่อสร้ำงควำมสำมำรนกำรวิจัย<br />

และพัฒนำที่ตอบสนองต่อกำรพัฒนำประเทศนด้ำนต่ำง ได้แก่ กำรเกษตรและ<br />

อำหำร สุขภำพและกำรแพทย์ พลังงำนและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งกำรช้ประโยชน์<br />

จำกทรัพยำกรชีวภำพของประเทศ นอกจำกนี้ยังมุ่งเน้นกำรสร้ำงควำมสำมำร<br />

ทำงเทคโนโลยีฐำนที่สำคัญต่อกำรวิจัยด้ำนเทคโนโลยีชีวภำพของประเทศ<br />

ไบโอเทค เพ่อการเกษตรและอาหาร<br />

ไบโอเทคให้ความสาคัญในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อการปรับปรุง<br />

คุณภาพ และเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบในประเทศ โดยมุ่งเน้นวิจัยและพัฒนาใน 3 ด้านหลัก ได้แก่<br />

ด้านพืช ด้านสัตว์ และด้านนวัตกรรมอาหาร<br />

การปรับปรุงพันธุ์พช<br />

มุ่งเน้นการนาเทคโนโลยีชีวภาพไปประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืชที่<br />

สาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ ได้แก่ ข้าว ยางพารา ปาล์มน้ามัน เป็นต้น เพื่อให้ได้สายพันธุ์พืช<br />

ที่มีลักษณะตามที่ต้องการ เช่น ทนต่อสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ต้านทานต่อโรคและแมลง<br />

ข้าว<br />

ไบโอเทคร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมการข้าวดาเนินงานวิจัยใน<br />

การปรับปรุงพันธุ ์ข้าว โดยใช้เทคโนโลยีเครื ่องหมายโมเลกุลร่วมกับการคัดเลือกแบบผสมกลับ<br />

และการผลิตสายพันธุ์แท้ เพื่อพัฒนาพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 และ กข6 ให้มีความสามารถ<br />

ในการต้านทานต่อโรคและแมลง<br />

ซึ่งเป็นปญหาสาคัญ และทนต่อ อยู่ระหว่างการรับรองพันธุ์<br />

สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม<br />

จากกรมการข้าว<br />

ซึ่งในปี <strong>2555</strong> มีผลงานจาก<br />

ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทนเค็ม<br />

การพัฒนาสายพันธุ์ข้าว ที่ได้<br />

อยู่ระหว่างการปลูกทดสอบในแปลงปลูก<br />

ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้ ของกรมการข้าว<br />

ยื ่นจดรับรองพันธุ ์และอยู<br />

ระหว่างการปลูกทดสอบ ดังนี้<br />

อยู่ระหว่างการปลูกทดสอบในแปลงเกษตรกร<br />

ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล<br />

ขอบใบแห้งและทนน้าท่วม<br />

ข้าวสุรินทร์ 1 ทนแล้ง<br />

ข้าวเจ้าไวแสง ทนน้าท่วมและขึ้นน้า<br />

ข้าวเจ้าไม่ไวแสง ทนน้าท่วมฉับพลัน และทนแล้ง<br />

ข้าว กข6 ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล<br />

ข้าว กข6 ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล<br />

ขอบใบแห้งและทนน้าท่วม<br />

ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้ ขอบใบแห้ง<br />

ข้าว กข6 ไม่ไวแสง<br />

ข้าวชัยนาท 1 ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล<br />

พันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวแสง ผลผลิตสูง ทนแล้ง<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

11


พัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลร่วมกับการวิเคราะห์ single-str<strong>and</strong> con<strong>for</strong>mation<br />

polymorphism เพื่อประเมินลักษณะความหลากหลายและโครงสร้างทางพันธุกรรมของตัวอย่าง<br />

ข้าวไทยที่คัดเลือกจากพื้นที่ปลูกต่าง ทั่วประเทศ และตัวอย่างข้าวจากสถาบันวิจัยข้าว<br />

นานาชาติที่มีลักษณะที่สาคัญทางการเกษตร เช่น ลักษณะละอองเกสรตัวผู้เป็นหมันเนื่องจาก<br />

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ต้านทานต่อโรคและแมลง และทนต่อความแห้งแล้ง เป็นต้น<br />

ซึ่งผลการวิเคราะห์ความหลากหลายสามารถจาแนกเป็น 6 กลุ่ม และผลที่ได้สอดคล้องกับพื้นที่<br />

ปลูกของแต่ละกลุ่มและแหล่งที่มาของพันธุ์ข้าว นอกจากนี้พบว่าโครงสร้างทางพันธุกรรมของ<br />

ข้าวไทยและข้าวจากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติมีความแตกต่างกันเพียงพอที่จะนามาใช้ในการ<br />

ขยายฐานพันธุกรรมข้าวไทยให้มีลักษณะที่ดีขึ้นเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต่อไป<br />

ยางพารา<br />

พัฒนาเทคโนโลยีการหาลาดับเบสระดับทรานสคริปโตมจากเนื้อเยื่อเจริญที่<br />

ปลายยอดได้จานวน 113,313 ลาดับเบส และพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลในส่วนของยีน<br />

ที่มีการแสดงออกและแบบไมโครแซทเทลไลท์ที่มีตาแหน่งแน่นอนเป็นเอกลักษณ์ใน<br />

จีโนมยางพารา 17,819 เครื่องหมาย โดยได้เครื่องหมายชนิด Expressed Sequence<br />

Tag-Simple Sequence Repeats (EST-SSRs) ที่ใช้งานง่าย มี polymorphism<br />

สูง มีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือ และสัมพันธ์กับการควบคุมลักษณะของพืช และ<br />

ใช้ควบคู่กับเครื่องหมายโมเลกุลแบบ Simple Sequence Repeat (SSR) ใน<br />

การสร้างแผนที่พันธุกรรมของประชากรยางพาราสายพันธุ์พ่อและแม่สาหรับการ<br />

คัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์<br />

พัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลแบบสนิปส์ของยางพารา โดยใช้เทคโนโลยี highthroughput<br />

454 sequencing และพบเครื่องหมายโมเลกุลที่อาจเป็นสนิปส์(putative SNP)<br />

จานวน 5,883 เครื่องหมาย โดย 10 เครื่องหมายโมเลกุลแบบสนิปส์ได้มีการตรวจสอบ<br />

ยืนยันความถูกต้องจากฐานข้อมูล ESTs ซึ่งเครื่องหมายโมเลกุลเหล่านี้จะสามารถนา<br />

ไปใช้ประโยชน์ในการสร้างแผนที่ทางพันธุกรรม การค้นหา quantitative trait loci<br />

(QTL) ในการควบคุมลักษณะ trait ที่สนใจสาหรับเชิงพาณิชย์ได้<br />

ปาล์มนามัน<br />

การใช้เทคโนโลยี 454 pyrosequencing ทาให้ได้ฐานข้อมูลคลอโรพลาสต์<br />

จีโนมที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพโดยค้นพบข้อมูลคลอโรพลาสต์จีโนมของปาล์มน้ ามัน<br />

ที่สมบูรณ์มีความยาว 156,973 คู่เบส ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาคัญในการค้นหายีนและ<br />

กลไกการทางานของคลอโรพลาสต์<br />

2 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การึกษาวิจัด้านกุ้ง<br />

มุ่งเน้นการนาเทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับการวิจัยและพัฒนาในเรื่องการ<br />

เจริญเติบโตและระบบสืบพันธุ์กุ้ง การเกิดโรค ระบบภูมิคุ้มกันกุ้ง และวิธีตรวจ<br />

วินิจฉัยโรคกุ้ง เพื่อนาไปสู่การแก้ไขปญหาของเกษตรกรและผู้ประกอบการ<br />

ของไทยให้สามารถผลิตกุ้งที่มีคุณภาพดีส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิต<br />

กุ้งของประเทศ<br />

การเกิดรค ระบบูมิคุ้มกันและพันาวิธีการตรวจวินิจฉัยรค<br />

ศึกษากลไกการก่อโรคของไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง โดยศึกษาโปรตีน VP15<br />

ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกันเป็นอนุภาคไวรัส ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับโปรตีน PmFKBP46<br />

ของกุ้งในนิวเคลียสโดยทางานร่วมกันในการจับดีเอ็นเอ แสดงว่า PmFKBP46 อาจ<br />

เกี่ยวข้องกับกระบวนการ genome packaging ร่วมกับ VP15 ในการประกอบกัน<br />

เป็นอนุภาคไวรัส<br />

ศึกษาโปรตีน PmRab7 ในการป้องกันกุ้งจากการติดเชื้อไวรัส<br />

ตัวแดงดวงขาว และเมื่อฉีดโปรตีน PmRab7 เข้าในตัวกุ้งที่ถูก challenged<br />

ด้วยเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว พบว่ากุ้งมีอัตราการรอดเพิ่มขึ้น จึงเป็นทางเลือก<br />

ที่ในอนาคตสามารถนาไปพัฒนาเป็นอาหารเสริมป้องกันการติดเชื้อไวรัสตัวแดง<br />

ดวงขาวสาหรับอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งได้<br />

ศึกษาการใช้อาร์เอ็นเอสายคู่เพื่อยับยั้งการแพร่ของไวรัสกุ้ง โดยได้สร้าง<br />

อาร์เอ็นเอสายคู่ที่มีความจาเพาะต่อยีนส่วน RNA dependent RNA polymerase (RdRp)<br />

ของไวรัสหัวเหลืองและประเมินประสิทธิภาพในการยับยั้งไวรัสและความเป็นพิษต่อเซลล์พบว่า<br />

ระดับการแสดงออกและจานวนไวรัสลดลง ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเป็นอาหาร<br />

ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไวรัสในกุ้งต่อไป<br />

พัฒนาวิธีการวินิจฉัยเชื้อไวรัสหัวเหลืองโดยใช้ปฏิกิริยาแลมป์ร่วมกับการเปลี่ยนสี<br />

ของอนุภาคทองคานาโน (LAMP-nanogold) เป็นเทคนิคที่อาศัยหลักการของการเปลี่ยนแปลง<br />

ความเสถียรของอนุภาคทองคานาโน ซึ่งเทคนิคนี้สามารถทดสอบได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว<br />

ไม่จาเป็นต้องอาศัยเครื่องมือวิเคราะห์ที่มีราคาแพงหรือใช้บุคคลที่มีความชานาญ เป็นเทคนิค<br />

ที่มีความไวเทียบเท่าการทดสอบด้วยเทคนิค nested RT-PCR และยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้<br />

วินิจฉัยเชื้อก่อโรคชนิดอื่น ได้<br />

ปี <strong>2555</strong> อุตสาหกรรมกุ้งไทยไม่สดใสนักเนื่องจากเกิดวิกฤตปญหาที่สาคัญ คือปญหาโรคระบาด<br />

ที่เกิดขึ้นซ้าเติมการสูญเสียโอกาสในตลาดส่งออกของไทย โดยเริ่มระบาดอย่างหนักตั้งแต่ต้นปี<br />

กระทั่งทาให้ผลผลิตกุ้งโดยรวมปี <strong>2555</strong> ลดลงประมาณร้อยละ 10-20 เนื่องมาจากโรคระบาด<br />

3 ชนิด คือ 1) โรคไวรัสตัวแดงดวงขาวและโรคไวรัสหัวเหลือง ซึ่งระบาดมากทางภาคกลางและ<br />

ภาคตะวันออกตั้งแต่ต้นปี รวมทั้งภาคใต้ช่วงปลายปี 2) โรคขี้ขาว ซึ่งพบกระจายในหลายพื้นที่<br />

แต่การระบาดยังไม่รุนแรง และ 3) โรคกุ้งตายในลักษณะเซลล์ตับตายเฉียบพลันคล้ายกับโรคตายด่วน<br />

(อีเอ็มเอส) ทาให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมกุ้งไทยต้องร่วมมือกันและเร่งปรับตัว<br />

โดยในส่วนของภาครัฐควรหาแนวทางการรักษาโรคระบาดในกุ้ง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อ<br />

อุตสาหกรรมกุ้งโดยรวมของไทย<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

13


การเจริพันธุ์และระบบสืบพันธุ์กุ้ง<br />

ศึกษากลไกการเหนี่ยวนาการเจริญพันธุ์ในรังไข่กุ้งกุลาด าจากการตัดตาแม่พันธุ์กุ้ง<br />

โดยเทคนิคไมโครอะเรย์ร่วมกับการวิเคราะห์หาวิถีที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง<br />

ชีววิทยาในกุ้ง โดยเปรียบเทียบกุ้งที่ตัดตากับกุ้งที่ไม่ตัดตา พบว่ายีนกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับ<br />

กระบวนการพัฒนาของรังไข่ มีการแสดงออกเพิ่มขึ้นในกุ้งที่ตัดตา รวมถึงยีนกลุ่ม<br />

ที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับกลไกการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน ระบบภูมิคุ้มกัน และระบบ<br />

ที่เกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณโดยใช้แคลเซียมเป็นสื่อกลาง มีการแสดงออกที่<br />

เปลี่ยนแปลงไปในกุ้งที่ถูกตัดตา จากการยืนยันผลการแสดงออกของยีนด้วยเทคนิค<br />

reverse-transcriptase quantitative PCR พบว่าให้ผลสอดคล้องกันและเมื่อใช้เทคนิค<br />

pathway mapping analysis ในการค้นหาความสัมพันธ์ของยีนกลุ่มต่าง จากฐานข้อมูล<br />

Kyoto Encyclopedia of Genes <strong>and</strong> Genomes (KEGG) และวิธีการทางชีวสารสนเทศพบว่า<br />

วิถีการส่งสัญญาณของฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน วิถีการส่งสัญญาณโดยผ่านแคลเซียม และ<br />

วิถีที่เกี่ยวข้องกับการเจริญของไข่โดยใช้ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน มีความสาคัญต่อการพัฒนา<br />

ของรังไข่ในกุ้งที่ถูกเหนี่ยวนาโดยการตัดตา องค์ความรู้ดังกล่าวจะนาไปสู่การค้นหาวิธี<br />

กระตุ้นการเจริญพันธุ์ในกุ้งกุลาดาเพศเมียโดยไม่ต้องตัดตาอีกต่อไป<br />

การตัดก้านตากุ้งกุลาดาเพศเมียเป็นเทคนิคที่นามาใช้เพื่อกระตุ้นการวางไข่<br />

ซึ่งวิธีการนี้ส่งผลให้แม่พันธุ์บอบช้าและส่งผลเสียในระยะยาว การตัดตากุ้งจะ<br />

ทาให้ฮอร์โมนต่าง ในตัวแม่กุ้งทางานผิดปกติ ส่งผลให้แม่กุ้งผลิตไข่อยู่ตลอด<br />

เวลา ไข่กุ้งที่ได้คุณภาพไม่ดีพอและแม่กุ้งก็อ่อนแอลง สิ้นเปลืองแม่พันธุ์ที่หาได้<br />

ยากและมีราคาแพง<br />

ึกษาวิจัด้านโค<br />

มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปญหาระบบสืบพันธุ์ในโค และเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

การย้ายากตัวอ่อนเพื่อยกระดับพันธุกรรมของแม่โคในฟาร์มให้มีผลผลิตสูงขึ้น<br />

พัฒนาโปรแกรมการบริหารจัดการระบบสืบพันธุ์ของโคนม ได้แก่ 5-day CIDR<br />

program, Double-Ovsynch, G-6-G และ estradiol benzoate-CIDR programs เพื่อควบคุม<br />

การเหนี่ยวนาการตกไข่ของแม่โค ศึกษาวิธีการที่เหมาะสมในการควบคุมพัฒนาการของคอร์ปสลูเทียม<br />

ฟอลลิเคิล และฮอร์โมนอื่น ที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของรังไข่และการตกไข่ และช่วงเวลาที่<br />

เหมาะสมในการผสมเทียม (timed artificial insemination) โปรแกรมดังกล่าวช่วยให้เกษตรกร<br />

สามารถจัดระบบการผสมพันธุ์โคได้อย่างมีประสิทธิภาพและจะนาไปสู่การเพิ่มผลผลิตน้านม<br />

14<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


ด้านนวัตกรรมอาหาร<br />

ไบโอเทคมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านการประเมินความ<br />

เสี่ยงและความปลอดภัยในอาหาร จุลินทรีย์ต้นเชื้อบริสุทธิ์ และเคมีอาหาร<br />

ความปลอดัยของอาหาร<br />

คัดเลือกเชื้อ Pediococcus pentosaceus BCC3772 ซึ่งมี<br />

ความสามารถในการสร้างแบคเทอริโอซินที่ยับยั้งเชื้อ Listeria monocytogenes<br />

สูงสุด โดยเมื่อเติมเชื้อ P. pentosaceus BCC3772 ในแหนม จะสามารถลดปริมาณ<br />

ของเชื้อ L. monocytogenes ได้ 3.2 log ภายในเวลา 18-24 ชั่วโมง เมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับจานวนเชื้อเริ่มต้น แสดงให้เห็นว่าเชื้อ P. pentosaceus BCC3772<br />

มีศักยภาพในการเป็นต้นเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถนาไปใช้ควบคุมปริมาณของเชื้อ<br />

L. monocytogenes และช่วยคงคุณภาพของแหนมได้<br />

Listeria monocytogenes เป็นแบคทีเรียในสกุล Listeria สามารถทนทาน<br />

ต่อสภาวะต่าง ในสิ่งแวดล้อมได้ดี เช่น ในสภาวะอาหารที่เป็นกรด<br />

ในอาหารที่มี water activity ต่า เป็นเชื้อที่ทาให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ<br />

ติดต่อผ่านทางอาหาร ทาให้เกิดโรคลิสเทอริโอสิส โรคเยื่อหุ้มสมอง<br />

อักเสบ การติดเชื้อในกระแสเลือด และการแท้ง การระบาดของเชื้อนี้<br />

เกิดขึ้นได้หลายทาง เช่น จากแม่สู่ลูก จากสัตว์สู่คน และจากโรงพยาบาล<br />

การศึกษาคุณลักษณะแบคเทอริโอซินจาก Lactococcus garvieae BCC43578<br />

ที่แยกได้จากผลิตภัณฑ์แหนม ด้วยเทคนิค MALDI-TOF MS เพื่อวัดมวลและวิเคราะห์ลาดับกรด<br />

อะมิโนของเปปไทด์ พบว่าสเปคตรัมที่ได้ประกอบด้วยเปปไทด์เพียงชนิดเดียวที่มีมวลขนาด 5.3<br />

กิโลดาลตัน และลาดับกรดอะมิโนของเปปไทด์ที่ผลิตจากเชื้อ L. garvieae BCC43578 มีความ<br />

แตกต่างจากลาดับกรดอะมิโนของแบคเทอริโอซินอื่น ที่เคยมีการรายงานมาก่อน จึงตั้งชื่อ<br />

แบคเทอริโอซินใหม่ว่า garvieacin Q ซึ่งเป็นแบคเทอริโอซิน class II ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญ<br />

ของเชื้อ L. monocytogenes ATCC19115 และ L. garvieae สายพันธุ์อื่น แต่ไม่ยับยั้งเชื้อ<br />

E. coli และ Salmonella โดยสามารถใช้แบคเทอริโอซินเสริมสร้างความปลอดภัยด้านจุลินทรีย์<br />

ในผลิตภัณฑ์อาหารได้<br />

การศึกษาเปรียบเทียบเทคนิคการจาแนกสายพันธุ์เชื้อ Campylobacter jejuni<br />

ที่อาจพบการปนเป้อนได้ในไก่เนื้อ โดยเทคนิค repetitive sequence based PCR (rep-PCR)<br />

และเทคนิค Multilocus Sequence Typing (MLST) ผลจากการเปรียบเทียบพบว่าเทคนิคทั้งสอง<br />

มีประสิทธิภาพในการแยกสายพันธุ์ได้เท่าเทียมกัน แต่เทคนิค rep-PCR มีข้อดีคือรวดเร็วและ<br />

ราคาถูก รวมทั้งสามารถใช้ศึกษาเชื้อจานวนมากได้ จึงเป็นทางเลือกที่จะนาไปใช้ในการควบคุม<br />

และป้องกันการระบาดของเชื้อ C. jejuni ต่อไป<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

5


ไบโอเทค เพ่อสุภาพและการแพท์<br />

ไบโอเทคให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อมทางการแพทย์ของประเทศ มุ่งเน้น<br />

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ต่อการป้องกัน ควบคุม และการ<br />

รักษาโรค เพื่อแก้ปญหาโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้า เช่นมาลาเรีย ไข้เลือดออก<br />

วัณโรค ไข้หวัดใหญ่ โดยมีทิศทางการวิจัยที่สาคัญ ได้แก่ การผลิตวัคซีน<br />

สาหรับป้องกันโรคไข้เลือดออก การพัฒนาสารต้านมาลาเรียต้นแบบ ค้นหา<br />

เป้าหมายยาใหม่สาหรับวัณโรค รวมทั้งการศึกษาองค์ความรู้พื้นฐานด้านกลไก<br />

การเกิดโรคและการพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัย<br />

โรคมาลาเรี<br />

พัฒนาเชื้อมาลาเรียเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมที่มีการแสดงออกของเอนไซม์<br />

ไดไฮโดรโฟเลตรีดักเทสไธมิดิเลตซินเธสของ Plasmodium vivax (PvDHFR-TS) สาหรับ<br />

การตรวจคัดกรองสารต้านมาลาเรียชนิดแอนติโฟเลตได้เป็นผลสาเร็จ โดยอาศัยการถ่าย<br />

โอนยีน Pvdhfr-ts จากเชื้อ P. vivax ทั้งชนิดดั้งเดิม และกลายพันธุ์เข้าไปแทนที่ยีน<br />

dhfr-ts ของเชื้อ P. falciparu m และ P. berghei เชื้อที่มีการแสดงออกของเอนไซม์<br />

PvDHFR-TS ชนิดดั้งเดิมจะไวต่อยาไพริเมธามีน และเชื้อที่มีการแสดงออกของ<br />

เอนไซม์ PvDHFR-TS กลายพันธุ์จะดื้อต่อยาไพริเมธามีน ดังนั้นเชื้อมาลาเรีย<br />

เปลี่ยนแปลงพันธุกรรมที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้เป็นแบบจาลองทั้งในระบบ<br />

หลอดทดลองและสัตว์ทดลองสาหรับการตรวจคัดกรองสารต้านมาลาเรีย<br />

จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติหรือที่สังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการต่อเป้าหมายยา<br />

PvDHFR-TS ได้<br />

ศึกษาการกลายพันธุ์ของเอนไซม์ไดไฮโดรโฟเลตรีดักเทสของเชื้อพลาสโมเดียม<br />

ฟาลซิพารัม (Plasmodium falciparum dihydrofolate reductase, PfDHFR) ที่ตาแหน่ง 16<br />

และ 108 โดยสร้างเอนไซม์กลายพันธุ์ที่ตาแหน่ง 16 เป็นกรดอะมิโนชนิดอื่น ร่วมกับการ<br />

มีและไม่มีการกลายพันธุ์ที่ต าแหน่ง S108T/N และนาไปศึกษาการจับกับยาไซโคลกัวนิลเปรียบเทียบ<br />

กับยาไพริเมธามีน พบว่าเอนไซม์กลายพันธุ์A16VS108T ดื้อต่อยาไซโคลกัวนิลมากที่สุด ทาให้<br />

ได้องค์ความรู้ที่ช่วยให้เข้าใจกลไกการดื้อยาไซโคลกัวนิล และจะเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบ<br />

ยาต้านมาลาเรียชนิดแอนติโฟเลตที่มีประสิทธิภาพดีขึ้นต่อไป<br />

การดื้อยาจาพวกแอนติโฟเลต เช่น ไพริเมธามีนและไซโคลกัวนิล เกิดจากการ<br />

กลายพันธุ์ของไดไฮโดรโฟเลตรีดักเทสซึ่งเป็นหนึ่งในเอนไซม์เป้าหมายที่เป็นที่รู้จักกัน<br />

ดีในการนาไปพัฒนาเป็นยาต้านมาลาเรีย ดังนั้นจึงจาเป็นที่จะต้องค้นคว้าพัฒนายา<br />

ตัวใหม่ ที่มีประสิทธิภาพในการต้านเชื้อที่ดื้อยาเหล่านี้<br />

16 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การพัฒนาวิธีการตรวจนับเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อมาลาเรียในหนูโดยการย้อม<br />

เซลล์เม็ดเลือดแดงด้วยสารเรืองแสง SYBR Green I ซึ่งมีความจาเพาะกับดีเอ็นเอสายคู่ทาให้<br />

สามารถจาแนกเซลล์เม็ดเลือดแดงปกติที่ไม่มีนิวเคลียสออกจากเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีการติดเชื้อ<br />

มาลาเรียได้ แล้วทาการตรวจนับเม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อมาลาเรียด้วยเทคนิคโฟลไซโทเมทรีแบบ<br />

สองมิติ ซึ่งให้ผลการทดสอบเทียบเท่ากับการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ มีความรวดเร็ว ถูกต้อง<br />

และเชื่อถือได้แม้มีปริมาณเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อมาลาเรียเพียง 0.02<br />

รคไข้เลือดออก<br />

ศึกษาบทบาทของโปรตีน nonstructural protein 5 (NS5) ของเชื้อไวรัสเด็งกี่ในการ<br />

กระตุ้นการสร้างไซโตไคน์และเคโมไคน์ซึ่งเป็นสารน้าในระบบภูมิคุ้มกันที่ถูกสร้างขึ้นในปริมาณ<br />

มากของผู้ปวยที่ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ โดยพบว่า NS5 มีปฏิสัมพันธ์กับโปรตีน death-domainassociate<br />

protein (Daxx) ของเซลล์เจ้าบ้าน และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระตุ้นการสร้างเคโมไคน์<br />

ที่เรียกว่า RANTES (CCL5) ทั้งนี้การสร้าง RANTES อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดพยาธิสภาพ<br />

ของโรคไข้เลือดออกเด็งกี่<br />

การศึกษาคุณสมบัติของแอนติบอดี2H12 ที่จดจาไวรัสเด็งกี่ได้ทั้ง4 สายพันธุ์ ผลการ<br />

ศึกษาโครงสร้างของแอนติบอดีขณะจับกับโปรตีนของไวรัสเด็งกี่ด้วยวิธีx-ray crystallography พบ<br />

ว่าแอนติบอดี 2H12 จับกับโปรตีนไวรัสเด็งกี่ส่วนเปลือกหุ้มบริเวณโดเมนที่ 3 (ED3) ในตาแหน่ง<br />

ที่เข้าถึงได้ยาก บ่งชี้ว่าการที่แอนติบอดีจะจับได้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทางโครงสร้าง<br />

บนผิวของไวรัส แอนติบอดี 2H12 มีความสามารถในการทาลายไวรัสไม่เท่ากันคือไม่สามารถ<br />

ทาลายไวรัสเด็งกี่สายพันธุ์ที่ 2 และไม่เหนี่ยวนาให้เกิดการเพิ่มจานวนเซลล์ติดเชื้อในหลอด<br />

ทดลอง องค์ความรู้ที่ได้ทาให้เกิดความเข้าใจระบบภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเด็งกี่และเป็นประโยชน์ใน<br />

การพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออก<br />

ไข้หวัดให่ ไข้หวัดนก<br />

ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดบีในการควบคุมการติดเชื้อ<br />

ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอในสัตว์ปีก โดยพบว่านิวคลีโอโปรตีนของไวรัสชนิดบี (BNP) มีบทบาทสาคัญ<br />

ต่อการยับยั้งการทางานของโพลิเมอเรสของไวรัสชนิดเออย่างมีนัยสาคัญ และพบว่าคุณสมบัติ<br />

การยับยั้งดังกล่าวจะลดลงเมื่อมีนิวคลีโอโปรตีนของไวรัสชนิดเอสูงขึ้น บ่งชี้ได้ว่านิวคลีโอโปรตีน<br />

ของไวรัสทั้งสองชนิดอาจจะมีปฏิสัมพันธ์กันหลังจากไวรัสทั้งสองชนิดติดเชื้อเข้าสู่เซลล์เจ้าบ้าน<br />

และน่าจะเกิดขึ้นภายหลังที่โปรตีนกลุ่มโพลิเมอเรสเดินทางเข้าสู่นิวเคลียสของโฮสต์และเริ่ม<br />

กระบวนการทรานสคริปชั่นของ viral gene<br />

ศึกษากลไกการก่อโรคจากเชื้อไวรัสไข้หวัดนกที่ทาให้เกิดพยาธิสภาพรุนแรง ซึ่งพบ<br />

ว่าโปรตีนฮีมแอกกลูตินินเป็นตัวยับยั้งการต้านทานระบบภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กาเนิดของร่างกาย<br />

โดยได้ทาการวิเคราะห์ตาแหน่งการเติมน้าตาลบนโครงสร้างของโปรตีนฮีมแอกกลูตินินบนไวรัส<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

17


ไบโอเทค เพ่อพลังงานทดแทน<br />

ไบโอเทคมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการประยุกต์ใช้และตอบโจทย์<br />

ทางด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เน้นการพัฒนาเทคโนโลยีการบาบัดของเสียและการ<br />

ผลิตกาซชีวภาพ และการพัฒนาเอนไซม์เพื่อใช้ในการแปรชีวมวลเป็นพลังงาน<br />

การบาบัดของเสียและผลิตกาชีวาพ<br />

พัฒนาระบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบอากาศยกไหลวนภายใน โดย<br />

ใช้การตรึงเซลล์แบคทีเรีย Sphingobium sp. สายพันธุ์ P2 บนอนุภาคไคโตซานซึ่ง<br />

มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายน้ามันหล่อลื่นในลักษณะเป็นสารผสมกับสารเคมี<br />

ซักล้างอื่น ได้ดี เนื่องจากมีความสามารถดูดซับและย่อยสลายได้อย่างต่อเนื่อง จึง<br />

สามารถนาไปใช้ในการแก้ปญหาน้าเสียที่ปนเป้อนน้ ามันหล่อลื่นในอุตสาหกรรมทาความ<br />

สะอาดรถยนต์หรืออุตสาหกรรมอื่น ได้<br />

แบคทีเรีย Sphingobium sp. สายพันธุ์ P2 มีคุณสมบัติสามารถย่อยสลาย<br />

น้ามันในน้าอิมัลชั่นได้ นอกจากนี้เทคนิคการตรึงเซลล์ยังสามารถช่วยให้<br />

แบคทีเรียสามารถอยู่รอดได้ดีกว่าแบคทีเรียในรูปเซลล์อิสระ<br />

ศึกษาประสิทธิภาพของถังปฏิกรณ์แบบลูกผสมในการบาบัดและผลิต<br />

กาซชีวภาพจากน้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรมสกัดน้ามันปาล์มภายใต้ความเข้มข้น<br />

ของสารอินทรีย์ในน้าเสียที่แตกต่างกัน โดยใช้การติดตามค่ากิจกรรมของจุลินทรีย์และ<br />

กลุ่มประชากรจุลินทรีย์บริเวณส่วนแขวนลอย และส่วนของวัสดุตัวกลาง โดยพบว่าเมื่อมีค่า<br />

ความเข้มข้นของสารอินทรีย์เพิ่มขึ้น ส่งผลให้อัตราการเกิดกาซมีเทนมีค่าสูงขึ้นโดยให้ผลผลิตกาซ<br />

ชีวภาพเพิ่มขึ้น 0.30 ลิตรต่อกรัมซีโอดีที่ถูกย่อยสลาย และพบจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ<br />

ย่อยสลายสารอินทรีย์ ได้แก่ acetoclastic Methanosaeta แบคทีเรียกลุ่ม hydrogenotrophic<br />

Methanobacterium sp. และแบคทีเรียกลุ่ม hydrogenotrophic Methanomicrobiaceae<br />

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงกลุ่มประชากรจุลินทรีย์สาหรับระบบบาบัดน้าเสียและ<br />

ผลิตกาซชีวภาพแบบ Upflow Anaerobic Sludge Blanket (UASB) ของโรงงานสกัดน้ามันปาล์ม<br />

ในช่วงการเปลี่ยนแปลงสภาวะจากเมโซฟิลิกที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเทอร์โมฟิลิกที่<br />

อุณหภูมิ 57 องศาเซลเซียส และช่วงของอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ (Organic Loading Rate,<br />

OLR) จาก 2.2-9.5 กรัมต่อซีโอดีต่อลิตรต่อวัน พบว่าอัตราการผลิตกาซชีวภาพเพิ่มขึ้น 13.2 ลิตร<br />

ต่อวัน มีปริมาณมีเทนโดยเฉลี่ย 76 ประสิทธิภาพการกาจัดซีโอดี (Chemical Oxygen Dem<strong>and</strong>,<br />

COD) อยู่ในช่วง 76-86 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของสภาวะของกลุ่มประชากรจุลินทรีย์<br />

ที่เป็นปจจัยต่อการควบคุมถังปฏิกรณ์ในระบบกาซชีวภาพแบบ UASB ที่มีผลต่อการเกิดมีเทน<br />

18 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


ไบโอเทค เพ่อการใช้ประโชน์จากทรัพากรชีวภาพองประเท<br />

ไบโอเทคมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาด้านความหลากหลายทางชีวภาพโดย<br />

เฉพาะด้านจุลินทรีย์ และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพในด้านต่าง เช่น การ<br />

หาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การใช้จุลินทรีย์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืช และการ<br />

ผลิตเอนไซม์และสารมูลค่าสูงสาหรับอุตสาหกรรมต่าง รวมทั้งการบริหารจัดการ<br />

ทรัพยากรชีวภาพและระบบการจัดการข้อมูลเพื่อสนับสนุนการวิจัย<br />

ความหลากหลายทางชีวาพและชีวมเลกุลของจุลินทรีย์<br />

ค้นพบจุลินทรีย์สายพันธุ์ใหม่ ได้แก่ แบคทีเรีย จานวน 3 สายพันธุ์<br />

ได้แก่ Gluconobacter uchimurae sp. nov., Sphaerisporangium krabiense sp. Nov.,<br />

และ Micromonospora sediminicola sp. nov. ยีสต์ จานวน 8 สายพันธุ์ ได้แก่ C<strong>and</strong>ida<br />

wangnamkhiaoensis sp. nov., C<strong>and</strong>ida loeiensis sp. nov., C<strong>and</strong>idasirachaensis<br />

sp. nov., C<strong>and</strong>idasakaeoensis sp. nov., Wickerhamomyces tratensis sp. nov,<br />

Canida namnaoensis sp. nov, Wickerhamomyces xylosica sp. nov.<br />

และ C<strong>and</strong>ida phayaonensis sp. nov. และค้นพบยีสต์สกุลใหม่ 1 สกุล<br />

ได้แก่ Kockiozyma gen. nov. รา จานวน 6 สายพันธุ์ ได้แก่ Moelleriella<br />

pumatensis sp. nov. ราแมลงจากเวียดนาม Annulatascus aquatorba sp. nov.<br />

ราน้าจืดจากปาพรุสิรินธร จ.นราธิวาส Lignincola conchicola ราอาศัย<br />

บนปาล์ม Kirschsteiniothelia aethiops., Kirschsteiniothelia. Elaterascus และ<br />

Asanoa siamensis sp. nov. ราแอคติโนมัยสีทที่คัดแยกจากดินในปาพรุเขตร้อน<br />

ค้นหาศักยภาพดีเอ็นเอเครื่องหมายที่ใช้เป็นสากล เพื่อใช้ตรวจสอบและ<br />

ยืนยันเชื้อราโดยใช้ตาแหน่ง nuclear ribosomal RNA รวมทั้งตาแหน่ง internal transcribed<br />

spacer (ITS) และ protein coding region ซึ่งประกอบด้วย largest subunit of RNA polymerase<br />

II (RPB1) พบว่า protein coding region มีประสิทธิภาพการเป็นดีเอ็นเอเครื่องหมายที่ดี แต่ให้<br />

ผลการทา PCR และการหาลาดับดีเอ็นเอไม่ดีเมื่อเทียบกับ nuclear ribosomal RNA โดยได้<br />

เสนอให้ ITS เป็นดีเอ็นเอเครื่องหมายสากลที่มีความเหมาะสมที่สุดในการระบุและการยืนยัน<br />

กลุ่มเชื้อราส่วนใหญ่ และสามารถใช้ต่อยอดสาหรับงานอนุกรมวิธานด้านเชื้อราในเชิงลึกต่อไป<br />

งานวิจัยราก่อโรคบนแมลง ได้ศึกษาพันธุกรรมด้วยเทคนิคโมเลกุล พบว่ามีรา<br />

Ophiocordyceps unilateralis sensu lato มากกว่าหนึ่งสายพันธุ์ที่ก่อโรค และมีความจาเพาะ<br />

เจาะจงต่อมดเจ้าบ้านแต่ละชนิด ได้แก่มด Camponotus saundersi, C. leonardi และ Polyrhachis<br />

furcata ราทั้งสามสายพันธุ์นี้ถูกจัดให้เป็นราชนิดใหม่และให้ชื่อว่า O. camponoti-saundersi, O.<br />

camponoti-leonardi และ O. polyrhachis-furcata ตามลาดับ นอกจากนี้ได้ศึกษาวงจรชีวิต และ<br />

ระยะเวลาสืบพันธุ์ของเชื้อราสายพันธุ์ O. unilateralis/ Hirsutella <strong>for</strong>micarum ซึ่งมีความสัมพันธ์<br />

ในการก่อโรคต่อมดจาพวก <strong>for</strong>micine ants พบว่าเป็นราชนิดที่มีการก่อโรคบนมดมากที่สุด โดย<br />

เชื้อรานี้มีความจาเพาะในมดสกุล Camponotus และ Polyrhachis ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการ<br />

ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโฮสต์และปรสิตต่อไป<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

19


การค้นหาสารออกทธิทางชีวาพจากจุลินทรีย์<br />

ค้นหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์เพื่อการพัฒนายา และศึกษา<br />

โครงสร้างทางเคมีของสารด้วยวิธี activity guided isolation และ identification ควบคู่<br />

ไปกับการพัฒนาห้องสมุดสาร โดยในปี <strong>2555</strong> มีการค้นพบสารใหม่จานวน 94 สาร<br />

และสารที่เคยมีการรายงานโครงสร้างแล้วจานวน 69 สาร<br />

การวิเคราะห์และยืนยันโครงสร้างทางเคมีของสารnor-chamigrane<br />

และ chamigrane endoperxides ที่คัดแยกได้จากใบตะบูนขาว และสารใหม่<br />

อีกหนึ่งสารไปทดสอบการออกฤทธิ์พบว่าสาร chamigrane endoperxides ที่<br />

มีชื่อว่า Merrulin C มีฤทธิ์ต้านกระบวนการแองจิโอเจนนิซิส (antiangiogenesis)<br />

โดยยับยั้งการเจริญเติบโตของ human umbilical vein endothelial cell (HUVEC)<br />

ด้วยค่า IC 50<br />

0.9 ไมโครโมลลาร์ ผ่านกลไกของ extra cellular signal-regulated kinase<br />

(Erk1/2) signaling pathway นอกจากนี้ Merulin C ที่ความเข้มข้นต่ายังมีฤทธิ์ยับยั้งการ<br />

สร้างเส้นเลือดใหม่เมื่อทดสอบด้วยวิธี ex-vivo และ in-vivo ซึ่งงานวิจัยนี้อาจนาไป<br />

สู่การพัฒนาเป็นยาในการรักษาโรคมะเร็งได้<br />

กระบวนการแองจิโอเจนนิซิส คือ กระบวนการสร้างเส้นเลือดอยใหม่ไปเลี้ยงเซลล์<br />

เป็นกระบวนการพื้นฐาน ที่จาเป็นของสิ่งมีชีวิตในการมีชีวิตอยู่เช่น กระบวนการ<br />

ซ่อมแซมตัวเองเมื่อมีบาดแผล แต่สาหรับผู้ปวยมะเร็งในระยะแพร่กระจาย<br />

กระบวนการนี้ (เชื่อกันว่าเกิดจากการท างานที่ผิดปกติ) เป็นการสร้างเส้นเลือดอย<br />

ไปเลี้ยงเซลล์มะเร็งทาให้เซลล์มะเร็งเติบโตอย่างรวดเร็ว การแพทย์สมัยใหม่เชื่อ<br />

ว่าหากสามารถจากัดกระบวนการนี้ได้ก็จะสามารถชะลอการเติบโตของเซลล์มะเร็งได้<br />

การพันาเอนไม์จากจุลินทรีย์เพื่อใช้ประยชน์ในอุตสาหกรรม<br />

การค้นพบเอนไซม์ที่มีศักยภาพในการนาไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการฟอก<br />

เยื่อกระดาษ และอุตสาหกรรมการฟอก จากการวิเคราะห์หายีนกาหนดการสร้างเอนไซม์ย่อย<br />

สลายลิกโนเซลลูโลสชนิดใหม่จากจุลินทรีย์ในลาไส้ปลวกชั้นสูงด้วยเทคนิคเมตาจีโนมิกส์ โดย<br />

พบยีนกาหนดการสร้างของเอนไซม์ไซแลนเนส 5 ยีน และยีนกาหนดการสร้างเอนไซม์เซลลูเลส<br />

1 ยีน และทาการโคลนยีนที่ให้กิจกรรมของเอนไซม์ที่พีเอชที่เป็นด่างสูงที่สุด เมื่อศึกษาลักษณะ<br />

สมบัติของเอนไซม์ พบว่าสามารถทางานได้ดีในช่วงพีเอช 5.0-10.0 และมีสภาวะการทางานที่ดี<br />

ที่สุดของเอนไซม์อยู่ที่พีเอช 8.0 และอุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซียส<br />

2 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

พัฒนาโมเดลสาหรับการออกแบบส่วนผสมของเอนไซม์ที่เสริมฤทธิ์ในการย่อย<br />

สลายชีวมวลลิกโนเซสลูโลส ได้แก่ ฟางข้าว ชานอ้อย และซังข้าวโพด โดยสูตรเอนไซม์ผสม<br />

ประกอบด้วยเอนไซม์จากเชื้อรา Aspergillus aculeatus BCC199 และโปรตีน Expansin<br />

ที่ทางานร่วมกับเอนไซม์เซลลูเลสทางการค้า (Celluclast) องค์ความรู้ที่ได้จะนาไปประยุกต์<br />

ใช้ในการพัฒนาเอนไซม์เพื่อย่อยชีวมวลลิกโนเซลลูโลสสาหรับอุตสาหกรรมพลังงานและเคมี<br />

ชีวภาพต่อไป


ไบอเทคกับการอนุรัก์และใช้ประยชน์ทรัพยากรชีวาพ<br />

ครงสร้างพืนานประเทศ คลังเก็บรักาสายพันธุ์จุลินทรีย์<br />

ไบโอเทคให้ความสาคัญในการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร<br />

ชีวภาพ ตั้งแต่การสารวจและเก็บตัวอย่างจากธรรมชาติ การจาแนกสายพันธุ์จุลินทรีย์ให้บริสุทธิ์<br />

การจัดเก็บรักษาสายพันธุ์จุลินทรีย์ และการศึกษาเพื่อการใช้ประโยชน์ ไบโอเทคได้จัดตั้งคลัง<br />

เก็บรักษาจุลินทรีย์ (BIOTEC Culture Collection: BCC) ในปี 2539 โดยตั้งแต่ปี 2544 BCC<br />

ไบโอเทค ได้ดาเนินงานร่วมกับอีก 3 หน่วยงานที่มีความพร้อมด้านห้องปฏิบัติการและศักยภาพ<br />

ของบุคลากรในด้านการเก็บรักษาจุลินทรีย์ของประเทศ ได้แก่ ศูนย์จุลินทรีย์ สถาบันวิจัย<br />

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (TISTR) หน่วยเก็บรักษาจุลินทรีย์ทางการแพทย์<br />

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (DMST) และหน่วยเก็บรักษาจุลินทรีย์ทางการเกษตร กรมวิชาการ<br />

เกษตร (DOA) เรียกว่า เครือข่ายศูนย์เก็บรักษาจุลินทรีย์แห่งประเทศไทย (Thail<strong>and</strong> Network<br />

on Culture Collection: TNCC) เป็นความร่วมมือในรูปแบบของศูนย์เสมือน (virtual center)<br />

คืออาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารจัดทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและกิจกรรม การนาข้อมูล<br />

จุลินทรีย์เผยแพร่ต่อสาธารณะ การจัดทามาตรฐานในการเก็บรักษาจุลินทรีย์และข้อมูลร่วมกัน<br />

และจัดทาเอกสารประกอบการให้บริการสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่สอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบ<br />

ของประเทศและระหว่างประเทศ<br />

ณ เดือนกันยายน <strong>2555</strong> BCC มีจานวนจุลินทรีย์ที่เก็บรักษาทั้งสิ้น52,950 ตัวอย่าง<br />

จาแนกเป็นแบคทีเรีย 13,070 ตัวอย่าง เชื้อรา 35,282 ตัวอย่าง ยีสต์ 4,390 ตัวอย่าง และสาหร่าย<br />

208 ตัวอย่าง BCC ได้รับการรับรองตามระบบมาตรฐาน ISO9001:2008 และได้รับการแต่งตั้ง<br />

จากกรมทรัพย์สินทางปญญา กระทรวงพาณิชย์ ให้เป็นหน่วยสาหรับเก็บรักษาจุลินทรีย์เพื่อ<br />

การจดสิทธิบัตร<br />

เพื่อการเตรียมความพร้อมของประเทศและการเป็นผู้นาในภูมิภาค BCC ได้สร้าง<br />

ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ เช่น ความร่วมมือกับศูนย์เก็บจุลินทรีย์จากประเทศในแถบ<br />

อาเซียน รวมทั้งญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลีใต้ และสาธารณรัฐ<br />

ประชาชนจีน จานวนทั้งสิ้น 12 ประเทศในด้านงานวิจัยและ<br />

การใช้ประโยชน์ทรัพยากรจุลินทรีย์อย่างยั่งยืนนอกจากนี้<br />

ไบโอเทคยังได้ริเริ่มการเก็บรักษาวัสดุชีวภาพ เช่น<br />

ดีเอ็นเอ พลาสมิด ไฮบริโดมา เนื้อเยื่อสัตว์และ<br />

พืชต่าง ซึ่งไบโอเทคเล็งเห็นความสาคัญและ<br />

ความจาเป็นที่ประเทศจะต้องมีแหล่งเก็บรวบรวม<br />

และอนุรักษ์ทรัพยากรเหล่านี้ จึงเตรียม<br />

ความพร้อมและผลักดันการจัดตั้งศูนย์<br />

ทรัพยากรชีวภาพ (Biological Resource<br />

<strong>Center</strong>: BRC) โดยคัดเลือกกลุ่มวัสดุชีวภาพ<br />

ที่ทราบคุณสมบัติและมีคุณภาพเพื่อการบริการ<br />

เป็นการกระตุ้นให้เกิดการใช้ประโยชน์จากวัสดุ<br />

ชีวภาพอย่างสูงสุดทั้งภายในและต่างประเทศ<br />

ประยชน์ทางการค้า<br />

เอ็นไม์ สารเคมี ชีวินทรีย์ ชีวั์<br />

การคัดหาประยชน์<br />

การเลียงายใต้สาวะต่าง และความสามารของเชือ<br />

ในการผลิตสารที่ต้องการ หรือให้เพิ่มจานวนเร็ว<br />

การศกาเชิงลกทาง <br />

<br />

แยกและจัดจาแนกสายพันธุ์ <br />

คุค่าที่เพิ่มขนของจุลินทรีย์<br />

ตัวอย่างจากแหล่งธรรมชาติ<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

2


ไบโอเทค เพ่อพันาเทคโนโลี<br />

เทคนลยีด้านไบอเนเอร์<br />

ไบโอเทคให้ความสาคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมการตรวจวัด<br />

ประเภทเซนเซอร์ทางชีวภาพ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีความซ้าซ้อนและความแม่นยาสูง<br />

เพื่อใช้ประโยชน์สาหรับการวัดและตรวจวิเคราะห์ทางด้านการแพทย์ การเกษตร<br />

อาหาร และสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาสารชีวภาพ และการพัฒนา<br />

เทคโนโลยีระบบการตรวจวิเคราะห์<br />

การพัฒนาวิธีแอนติบอดีอะเรย์สาหรับตรวจคัดกรองเซลล์<br />

ไฮบริโดมาที ่ผลิตแอนติบอดีที ่จาเพาะเจาะจงต่อเชื ้อแบคทีเรียเป้าหมาย<br />

โดยใช้เชื ้อ L. monocytogenes เป็นต้นแบบในการศึกษา จากการพัฒนาวิธี<br />

แอนติบอดีอะเรย์ได้ทดลองเปรียบเทียบกับวิธีELISA จานวน 96 ตัวอย่าง พบว่าตัวอย่าง<br />

เกือบทั้งหมดที่ให้ผลบวกโดยวิธีELISA และวิธีแอนติบอดีอะเรย์ให้ผลไปในทิศทางเดียวกัน<br />

แต่วิธีแอนติบอดีอะเรย์มีความไวในการทดสอบต่ากว่าวิธี ELISA เล็กน้อย แต่มีข้อดีคือ<br />

เป็นวิธีการที ่ทาได้รวดเร็ว ราคาถูก และสามารถนาไปใช้คัดกรองเซลล์ไฮบริโดมา<br />

โดยทดสอบกับแอนติเจนหลายชนิดได้ในคราวเดียวกัน<br />

การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีที่จาเพาะต่อฮีโมโกลบินและฮีโมโกลบิน<br />

สายแกมม่าชนิดต่าง ได้แก่ โมโนโคลนอลแอนติบอดีต่อ Hb Bart’s, HbA,<br />

HbA2, HbF, HbE และ -globin และนาไปพัฒนาเป็นชุดตรวจวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย<br />

และประสบความสาเร็จในการพัฒนาชุดตรวจอย่างง่ายชนิดแถบสาหรับคัดกรอง<br />

ผู้ที่เป็นพาหะแอลฟาธาลัสซีเมีย และชุดตรวจคัดกรองฮีโมโกลบินอี (HbE)<br />

การสังเคราะห์แผ่นนาโนกราฟีนจากผงกราฟีนออกไซด์ด้วยเทคนิคการลอก<br />

ด้วยสารเคมี ศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติเชิงแสงของแผ่นนาโนกราฟีนที่พัฒนาขึ้น พบโครงสร้าง<br />

ที ่ประกอบด้วยหมู ่คาร์บอนิวที ่สามารถเกิดพันธะโควาเลนต์กับสารชีววิทยาโมเลกุล จึงเป็น<br />

วัสดุที ่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในงานที ่เกี ่ยวข้องกับสารชีววิทยาโมเลกุลหรือนาไปประยุกต์ใช้<br />

ในการพัฒนาไบโอเซนเซอร์<br />

การพัฒนานาโนแคปซูลเพื่อขยายสัญญาณของการตรวจวัดด้วยวิธีทางอิมมูโนวิทยา<br />

นาโนแคปซูลเตรียมจากสาร polystyrene sulfonate (PSS) ภายในบรรจุอนุภาคนาโนของทอง<br />

ที่คอนจูเกตด้วยเอนไซม์ horseradish peroxidase (HRP) เพื่อใช้ตรวจวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรีย<br />

L. monocytogenes ด้วยวิธี ELISA โดยตรึงโมโนโคลนอลแอนติบอดีที่จาเพาะต่อเชื้อ<br />

L. monocytogenes บนผิวของนาโนแคปซูลแล้วนาไปทดสอบด้วยวิธี ELISA เปรียบเทียบกับ<br />

การทดสอบด้วยวิธี ELISA แบบเดิม พบว่าวิธีที่ใช้นาโนแคปซูลให้สัญญาณของการตรวจวัดสูง<br />

กว่าวิธีเดิมถึง 30 เท่า มีความไวของการทดสอบเพิ่มขึ้น 4 เท่าและใช้ระยะเวลาในการทดสอบ<br />

ลดลง 5 นาที<br />

22 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การใช้คอมโพสิทของคาร์บอนนาโนทูปส์และอนุภาคทองคาระดับนาโนไปใช้ในการ<br />

เพิ่มความไวในการตรวจวัดเชื้อ Salmonella ด้วยวิธีทางภูมิคุ้มกันวิทยา โดยสามารถตรวจเชื้อ<br />

Salmonella ความเข้มข้นต่าสุดที่ 42 CFU/ml และเมื่อทดสอบกับตัวอย่างจริงพบว่าสามารถ<br />

ตรวจเชื้อ Salmonella ที่ความเข้มข้นต่าสุดในไก่สด น้าส้มคั้น นมพร่องไขมัน และนมที่มีไขมัน<br />

เรียงจากน้อยไปมาก โดยระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างจานวนมากได้ในคราว<br />

เดียว ซึ่งเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย<br />

เทคนลยีานด้านจีนม<br />

พัฒนาฐานข้อมูลสาหรับการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างไมโครอาร์เอ็นเอและ<br />

โปรโมเตอร์ในจีโนมมนุษย์ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ออกแบบในรูปฐานข้อมูลที่สามารถเลือกตาแหน่ง<br />

เป้าหมายของไมโครอาร์เอ็นเอที่เหมาะสมตามความต้องการและสมมติฐานของผู้ใช้ และยัง<br />

ได้รวบรวมข้อมูลจีโนมและลาดับเบสต่าง เข้าสู่ฐานข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้สามารถสร้างและศึกษา<br />

ความสัมพันธ์ของตาแหน่งเป้าหมายกับลักษณะอื่น บนจีโนมมนุษย์ได้ และได้นาเสนอใน<br />

รูปแบบ genome browser เปิดบริการให้ใช้งานในระบบฐานข้อมูลสาธารณะ<br />

การใช้เทคนิค GeLC-MS เพื่อศึกษากลไกการบุกรุกเข้าสู่เซลล์ของไวรัสชิคุนกุนยา<br />

โดยเลือกใช้เซลล์ microglia ซึ่งเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดแมคโครฟาจในระบบประสาทเป็น<br />

ต้นแบบในการศึกษาการตอบสนองของเซลล์ต่อการบุกรุกของไวรัส ซึ่งพบว่ามีโปรตีนจานวน<br />

1,455 ชนิดในเซลล์ microglia ที่มีปริมาณเปลี่ยนแปลงเมื่อมีไวรัสบุกรุกและมีโปรตีน<br />

90 ชนิดที่ปริมาณลดลง โดยโปรตีนที่น่าสนใจคือโปรตีนกลุ่มที่มีหน้าที่กาจัดไวรัส<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

2


ความร่วมมือวิจัยและวิชาการระดับนานาชาติ<br />

ไบโอเทค ห้ควำมสำคัญกับกำรสร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือ ทั้งน<br />

ระดับภูมิภำคและนำนำชำติ ทั้งกับหน่วยงำนของรัฐและหน่วยงำน<br />

เอกชน เพื่อผลักดันห้ประเทศไทยมีบทบำทสำคัญนเวทีเทคโนโลยีชีวภำพ<br />

ของโลก เน้นควำมเปนหุ้นส่วนนกำรทำงำนวิจัย และกำรแบ่งปนควำมรู้ร่วมกัน<br />

การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติ<br />

ไบโอเทคจัดประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติ ประจาปี <strong>2555</strong> เมื่อวันที่ 10-<br />

11 กุมภาพันธ์ <strong>2555</strong> โดยคณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ชั้นนาและผู้<br />

บริหารจากสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ได้ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางการดาเนิน<br />

งานด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีฐานของไบโอเทค และกลไกการถ่ายทอดความรู้และ<br />

เทคโนโลยีจากห้องปฏิบัติการสู่การใช้ประโยชน์ เช่น ความสาคัญของเทคโนโลยีชีวภาพที่อาจ<br />

ส่งผลต่อประเทศไทย เช่น การแปลงชีวมวลเพื่อการใช้ประโยชน์จะมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจ<br />

ฐานชีวภาพ การเชื่อมโยงงานวิจัยด้านจีโนมเข้ากับการวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร<br />

ชีวภาพให้มากขึ้น การสร้างกลไกสนับสนุนงานวิจัยที่มีความเสี่ยงสูงและผลตอบแทนสูง การ<br />

สร้างวัฒนธรรมผู้ประกอบการควบคู่ไปกับการพัฒนานักวิจัยทั้งในด้านวิชาการ แนวคิดการเป็น<br />

ผู้จัดการธุรกิจ และทักษะเชิงวิศวกรรม<br />

สร้างความร่วมมือด้านการวิจัยและวิชาการ<br />

การลงนามสัาความร่วมมือทางวิชาการ ของไบโอเทคกับสถาบันวิจัยและ<br />

สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ<br />

7 หน่วยงาน<br />

Nonglam University<br />

ประเทศเวียดนาม ระยะเวลา 3 ปี<br />

(พฤศจิกายน 2554 - ตุลาคม 2557)<br />

Cebu Technological<br />

University, Barilli Campus<br />

ประเทศฟิลิปปินส์ ระยะเวลา 3 ปี<br />

(มิถุนายน <strong>2555</strong> พฤษภาคม 2558)<br />

ความร่วมมือวิจัยเรื่องการศึกษา<br />

สรีรวิทยาและกลไกการทนภายใต้<br />

สภาวะเครียดต่อความเค็มของพืช<br />

เศรษฐกิจที่สาคัญ<br />

ความร่วมมือการวิจัยด้าน<br />

Biocontrol และการปรับปรุง<br />

พันธุ์ข้าว<br />

Vinh University<br />

ประเทศเวียดนาม ระยะเวลา 4 ปี<br />

(กรกฎาคม <strong>2555</strong> กรกฎาคม 2559)<br />

<strong>Center</strong> <strong>for</strong> Regional Research <strong>and</strong> Development<br />

(CRD) ประเทศเวียดนาม ระยะเวลา 4 ปี<br />

(กรกฎาคม <strong>2555</strong> กรกฎาคม 2559)<br />

ความร่วมมือวิจัยเรื่อง Study of endophytic<br />

fungi <strong>for</strong> producing paclitaxel (taxol) <strong>and</strong><br />

its analogues from medicinal <strong>and</strong> marine<br />

plants in Vietnam<br />

City University of Hong Kong<br />

ประเทศจีน ระยะเวลา 2.5 เดือน<br />

(มิถุนายน สิงหาคม <strong>2555</strong>)<br />

การจัดให้นักศึกษาเข้ากงาน<br />

ในห้องวิจัย 2 คน<br />

ความร่วมมือวิจัยเรื่อง Study<br />

of entomopathogenic fungi<br />

producing bioactive compounds<br />

in the national parks of<br />

the north Vietnam<br />

Biotechnology <strong>and</strong> Biological Sciences<br />

Research council (BBSRC)<br />

ประเทศอังกฤษ และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย<br />

(สกว.) ระยะเวลา 5 ปี<br />

(มิถุนายน <strong>2555</strong> มิถุนายน 2560)<br />

สนับสนุนงานวิจัยและการพัฒนา<br />

บุคลากรวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและ<br />

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ<br />

24 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การลงนามบันทึก้อตกลงความร่วมมอ<br />

สนับสนุนงานวิจัยและพันาบุคลากร<br />

ด้านเทคนลยีชีวาพ และวิทยาศาสตร์ชีวาพ<br />

เมื่อวันที่21 มิถุนายน <strong>2555</strong> สวทช. ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ<br />

สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีชีวภาพและวิทยาศาสตร์ชีวภาพ<br />

กับสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสภาวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ<br />

และวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (The Biotechnology <strong>and</strong> Biological Sciences Research<br />

Council: BBSRC) ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นหน่วยงานให้ทุนส่งเสริมงานวิจัยด้าน<br />

เทคโนโลยีชีวภาพและวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ของรัฐบาลอังกฤษ โดยเป็นการร่วม<br />

สนับสนุนโครงการวิจัยภายใต้กรอบงานวิจัย 3 เรื่อง ได้แก่ ด้านเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้<br />

เกิดโรคจากสัตว์ซึ่งติดต่อมาสู่คน และเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อโรคในอาหาร ด้านพันธุกรรม<br />

ของพืช และด้านสารออกฤทธิ์ใหม่ทางชีวภาพจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และ BBSRC<br />

ได้สนับสนุนนักศึกษาโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สาหรับเครือข่ายวิจัย<br />

ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ โดยจะสนับสนุนทุนปริญญาเอก 40 ทุน ตลอดระยะเวลา<br />

5 ปี ซึ่งจะสร้างการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสองประเทศ และเกิดการพัฒนาศักยภาพ<br />

ของนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ในระยะยาว<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

25


ครงการสนับสนุนทุนร่วมวิจัยไทยี่ปุน<br />

ไบโอเทค และ Japan Science <strong>and</strong> Technology Agency (JST) ประเทศญี่ปุน<br />

มีความร่วมมือในการสนับสนุนโครงการวิจัยและพัฒนาภายใต้ โครงการสนับสนุนทุนร่วมวิจัยไทย-ญี่ปุน<br />

สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ (Strategic Japanese-Thai Cooperative Program on Biotechnology:<br />

Joint funding of JST-NSTDA) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือในการวิจัยและพัฒนา<br />

ระหว่างนักวิจัยไทยและนักวิจัยญี่ปุน ในด้านเทคโนโลยีหน้าที่จีโนม (Functional genomics)<br />

เทคโนโลยีชีวภาพจุลินทรีย์ (Microbial biotechnology) และเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร (Agrobiotechnology)<br />

ซึ่งมีข้อเสนอโครงการวิจัยและพัฒนาของนักวิจัยญี่ปุนและนักวิจัยไทยได้รับ<br />

การสนับสนุนทั้งสิ้น3 โครงการจากที่ยื่นขอรับทุนทั้งสิ้น16 โครงการ ซึ่งคณะกรรมการพิจารณาทุน<br />

ทั้ง 2 ายได้พิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่ได้ตกลงร่วมกันได้แก่ ด้านแผนการวิจัย ศักยภาพนักวิจัย<br />

ความร่วมมือและแลกเปลี่ยน<br />

โครงกำรวิจัยและพัฒนำที่ได้รับกำรสนับสนุน โครงกำร<br />

การค้นหายีนควบคุมลักษณะธาตุเหล็กสูงและทนทานต่อธาตุเหล็กเป็นพิษในข้าว<br />

ดร.วินิตชาญ รื่นใจชน ไบโอเทค<br />

Prof. Dr. Naoko Nishizawa จาก Ishikawa Prefectural University<br />

DNA chip สาหรับจาแนกเชื้อกลุ่มก่อวัณโรค และจาแนกสายพันธุ์เชื้อก่อวัณโรค<br />

ภายใต้เทคโนโลยีของ DigiTag<br />

รศ.ดร.อังคณา ฉายประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

Prof. Dr. Katsushi Tokunaga จาก The University of Tokyo<br />

การใช้แบคทีรีโอฟาจเป็น biocontrol ในการควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย<br />

ดร.อรวรรณ ชัชวาลการพาณิชย์ ไบโอเทค<br />

Prof. Dr. Takashi Yamada จาก Hiroshima University<br />

การจัดประชุมวิชาการร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศ<br />

เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลวิจัยระหว่างนักวิจัยไทยกับนักวิจัยต่างชาติ<br />

14 th A-IMBN Annual Conference: Life Science <strong>and</strong> Frontiers of Biorefinery<br />

Technology วันที่ 1-2 มีนาคม <strong>2555</strong> เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนข้อมูลงานวิจัยและวิชาการ รวม<br />

ทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือวิจัยใน 2 หัวข้อหลัก คือ พลังงานทางเลือก (Biorefinery)<br />

และชีวการแพทย์ (Biomedical) ระหว่างนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านอณูชีววิทยา<br />

FP7/Horizon 2020 People program workshop และ FP7 cooperation-food<br />

<strong>and</strong> environment info day วันที่ 12-13 มีนาคม <strong>2555</strong> เพื่อให้ข้อมูลและส่งเสริมให้นักวิจัยไทย<br />

มีบทบาทมากขึ้นในการเสนอโครงการวิจัยร่วมกับยุโรปและขอทุนจาก EU FP7<br />

2 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การพันากลุ่มบุคลากรวิจัยและวิชาการ โดยผ่านโครงการ<br />

HRD Program in Biotechnology การสนับสนุนทุนให้แก่บุคลากรวิจัยจาก<br />

ประเทศเพื่อนบ้าน เข้ามาทาวิจัยในหน่วยวิจัยของไบโอเทค จานวน 11 ทุน แบ่งเป็น<br />

ประเทศอินโดนีเซีย 2 ทุน พม่า 4 ทุน ฟิลิปปินส์ 2 ทุน และเวียดนาม 3 ทุน<br />

International Exchange Program กับสถาบันการศึกษา<br />

ในต่างประเทศ ไบโอเทครับนักศึกษาเข้ากอบรมการทาวิจัยในสาขา<br />

เฉพาะเจาะจงเพื่อให้ได้ประสบการณ์ในการทาวิจัยจริง จานวน 71 คน<br />

จาก 12 ประเทศ 19 หน่วยงาน<br />

อังกฤษ<br />

สวีเดน<br />

สโลวัก<br />

อินเดีย<br />

ปากีสถาน<br />

จีน<br />

ไต้หวัน<br />

เกาหลี<br />

University of Kent<br />

Lund University<br />

Slovak University of Technology in Bratislava<br />

Central Institute of Brackishwater Aquaculture<br />

Panjab University<br />

Central Institute of Fisheries Education<br />

University of Agriculture Faisalabad<br />

University of Sargodha<br />

City University of Hong Kong<br />

<strong>National</strong> Taiwan University<br />

Soon Chun Hyang University<br />

ญี่ปุน Kyushu University<br />

Chiba University<br />

สิงคโปร์ Nanyang Polytechnic<br />

Temasek Polytechnic<br />

เวียดนาม Institute of Biotechnology<br />

Vinh University<br />

<strong>Center</strong> <strong>for</strong> Regional Research <strong>and</strong> Development<br />

อินโดนีเซีย Atma Jaya Catholic University<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

2


เสริมสร้างศักยาพบุคลากร<br />

ไบโอเทค ห้ควำมสำคัญนกำรมุ่งสู่ควำมเปนเลิศทำงกำรวิจัยและ<br />

พัฒนำ ซึ่งจะต้องก้ำวไปพร้อมกับกำรพัฒนำกำลังคนและกำรเพิ่ม<br />

ขีดควำมสำมำรของบุคลำกรด้ำนเทคโนโลยีชีวภำพ ทั้งนกำรเพิ่มจำนวนห้<br />

เพียงพอและสร้ำงเสริมนด้ำนคุณภำพ เพื่อเปนฐำนกำลังนกำรสร้ำงสรรผล<br />

งำนวิจัยและพัฒนำและขยำยผลกระทบได้นวงกว้ำงทั้งเชิงปริมำณและเชิง<br />

คุณภำพ<br />

การสนับสนุนบุคลากรวิจัยระดับหลังปริาเอก<br />

เพื่อพัฒนาและส่งเสริมนักวิจัยที่เพิ่งสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก<br />

ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ในการปฏิบัติงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยไบโอเทค ซึ่งใน<br />

ปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ไบโอเทคได้สนับสนุนทุนนักวิจัยหลังปริญญาเอกจานวน<br />

11 ทุน โดยเป็นทุนใหม่ 2 ทุน และทุนต่อเนื่อง 9 ทุน<br />

การสนับสนุนการพันาศักยาพของนักศกา<br />

เพื่อการเรียนรู้ทั้งกระบวนการคิดและทักษะการทางานวิจัยในห้อง<br />

ปฏิบัติการของไบโอเทคภายใต้การดูแลควบคุมวิทยานิพนธ์ร่วมกันระหว่าง<br />

นักวิจัยไบโอเทคและอาจารย์มหาวิทยาลัย ด้วยการสนับสนุนของโครงการต่าง<br />

ของ สวทช. ปี <strong>2555</strong> ได้แก่ โครงกำรทุนสำบันบัณิตวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีไทย<br />

ปี <strong>2555</strong> มีนักศึกษาใหม่ในระดับปริญญาเอก 6 คน ปริญญาโท 9 คน โครงกำรพัฒนำ<br />

ศักยภำพบุคลำกรเพื่อกำรวิจัยและพัฒนำส ำหรับภำคอุตสำหกรรม สวทช. มีนักศึกษา<br />

ใหม่ ระดับปริญญาโท 4 คน โครงกำรผลิตบุคลำกรด้ำนชีวสำรสนเทศและ<br />

ชีววิทยำระบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีนักศึกษาใหม่<br />

ระดับปริญญาเอก 2 คน ปริญญาโท 2 คน โครงกำรสร้ำงปญญำวิทย์ผลิต<br />

นักเทคโน มีนักศึกษาใหม่ในระดับปริญญาตรีจะได้รับการกนการวิจัย<br />

ปริญญานิพนธ์ 15 คน<br />

การจัดกอบรมเชิงปิบัติการ ประชุมสัมมนาวิชาการ<br />

เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยีและวิชาการที่ทันสมัยระหว่าง<br />

นักวิจัย นักวิชาการ จากภาครัฐและเอกชน รวมจานวน 895 คน หรือ 1,623 คน-วัน ใน 6 หัวข้อเรื่อง<br />

(12 ครั้ง) เช่น Entomology, Eective food allergen management, Starch Update 2011:<br />

The 6 th International Conference on Starch Technology การบริหารจัดการความหลากหลาย<br />

ทางชีวภาพแห่งชาติครั้งที่ 1 และแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ (หลักสูตรขั้นต้น<br />

และหลักสูตรขั้นกลาง)<br />

2 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


20 <br />

(<br />

- 2)<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

29


มุ่งมั่นนางานวิจัไปใช้ประโชน์<br />

RELEVANCE<br />

30 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การพันาธุรกิจเทคนลยีชีวาพ<br />

ไบโอเทค มุ ่งสนับสนุนและผลักดันห้มีกำรนำองค์ควำมรู ้ทำงด้ำน<br />

เทคโนโลยีชีวภำพไปประยุกต์ช้นระดับอุตสำหกรรม เพื ่อช่วย<br />

เสริมสร้ำงควำมแขงแกร่งของภำคอุตสำหกรรมไทย ได้แก่ อุตสำหกรรมเกษตร<br />

อุตสำหกรรมอำหำร อุตสำหกรรมยำและเวชภัณ์ อุตสำหกรรมชีวภัณ์<br />

และอื ่น โดยมีกิจกรรมพัฒนำธุรกิจเทคโนโลยีชีวภำพที ่รองรับกับควำมต้องกำร<br />

ของภำคอุตสำหกรรม ได้แก่ กำร่ำยทอดเทคโนโลยี กำรร่วมวิจัย รับจ้ำงวิจัย<br />

บริกำรที ่ปรึกษำห้กับภำคอุตสำหกรรม งำนบริกำรตรวจวิเครำะห์ทดสอบ<br />

ด้ำนเทคนิคและกำรจัดกิจกรรมเปิดห้องปฏิบัติกำรห้ภำคอุตสำหกรรมเยี่ยมชม<br />

การร่วมวิจั การรับจ้างวิจั และการบริการปรึกษาอุตสาหกรรม<br />

ไบโอเทคมุ่งส่งเสริมการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรม<br />

เทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการผลิต การลดต้นทุน และการพัฒนา<br />

ผลิตภัณฑ์ใหม่ ด้วยศักยภาพและขีดความสามารถของนักวิจัย และโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับ<br />

งานวิจัย โดยดาเนินกิจกรรมการร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย และบริการที่ปรึกษาอุตสาหกรรมร่วมกับ<br />

ภาคเอกชน เพื่อให้เกิดงานวิจัยที่ตรงกับความต้องการของเอกชนอย่างแท้จริง อีกทั ้ง<br />

ผลงานวิจัยและพัฒนาสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้<br />

ในปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ไบโอเทคได้ดาเนินกิจกรรมการร่วมวิจัย การรับจ้าง<br />

วิจัย และให้บริการที่ปรึกษาอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้น 42 โครงการ แบ่งเป็น<br />

โครงการต่อเนื ่อง 19 โครงการ และโครงการใหม่ 23 โครงการ โดยโครงการใหม่<br />

ทั้ง 23 โครงการแบ่งเป็นโครงการด้านการเกษตรและอาหาร 17 โครงการ<br />

ด้านสุขภาพและการแพทย์ 4 โครงการ และด้าน<br />

พลังงานและสิ่งแวดล้อม 2 โครงการ<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

31


การ่าทอดเทคโนโลี<br />

ไบโอเทคอนุญาตให้ภาคอุตสาหกรรมได้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปญญาจากงานวิจัย<br />

เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนาเทคโนโลยีชีวภาพไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ การปรับปรุง<br />

กระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรม และ/หรือพัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์ใหม่<br />

โดยในปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ไบโอเทคพัฒนาขึ้นจานวน 6 โครงการ<br />

ให้กับ 5 บริษัท/หน่วยงาน<br />

บริัทหน่วยงาน<br />

Sigma Aldrich<br />

<br />

จุดเด่นของเทคนลยีที่มีการอนุาตให้ใช้สิทธิ<br />

Verticillium hemipterigenum BCC 20 <br />

ascochlorin catalogue supply <br />

(S-1)<br />

Lentinus connatus BCC Panepoxydone<br />

<br />

<br />

<br />

()<br />

<br />

() <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

(biosecure)<br />

<br />

(LPLC)<br />

<br />

<br />

<br />

(SS) <br />

<br />

<br />

<br />

Suidasia pontifica Oudemans <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

32 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การพันาต้นแบบด้านเทคโนโลีชีวภาพสู่เชิงพาณิช์<br />

ไบโอเทคเล็งเห็นความสาคัญของการสร้างความมั่นใจให้กับผู้ประกอบการในการนา<br />

องค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เกิดจากผลงานวิจัยที่มีศักยภาพไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์<br />

ดังนั้นกลไกการพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์หรือเทคโนโลยีต้นแบบให้ใกล้เคียงกับความต้องการ<br />

ของภาคการตลาดหรือผู้ใช้มากที่สุดจึงมีความสาคัญสาหรับการตัดสินใจการลงทุนและรับ<br />

ถ่ายทอดเทคโนโลยีไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ โดยมีตัวอย่างของต้นแบบต่าง ที่ได้พัฒนาขึ้น<br />

ดังนี้<br />

- ระบบบาบัดไนเตรตแบบท่อยาวในการบาบัดน้าสาหรับตู้เลี้ยงสัตว์น้าขนาดใหญ่<br />

- การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตอาหารเสริมชีวภาพสาหรับสุกรโดยจุลินทรีย์<br />

- ต้นแบบระบบผลิตโคพีพอดแบบต่อเนื่อง<br />

- การพัฒนาชุดตรวจสอบเชื้อหัวเหลืองพร้อมกันทั้ง 6 สายพันธุ์โดยเทคนิค Inosine<br />

Amplification PCR<br />

- ชุดตรวจสอบบอแรกซ์และกรดบอริกในชุดเดียว<br />

- ชุดตรวจปรอททั้งแบบสารละลายและแบบแผ่นจุ่ม<br />

ความร่วมมือวิจัยและพันากับ บริัท เจริคั์อาหาร จากัด มหาชน<br />

สวทช. และบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) ได้ลงนามบันทึกข้อ<br />

ตกลงความร่วมมือ การวิจัยและพัฒนาด้านเกษตรและอาหาร เมื่อวันที่ 22 มีนาคม <strong>2555</strong><br />

เพื่อร่วมกันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพื้นฐานและเทคโนโลยีเชิงประยุกต์ รวมถึงขยายผล<br />

โครงการวิจัยที่มีศักยภาพสู่การใช้ประโยชน์จริง ภายใต้กรอบความร่วมมือดังกล่าว ไบโอเทค<br />

มีส่วนร่วมในการดาเนินการวิจัยด้านการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในการผลิตสัตว์ และ<br />

ความปลอดภัยอาหารและการจัดการฟาร์มในอุตสาหกรรมการผลิตไก่ ทั้งนี้เพื่อเป้าหมาย<br />

ในการเพิ่มสมรรถภาพการผลิต เพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรม<br />

การผลิตสัตว์ของประเทศ สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยอาหารให้กับผู้บริโภค<br />

ความร่วมมือวิจัยและพันากับบริัท ไบอเนทเอเชีย จากัด<br />

ไบโอเทค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และบริษัท ไบโอเนท-<br />

เอเชีย จากัด ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การพัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพ<br />

ในกระบวนการผลิตวัคซีน เมื ่อวันที ่ 29 มีนาคม <strong>2555</strong> โดยความร่วมมือนี ้นับเป็นจุดเริ ่มต้น<br />

สาคัญของการร่วมกันสร้างเครือข่ายระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการสร้าง<br />

ขีดความสามารถของประเทศเพื่อพัฒนากระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ยาชีว<br />

วัตถุจากห้องปฏิบัติการไปสู่เชิงพาณิชย์ โดยอาศัยความพร้อมด้านโครงสร้าง<br />

พื้นฐานของโรงงานต้นแบบผลิตยาชีววัตถุ (<strong>National</strong> Biopharmaceutical<br />

Facility) ณ มจธ. วิทยาเขตบางขุนเทียน ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อขยายขนาด<br />

การผลิตระดับโรงงานต้นแบบที ่จะเชื ่อมต่อผลงานวิจัยจากห้องปฏิบัติการ<br />

ไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านยาชีววัตถุและวัคซีน<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

33


การให้บริการตรวจวิเคราะห์ทดสอบและให้คาปรึกษาด้านเทคนิค<br />

ไบโอเทคได้ให้บริการทางเทคนิคด้านการวิเคราะห์ทดสอบและบริการเครื่องมือ<br />

วิทยาศาสตร์ เพื่อผลักดันและสนับสนุนให้มีการนาเอาเทคโนโลยีชีวภาพไปประยุกต์ใช้ใน<br />

ภาคการผลิตและการบริการ ซึ่งผู้รับบริการจะมีทั้งนักวิจัยภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม เช่น<br />

อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมฟอกย้อม<br />

อุตสาหกรรมยาและชีวภัณฑ์ เป็นต้น ในปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ได้ให้บริการรวม 9,930 รายการ<br />

โดยมีประเภทของงานบริการ ได้แก่ บริการเก็บรักษาสายพันธุ์จุลินทรีย์และวัสดุชีวภาพ<br />

ระดับโมเลกุล บริการคัดแยกและทดสอบการเจริญของเชื้อรา บริการตรวจวิเคราะห์เอนไซม์<br />

บริการตรวจสอบหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ บริการวิเคราะห์สารและสกัดสาร บริการโมโนโคลนอล-<br />

แอนติบอดี บริการตรวจวิเคราะห์ไวรัสโรคกุ้งและแก้ปญหาแบบครบวงจร บริการตรวจวิเคราะห์<br />

ดีเอ็นเอสัตว์น้า บริการรับากเซลล์สัตว์ บริการเทคโนโลยีเพื ่อแก้ไขปญหาระบบสืบพันธุ์ใน<br />

โคนม การตรวจวิเคราะห์คุณภาพแป้งและผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง บริการตรวจวิเคราะห์ทาง<br />

เคมี สิ่งแวดล้อมและอาหาร<br />

การให้บริการเก็บรักษาสายพันธุ ์จุลินทรีย์และวัสดุชีวภาพระดับโมเลกุลเพื ่อใช้ในการวิจัย<br />

และพัฒนา เป็นบริการรับากจุลินทรีย์ โดยการรับากแบบเผยแพร่แก่สาธารณะ หรือการ<br />

รับากแบบไม่เผยแพร่และเพื ่อการยื ่นขอจดสิทธิบัตร บริการสายพันธุ ์จุลินทรีย์เพื ่อการ<br />

ศึกษาและวิจัยทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ บริการจาแนกจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย<br />

และยีสต์โดยใช้เทคนิคทางโมเลกุล ตลอดจนให้บริการจัดกอบรมบุคลากรเกี ่ยวกับวิธีการ<br />

เก็บจุลินทรีย์ การบริหารจัดการศูนย์จุลินทรีย์ และวิธีจาแนกแบคทีเรีย ยีสต์ และรา<br />

จัดกิจกรรมเปดห้องปิบัติการวิจั <br />

ปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ไบโอเทคจัดกิจกรรม open lab โรงงานต้นแบบ<br />

ผลิตไวรัสเอ็นพีวี (Nuclear Polyhedrosis Virus, NPV) เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช<br />

เพื ่อเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนได้รับทราบถึงความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและ<br />

การดาเนินงานวิจัยเพื่อผลิตสารชีวภัณฑ์กาจัดศัตรูพืช รวมถึงส่งเสริมให้เกิด<br />

การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อตอบ<br />

โจทย์ในเชิงพาณิชย์ รวมทั้งหารือแนวทางในความร่วมมือกันในอนาคต โดยมีบริษัท<br />

เข้าร่วมงานจานวน 6 บริษัท<br />

โรงงานต้นแบบผลิตไวรัสเอ็นพีวี เป็นโรงงานต้นแบบในการผลิตสารชีวภัณฑ์<br />

ในเชิงพาณิชย์ โดยดาเนินการสร้างมาตรฐานการผลิต ระบบการตรวจสอบคุณภาพ<br />

และพัฒนาวิธีการผลิตไวรัสเอ็นพีวี ให้ผลิตได้ในระดับกึ่งอุตสาหกรรม (pilot scale)<br />

ไวรัสเอ็นพีวี จัดเป็นผลิตภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช ซึ่งเป็นไวรัสในธรรมชาติที่<br />

ทาให้หนอนเป็นโรคและตายเมื่อหนอนกินไวรัสเข้าไป มีความเจาะจงกับ<br />

เป้าหมายโดยจะเลือกทาลายเฉพาะหนอนกระทู้หอม ไม่มีผลต่อแมลงศัตรู<br />

พืชชนิดอื่น ได้รับการทดสอบแล้วว่ามีความปลอดภัยต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด<br />

และปลอดภัยต่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค<br />

34 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การพันาชุมชนชนบท<br />

ไบโอเทค ห้ควำมสำคัญนกำรเผยแพร่ควำมรู้ควำม<br />

เข้ำจด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีสู่ภำคชุมชนและ<br />

สำธำรณะด้วยรูปแบบสื ่อกำรเรียนรู ้ และกิจกรรมต่ำง ส่งเสริม<br />

กำรพัฒนำกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี<br />

กำรนำวิทยำศำสตร์มำประยุกต์ช้นชีวิตประจำวัน กำรปรับช้<br />

เทคโนโลยีห้เหมำะสมกับชุมชนหรือยกระดับคุณภำพชีวิต<br />

สร้ำงรำยได้และนำไปสู ่กำรพัฒนำเปนชุมชนที ่เข้มแขงอย่ำงยั ่งยืน<br />

โดยมีกิจกรรมต่ำง ได้แก่<br />

การกระดับมาตรานผลิตภัณ์ชุมชนประเภทอาหาร<br />

สู่มาตรานสากล<br />

จัดอบรมเรื่อง 5 ส. และจิตวิทยาการให้บริการ ให้กับสถานีวิจัยมูลนิธิ<br />

โครงการหลวง เช่น สถานีวิจัยเกษตรหลวงดอยอ่างขาง และศูนย์พัฒนา<br />

โครงการหลวงห้วยลึก จ.เชียงใหม่ และการจัดอบรม เรื่อง จุดประกาย<br />

ความคิดเพื่อการเพิ่มมูลค่า (แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์) และสุขลักษณะ<br />

ที่ดีในการผลิตอาหาร ให้กับศูนย์วิจัยและส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง<br />

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

การเรีนรู้วิทาาสตร์และเทคโนโลีในโรงเรีนชนบท<br />

พัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และทักษะทางวิทยาศาสตร์ของครูและนักเรียน ด้วย<br />

การจัดกิจกรรมและสนับสนุนกิจกรรมที่หลากหลาย และเสริมสร้างความสามารถและพัฒนา<br />

ศักยภาพของโรงเรียนชนบทให้เป็นโรงเรียนต้นแบบในการพัฒนาและใช้หลักสูตรวิทยาศาสตร์<br />

ท้องถิ่นที่บูรณาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชื่อมโยงกับบริบทท้องถิ่นและชีวิตประจาวันของ<br />

นักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรมต่าง เช่น<br />

โครงกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์แบบบูรณำกำรกับโครงกำรเกษตรอำหำรกลำงวัน<br />

จัดกิจกรรมการกอบรมครู เพื่อพัฒนาคุณภาพครูในด้านการท าหลักสูตรวิทยาศาสตร์แบบบูรณาการ<br />

กลุ่มสาระวิชาอื่น และส่งเสริมให้ครูผู้สอนนาหลักสูตรที่ได้ไปปฏิบัติจริงเพื่อเชื่อมโยงกับ<br />

โครงการเกษตรอาหารกลางวันของโรงเรียนใน จ.แม่ฮ่องสอน สกลนคร และพังงา<br />

โครงกำรบ้ำนนักวิทยำศำสตร์น้อยประเทศไทย เป็นโครงการที่สมเด็จ<br />

พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาพระราชทานพระราชดาริให้นาร่อง<br />

ในประเทศไทย เพื่อสร้างพื้นฐานการเรียนรู้ของเด็กไทยตั้งแต่ระดับปฐมวัย โดยมุ่งวางรากฐาน<br />

การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ให้นักเรียนกสังเกต รู้จักตั้งคาถาม และค้นหาคาตอบด้วย<br />

ตนเอง โดยในปี <strong>2555</strong> ได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องอากาศให้กับคณะครูที่สอนเด็กระดับ<br />

ปฐมวัยใน จ.นราธิวาส แม่ฮ่องสอน และสกลนคร<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

35


โครงกำรโครงงำนวิทยำศำสตร์มืออำชีพ มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะทาง<br />

วิทยาศาสตร์ ช่วยเตรียมนักเรียนให้มีความพร้อมที่จะเผชิญกับปญหาพื้นฐานในการดารงชีวิต<br />

และปญหาอันเกี่ยวเนื่องกับชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการโครงงาน<br />

วิทยาศาสตร์มืออาชีพใน จ.แม่ฮ่องสอน และ สกลนคร<br />

โครงกำรโรงเรียนท้องิ่นฐำนวิทย์ เป็นการปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนของ<br />

โรงเรียนโดยทุกายมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนในการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ (whole school<br />

approach) โดยได้จัดอบรมหลักสูตรโรงเรียนท้องถิ่นฐานวิทย์ใน จ.พังงา และสกลนคร<br />

โครงกำรสนับสนุนและส่งเสริมกำรเรียนรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี<br />

นโรงเรียนชนบท เพื่อพัฒนาศักยภาพของครูและนักเรียนในถิ่นทุรกันดาร โดยใน<br />

ปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ได้จัดกอบรมเชิงปฏิบัติกำรแก่ครูและนักเรียน จานวน 40 ครั้ง<br />

(3,004 คน หรือ 6,620 คน-วัน) เช่น วิธีการฟ้นฟูปาด้วยเทคนิคพันธุ์ไม้โครงสร้าง สุขลักษณะ<br />

ที่ดีในการผลิตอาหารตามวิถีไทย การบูรณาการงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม<br />

กำรจัดค่ำยวิทยำศำสตร์ จานวน 5 ครั้ง (488 คน หรือ 1,070 คน-วัน) เช่น ค่ายยุวชน...<br />

สร้างภูมิคุ้มกันภัยพิบัติธรรมชาติ ค่ายสิ่งแวดล้อม ชุมชนมลาบริ ค่ายอุตสาหกรรม ค่ายพิบัติ<br />

ภัยธรรมชาติ<br />

36 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


่<br />

การเผยแพร่ความรู้สู่สังคม<br />

การเผแพร่ความรู้วิทาาสตร์และเทคโนโลี<br />

ไบโอเทค ให้ความสาคัญในการส่งเสริมการเรียนรู ้และสร้างความตระหนัก<br />

ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสาธารณะ เพื ่อให้เกิดประโยชน์ในมุมมอง<br />

ของสังคมได้กว้างขวาง โดยจัดทาข้อมูลและเนื ้อหาสาหรับรายการโทรทัศน์ที<br />

สนับสนุนโดย สวทช. ดังนี้<br />

รำยกำร ฉลำดล้ำกับงำนวิจัยไทย จานวน 7 ตอน เช่น<br />

นักวิจัยไบโอเทคกับทุนวิจัยลอรีอัลเพี่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งกุลาดา<br />

ENZbleach เอนไซม์ฟอกเยื ่อกระดาษจากปลวก และเครื ่องตรวจเบาหวาน<br />

จากลมหายใจ ชีวสารสนเทศ ผู ้ช่วยสาคัญสาหรับนักวิจัยด้านชีววิทยา และการ<br />

พัฒนากรรมวิธีตรวจนับเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อมาลาเรียในหนู<br />

รำยกำร เทคโน ทำเงิน จานวน 15 ตอน เช่น ไม่ต้องเปลี่ยนบ่อย..<br />

แค่เปลี่ยนมาใช้ Aqua RASD จุลินทรีย์ตัวน้อยแก้ปญหาท่อตัน สะอาดหมดจด...<br />

สิ่งสกปรกไม่ไหลย้อนกลับ ปลอดภัยไร้อัคคีภัย (KEEEN) ชุดตรวจสอบปรอททั้ง<br />

แบบสารละลายและแบบแผ่นจุ่ม<br />

รำยกำรอื่น จานวน 2 ตอน ได้แก่ ราบิวเวอเรีย ทางเลือกของ<br />

การควบคุมแมลงแบบชีววิธี และ A-Zyme เอนไซม์ช่วยย่อยอาหารสัตว์<br />

กิจกรรมเี่มชมการดาเนินงานวิจัและพันาอง<br />

ไบโอเทค<br />

ปีงบประมาณ <strong>2555</strong> ไบโอเทคจัดกิจกรรมการเผยแพร่ให้ความรู ้ด้านการวิจัย<br />

และพัฒนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพ มีคณะบุคคลเข้าเยี ่ยมชมห้องปฏิบัติการวิจัยของไบโอเทค<br />

ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย รวม 120 คณะ ประกอบด้วยคนไทย 86 คณะ และ<br />

ต่างชาติ 34 คณะ โดยแบ่งเป็นภาคการศึกษา 58 คณะ หน่วยงานของรัฐ 29 คณะ และภาค<br />

เอกชน 33 คณะ<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

37


มุ่งมั่นสร้างผลกระทบ<br />

ต่อเรษกิจและสังคม<br />

IMPACT<br />

38 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


์<br />

ผลกระทบต่อเศรกิจและสังคมจากผลงานวิจัย<br />

ไบโอเทค ห้ควำมสำคัญกับกำรวิจัยและพัฒนำเพื่อนำไปช้ประโยชน์<br />

เชิงพำณิชย์และเชิงสำธำรณะ โดยผ่ำนกระบวนกำรต่อยอดองค์ควำมรู้<br />

และกำร่ำยทอดเทคโนโลยีนรูปแบบต่ำง ได้แก่ กำรอนุญำตห้ช้สิทธินผล<br />

งำนวิจัย กำรร่วมวิจัยรับจ้ำงวิจัยกับภำคเอกชน กำรห้บริกำรและกำรพัฒนำ<br />

โครงสร้ำงพื้นฐำน โดยนปงบประมำณ ไบโอเทคได้ทำกำรประเมินผล<br />

กระทบจำนวน โครงกำร ซึ่งก่อห้เกิดผลกระทบคิดเปนมูลค่ำรวม <br />

ล้ำนบำท แบ่งเปนผลกระทบด้ำนกำรลงทุน ล้ำนบำท ผลกระทบทำห้เกิด<br />

รำยได้เพิ่มขึ้น ล้ำนบำท กำรลดต้นทุน ล้ำนบำท และกำรลดกำรนำเข้ำ<br />

ล้ำนบำท ดังนี้<br />

ด้านการเกตรและอาหาร<br />

ด้านพช<br />

จากการประเมิน 1 ครงการ เกิดผลกระทบรวม 1 ล้านบาท<br />

การ่ายทอดเทคนลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุาพดี<br />

สายพันธุ์ข้าวซึ่งได้จากการคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์โดยหน่วยปฏิบัติการ<br />

ค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว ไบโอเทค ที่ได้ร่วมทดสอบสายพันธุ์กับ<br />

กรมการข้าว ได้แก่ ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้ (ธัญสิริน) ข้าวหอมชลสิทธิ<br />

ทนน้าท่วมฉับพลัน และข้าวสายพันธุ์ต้านทานโรคขอบใบแห้ง โดยไบโอเทค<br />

และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตเมล็ดพันธุ์<br />

ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

รวม 11 จังหวัด ส่งผลกระทบให้เกิดการลงทุนและสร้างรายได้ให้เกษตรกร<br />

รวม 398 ล้านบาท<br />

การวิจัยและพันาสายพันธุ์และเทคนลยีการผลิตพืช<br />

ผลจากการดาเนินงานของไบโอเทคในโครงการด้านการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

การผลิตพืชต่าง เช่น โครงการการขยายกาลังการผลิตอ้อยปลอดโรค การผลิตอ้อย<br />

อาหารสัตว์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้แวนด้า การคัดเลือกพันธุ์พืชทนเค็ม<br />

การออกแบบระบบการปลูกพืช และการผลิตเชื้อไวรัสเอ็นพีวีเพื่อควบคุมแมลง<br />

ศัตรูพืช เป็นต้น โครงการดังกล่าวเป็นโครงการทั้งที่ไบโอเทคได้ดาเนินการเอง<br />

และได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภาครัฐและเอกชน ได้ส่งผลกระทบให้เกิด<br />

การสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เป็นมูลค่าโดยรวม<br />

ประมาณ 120 ล้านบาท<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

39


การผลิตชุดตรวจรคพืช และงานบริการวิเคราะห์ทดสอบด้านพืช<br />

ไบโอเทคดาเนินการวิจัยและพัฒนาการผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดี<br />

สาหรับการตรวจวินิจฉัยโรคไวรัสในพืชชนิดต่าง และได้ร่วมกับภาคเอกชน<br />

พัฒนาชุดตรวจโรคใบขาวในอ้อย โดยชุดตรวจและน้ายาตรวจโรคพืชดังกล่าว<br />

มีการจาหน่ายในเชิงพาณิชย์ ส่งผลกระทบทาให้ได้เมล็ดพันธุ์และผลผลิต<br />

ที่ได้มาตรฐานการส่งออกและลดความเสียหายของผลผลิต เป็นมูลค่ารวม<br />

ประมาณ 195 ล้านบาท<br />

ด้านสัตว์<br />

ไบโอเทคดาเนินงานโครงการวิจัยด้านเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เช่น การย้าย<br />

ากตัวอ่อนแช่แข็งโคนม การเหนี ่ยวนาการตกไข่และผสมเทียมตามระยะเวลา<br />

ที่กาหนด การศึกษาสมรรถนะของโคฟรีบรา และจากการดาเนินโครงการวิจัย<br />

ด้านการพัฒนาเครื ่องหมายทางพันธุกรรมเพื ่อตรวจสอบพันธุกรรมกุ ้ง ส่งผล<br />

กระทบในด้านการลงทุน และการสร้างรายได้เป็นมูลค่ารวมประมาณ<br />

384 ล้านบาท<br />

ด้านอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร<br />

ไบโอเทคมีผลงานที่ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับภาคเอกชน เช่น การ<br />

พัฒนาสูตรการผลิตแหนม การพัฒนากระบวนการเร่งการหมักน้าปลา การผลิต<br />

ต้นเชื้ออาหารหมักสัตว์ การผลิตเอนไซม์เพนโตซาเนสเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร<br />

สัตว์ การพัฒนากระบวนการผลิตน้าตาล และการพัฒนาเครื่องมือวัดความเผ็ด เป็นต้น<br />

โครงการดังกล่าวสร้างผลกระทบในด้านการลงทุน รายได้ การส่งออก และผลกระทบต่อสุขภาพ<br />

ประเมินได้รวมประมาณ 677 ล้านบาท<br />

ด้านการพันาชุมชนชนบท<br />

ไบโอเทคโดยหน่วยบริการเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชนบท หน่วยงานพันธมิตรและ<br />

หน่วยงานในท้องถิ่น เข้าร่วมสนับสนุนการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติการ (area based) ได้แก่<br />

อ.เต่างอย จ.สกลนคร และ อ.บ่อเกลือ จ.น่าน และโครงการที่ดาเนินงานในพื้นที่อื่น เช่น<br />

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชาวไทยภูเขา การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหาร ทาให้<br />

เกิดการพัฒนาอาชีพ เช่น การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว การผลิตชาข้าวสาลี ชาเจียวกู้หลาน และ<br />

ผลิตภัณฑ์ชุมชนอื่น เกษตรกรและชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นรวมประมาณ 23 ล้านบาท<br />

40 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


ด้านการแพทย์และสาธารสุข<br />

จากการประเมิน 4 ครงการ เกิดผลกระทบรวม 36 ล้านบาท<br />

ด้านชุดตรวจทางการแพท์<br />

ไบโอเทคมีโครงการที่ร่วมกับมหาวิทยาลัย ภาคเอกชน ทาการวิจัยและ<br />

พัฒนาชุดตรวจไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ การพัฒนาโมโนโคลนอลที่มีความจาเพาะ<br />

ต่อเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนก และการพัฒนาชุดตรวจคัดกรองพาหะ<br />

แอลฟาธาลัสซีเมีย ผลงานดังกล่าวได้ถูกนาไปถ่ายทอดเทคโนโลยีและการ<br />

อนุญาตให้ใช้สิทธิในการผลิตและจาหน่ายแก่ภาคเอกชน สร้างผลกระทบใน<br />

ด้านรายได้ และการประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล รวมประมาณ<br />

29 ล้านบาท<br />

ด้านผลิตั์เพื่อสุขาพ<br />

ไบโอเทคได้สนับสนุนสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบังในการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์สเปรย์น้ามันหอมระเหยกาจัดไรุน ซึ่งได้มีการ<br />

ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ภาคเอกชนในการผลิตและจาหน่าย สามารถสร้างรายได้ให้<br />

แก่ผู้รับถ่ายทอดเทคโนโลยี และผลต่อสุขภาพในการป้องกันโรคภูมิแพ้ ประเมินได้<br />

รวมประมาณ 7 ล้านบาท<br />

ด้านสิ่งแวดล้อม<br />

จากการประเมิน 1 ครงการ เกิดผลกระทบรวม 36 ล้านบาท<br />

ด้านการวิจัและพันาเพ่อการนูพนที่ดินเค็ม<br />

ไบโอเทคได้ร่วมวิจัยกับบริษัท เกลือพิมาย จากัด ดาเนินโครงการฟ้นฟูพื้นที่ดินเค็ม<br />

ในพื้นที่ของบริษัท นอกจากนี้ได้ร่วมมือกับบริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จากัด (มหาชน) ดาเนิน<br />

โครงการนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อการฟ้นฟูดินเค็มใน จ.สกลนคร จ.อุดรธานี จ.นครราชสีมา<br />

และ จ.ขอนแก่น สามารถสร้างผลกระทบจากพื้นที่ที่ไม่สามารถทาการเพาะปลูกปรับเปลี่ยนให้<br />

เป็นพื่นที่ที่เพาะปลูกข้าว และผลผลิตเกษตรอื่น ทาให้เกษตรกรสามารถสร้างรายได้ โดยสร้าง<br />

ผลกระทบรวมประมาณ 330 ล้านบาท<br />

ด้านผลิตั์สิ่งแวดล้อม<br />

หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมชีวเคมีและโรงงานต้นแบบ ไบโอเทคได้พัฒนา<br />

อุปกรณ์สาหรับตรวจวัดค่าซีโอดีของน้าทิ้งแบบออนไลน์ที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบของ<br />

กรมโรงงานอุตสาหกรรม และได้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนาติดตั้งในโรงงาน<br />

อุตสาหกรรมฟอกย้อมแล้ว นอกจากนี้ได้ร่วมกับภาคเอกชนพัฒนาสารชีวบาบัดภัณฑ์ โดยได้<br />

ถ่ายทอดผลงานวิจัยไปใช้ในเชิงพาณิชย์ สร้างผลกระทบทั้งสิ้นประมาณ 133 ล้านบาท<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

41


ด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตแปงมันสาปะหลัง<br />

ไบโอเทคร่วมกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการและใช้ประโยชน์จากของเสีย<br />

อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พัฒนาเทคโนโลยีและปรับปรุง<br />

ประสิทธิภาพการผลิตแป้งมันสาปะหลังให้แก่โรงงานแป้งมันสาปะหลังนาร่อง 16 แห่ง ทาให้<br />

โรงงานสามารถจัดการลดปริมาณแป้งที่หกหล่น เพิ่มประสิทธิภาพหน่วยผลิต และลดการใช้<br />

ทรัพยากรน้าและพลังงาน ประเมินผลกระทบได้รวม 146 ล้านบาท<br />

ด้านการใช้ประโชน์จากองเสีในการผลิตกาชีวภาพ<br />

ไบโอเทคร่วมกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการและใช้ประโยชน์จากของเสีย<br />

อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีถ่ายทอดเทคโนโลยีการบาบัด<br />

น้าเสียเพื่อผลิตกาซชีวภาพ ให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมการเกษตรต่าง จากการประเมินผลการ<br />

ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมมันสาปะหลัง 4 แห่ง โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร<br />

3 แห่งและโรงงานอุตสาหกรรมสกัดน้ ามันปาล์ม 1 แห่ง สร้างผลกระทบในการลดต้นทุน<br />

จากพลังงานจากการใช้กาซชีวภาพเป็นพลังงานทดแทน ได้รวม 127 ล้านบาท<br />

ผลกระทบที่ประเมินได้ในปงบประมา 2<br />

ด้านการเกตรและอาหาร 1 ล้านบาท<br />

ด้านการแพทย์ 36 ล้านบาท<br />

ด้านสิ่งแวดล้อม 36 ล้านบาท<br />

2<br />

1<br />

<br />

จานวนครงการ<br />

ที่ประเมิน<br />

6 ครงการ<br />

มูลค่าผลกระทบ<br />

261 ล้านบาท<br />

มูลค่าผลกระทบเชิง<br />

เศรกิจและสังคมจาก<br />

การประเมินผลกระทบ<br />

ปงบประมา 222<br />

ด้านการเกตรและอาหาร<br />

ด้านการแพทย์<br />

ด้านสิ่งแวดล้อม<br />

11 ล้านบาท<br />

261 ล้านบาท<br />

122 ล้านบาท<br />

6 ล้านบาท<br />

ป 22<br />

ป 23 ป 24 ป 2<br />

2 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


การส่งเสริมการพันาโครงสร้างพ นานทางวิทาาสตร์<br />

และเทคโนโลีองประเท การให้บริการวิเคราะห์ ทดสอบ<br />

สู่ความสามารในการส่งออก<br />

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดีเอ็นเอ ได้เข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจาวันมากขึ้น ทั้งด้าน<br />

การแพทย์ อุตสาหกรรม และการเกษตร จุดเริ ่มต้นการนาเทคโนโลยีดีเอ็นเอมาให้บริการตรวจ<br />

วิเคราะห์เพื่อส่งเสริมการทางานของภาครัฐและเอกชน ได้ริเริ่มขึ้นในปี 2538 โดยไบโอเทค สวทช.<br />

ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จัดตั ้ง หน่วยปฏิบัติการ DNA Fingerprint ด้านพืช<br />

ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ต่อมาในปี 2542 สวทช. โดยคณะกรรมการ<br />

พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ได้อนุมัติการใช้เงินทุนประเดิมของ สวทช. จานวน<br />

64 ล้านบาท ในการลงทุนร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานและ<br />

การดาเนินงานของหน่วยปฏิบัติการ และได้มีการเปลี่ยนชื่อหน่วยปฏิบัติการ เป็น ห้องปฏิบัติการ<br />

ดีเอ็นเอเทคโนโลยี (DNATEC) เพื ่อรองรับการให้บริการตรวจวิเคราะห์ด้านเทคโนโลยีดีเอ็นเอ<br />

เทคโนโลยีการตรวจจีเอ็มโอ และดาเนินการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนงานบริการ รวมทั้งการเพิ่ม<br />

ศักยภาพการให้บริการที่จะสามารถบริหารจัดการและดาเนินการได้ด้วยตนเอง จากผลงานที่ผ่านมา<br />

เป็นที่ประจักษ์ว่า DNATEC สามารถดาเนินการวิจัยพัฒนาและการให้บริการสามารถสร้างชื่อเสียง<br />

และความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ใช้บริการทั้งภาครัฐและเอกชน ไบโอเทค สวทช. จึงได้เล็งเห็นความ<br />

สาคัญในการเตรียมความพร้อมสาหรับการแปรสภาพโครงการ (spin-o) เป็นบริษัทหรือ<br />

รูปแบบอื่นที่เหมาะสม ต่อมา DNATEC ได้รับการอนุมัติการยุติโครงการพิเศษที่ใช้ทุนประเดิม<br />

ของ สวทช. โดยได้ปรับโอนไปเป็นหน่วยงานภายใต้การกากับดูแลของมหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 เพื่อประโยชน์โดยรวมต่อประเทศทางด้าน<br />

พัฒนาวิชาการ ด้านการศึกษา และการบริการแก่ภาคเอกชน โดยมี ดร.สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง<br />

ผู้อานวยการสถาบันจีโนม ไบโอเทค เป็นที่ปรึกษามาจนถึงปจจุบัน<br />

DNATEC มีบทบาทสาคัญในการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาช่วยสนับสนุนภาครัฐ<br />

และภาคเอกชน ทั ้งด้านการผลิตและการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมอาหารและ<br />

การเกษตร ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ตัวอย่างที่สาคัญได้แก่ การใช้<br />

เทคโนโลยีดีเอ็นเอในการตรวจสอบการปลอมปนข้าวหอมมะลิ โดย DNATEC ได้พัฒนาวิธี<br />

การตรวจสอบและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ตรวจสอบมาตรฐานข้าวหอมมะลิไทยที่ส่งออกต่าง<br />

ประเทศจากกรมการค้าต่างประเทศอย่างเป็นทางการ การสร้างความเชื่อมั่นให้กับประเทศผู้นา<br />

เข้าข้าวหอมมะลิไทยทาให้ข้าวหอมมะลิไทยมีมูลค่าเพิ ่มจากการสามารถแยกตลาดออกจากข้าว<br />

ขาวทั่วไปเป็นมูลค่ากว่า 13,000 ล้านบาทในปี <strong>2555</strong> ซึ่งผลประโยชน์ได้ย้อนกลับไปสู่เกษตรกรผู้ปลูก<br />

ข้าวหอมมะลิของประเทศด้วย นอกจากนี้การให้บริการตรวจสอบจีเอ็มโอของ DNATEC สามารถ<br />

ทาให้ผู ้ใช้บริการประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่ต้องส่งตัวอย่างไปตรวจสอบยังต่างประเทศในปี <strong>2555</strong><br />

ไม่ต่ากว่า 12 ล้านบาท<br />

ทั ้งนี ้ผลกระทบที ่เกิดขึ ้นเป็นข้อมูลเพียงบางส่วนที ่สามารถนามาวิเคราะห์เป็นตัวเงินได้<br />

อย่างไรก็ดีการให้บริการของ DNATEC ยังมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่ไม่สามารถ<br />

ประเมินค่าเป็นตัวเงินได้ เช่น การมีส่วนสนับสนุนธุรกิจเมล็ดพันธุ์ในการใช้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอในการ<br />

ตรวจสอบสายพันธุ์ และการคุ้มครองพันธุ์พืช การมีบทบาทสาคัญในการนาเทคโนโลยีดีเอ็นเอเข้าไป<br />

แก้ปญหาการส่งออกและการนาเข้า เช่นการตรวจสอบสายพันธุ์ปลาทูน่าจากมาตรการกีดกันทางการค้า<br />

ที่มิใช่ภาษี ซึ ่งมีส่วนทาให้อุตสาหกรรมอาหารของไทยรักษาความสามารถในการแข่งขันมาจนถึง<br />

ปจจุบัน การตรวจสอบการปนเป้อนเนื้อวัวในวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงของการ<br />

ปนเป้อนชิ้นส่วนของเนื้อวัว ในการนาเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ในช่วงวิกฤตโรควัวบ้า ซึ่งหากมีการระบาด<br />

ในประเทศจะสร้างความเสียหายทางด้านสาธารณสุขของประเทศเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ DNATEC<br />

ได้มีส่วนส่งเสริมในการต่อยอดงานวิจัยและพัฒนาให้กับสถาบันการศึกษาต่าง และเป็นตัวอย่าง<br />

ธุรกิจด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และมีส่วนกระตุ ้นให้เกิดแรงจูงใจในการลงทุนทางธุรกิจบริการด้าน<br />

เทคโนโลยีดีเอ็นเอในประเทศ<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

43


มุ่งมั่นร่วมผลักดันนโบา<br />

44 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

EXCELLENCE<br />

RELEVANCE<br />

IMPACT


่<br />

การศกาวิจัยเชิงนยบายเทคนลยีชีวาพ<br />

ไบอเทค ดาเนินการศกานยบายเพื่อเปนข้อมูลประกอบการตัดสินใจ<br />

การวางแผนขององค์กรและประเทศทังในเชิงรุกเพื่อก้าวให้ทันกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางเทคนลยี มาตรการด้านเศรกิจและสังคม และเชิงรับเพื่อเตรียม<br />

ความพร้อมรับมือต่อประเด็นที่มีความสาคัสูง ทังในการลงทุนการวิจัยและพันา<br />

ครงสร้างพืนานขององค์กรและประเทศ และมาตรการสนับสนุนของรั<br />

้อเสนอเชิงุทธาสตร์การวิจัและพันาเทคโนโลีเอนไม์<br />

องประเทไท<br />

ในการดาเนินงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านเอนไซม์ให้ครบทั้งห่วงโซ่คุณค่าต้อง<br />

มีกลไกดึงดูดให้นักวิจัยได้ทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย เพื ่อพัฒนาตั ้งแต่งานวิจัยต้นน้ า กลางน้ า<br />

และส่งมอบองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรม ดังนั้นการรวมกลุ่มเครือข่าย<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี นักวิจัยด้านเอนไซม์ และภาคเอกชน เป็นสิ่งสาคัญเพื่อให้สามารถ<br />

ใช้เทคโนโลยีร่วมกับวิธีการดั้งเดิม และตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้<br />

ภาคอุตสาหกรรมมีความต้องการโครงสร้างพื้นฐานระดับขยายขนาดและเครื่องมืออุปกรณ์<br />

จึงควรสนับสนุนให้เกิดธุรกิจรับจ้างผลิตเอนไซม์ โปรตีน และหัวเชื ้อ หรือสนับสนุนให้นักวิจัย<br />

spin-o เพื่อรองรับความต้องการของทั้งภาควิจัยและภาคเอกชน ส่วนโครงสร้างพื้นฐานที่มี<br />

อยู่แล้วต้องมีกลไกบริหารจัดการให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานเพื่อใช้เครื่องมือ<br />

อุปกรณ์ได้เต็มประสิทธิภาพ โดยดาเนินการควบคู ่ไปกับการจัดทามาตรฐานของผลิตภัณฑ์ที<br />

เกี ่ยวข้องกับอาหารและยา ข้อเสนอแนะทิศทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ได้แก่<br />

การเตรียมพร้อมเทคโนโลยีฐานเพื่ออนาคตและการจัดการเชื่อมโยงเครือข่าย การเพิ่มจานวน<br />

โครงสร้างพื้นฐานในระดับขยายขนาด โดยควรให้ความสาคัญในอุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ<br />

อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และตัวเร่งชีวภาพเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมที่ใช้สารเคมี<br />

้อเสนอทิทางการพันาอุตสาหกรรมกุ้งองประเทไท<br />

สวทช. โดย ไบโอเทคได้ศึกษาวิเคราะห์ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้งของ<br />

ประเทศไทย พบว่าอุตสาหกรรมกุ้งไทยเปลี่ยนไปเลี้ยงกุ้งขาวตั้งแต่ปี 2546 ปจจุบันผลผลิต<br />

กุ้งขาวต่อกุ้งกุลาดาอยู่ที่ระดับร้อยละ 99 : 1 จากการวิเคราะห์โอกาสและศักยภาพในการ<br />

แข่งขันอุตสาหกรรมกุ้งกุลาดาของประเทศไทย อย่างไรก็ตามประเทศไทยควรจะต้องเพิ่ม<br />

ผลผลิตกุ้งกุลาดาเป็นร้อยละ 10 ของปริมาณผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยง เนื่องจากการเลี้ยง<br />

กุ้งกุลาดายังเป็นจุดแข็งสาหรับประเทศไทย ดังนั้น จึงจาเป็นต้องเร่งรัดพัฒนาเพื่อเพิ่มความ<br />

แข็งแกร่งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของความยั่งยืนของ<br />

อุตสาหกรรมกุ้งไทย โดยเฉพาะในด้านพัฒนาพ่อแม่พันธุ์ที่มีคุณภาพ (โตเร็ว ทนโรค) ทั้งกุ้ง<br />

กุลาดา กุ้งขาว และ/หรือกุ้งก้ามกราม การพัฒนาระบบวินิจฉัยโรค การบริหารจัดการฟาร์มที่ดี<br />

เพื ่อเ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการระบาดของโรคที ่รวดเร็ว การพัฒนาอาหารที ่มีประสิทธิภาพสูง<br />

และพัฒนาระบบการเลี้ยงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong> 5


ผลกระทบโครงการส่งเสริมเทคโนโลีกาชีวภาพสาหรับโรงงาน<br />

อุตสาหกรรม<br />

สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้มอบหมายให้ไบโอเทคศึกษา<br />

ผลกระทบของโครงการส่งเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการ<br />

ดาเนินงาน 3 ปี (ปี 2551-2553) โดยพบว่าโครงการประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายในแง่ของ<br />

การพัฒนาพลังงานทดแทนในรูปกาซชีวภาพ การช่วยลดปญหาสิ่งแวดล้อมได้ระดับหนึ่ง<br />

ดังนั้น สนพ.จึงควรสนับสนุนโครงการดังกล่าวต่อเนื่องเพื่อให้มีการขยายผลไปยังโรงงานที่ยัง<br />

ไม่มีการก่อสร้างระบบ/ลงทุนขยายระบบเพิ ่มเติม และเพื ่อให้เกิดผลสัมฤทธิ ์ที ่สูงขึ ้น ควรปรับปรุง<br />

เงื่อนไขและการขยายกิจกรรมเพิ่มเติมประกอบด้วย 1) ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตกาซ<br />

ชีวภาพทั้งในส่วนของการลงทุนระบบใหม่และการปรับปรุงระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดย<br />

เฉพาะการใช้ High rate technology ซึ่งช่วยลดพื้นที่บาบัดน้าเสียและได้ปริมาณผลผลิตกาซ<br />

ชีวภาพเพิ่มขึ้น 2) สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาซชีวภาพที่มี<br />

ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมที่ยังไม่มีเทคโนโลยีที่มีการพิสูจน์ว่าใช้ได้จริงใน<br />

ทางปฏิบัติ 3) ทบทวนแนวทางสนับสนุน/แรงจูงใจให้กับโรงงานที่มีความคุ้มค่าในการลงทุนต่า<br />

เป็นโครงการที่มีผลดีต่อสิ่งแวดล้อมสูงเพื่อมีส่วนในการเสริมภาพลักษณ์และการรับผิดชอบต่อ<br />

สังคมของอุตสาหกรรมและ สนพ. 4) สนับสนุน/ส่งเสริมให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากไทย<br />

สู่อาเซียนโดยเฉพาะในส่วนของการสนับสนุนในการเข้าถึงตลาด การจัดทาฐานข้อมูล<br />

สนับสนุนการดาเนินธุรกิจ และการเข้าถึงแหล่งเงินทุนต้นทุนต่า เป็นต้น<br />

้อเสนอแนวปิบัติด้านการวิจัในมนุษ์เกี่วกับเคร่องมอแพท์<br />

อง สวทช<br />

สวทช. มีงานวิจัยด้านเครื่องมือแพทย์บางประเภทซึ่งมีความจาเพาะและมีประเด็นที่<br />

แตกต่างออกไปจากการพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของสถาบัน<br />

อื่น เช่น ความเป็นส่วนตัวของอาสาสมัคร การรักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้อง<br />

กับสุขภาพเป็นต้น ไบโอเทคได้มีส่วนร่วมในการจัดทาแนวปฏิบัติด้านการวิจัยในมนุษย์เกี่ยว<br />

กับเครื่องมือแพทย์ของ สวทช. ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมและ<br />

สนับสนุนจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของสวทช. ดังนั้นในการพิจารณาโครงการวิจัยและ<br />

พัฒนาที่จะให้การสนับสนุน การดาเนินการโดยนักวิจัยของ สวทช. รวมถึงงานวิจัยของภาค<br />

เอกชนที่ดาเนินงานอยู่ในอุทยานวิทยาศาสตร์ นอกเหนือจากการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติด้าน<br />

การวิจัยเครื่องมือแพทย์ตามมาตรฐานสากล ซึ่งยึดหลักคล้ายคลึงกับการวิจัยทางคลินิกแล้ว<br />

ยังต้องปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ ของ สวทช. ด้วย<br />

46 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


่<br />

การพันาและส่งเสริมงานความปลอดัย<br />

ทางชีวาพของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม<br />

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety) เป็นเรื่องที่มีความสาคัญทั้งในส่วนของการ<br />

วิจัยและพัฒนา รวมทั้งมีผลต่อธุรกิจเทคโนโลยีชีวภาพ อีกทั้งได้รับความสนใจมากขึ้นจาก<br />

สาธารณะ ดังนั้นไบโอเทคเล็งเห็นความจาเป็นที่ประเทศไทยจะต้องเตรียมความพร้อมให้กับ<br />

หน่วยงานวิจัยต่าง ทั้งภาครัฐ เอกชน เพื่อให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในเวทีสากล โดยได้<br />

มีการศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย การจัดทาแนวทางปฏิบัติต่าง การผลักดันให้เกิดการพัฒนา<br />

ระบบการบริหารจัดการ การสร้างความสามารถในการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ<br />

สานภาพและประเด็นท้าทาต่อประเทไท พชดัดแปลง<br />

พันธุกรรมและความปลอดภัทางชีวภาพ<br />

สถานภาพปจจุบันมีการปลูกพืชดัดแปลงพันธุกรรมใน 29 ประเทศทั่วโลก รวมทั้ง<br />

ในกลุ่มประเทศที่มีนโยบายเข้มงวดอย่างสหภาพยุโรป แม้ว่าพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่ปลูก<br />

เพื ่อการค้าส่วนใหญ่พัฒนาขึ ้นโดยบริษัทข้ามชาติ แต่หลายประเทศได้มีนโยบายส่งเสริมการวิจัย<br />

และพัฒนาพืชของตนเอง และจดสิทธิบัตรเพื่อเป็นเจ้าของพืชหรือยีนที ่ใช้ในการพัฒนา โดย<br />

ประเทศที่มีการยอมรับการปลูกพืชดัดแปลงพันธุกรรมตั้งแต่ระยะแรก เช่น จีน บราซิล เริ่มอนุญาต<br />

ให้มีการปลูกพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่พัฒนาจากหน่วยงานภาครัฐภายในประเทศของตนเอง<br />

แล้ว นอกจากนี้ประเทศในภูมิภาคอาเซียน ทั้งฟิลิปปินส์ อินโดนีเชีย มาเลเซีย เวียดนาม<br />

สิงคโปร์ และพม่า รัฐบาลให้การสนับสนุนการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม และมีการทดสอบ<br />

ภาคสนามในพืชหลายชนิดอยู ่ในเวลานี ้ ในขณะที ่ประเทศไทยยังไม่มีการทดสอบภาคสนาม<br />

แม้ว่าคณะรัฐมนตรีจะอนุญาตให้ขยายการทดสอบไปสู่แปลงทดลองของราชการได้ แต่ด้วย<br />

มาตรการที ่เข้มงวดซึ ่งกาหนดให้ต้องนาเสนอ ครม. พิจารณาอนุมัติการทดลองในแต่ละพื ้นที<br />

เป็นราย ไป ด้วยความก้าวหน้าของการวิจัยพัฒนาผนวกกับแนวโน้มการยอมรับเทคโนโลยี<br />

ของประเทศเพื่อนบ้าน จึงส่งผลให้มีความเป็นไปได้อย่างยิ่งที่ประเทศไทยจะถูกล้อมรอบด้วย<br />

ประเทศที่ยอมรับพืชดัดแปลงพันธุกรรม การไหลบ่าของพืชดัดแปลงพันธุกรรม ทั้งตัวพืชเอง<br />

และสินค้าที่เป็นผลผลิตจากการนาเข้าอย่างถูกกฎหมายและการลักลอบนาเข้า จึงเป็น<br />

ประเด็นท้าทายที่ประเทศไทยควรมีนโยบายในการเร่งสร้างความเข้มแข็งด้านพันธุวิศวกรรม<br />

และความปลอดภัยทางชีวภาพให้มีความพร้อมทั้งในการกากับดูแลและการวิจัยพัฒนา ควบคู่<br />

กับการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่สังคมไทยเพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกที่เหมาะสม<br />

บนฐานของความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong> 47


แนวทางปิบัติเพ่อความปลอดภัทางชีวภาพสาหรับการใช้จุลินทรี์<br />

ดัดแปลงพันธุกรรมในสภาพควบคุมเพ่อใช้ในระดับโรงงานต้นแบบ<br />

และอุตสาหกรรม บับปรับปรุง<br />

ไบโอเทคได้ปรับปรุง แนวทางปฏิบัติเพื ่อความปลอดภัยทางชีวภาพสาหรับการใช้จุลินทรีย์<br />

ดัดแปลงพันธุกรรมในสภาพควบคุมเพื่อใช้ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรม าหรับผู้ประกอบการ<br />

ส<br />

และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมในระดับโรงงานต้นแบบและ<br />

อุตสาหกรรม ตั้งแต่ขั้นตอนการขออนุญาตทางานไปจนถึงการกาจัด/การเคลื่อนย้ายจุลินทรีย์<br />

ดัดแปลงพันธุกรรม การวางแผนรับเหตุฉุกเฉิน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยทั้งต่อผู้ปฏิบัติงาน ชุมชน<br />

และสิ่งแวดล้อม<br />

การเตรีมความพร้อมด้านความปลอดภัทางชีวภาพ<br />

องประเทไทและประเทในทวีปเอเชี<br />

ไบโอเทค สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ ่งแวดล้อม กระทรวง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับ<br />

องค์กรนานาชาติ 3 หน่วยงาน ได้แก่ Public Research <strong>and</strong> Regulation Initiative (PRRI) International<br />

Food Policy Research Institute (IFPRI)/Program <strong>for</strong> Biosafety Systems และ International Service <strong>for</strong><br />

the Acquisition of Agri-biotech (ISAAA) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Asian Regional Workshop on<br />

Sustainable Food Production, Biotechnology <strong>and</strong> Biosafety เพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศไทย<br />

และประเทศในทวีปเอเชีย โดยมีการประชุม 4 ประชุม ได้แก่ 1) การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อม<br />

และการพัฒนาที ่ยั ่งยืน 2) การประชุมสมัชชาภาคีพิธีสารคาร์ตาเฮน่าว่าด้วยความปลอดภัยทาง<br />

ชีวภาพ ครั้งที่ 6 3) การประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ครั้งที่ 11<br />

และ 4) การประชุมคณะกรรมาธิการว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน ครั้งที่ 20 โดยมีเนื ้อหาเกี ่ยวกับ<br />

แนวทางปฏิบัติในการประเมินความเสี ่ยงของสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเฉพาะชนิด ได้แก่ พืช<br />

ดัดแปลงพันธุกรรมแบบรวมยีน พืชดัดแปลงพันธุกรรมที่ทนทานต่อ abiotic stress และยุงดัดแปลง<br />

พันธุกรรม มีผู้เชี่ยวชาญ ผู้เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางชีวภาพกว่า 50 คน จาก 15 ประเทศใน<br />

ภูมิภาคเอเชีย เข้าร่วมประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็น<br />

การสร้างความสามารในการประเมินความปลอดภัทางชีวภาพ<br />

48 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

เพื ่อเตรียมความพร้อมในการควบคุมดูแลงานวิจัย และยกระดับกลไกควบคุมความ<br />

ปลอดภัยทางชีวภาพงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือพันธุวิศวกรรมของประเทศให้เข้าสู่<br />

มาตรฐานสากล ไบโอเทคได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างทักษะการใช้ แนวทางปฏิบัติ<br />

เพื ่อความปลอดภัยทางชีวภาพสาหรับการดาเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือพันธุ<br />

วิศวกรรม ให้กับนักวิจัย นักวิชาการทั้งภาครัฐและเอกชน และนักศึกษาที่ดาเนินงานเกี่ยวกับ<br />

เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือพันธุวิศวกรรม โดยจัดในหลักสูตรเบื้องต้นจานวน 6 รุ่นมีผู้เข้าอบรม<br />

รวม 274 คน และหลักสูตรระดับกลางเพื่อสร้างกลุ่มวิทยากรให้เป็นกลไกสาหรับถ่ายทอดองค์ความรู้<br />

เกี่ยวกับการใช้แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ จ านวน 1 รุ่นมีผู้เข้าอบรมรวม 22 คน


ภาคผนวก<br />

สิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร<br />

บทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ<br />

รางวัลแห่งความสาเร็จ<br />

คณะกรรมการบริหารไบโอเทค<br />

คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติ<br />

คณะผู้บริหารไบโอเทค<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>49


สิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร<br />

1. ผลงานที่ยื่นขอจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร จานวน 40 คาขอ<br />

1.1 ผลงานที่ยื่นขอจดสิทธิบัตรในต่างประเทศ จานวน 2 คาขอ<br />

วันที่ยื่นคำขอ เลขที่คำขอ ชื่อกำรประดิษฐ์<br />

9 กุมภาพันธ์ <strong>2555</strong> PCT/TH2012/<br />

000005<br />

9 กุมภาพันธ์ <strong>2555</strong> PCT/TH2012/<br />

000006<br />

A BACTERIAL SURROGATE FOR TESTING OF ANTIMALARIALS: thy A<br />

KNOCKOUT AND floA KNOCKOUT BACTERIA FOR TESTING OF INHIBITION<br />

OF MALARIAL DIHYDROFOLATE REDUCTASE-THYMIDYLATE SYNTHASE<br />

ANTI-FOLATE ANTIMALARIALS WITH DUAL-BINDING MODES AND THEIR<br />

PREPARATION<br />

1.2 ผลงานที่ยื่นขอจดสิทธิบัตรในประเทศ จานวน 14 คาขอ<br />

วันที่ยื่นคำขอ เลขที่คำขอ ชื่อกำรประดิษฐ์<br />

25 พฤศจิกายน 2554 1101003303 ชุดตรวจ LAMP-dipstick สาหรับตรวจเชื้อวัณโรคชนิด Mycobacterium<br />

tuberculosis<br />

2 กุมภาพันธ์ <strong>2555</strong> 1201000416 วิธีการระบุชนิดของเชื้อมาลาเรียโดยใช้ค่าการกระจายของขนาดโครมาติน<br />

14 มีนาคม <strong>2555</strong> 1201001101 การตรวจเชื้อแมคโครบราเคี่ยมโรเซ็นเบอร์กิไอโนดาไวรัสและอ่านผลโดยใช้แผ่น<br />

ทดสอบ<br />

29 พฤษภาคม <strong>2555</strong> 1201002493 สูตรเอนไซม์ผสมสาหรับกระบวนการย่อยชีวมวลเป็นน้าตาล และกระบวนการ<br />

ย่อยสลายชีวมวลเป็นน้าตาลโดยการใช้สูตรเอนไซม์ผสมดังกล่าว<br />

29 พฤษภาคม <strong>2555</strong> 1201002434 กระบวนการผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคต้นทุนต่าด้วยการหมักราแบบเหลว<br />

29 พฤษภาคม <strong>2555</strong> 1201002492 กรรมวิธีควบคุมการแสดงออกของยีนในเชื้อปรสิตตระกูลอะพิคอมเพล็กซาโดย<br />

ไรโบไซม์<br />

20 มิถุนายน <strong>2555</strong> 1201002989 ชุดตรวจสอบโลหะหนักเงินไอออนในของเหลวและกรรมวิธีการตรวจสอบดังกล่าว<br />

9 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1201004042 กระบวนการผลิตฟิล์มพอลิแลคติกแอซิดคอมโพสิทที่มีฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์<br />

6 กันยายน <strong>2555</strong> 1201004543 ระบบอัตโนมัติสาหรับตรวจหาความเสี่ยงในการเป็นโรคเบต้าธาลัสซีเมีย/<br />

ฮีโมโกลบินอีขั้นรุนแรงจากข้อมูลปฏิสัมพันธ์ของจีโนไทป์ระหว่างคู่สนิป<br />

21 กันยายน <strong>2555</strong> 1201004891 ระบบอัตโนมัติสาหรับแม็ปปิ้งลาดับเบสของดีเอ็นเอที่ได้จากเครื่องอ่านลาดับเบส<br />

ที่ใช้เทคโนโลยีไพโรซีเคว้นซิ่ง<br />

21 กันยายน <strong>2555</strong> 1201004892 ระบบอัตโนมัติสาหรับวิเคราะห์การแปรผันของลาดับเบสของดีเอ็นเอที่ได้จาก<br />

เครื่องอ่านลาดับเบสที่ใช้เทคโนโลยีเทอมิเนเตอร์ไซเคิลซีเคว้นซิ่ง<br />

21 กันยายน <strong>2555</strong> 1203001020 พลาสมิดรายงานผลและกรรมวิธีการใช้พลาสมิดดังกล่าวในการตรวจหาสารที่มี<br />

ฤทธิ์ต้านเชื้อวัณโรคที่อยู่ในเซลล์<br />

28 กันยายน <strong>2555</strong> 1201005091 กรรมวิธีการคัดพันธุ์พืชทนเค็มอย่างรวดเร็วด้วยหลายพารามิเตอร์ด้านการ<br />

สังเคราะห์แสงภายใต้ระบบการควบคุมสภาพแวดล้อมในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช<br />

28 กันยายน <strong>2555</strong> 1203001093 การผลิตโปรตีนสายผสมโบนมอร์โฟเจเนติกชนิดที่สองในรูปที่ละลายน้าได้<br />

50 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


1.3 ผลงานที่ยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร จานวน 24 คาขอ<br />

วันที่ยื่นคำขอ เลขที่คำขอ ชื่อกำรประดิษฐ์<br />

8 กุมภาพันธ์ <strong>2555</strong> 1203000138 เวกเตอร์ที่ใช้เป็นพาหะในการนาชิ้นส่วนของยีนเข้าสู่เชื้อเอสเชอริเชีย โคไล<br />

(Escherichia coli) และเชื้อแลคโตบาซิลลัส คาเซอิ (Lactobacillus casei)<br />

22 มีนาคม <strong>2555</strong> 1203000302 ชุดตรวจหาไวรัสไอเอ็มเอนวี (IMNV) แบบแถบสี<br />

25 พฤษภาคม <strong>2555</strong> 1203000518 กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อไวรัสไอเอ็ชเอ็ชเอ็นวีในกุ้ง<br />

20 มิถุนายน <strong>2555</strong> 1203000594 ผลิตภัณฑ์สาหรับการแสดงออกยีนเพื่อผลิตโปรตีนเป้าหมายที่เหนี่ยวนาด้วย<br />

เมธานอล และกรรมวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว<br />

26 กรกฎาคม <strong>2555</strong> 1203000772 กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อไวรัสก่อโรคหัวเหลืองในกุ้ง<br />

9 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000833 กรรมวิธีการสร้างสารต้านอนุมูลอิสระด้วยกระบวนการบังคับให้เกิดหน่ออ่อนของ<br />

มหาหงส์ภายใต้สภาวะการควบคุมสภาพแวดล้อมในสภาพปลอดเชื้อ<br />

9 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000834 กระบวนการฟอกเยื่อกระดาษโดยใช้เอนไซม์ไซแลนเนสทนด่างจากเมต้าจีโนมของ<br />

กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยลิกโนเซลลูโลสที่ได้จากกองชานอ้อย<br />

17 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000856 กระบวนการเตรียมกล้าเชื้อยีสต์ Pichia pastoris กลุ่มที่มีความสามารถในการใช้<br />

เมทานอลช้าลง (MutS) เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพกล้าเชื้อในกระบวนการหมัก<br />

17 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000857 กระบวนการเพาะเลี้ยงเชื้อราในการผลิตกรดไขมันโอเมก้าหก<br />

23 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000885 กระบวนการลอกแป้งและกาจัดสิ่งสกปรกแบบขั้นตอนเดียวบนผ้าที่ผลิตจากเส้นใย<br />

ธรรมชาติโดยใช้เอนไซม์ผสม<br />

27 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000894 ผลิตภัณฑ์สาหรับการแสดงออกโปรตีนเป้าหมายแบบไม่อาศัยการเหนี่ยวนา ที่<br />

สภาวะอุณหภูมิสูงด้วยเซลล์เจ้าบ้านยีสต์ Pichia thermonethanolica สายพันธุ์<br />

ทนร้อน และกรรมวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว<br />

27 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000892 กรรมวิธีการหมักวัตถุดิบมันสาปะหลังที่มีปริมาณของแข็งสูงในระบบเพื่อการผลิต<br />

เชื้อเพลิงชีวภาพและสารเคมี<br />

30 สิงหาคม <strong>2555</strong> 1203000917 สูตรน้ายาและกรรมวิธีสาหรับตรวจวิเคราะห์ปริมาณออกซิเจนละลายในน้า<br />

6 กันยายน <strong>2555</strong> 1203000944 กรรมวิธีการตรวจหาและจาแนกเชื้อพลาสโมเดียม ฟาลซิปารัม ในตัวอย่างเลือด<br />

6 กันยายน <strong>2555</strong> 1203000942 กรรมวิธีการเพิ่มอัตราการงอกของเมล็ดพืชเปลือกแข็งโดยการใช้น้าอุณหภูมิสูง<br />

และใช้กรดความเข้มข้นสูง<br />

6 กันยายน <strong>2555</strong> 1203000943 กรรมวิธีการตรวจหาและจาแนกเชื้อพลาสโมเดียม ไวแวกซ์ในตัวอย่างเลือด<br />

13 กันยายน <strong>2555</strong> 1203000962 ไพรเมอร์ที่มีความจาเพาะต่อเชื้อแบคทีเรียก่อโรควิบริโอ ฮาร์วีอาย (Vibrio<br />

harveyi)<br />

13 กันยายน <strong>2555</strong> 1203000960 กรรมวิธีการเหนี่ยวนาให้เกิดการกลายพันธุ์ในพืช โดยการควบคุมแรงดัน<br />

บรรยากาศร่วมกับการใช้สารก่อการกลายพันธุ์<br />

13 กันยายน <strong>2555</strong> 1203000961 กรรมวิธีการเหนี่ยวนาให้เกิดการกลายพันธุ์ในพืชโดยการใช้คลื่นความถี่อุลตร้าโซนิก<br />

ร่วมกับการใช้สารก่อการกลายพันธุ์<br />

21 กันยายน <strong>2555</strong> 1203001027 ระบบสาหรับค้นหายีนที่มีความสัมพันธ์ไปกับความผิดปกติทางพันธุกรรมทั้ง<br />

จีโนมจากข้อมูลสนิปอาเรย์<br />

21 กันยายน <strong>2555</strong> 1203001021 กรรมวิธีการเก็บรักษาอับละอองเกสรตัวผู้ของข้าว ภายใต้สภาวะควบคุมอุณหภูมิ<br />

ต่า และความชื้นสัมพัทธ์สูง<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

51


วันที่ยื่นคำขอ เลขที่คำขอ ชื่อกำรประดิษฐ์<br />

28 กันยายน <strong>2555</strong> 1203001089 สูตรการเก็บรักษาสปอร์เชื้อราสาหรับควบคุมแมลงศัตรูพืช กรรมวิธีการเตรียม<br />

และการใช้<br />

28 กันยายน <strong>2555</strong> 1203001090 กรรมวิธีการลดการสูญเสียน้าและการสูญเสียน้าหนักของผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์หมัก<br />

ที่มีสภาวะเป็นกรดด้วยโปรตีนไอโซเลตจากเวย์ที่ดัดแปรด้วยความร้อน<br />

28 กันยายน <strong>2555</strong> 1203001096 เชื้อรา Beuveria bassiana ปรับปรุงพันธุกรรมสาหรับกาจัดศัตรูพืช<br />

2. ผลงานที่ได้รับคู่มืออนุสิทธิบัตร จานวน 2 ฉบับ<br />

วันที่ได้รับอนุสิทธิบัตร<br />

เลขที่<br />

อนุสิทธิบัตร<br />

ชื่อกำรประดิษฐ์ ชื่อผู้ประดิษฐ์<br />

29 พฤศจิกายน 2554 6725 กรรมวิธีการเตรียมโปรตีนยึดจับสารชีวโมเลกุลชนิด นายปรัชญา คงทวีเลิศ<br />

ไฮยาลูโรแนนที่ติดฉลากด้วยไบโอตินและการนาไป<br />

ประยุกต์ใช้<br />

2 กุมภาพันธ์ <strong>2555</strong> 6921 กรรมวิธีการถนอมรักษาเงาะด้วยการทาแช่อิ่มกึ่งแห้ง นางปิยรัตน์ ศิริวงศ์ไพศาล<br />

นางสาวจิราภรณ์ บาลชื่น<br />

นายพรชัย ศรีไพบูลย์<br />

นางสาวอัญชลี ศิริโชติ<br />

52 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


บทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จานวน 216 บทความ<br />

1. Abere, B., Wikan, N., Ubol, S., Auewarakul, P., Paemanee, A.,<br />

Kittisenachai, S., Roytrakul, S. <strong>and</strong> Smith, D.R. (2012).<br />

Proteomic Analysis of Chikungunya Virus Infected<br />

Microgial Cells. PLoS ONE, 7(4), e34800.<br />

2. Amaro, M., Oaew, S. <strong>and</strong> Surareungchai, W. (2012).<br />

Scano-magneto immunoassay based on carbon<br />

nanotubes/gold nanoparticles nanocomposite <strong>for</strong><br />

Salmonella enterica serovar Typhimurium detection.<br />

Biosensors <strong>and</strong> Bioelectronics, 38(1), 157-162.<br />

3. Amparyup, P., Charoensapsri, W. <strong>and</strong> Tassanakajon, A. (2012).<br />

Prophenoloxidase system <strong>and</strong> its role in shrimp immune<br />

responses against major pathogens. Fish <strong>and</strong> Shellfish<br />

Immunology, 34(4), 990-1001.<br />

4. Amparyup, P., Sutthangkul, J., Charoensapsri, W. <strong>and</strong><br />

Tassanakajon, A. (2012). Pattern Recognition Protein Binds<br />

to Lipopolysaccharide <strong>and</strong> β-1,3-Glucan <strong>and</strong> Activates<br />

Shrimp Prophenoloxidase System. Journal of Biological<br />

Chemistry, 287, 10060-10069.<br />

5. Apiratmateekul, N., Pata, S., Chiampanichayakul, S. <strong>and</strong><br />

Kasinrerk, W. (2012). Non-mitogen containing conditioned<br />

medium <strong>for</strong> hybridoma production <strong>and</strong> single cell cloning.<br />

Asian Pacific Journal of Allergy <strong>and</strong> Immunology, 30(2),<br />

114-122.<br />

6. Arpornsuwan, T., Petvises, S., Thim-Uam, A., Boondech, A. <strong>and</strong><br />

Roytrakul, S. (2012). Effects of Carthamus tinctorius<br />

L. solvent extracts on anti-proliferation of human colon<br />

cancer (SW 620 cell line) via apoptosis <strong>and</strong> the growth<br />

promotion of lymphocytes. Songklanakarin Journal of<br />

Science <strong>and</strong> Technology, 34(1), 45-51.<br />

7. Arunpanichlert, J., Rukachaisirikul, V., Sukpondma, Y.,<br />

Phongpaichit, S., Supaphon, O. <strong>and</strong> Sakayaroj, J. (2011). A<br />

β-Resorcylic Macrolide from the Seagrass-derived Fungus<br />

Fusarium sp. PSU-ES73. Archives of Pharmacal Research,<br />

34(10), 1633-1637.<br />

8. Arunpanichlert, J., Rukachaisirikul, V., Tadpetch, K., Phongpaichit,<br />

S., Hutadilok-Towatana, N., Supaphon, O. <strong>and</strong> Sakayaroj, J.<br />

(2012). A dimeric chromanone <strong>and</strong> a phthalide:<br />

Metabolites from the seagrass-derived fungus Bipolaris sp.<br />

PSU-ES64. Phytochemistry Letters, 5(3), 604-608.<br />

9. Assawamakina, A., Sriratanaviriyakul, N., Lalerd, Y., T<br />

hongnoppakhun, W., Praditsap, O., Tongsima, S. <strong>and</strong><br />

Pithukpakorn, M. (2012). Meta-analysis of the plasminogen<br />

activator inhibitor-1 (PAI-1) gene with insertion/deletion<br />

4G/5G polymorphism <strong>and</strong> its susceptibility to ischemic<br />

stroke in Thai population. Asian Biomedicine, 6(2), 203-217.<br />

10. Auttawaitkul, Y., Therdyothin, A. <strong>and</strong> Monyakul, V. (2011). A<br />

Novel Method <strong>for</strong> Saving Energy of HVAC Using<br />

Autonomous Variable Air Velocity Based On Thermal<br />

Com<strong>for</strong>t. IEEJ Transactions on Industry Applications,<br />

131(7), 924-931.<br />

11. Bartpho, T., Wongsurawat, T., Wongratanacheewin, S., Talaat,<br />

A.M., Karoonuthaisiri, N. <strong>and</strong> Sermswan, R.W. (2012).<br />

Genomic isl<strong>and</strong>s as a marker to differentiate between<br />

clinical <strong>and</strong> environmental Burkholderia pseudomallei.<br />

PLoS ONE, 7(6), e37762.<br />

12. Boonman, N., Prachya, S., Boonmee, A., Kittakoop, P., Wiyakrutta, S.,<br />

Sriubolmas, N., Warit, S. <strong>and</strong> Dharmkrong-at<br />

Chusattayanond, A. (2012). In vitro Acanthamoebicidal<br />

Activity of Fusaric Acid <strong>and</strong> Dehydrofusaric Acid from an<br />

Endophytic Fungus Fusarium sp. Tlau3. Planta Medica,<br />

78(14), 1562-1567.<br />

13. Boonmee, S., Ko, T.W.K., Chukeatirote, E., Hyde, K.D., Chen, H.,<br />

Cai, L., McKenzie, E.H., Jones, E.B.G., Kodsueb, R. <strong>and</strong><br />

Hassan, B.A. (2012). Two new Kirschsteiniothelia species<br />

with Dendryphiopsis anamorphs cluster in<br />

Kirschsteiniotheliaceae fam. nov.. Mycologia, 104(3),<br />

698-714.<br />

14. Boonyuen, N., Sri-Indrasutdhi, V., Suetrong, S., Sivichai, S. <strong>and</strong><br />

Jones, E.B.G. (2012). Annulatascus aquatorba sp. nov., a<br />

lignicolous freshwater ascomycete from Sirindhorn Peat<br />

Swamp Forest, Narathiwat, Thail<strong>and</strong>. Mycologia, 104(3),<br />

746-757.<br />

15. Buaklin, A., Klinbunga, S. <strong>and</strong> Mensveta, P. (2011). Identification<br />

<strong>and</strong> expression analysis of the Broad-Complex core<br />

protein iso<strong>for</strong>m 6 (BR-C Z6) gene in the giant tiger shrimp<br />

Penaeus monodon (Penaeidae: Decapoda). <strong>Genetic</strong>s <strong>and</strong><br />

Molecular Research, 10(4), 2290-2306.<br />

16. Bunyapaiboonsri, T., Vongvilai, P., Auncharoen, P. <strong>and</strong> Isaka, M.<br />

(2012). Cyclohexadepsipeptides from the Filamentous<br />

Fungus Acremonium sp. BCC 2629. Helvetica Chimica<br />

Acta, 95(6), 963-972.<br />

17. Certik, M., Adamechova, Z. <strong>and</strong> Laoteng, K. (2012). Microbial<br />

production of gamma-linolenic acid: Submerged versus<br />

solid-state fermentations. Food Science <strong>and</strong> Biotechnology,<br />

21(4), 921-926.<br />

18. Chairattana, C., Powtongsook, S., Dharmvanij, S. <strong>and</strong> Manasveta,<br />

P. (2012). Biological Carbon Dioxide Assimilation Process<br />

using Marine Phytoplankton Tetraselmis suecica <strong>and</strong><br />

Bivalve Perna viridis. EnvironmentAsia, 5(1), 63-69.<br />

19. Chakhonkaen, S., Pitnjam, K., Saisuk, W., Ukoskit, K. <strong>and</strong><br />

Muangprom, A. (2012). <strong>Genetic</strong> structure of Thai rice <strong>and</strong><br />

rice accessions obtained from the International Rice<br />

Research Institute. RICE, 5, 19.<br />

20. Chantarasuwan, C., Benjakul, S. <strong>and</strong> Visessanguan, W. (2011).<br />

Effects of sodium carbonate <strong>and</strong> sodium bicarbonate on<br />

yield <strong>and</strong> characteristics of Pacific white shrimp (Litopenaeus<br />

vannamei). Food Science <strong>and</strong> Technology International,<br />

17(4), 403-414.<br />

21. Charerntantanakula, W. <strong>and</strong> Kasinrerk, W. (2012). Plasmids<br />

expressing interleukin-10 short hairpin RNA mediate IL-10<br />

knockdown <strong>and</strong> enhance tumor necrosis factor alpha <strong>and</strong><br />

interferon gamma expressions in response to porcine<br />

reproductive <strong>and</strong> respiratory syndrome virus. Veterinary<br />

Immunology <strong>and</strong> Immunopathology, 146(2), 159-168.<br />

22. Charlermroj, R., Oplatowska, M., Kumpoosiri, M., Himananto, O.,<br />

Gajan<strong>and</strong>ana, O., Elliott, C.T. <strong>and</strong> Karoonuthaisiri, N.<br />

(2012). Comparison of techniques to screen <strong>and</strong><br />

characterize bacteria-specific hybridomas <strong>for</strong> high-quality<br />

monoclonal antibodies selection. Analytical Biochemistry,<br />

421(1), 26-36.<br />

23. Cha-um, S., Chuencharoen, S., Mongkolsiriwatana, C., Ashraf, M.<br />

<strong>and</strong> Kirdmanee, C. (2012). Screening sugarcane<br />

(Saccharum sp.) genotypes <strong>for</strong> salt tolerance using<br />

multivariate cluster analysis. Plant Cell Tissue <strong>and</strong> Organ<br />

Culture, 110(1), 23-33.<br />

24. Cha-um, S., Samphumphuang, T. <strong>and</strong> Kirdmanee, C. (2012). In vitro<br />

flowering of indica rice (Oryza sativa L. spp. indica). in<br />

Vitro Cellular <strong>and</strong> Developmental Biology-Plant, 48(2),<br />

259-264.<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

53


25. Cha-um, S., Singh, H.P., Samphumphuang, T. <strong>and</strong> Kirdmanee, C.<br />

(2012). Calcium-alleviated salt tolerance in indica rice<br />

(Oryza sativa L. spp. indica): Physiological <strong>and</strong><br />

morphological changes. Australian Journal of Crop<br />

Science, 6(1), 176-182.<br />

26. Cha-um, S., Takabe, T. <strong>and</strong> Kirdmanee, C. (2012). Physio-<br />

Biochemical Responses of Oil Palm (Elaeis guineensis<br />

Jacq.) Seedlings to Mannitol <strong>and</strong> Polyethylene<br />

Glycol-Induced Iso-Osmotic Stresses. Plant Production<br />

Science, 15(2), 65-72.<br />

27. Cha-um, S., Yamada, N., Takabe, T. <strong>and</strong> Kirdmanee, C. (2011).<br />

Mannitol-induced water deficit stress in oil palm (Elaeis<br />

guineensis Jacq.) seedlings. Journal of Oil Palm Research,<br />

23(12), 1194-1202.<br />

28. Cha-um, S., Yooyongwech, S. <strong>and</strong> Supaibulwatana, K. (2012).<br />

Water-deficit tolerant classification in mutant lines of<br />

indica rice. Scientia Agricola, 69(2), 135-141.<br />

29. Cheevadhanarak, S., Paithoonrangsarid, K., Prommeenate, P.,<br />

Kaewngam, W., Musigkain, A.,Tragoonrung, S., Tabata, S.,<br />

Kaneko, T., Chaijaruwanich, J., Sangsrakru, D.,<br />

Tangphatsornruang, S., Chanprasert, J., Tongsima, S.,<br />

Kusonmano, K., Jeamton, W., Dulsawat, S., Klanchui, A.,<br />

Vorapreeda, T., Chumchua, V., Khannapho, C.,<br />

Thammarongtham, C., Plengvidhya, V., Subudhi, S.,<br />

Hongsthong, A., Ruengjitchatchawalya, M., Meechai, A.,<br />

Senachak, J. <strong>and</strong> Tanticharoen, M. (2012). Draft genome<br />

sequence of Arthrospira platensis C1 (PCC9438).<br />

St<strong>and</strong>ards in Genomic Sciences, 6(1), 43-53.<br />

30. Chokpaiboon, S., Sommit, D., Bunyapaiboonsri, T., Matsubara,<br />

K. <strong>and</strong> Pudhom, K. (2011). Antiangiogenic Effect of<br />

Chamigrane Endoperoxides from a Thai Mangrove-Derived<br />

Fungus. Journal of Natural Products, 74(10), 2290-2294.<br />

31. Chomnunti, P., Ko Ko, T.W., Chukeatirote, E., Hyde, K.D., Cai, L.,<br />

Jones, E.B.G., Kodsueb, R., Hassan, B.A. <strong>and</strong> Chen, H.<br />

(2012). Phylogeny of Chaetothyriaceae in northern<br />

Thail<strong>and</strong> including three new species. Mycologia, 104(2),<br />

382-395.<br />

32. Chutipaijit, S., Cha-um, S. <strong>and</strong> Sompornpailin, K. (2011). High<br />

contents of proline <strong>and</strong> anthocyanin increase protective<br />

response to salinity in Oryza sativa L. spp. indica.<br />

Australian Journal of Crop Science, 5(10), 1191-1198.<br />

33. Chutipaijit, S., Cha-Um, S. <strong>and</strong> Sompornpailin, K. (2012). An<br />

evaluation of water deficit tolerance screening in<br />

pigmented indica rice genotypes. Pakistan Journal of<br />

Botany, 44(1), 65-72.<br />

34. Clark, K.B., Hsiao, H.-M., Noisakran, S., Tsai, J.J. <strong>and</strong> Perng, G.C.<br />

(2012). Role of Microparticles in Dengue Virus Infection<br />

<strong>and</strong> Its Impact on Medical Intervention Strategies. Yale<br />

Journal of Biology <strong>and</strong> Medicine, 85(1), 3-18.<br />

35. Eamkamon, T., Klinbunga, S., Thirakhupt, K., Menasveta, P. <strong>and</strong><br />

Puanglarp, N. (2012). Acute Toxicity <strong>and</strong> Neurotoxicity of<br />

Chlorpyrifos in Black Tiger Shrimp, Penaeus monodon.<br />

EnvironmentAsia, 5(1), 26-31.<br />

36. Faksri, K., Drobniewski, F., Nikolayevskyy, V., Brown, T.,<br />

Prammananan, T., Palittapongarnpim, P., Prayoonwiwat, N. <strong>and</strong><br />

Chaiprasert, A. (2011). Epidemiological trends <strong>and</strong> clinical<br />

comparisons of Mycobacterium tuberculosis lineages in<br />

Thai TB meningitis. Tuberculosis, 91(6), 594-600.<br />

37. Flegel, T.W. (2012). Historic emergence, impact <strong>and</strong> current<br />

status of shrimp pathogens in Asia. Journal of Invertebrate<br />

Pathology, 110(2), 166-173.<br />

38. Flegel, T.W. <strong>and</strong> Sritunyalucksana, K. (2011). Shrimp Molecular<br />

Responses to Viral Pathogens. Marine Biotechnology,<br />

13(4), 587-607.<br />

39. Gonzalez-Ballester, D., Pootakham, W., Mus, F., Yang, W.,<br />

Catalanotti, C., Magneschi, L., de Montaigu, A., Higuera, J.J.,<br />

Prior, M., Galván, A., Fern<strong>and</strong>ez, E. <strong>and</strong> Grossman, A.R.<br />

(2011). Reverse genetics in Chlamydomonas: a plat<strong>for</strong>m<br />

<strong>for</strong> isolating insertional mutants. PLANT METHODS, 7,<br />

24-36.<br />

40. Haritakun, R., Rachtawee, P., Komwijit, S., Nithithanasilp, S. <strong>and</strong><br />

Isaka, M. (2012). Highly Conjugated Ergostane-Type<br />

Steroids <strong>and</strong> Aranotin-Type Diketopiperazines from the<br />

Fungus Aspergillus terreus BCC 4651. Helvetica Chimica<br />

Acta, 95(2), 308-313.<br />

41. Iangcharoen, P., Punfa, W., Yodkeeree, S., Kasinrerk, W.,<br />

Ampasavate, C., Anuchapreeda, S. <strong>and</strong> Limtrakul, P.<br />

(2011). Anti-P-glycoprotein conjugated nanoparticles <strong>for</strong><br />

targeting drug delivery in cancer treatment. Archives of<br />

Pharmacal Research, 34(10), 1679-1689.<br />

42. Ingkasuwan, P., Netrphan, S., Prasitwattanaseree, S.,Tanticharoen, M.,<br />

Bhumiratana, S., Meechai, A., Chaijaruwanich, J., Takahashi,<br />

H. <strong>and</strong> Cheevadhanarak, S. (2012). Inferring transcriptional<br />

gene regulation network of starch metabolism in<br />

Arabidopsis thaliana leaves using graphical Gaussian<br />

model. BMC System Biology, 6, 100.<br />

43. Intarasirisawat, R., Benjakul, S. <strong>and</strong> Visessanguan, W. (2012).<br />

Antioxidative <strong>and</strong> functional properties of protein<br />

hydrolysate from defatted skipjack (Katsuwonous<br />

pelamis) roe. Food Chemistry, 135(4), 3039-3048.<br />

44. Isaka, M., Chinthanom, P., Sappan, M., Chanthaket, R., Luangsa-<br />

Ard, J.J., Prabpai, S. <strong>and</strong> Kongsaeree, P. (2011). Lanostane<br />

<strong>and</strong> Hopane Triterpenes from the Entomopathogenic<br />

Fungus Hypocrella sp. BCC 14524. Journal of Natural<br />

Products, 74(10), 2143-2150.<br />

45. Isaka, M., Chinthanom, P., Supothina, S. <strong>and</strong> Mongkolsamrit, S.<br />

(2012). Hopane triterpenes from the scale insect<br />

pathogenic fungus Aschersonia calendulina BCC 23276.<br />

Phytochemistry Letters, 5(4), 734-737.<br />

46. Isaka, M., Palasarn, S., Chinthanom, P., Thongtan, J., Sappan, M.<br />

<strong>and</strong> Somrithipol, S. (2012). Poronitins A <strong>and</strong> B,<br />

4-pyrone <strong>and</strong> 4-pyridone derivatives from the elephant<br />

dung fungus Poronia gigantea. Tetrahedron Letters,<br />

53(36), 4848-4851.<br />

47. Isaka, M., Srisanoh, U., Sappan, M., Kongthong, S. <strong>and</strong><br />

Srikitikulchai, P. (2012). Eremophilane <strong>and</strong> eudesmane<br />

sesquiterpenoids <strong>and</strong> a pimarane diterpenoid from the<br />

wood-decay fungus Xylaria sp. BCC 5484. Phytochemistry<br />

Letters, 5(1), 78-82.<br />

48. Isaka, M., Srisanoh, U., Sappan, M., Supothina, S. <strong>and</strong><br />

“Boonpratuang, T. (2012). Sterostreins F-O, illudalanes<br />

<strong>and</strong> norilludalanes from cultures of the Basidiomycete<br />

Stereum ostrea BCC 22955. Phytochemistry, 79, 116-120.<br />

49. Jariyapan, N., Roytrakul, S., Paemanee, A., Junkum, A., Saeung,<br />

A., Thongsahuan, S., Sor-suwan, S., Phattanawiboon,<br />

B. Poovorawan, Y. <strong>and</strong> Choochote, W. (2012). Proteomic<br />

analysis of salivary gl<strong>and</strong>s of female Anopheles<br />

barbirostris species A2 (Diptera: Culicidae) by<br />

two-dimensional gel electrophoresis <strong>and</strong> mass<br />

spectrometry. Parasitology Research, 11(3), 1239-1249.<br />

54 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


50. Jaroenram, W., Arunrut, N. <strong>and</strong> Kiatpathomchai. (2012). Rapid<br />

<strong>and</strong> sensitive detection of shrimp yellow head virus using<br />

loop-mediated isothermal amplification <strong>and</strong> a colorogenic<br />

nanogold hybridization probe. Journal of Virological<br />

Methods, 186(1-2), 36-42.<br />

51. Jindamorakot, S., Yukphan, P. <strong>and</strong> Yamada, Y. (2012).<br />

Kockiozyma gen. nov., <strong>for</strong> Zygozyma suomiensis: the<br />

phylogeny of the Lipomycetaceous yeasts. Annals of<br />

Microbiology, 62(4), 1831-1840.<br />

52. Junkunlo, K., Prachumwat, A., Tangprasittipap, A., Senapin, S.,<br />

Borwornpinyo, S., Flegel, T.W. <strong>and</strong> Sritunyalucksana, K.<br />

(2012). A novel lectin domain-containing protein (LvCTLD)<br />

associated with response of the whiteleg shrimp Penaeus<br />

(Litopenaeus) vannamei to yellow head virus (YHV).<br />

Developmental <strong>and</strong> Comparative Immunology, 37(3-4),<br />

334-341.<br />

53. Kaewmanee, T., Benjakul, S., Visessanguan, W. <strong>and</strong> Gamonpilas,<br />

C. (2012). Effect of sodium chloride <strong>and</strong> osmotic<br />

dehydration on viscoelastic properties <strong>and</strong><br />

thermal-induced transitions of duck egg yolk. Food <strong>and</strong><br />

Bioprocess Technology, 6(2), 367-376.<br />

54. Kaewsaneha, C., Opaprakasit, P., Polpanich, D., Smanmoo, S.<br />

<strong>and</strong> Tangboriboonrat, P. (2012). Immobilization of<br />

fluorescein isothiocyanate on magnetic polymeric<br />

nanoparticle using chitosan as spacer. Journal of Colloid<br />

<strong>and</strong> Interface Science, 377(1), 145-152.<br />

55. Kanchanaketu, T., Sangduen, N., Toojinda, T <strong>and</strong> Hongtrakul, V.<br />

(2012). <strong>Genetic</strong> diversity analysis of Jatropha curcas L.<br />

(Euphorbiaceae) based on methylation-sensitive<br />

amplification polymorphism. <strong>Genetic</strong>s <strong>and</strong> Molecular<br />

Research, 11(2), 944-955.<br />

56. Kantha, T., Chaiyasut, C., Kantachote, D., Sukrong, S. <strong>and</strong><br />

Muangprom, A. (2012). Synergistic growth of lactic acid<br />

bacteria <strong>and</strong> photosynthetic bacteria <strong>for</strong> possible use as<br />

a bio-fertilizer. African Journal of Microbiology Research,<br />

6(3), 504-511.<br />

57. Kemp, A., Kemp, M. <strong>and</strong> Thong-aree, S. (2011). Use of lookout<br />

watches over <strong>for</strong>est to estimate detection, dispersion <strong>and</strong><br />

density of hornbills, Great Argus <strong>and</strong> diurnal raptors at<br />

Bala <strong>for</strong>est, Thail<strong>and</strong>, compared with results from<br />

in-<strong>for</strong>est line transects <strong>and</strong> spot maps. Bird Conservation<br />

International, 21(4), 394-410.<br />

58. Khamthong, N., Rukachaisirikul, V., Phongpaichit, S., Preedanon,<br />

S. <strong>and</strong> Sakayaroj, J. (2012). Bioactive polyketides from the<br />

sea fan-derived fungus Penicillium citrinum PSU-F51.<br />

Tetrahedron, 68(39), 8245-8250.<br />

59. Khamthong, N., Rukachaisirikul, V., Tadpetch, K., Kaewpet, M.,<br />

Phongpaichit, S., Preedanon, S. <strong>and</strong> Sakayaroj, J. (2012).<br />

Tetrahydroanthraquinone <strong>and</strong> xanthone derivatives from<br />

the marine-derived fungus Trichoderma aureoviride<br />

PSU-F95. Archives of Pharmacal Research, 35(3), 461-468.<br />

60. Khemayan, K., Prachumwat, A., Sonthayanon, B., Intaraprasong,<br />

A., Sriurairatana, S. <strong>and</strong> Flegel, T.W. (2012). Complete<br />

Genome Sequence of Virulence-Enhancing Siphophage<br />

VHS1 from Vibrio harveyi. Applied <strong>and</strong> Environmental<br />

Microbiology, 78(8), 2790-2796.<br />

61. Khemkhao, M., Nuntakumjorn, B., Techkarnjanaruk, S. <strong>and</strong><br />

Phalakornkule, C. (2012). Comparative Mesophilic <strong>and</strong><br />

Thermophilic Anaerobic Digestion of Palm Oil Mill<br />

Effluent Using Upflow Anaerobic Sludge Blanket. Water<br />

Environment Research, 84(7), 577-587.<br />

62. Khemkhao, M., Nuntakumjorn, B., Techkarnjanaruk, S. <strong>and</strong><br />

Phalakornkule, C. (2012). UASB per<strong>for</strong>mance <strong>and</strong><br />

microbial adaptation during a transition from mesophilic<br />

to thermophilic treatment of palm oil mill effluent.<br />

Journal of Environmental Management, 103, 74-82.<br />

63. Khondeea, N., Tathong, S., Pinyakong, O., Powtongsook, S.,<br />

Chatchupong, T., Ruangchainikom, C. <strong>and</strong> Luepromchai, E.<br />

(2012). Airlift bioreactor containing chitosan-immobilized<br />

Sphingobium sp. P2 <strong>for</strong> treatment of lubricants in wastewater.<br />

Journal of Hazardous Materials, 213-214, 466-473.<br />

64. Khowutthitham, S., Ngamphiw, C., Wanichnopparat, W., Suwanwongse, K.,<br />

Tongsima, S., Aporntewan, C. <strong>and</strong> Mutirangura, A. (2012).<br />

Intragenic long interspersed element-1 sequences<br />

promote promoter hypermethylation in lung adenocarcinoma,<br />

multiple myeloma <strong>and</strong> prostate cancer. Genes <strong>and</strong><br />

Genomics, doi: 10.1007/s13258-012-0058-0.<br />

65. Khunchai, S., Junking, M., Suttitheptumrong, A., Yasamut, U.,<br />

Sawasdee, N., Netsawang, J., Morchang, A., Chaowalita, P.,<br />

Noisakran, S., Yenchitsomanus, P. <strong>and</strong> Limjindaporn, T.<br />

(2012). Interaction of dengue virus nonstructural protein 5 with<br />

Daxx modulates RANTES production. Biochemical<br />

<strong>and</strong> Biophysical Research Communications, 423(2), 398-403.<br />

66. Kingcha, Y., Tosukhowong, A., Zendo, T., Roytrakul, S.,<br />

Luxananil, P., Chareonpornsook, K., Valyasevi, R., Sonomoto,<br />

K. <strong>and</strong> Visessanguan, W. (2012). Anti-listeria activity of<br />

Pediococcus pentosaceus BCC 3772 <strong>and</strong> application as<br />

starter culture <strong>for</strong> Nham, a traditional fermented pork<br />

sausage. Food Control, 25(1), 190-196.<br />

67. Kitidee, K., Nangola, S., Hadpech, S., Laopajon, W., Kasinrerk, W.<br />

<strong>and</strong> Tayapiwatana, C. (2012). A drug discovery plat<strong>for</strong>m: A<br />

simplified immunoassay <strong>for</strong> analyzing HIV protease<br />

activity. Journal of Virological Methods, 186(1-2), 21-29.<br />

68. Kittiphattanabawon, P., Benjakul, S., Visessanguan, W. <strong>and</strong><br />

Shahidi, F. (2012). Cryoprotective effect of gelatin hydrolysate<br />

from blacktip shark skin on surimi subjected to different<br />

freeze-thaw cycles. Lwt-Food Science <strong>and</strong> Technology,<br />

47(2), 437-442.<br />

69. Kittiphattanabawon, P., Benjakul, S., Visessanguan, W. <strong>and</strong><br />

Shahidi, F. (2012). Gelatin hydrolysate from blacktip shark<br />

skin prepared using papaya latex enzyme: Antioxidant<br />

activity <strong>and</strong> its potential in model systems. Food<br />

Chemistry, 135(3), 1118-1126.<br />

70. Klaiklay, S., Rukachaisirikul, V., Phongpaichit, S., Pakawatchai, C.,<br />

Saithong, S., Buatong, J., Preedanon, S. <strong>and</strong> Sakayaroj, J.<br />

(2012). Anthraquinone derivatives from the mangrovederived<br />

fungus Phomopsis sp. PSU-MA214. Phytochemistry<br />

Letters, 5(4), 738-742.<br />

71. Klaiklay, S., Rukachaisirikul, V., Tadpetch, K., Sukpondma, Y.,<br />

Phongpaichit, S., Buatong, J. <strong>and</strong> Sakayaroj, J. (2012).<br />

Chlorinated chromone <strong>and</strong> diphenyl ether derivatives<br />

from the mangrove-derived fungus Pestalotiopsis sp.<br />

PSU-MA69. Tetrahedron, 68(10), 2299-2305.<br />

72. Klanchui, A., Khannapho, C., Phodee, A., Cheevadhanarak, S.<br />

<strong>and</strong> Meechai, A. (2012). iAK692: A genome-scale<br />

metabolic model of Spirulina platensis C1. BMC System<br />

Biology, 6, 71.<br />

73. Klinbunga, S., Petkorn, S., Kittisenachai, S., Phaonakrop, N.,<br />

Roytrakul, S., Khamnamtong, B. <strong>and</strong> Menasveta, P. (2012).<br />

Identification of reproduction-related proteins <strong>and</strong><br />

characterization of proteasome alpha 3 <strong>and</strong> proteasome<br />

beta 6 cDNAs in testes of the giant tiger shrimp Penaeus<br />

monodon. Molecular <strong>and</strong> Cellular Endocrinology, 355(1),<br />

143-152.<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong> 55


74. Kobmoo, N., Mongkolsamrit, S., Tasanathai, K., Thanakitpipattana, D.<br />

<strong>and</strong> Luangsa-Ard, J.J. (2012). Molecular phylogenies reveal<br />

host-specific divergence of Ophiocordyceps unilateralis<br />

sensu lato following its host ants. Molecular Ecology,<br />

21(12), 3022-3031.<br />

75. Kommanee, J., Tanasupawat, S., Yukphan, P., Thongchul, N.,<br />

Moonmangmee, D. <strong>and</strong> Yamada, Y. (2012). Identification<br />

of Acetobacter strains isolated in Thail<strong>and</strong> based on<br />

the phenotypic, chemotaxonomic, <strong>and</strong> molecular<br />

characterizations. ScienceAsia, 38(1), 44-5.<br />

76. Kornsakulkarn, J., Saepua, S., Srichomthong, K., Supothina, S.<br />

<strong>and</strong> Thongpanchang, C. (2012). New mycotoxins from the<br />

scale insect fungus Aschersonia coffeae Henn. BCC 28712.<br />

Tetrahedron, 68(40), 8480-8486.<br />

77. Krisanaprakornkit, S., Chotjumlong, P., Pata, S., Chruewkamlow,<br />

N., Reutrakul, V. <strong>and</strong> Kasinrerk, W. (2012). CD99 ligation<br />

induces intercellular cell adhesion molecule-1 expression<br />

<strong>and</strong> secretion in human gingival fibroblasts. Archives of<br />

Oral Biology, 58(1), 82-93.<br />

78. Krusong, K., Poolpipat, P., Supungul, P. <strong>and</strong> Tassanakajon, A.<br />

(2012). A comparative study of antimicrobial properties of<br />

crustinPm1 <strong>and</strong> crustinPm7 from the black tiger shrimp<br />

Penaeus monodon. Developmental <strong>and</strong> Comparative<br />

Immunology, 36(1), 208-215.<br />

79. Kunthic, T., Promdonkoy, B., Srikhirin, T. <strong>and</strong> Boonserm, P.<br />

(2011). Essential role of tryptophan residues in toxicity of<br />

binary toxin from Bacillus sphaericus. BMB Reports,<br />

44(10), 674-679.<br />

80. Kurdrid, P., Yutthanasirikul, R., Phuengcharoen, P., Roytrakul, S.,<br />

Paemanee, A., Cheevadhanarak, S. <strong>and</strong> Hongsthong, A.<br />

(2012). Identification of regulatory regions <strong>and</strong><br />

regulatory protein complexes of the Spirulina desD gene<br />

under temperature stress conditions: Role of thioredoxin as an<br />

inactivator of a transcriptional repressor GntR under<br />

low-temperature stress. Biochemistry <strong>and</strong> Cell<br />

Biology-Biochimie Et Biologie Cellulaire, 90(5), 621-635.<br />

81. Laothanachareon, T., Khonzue, P., Rattanaphan, N., Tinnasulanon,<br />

P., Apawasin, S., Paemanee, A., Ruanglek, V., Tanapongpipat,<br />

S., Champreda, V. <strong>and</strong> Eurwilaichitr, L. (2011). Production<br />

of Multi-Fiber Modifying Enzyme from Mamillisphaeria<br />

sp. <strong>for</strong> Refining of Recycled Paper Pulp. Bioscience<br />

Biotechnology <strong>and</strong> Biochemistry, 75(12), 2297-2303.<br />

82. Lertampaiporn, S., Thammarongtham, C., Nukoolkit, C.,<br />

Kaewkamnerdpong, B. <strong>and</strong> Ruengjitchatchawalya, M.<br />

(2012). Heterogeneous ensemble approach with<br />

discriminative features <strong>and</strong> modified-SMOTEbagging <strong>for</strong><br />

pre-miRNA classification. Nucleic Acids Research, 41(1), e21.<br />

83. Limtong, S., Kaewwichian, R., Jindamorakot, S., Yongmanitchai,<br />

W. <strong>and</strong> Nakase, T. (2012). C<strong>and</strong>ida wangnamkhiaoensis<br />

sp. nov., an anamorphic yeast species in the Hyphopichia<br />

clade isolated in Thail<strong>and</strong>. Antonie van Leeuwenhoek<br />

International Journal of General <strong>and</strong> Molecular<br />

Microbiology, 102(1), 23-28.<br />

84. Limtong, S., Koowadjanakul, N., Jindamorakot, S., Yongmanitchai, W.<br />

<strong>and</strong> Nakase, T. (2012). C<strong>and</strong>idasirachaensis sp. nov. <strong>and</strong><br />

C<strong>and</strong>idasakaeoensis sp. nov. two anamorphic yeast<br />

species from phylloplane in Thail<strong>and</strong>. Antonie van<br />

Leeuwenhoek International Journal of General <strong>and</strong><br />

Molecular Microbiology, 102(2), 221-229.<br />

85. Limtong, S., Nitiyon, S., Kaewwichian, R., Jindamorakot, S.,<br />

Am-in, S. <strong>and</strong> Yongmanitchai, W. (2012). Wickerhamomyces<br />

xylosica sp. nov. <strong>and</strong> C<strong>and</strong>ida phayaonensis sp. nov., two<br />

novel xylose-assimilating yeast species isolated in<br />

Thail<strong>and</strong>. International Journal of Systematic <strong>and</strong><br />

Evolutionary Microbiology, doi: 10.1099/ijs.0.039818-0.<br />

86. Liu, J.-K., Jones, E.B.G., Chukeatirote, E., Bahkali, A.H. <strong>and</strong> Hyde,<br />

K.D. (2011). Lignincola conchicola from palms with a key<br />

to the species of Lignincola. Mycotaxon, 117, 343-349.<br />

87. Longyant, S., Senapin, S., Sanont, S., Wangman, P., Chaivisuthangkura,<br />

P., Rukpratanporn, S. <strong>and</strong> Sithigorngul, P. (2012). Monoclonal<br />

antibodies against extra small virus show that it co-localizes<br />

with Macrobrachium rosenbergii nodavirus. Diseases of<br />

Aquatic Organisms, 99(3), 197-205.<br />

88. Mahong, B., Roytrakul, S., Phaonaklop, N., Wongratana, J. <strong>and</strong><br />

Yokthong-wattana, K. (2012). Proteomic analysis of a model<br />

unicellular green alga, Chlamydomonas reinhardtii, during<br />

short-term exposure to irradiance stress reveals significant<br />

down regulation of several heat-shock proteins. Planta,<br />

235(3), 499-511.<br />

89. Manheem, K., Benjakul, S., Kijroongrojana, K. <strong>and</strong> Visessanguan,<br />

W. (2012). The effect of heating conditions on polyphenol<br />

oxidase, proteases <strong>and</strong> melanosis in pre-cooked Pacific<br />

white shrimp during refrigerated storage. Food Chemistry,<br />

131(4), 1370-1375.<br />

90. Mapaisansup, T., Yutthanasirikul, R., Hongsthong, A., Tanticharoen,<br />

M. <strong>and</strong> Ruengjitchatchawalya, M. (2012). Subcellular<br />

localization-dependent regulation of the three Spirulina<br />

desaturase genes, desC, desA, <strong>and</strong> desD, under different<br />

growth phases. Journal of Applied Phycology, 25(2), 467-475.<br />

91. Maturos, T., Pogfay T., Rodaree, K., Chaotheing, S., Jomphoak, A.,<br />

Wisitsoraat, A., Suwanakitti, N., Wongsombat, C.,<br />

Jaruwongrungsee, K., Shaw, P. Kamchonwongpaisan, S.,<br />

<strong>and</strong> Tuantranont, A. (2012). Enhancement of DNA<br />

hybridization under acoustic streaming with<br />

three-piezoelectric-transducer system. Lab on A Chip,<br />

12(1), 133-138.<br />

92. Meesap, K., Boonapatcharoen, N., Techkarnjanaruk, S. <strong>and</strong><br />

Chaiprasert, P. (2012). Microbial Communities <strong>and</strong> Their<br />

Per<strong>for</strong>mances in Anaerobic Hybrid Sludge Bed-Fixed Film<br />

Reactor <strong>for</strong> Treatment of Palm Oil Mill Effluent under<br />

Various Organic Pollutant Concentrations. Journal of<br />

Biomedicine <strong>and</strong> Biotechnology, 2012, art. ID 902707.<br />

93. Midgley, C.M., Flanagan, A., Tran, H.B., Dejnirattisai, W.,<br />

Chawansuntati, K., Jumnainsong, A., Wongwiwat, W.,<br />

Duangchinda, T., Mongkolsapaya, J., Grimes, J.M. <strong>and</strong><br />

Screaton, G.R. (2012). Structural Analysis of a Dengue<br />

Cross-Reactive Antibody Complexed with Envelope<br />

Domain III Reveals the Molecular Basis of Cross-Reactivity.<br />

Journal of Immunology, 188(10), 4971-4979.<br />

94. Minegishi, H., Echigo, A., Shimane, Y., Kamekura, M., Tanasupawat,<br />

S., Visessanguan, W., Usami, R. (2012). Halobacterium<br />

piscisalsi Yachai et al. 2008 is a later heterotypic synonym<br />

of Halobacterium salinarum Elazari-Volcani 1957.<br />

International Journal of Systematic <strong>and</strong> Evolutionary<br />

Microbiology, 62(9), 2160-2162.<br />

95. Mokmak, W., Chunsrivirot, S., Assawamakin, A., Choowongkomon,<br />

K. <strong>and</strong> Tongsima, S. (2012). Molecular dynamics<br />

simulations reveal structural instability of human trypsin<br />

inhibitor upon D50E <strong>and</strong> Y54H mutations. Journal of<br />

Molecular Modeling, 19(2), 521-528.<br />

56 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


96. Mongkolsamrit, S., Kobmoo, N., Tasanathai, K., Khonsanit,<br />

A.,Noisripoom, W., Srikitikulchai, P., Somnuk, R. <strong>and</strong><br />

Luangsa-ard, J.J. (2012). Life cycle, host range <strong>and</strong><br />

temporal variation of Ophiocordyceps unilateralis/<br />

Hirsutella <strong>for</strong>micarum on Formicine ants. Journal of<br />

Invertebrate Pathology, 111(3), 217-224.<br />

97. Mongkolsamrit, S., Nguyen, T.T., Lan Tran, N. <strong>and</strong> Luangsa-Ard, J.<br />

(2011). Moelleriella pumatensis, a new entomogenous<br />

species from Vietnam. Mycotaxon, 117, 45-51.<br />

98. Monkonsit, S., Powtongsook, S. <strong>and</strong> Pavasant, P. (2011).<br />

Comparison between Airlift Photobioreactor <strong>and</strong> Bubble<br />

Column <strong>for</strong> Skeletonema Costatum Cultivation.<br />

<strong>Engineering</strong> Journal, 15(4), 53-64.<br />

99. Mosadeghzad, Z., Zakaria, Z., Asmat, A., Gires, U., Wickneswari,<br />

R., Pittayakhajonwut, P. <strong>and</strong> Farahani, G.H.N. (2012).<br />

Chemical Components of Marine Sponge Derived Fungus<br />

Fusarium proliferatum Collected from Pulau Tinggi,<br />

Malaysia. Sains Malaysiana, 41(3), 333-337.<br />

100. Nakase, T., Jindamorakot, S., Am-In, S., Ninomiya, S. <strong>and</strong><br />

Kawasaki, H. (2011). C<strong>and</strong>ida loeiensis sp. nov., a novel<br />

anamorphic yeast species found in Thail<strong>and</strong>. Journal of<br />

General <strong>and</strong> Applied Microbiology, 57(6), 387-391.<br />

101. Nakase, T., Jindamorakot, S., Am-In, S., Ninomiya, S. <strong>and</strong><br />

Kawasaki, H. (2012). Wickerhamomyces tratensis sp. nov.<br />

<strong>and</strong> C<strong>and</strong>ida namnaoensis sp. nov., two novel<br />

ascomycetous yeast species in the Wickerhamomyces<br />

clade found in Thail<strong>and</strong>. Journal of General <strong>and</strong> Applied<br />

Microbiology, 58(2), 145-152.<br />

102. Namsree, P., Suvajittanont, W., Puttanlek, C., Uttapap, D. <strong>and</strong><br />

Rungsardthong, V. (2012). Anaerobic digestion of<br />

pineapple pulp <strong>and</strong> peel in a plug-flow reactor. Journal of<br />

Environmental Management, 110, 40-47.<br />

103. Nangola, S., Urvoas, A., Valerio-Lepiniec, M., Khamaikawin, W.,<br />

Sakkhachornphop, S., Hong, S.S., Boulanger, P., Minard, P.<br />

<strong>and</strong> Tayapiwatana, C. (2012). Antiviral activity of<br />

recombinant ankyrin targeted to the capsid domain of<br />

HIV-1 Gag polyprotein. Retrovirology, 9, 17.<br />

104. Nasomphan, W., Tangboriboonrat, P. <strong>and</strong> Smanmoo, S. (2012).<br />

Selective sensing of L-arginine employing luminol dextran<br />

conjugate. Macromolecular Research, 20(4), 344-346.<br />

105. Nguyen, N.H., Maruset, L., Uengwetwanit, T., Mhuantong, W.,<br />

Harnpicharnchai, P., Champreda, V., Tanapongpipat, S.,<br />

Jirajaroenrat, K., Rakshit, S.K., Eurwilaichitr, L. <strong>and</strong><br />

Pongpattanakitshote, S. (2012). Identification <strong>and</strong><br />

characterization of a cellulase-encoding gene from the<br />

buffalo rumen metagenomic library. Bioscience<br />

Biotechnology <strong>and</strong> Biochemistry, 76(6), 1075-1084.<br />

106. Niemhom, N., Suriyachadkun, C.,Tamura, T. <strong>and</strong> Thawai, C.<br />

(2012). Asanoa siamensis sp. nov., isolated from<br />

a temperate peat swamp <strong>for</strong>est soil in Thail<strong>and</strong>.<br />

International Journal of Systematic <strong>and</strong> Evolutionary<br />

Microbiology, 63(1), 66-71.<br />

107. Nimchua, T., Thongaram, T., Uengwetwanit, T., Pongpattanakitshote,<br />

S. <strong>and</strong> Eurwilaichitr, L. (2012). Metagenomic Analysis of<br />

Novel Lignocellulose-Degrading Enzymes from Higher<br />

Termite Guts Inhabiting Microbes. Journal of Microbiology<br />

<strong>and</strong> Biotechnology, 22(4), 462-469.<br />

108. Nimmanpipug, P., Khampa, C., Lee, V.S., Nangola, S. <strong>and</strong><br />

Tayapiwatana, C. (2011). Identification of amino acid<br />

residues of a designed ankyrin repeat protein potentially<br />

involved in intermolecular interactions with CD4: Analysis<br />

by molecular dynamics simulations. Journal of Molecular<br />

Graphics <strong>and</strong> Modelling, 31, 65-75.<br />

109. Noisakran, S., Onlamoon, N., Hsiao, H.-M., Clark, K.B., Villinger, F.,<br />

Ansari, A.A. <strong>and</strong> Perng, G.C. (2012). Infection of bone<br />

marrow cells by dengue virus in vivo. Experimental<br />

Hematology, 40(3), 250-259.<br />

110. Noisakran, S., Onlamoon, N., Pattanapanyasat, K., Hsiao, H.-M.,<br />

Songprakhon, P., Angkasekwinai, N., Chokephaibulkit, K.,<br />

Villinger, F., Ansari, A.A. <strong>and</strong> Perng, G.C. (2012). Role of<br />

CD61 + cells in thrombocytopenia of dengue patients.<br />

International Journal of Hematology, 96(5), 600-610.<br />

111. Noonin, C., Lin, X., Jiravanichpaisal, P., Söderhäll, K. <strong>and</strong><br />

Söderhäll, I. (2012). Invertebrate Hematopoiesis: An<br />

Anterior Proliferation <strong>Center</strong> As a Link Between the<br />

Hematopoietic Tissue <strong>and</strong> the Brain. Stem Cells <strong>and</strong><br />

Development, 21(17), 3173-3186.<br />

112. Nootong, K. <strong>and</strong> Powtongsook, S. (2012). Per<strong>for</strong>mance<br />

evaluation of the compact aquaculture system integrating<br />

submerged fibrous nitrifying biofilters. Songklanakarin<br />

Journal of Science <strong>and</strong> Technology, 34(1), 53-59.<br />

113. Nuchsuk, C., Wetprasit, N., Roytrakul, S. <strong>and</strong> Ratanapo,S. (2012).<br />

Larvicidal activity of a toxin from the seeds of Jatropha<br />

curcas Linn. against Aedes aegypti Linn. <strong>and</strong> Culex<br />

quinquefasciatus Say. Tropical Biomedicine, 29(2),<br />

286-296.<br />

114. Oaew, S., Charlermroj, R., Pattarakankul, T. <strong>and</strong> Karoonuthaisiri,<br />

N. (2012). Gold nanoparticles/horseradish peroxidase<br />

encapsulated polyelectrolyte nanocapsule <strong>for</strong> signal<br />

amplification in Listeria monocytogenes detection.<br />

Biosensors <strong>and</strong> Bioelectronics, 34(1), 238-243.<br />

115. Okane, I., Srikitikulchai, P., Tabuchi, Y., Sivichai, S. <strong>and</strong> Nakagiri,<br />

A. (2012). Recognition <strong>and</strong> characterization of four Thai<br />

xylariaceous fungi inhabiting various tropical<br />

foliages as endophytes by DNA sequences <strong>and</strong> host plant<br />

preference. Mycoscience, 53(2), 122-132.<br />

116. Panaampon, J., Ngaosuwankul, N., Suptawiwat, O., Noisumdaeng,<br />

P., Sangsiriwut, K., Siridechadilok, B., Lerdsamran, H.,<br />

Auewarakul, P., Pooruk, P. <strong>and</strong> Puthavathana, P. (2012).<br />

A Novel Pathogenic Mechanism of Highly Pathogenic<br />

Avian Influenza H5N1 Viruses Involves Hemagglutinin<br />

Mediated Resistance to Serum Innate Inhibitors. PLoS<br />

ONE, 7(5), e36318.<br />

117. Panya, M., Lulitanond, V., Tangphatsornruang, S., Namwat, W.,<br />

Wannasutta, R., Suebwongsa, N. <strong>and</strong> Mayo, B. (2012).<br />

Sequencing <strong>and</strong> analysis of three plasmids from<br />

Lactobacillus casei TISTR1341 <strong>and</strong> development of<br />

plasmid-derived Escherichia coli–L. casei shuttle vectors.<br />

Applied Microbiology <strong>and</strong> Biotechnology, 93(1), 261-272.<br />

118. Patchanee, P., Chokboonmongkol, C., Zessin, K.H., Alter, T.,<br />

Pornaem, S. <strong>and</strong> Chokesajjawatee, N. (2012). Comparison<br />

of multilocus sequence typing (MLST) <strong>and</strong> repetitive<br />

sequence-based PCR (rep-PCR) fingerprinting <strong>for</strong><br />

differentiation of Campylobacter jejuni isolated from<br />

broiler in Chiang Mai, Thail<strong>and</strong>. Journal of Microbiology<br />

<strong>and</strong> Biotechnology, 22(11), 1467-1470.<br />

119. Phonghanpot, S., Punya, J., Tachaleat, A., Laoteng, K., Bhavakul,<br />

V., Tanticharoen, M. <strong>and</strong> Cheevadhanarak, S. (2012).<br />

Biosynthesis of Xyrrolin, a New Cytotoxic Hybrid<br />

Polyketide/Non-ribosomal Peptide Pyrroline with<br />

Anticancer Potential, in Xylaria sp. BCC 1067. Chembiochem,<br />

13(6), 895-903.<br />

120. Piriyapongsa, J., Bootchai, C., Ngamphiw, C. <strong>and</strong> Tongsima, S.<br />

(2012). microPIR: An Integrated Database of MicroRNA<br />

Target Sites within Human Promoter Sequences. PLoS<br />

ONE, 7(3), e33888.<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

57


121. Piriyapongsa, J., Jordan, I.K., Conley, A.B., Ronan, T. <strong>and</strong><br />

Smalheiser, N.R. (2011). Transcription factor binding sites<br />

are highly enriched within microRNA precursor sequences.<br />

Biology Direct, 6, 61.<br />

122. Pongtippatee, P., Laburee, K., Thaweethamsewee, P.,<br />

Hiranphan, R., Asuvapongpatana, S., Weerachatyanukul, W.,<br />

Srisawat, T. <strong>and</strong> Withyachumnarnkul, B. (2012).<br />

Triploid Penaeus monodon: Sex ratio <strong>and</strong> growth<br />

rate. Aquaculture, 356-357, 7-13.<br />

123. Pongtippatee, P., Putthawat, W., Dungsuwan, P., Weerachartyanukul,<br />

W. <strong>and</strong> Withyachumnarnkul, B. (2012). Hatching envelope<br />

<strong>for</strong>mation in the egg of the black tiger shrimp, Penaeus<br />

monodon (Decapoda, Penaeidae). Aquaculture Research,<br />

doi: 10.1111/j.1365-2109.2012.03141.x.<br />

124. Pootakham, W., Chanprasert, J., Jomchai, N., Sangsrakru, D.,<br />

Yoocha, T., Therawattanasuk, K. <strong>and</strong> Tangphatsornruang,<br />

S. (2011). Single nucleotide polymorphism marker<br />

development in the rubber tree, Hevea brasiliensis<br />

(Euphorbiaceae). American Journal of Botany, 98(11), e337-e338.<br />

125. Pootakham, W., Chanprasert, J., Jomchai, N., Sangsrakru, D.,<br />

Yoocha, T., Tragoonrung, S. <strong>and</strong> Tangphatsornruang, S.<br />

(2012). Development of genomic-derived simple<br />

sequence repeat markers in Hevea brasiliensis from 454<br />

genome shotgun sequences. Plant Breeding, 131(4),<br />

555-562.<br />

126. Prajanban, B.-O., Shawsuan, L., Daduang, S., Kommanee, J.,<br />

Roytrakul, S., Dhiravisit, A. <strong>and</strong> Thammasirirak, S. (2012).<br />

Identification of five reptile egg whites protein using<br />

MALDI-TOF mass spectrometry <strong>and</strong> LC/MS-MS analysis.<br />

Journal of Proteomics, 75(6), 1940-1959.<br />

127. Prammananan, T., Phunpruch, S., Jaitrong, S. <strong>and</strong> Palittapongarnpim,<br />

P. (2012). Mycobacterium tuberculosis uvrC essentiality in<br />

response to uv-induced cell damage. The Southeast<br />

Asian journal of tropical medicine <strong>and</strong> public health,<br />

43(2), 370-375.<br />

128. Prasertlux, S., Sittikankaew, K., Chumtong, P., Khamnamtong, B.<br />

<strong>and</strong> Klinbunga, S. (2011). Molecular characterization <strong>and</strong><br />

expression of the Prostagl<strong>and</strong>in reductase 1 gene <strong>and</strong><br />

protein during ovarian development of the giant tiger<br />

shrimp Penaeus monodon. Aquaculture, 322-323, 134-141.<br />

129. Pulido, J., Kottke, T., Thompson, J., Galivo, F., Wongthida, P.,<br />

Diaz, R.M., Rommelfanger, D., Ilett, E., Pease, L., P<strong>and</strong>ha,<br />

E., Harrington, K., Selby, P., Melcher, A. <strong>and</strong> Vile, R. (2012).<br />

Using virally expressed melanoma cDNA libraries to<br />

identify tumor-associated antigens that cure melanoma.<br />

Nature Biotechnology, 30(4), 337-343.<br />

130. Roongsattham, P., Morcillo, F., Jantasuriyarat, C., Pizot, M.,<br />

Moussu, S., Jayaweera, D., Collin, M., Gonzalez-Carranza,<br />

Z., Amblard, P., Tregear, J.W., Tragoonrung, S., Verdeil, J.L. <strong>and</strong><br />

Tranbarger, T.J. (2012). Temporal <strong>and</strong> spatial expression of<br />

polygalacturonase gene family members reveals divergent<br />

regulation during fleshy fruit ripening <strong>and</strong> abscission in the<br />

monocot species oil palm. BMC Plant Biology, 12, 150.<br />

131. Rukachaisirikul, V., Rodglin, A., Phongpaichit, S., Buatong, J. <strong>and</strong><br />

Sakayaroj, J. (2012). α -Pyrone <strong>and</strong> seiricuprolide<br />

derivatives from the mangrove-derived fungi Pestalotiopsis<br />

spp. PSU-MA92 <strong>and</strong> PSU-MA119. Phytochemistry Letters,<br />

5(1), 13-17.<br />

132. Rukachaisirikul, V., Rodglin, A., Sukpondma, Y., Phongpaichit, S.,<br />

Buatong, J. <strong>and</strong> Sakayaroj, J. (2012). Phthalide <strong>and</strong> Isocoumarin<br />

Derivatives Produced by an Acremonium sp. Isolated from<br />

a Mangrove Rhizophora apiculata. Journal of Natural<br />

Products, 75(5), 853-858.<br />

58 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

133. Ruktanonchai, U., Nuchuchua, O., Charlermroj, R., Pattarakankul,<br />

T. <strong>and</strong> Karoonuthaisiri, N. (2012). Signal amplification of<br />

microarray-based immunoassay by optimization of<br />

nanoliposome <strong>for</strong>mulations. Analytical Biochemistry,<br />

429(2), 142-147.<br />

134. Rungrassamee, W., Tosukhowong, A., Klanchuia, A., Maibunkaew,<br />

S., Plengvidhya, V. <strong>and</strong> Karoonuthaisiri, N. (2012). Development<br />

of bacteria identification array to detect lactobacilli in<br />

Thai fermented sausage. Journal of Microbiological<br />

Methods, 91(3), 341-353.<br />

135. Rungtaweevoranit, B., Butsuri, A., Wongma, K., Sadorn, K.,<br />

Neranon, K., Nerungsi, C. <strong>and</strong> Thongpanchang, T. (2012). A<br />

facile two-step synthesis of thiophene end-capped<br />

aromatic systems. Tetrahedron Letters, 53(14), 1816-1818.<br />

136. Sakayaroj, J., Preedanon, S., Suetrong, S., Klaysuban, A., Jones,<br />

E.B.G. <strong>and</strong> Hattori, T. (2012). Molecular characterization of<br />

basidiomycetes associated with the decayed mangrove<br />

tree Xylocarpus granatum in Thail<strong>and</strong>. Fungal Diversity,<br />

56, 145-156.<br />

137. Sakayaroj, J., Supaphon, O., Jones, E.B.G. <strong>and</strong> Phongpaichit, S.<br />

(2011). Diversity of higher marine fungi at Hat Khanom-Mu Ko<br />

Thale Tai <strong>National</strong> Park, Southern Thail<strong>and</strong>.<br />

Songklanakarin Journal of Science <strong>and</strong> Technology,<br />

33(1), 15-22.<br />

138. Sakkhachornphop, S., Barbas, C.F., Keawvichit, R., Wongworapat,<br />

K. <strong>and</strong> Tayapiwatana, C. (2012). Zinc Finger Protein<br />

Designed to Target 2-Long Terminal Repeat Junctions<br />

Interferes with Human Immunodeficiency Virus<br />

Integration. Human Gene Therapy, 23(9), 932-942.<br />

139. Sangsuriya, P., Senapin, S., Huang, W.-P., Lo, C.-F. <strong>and</strong> Flegel,<br />

T.W. (2011). Co-Interactive DNA-Binding between a Novel,<br />

Immunophilin-Like Shrimp Protein <strong>and</strong> VP15 Nucleocapsid<br />

Protein of White Spot Syndrome Virus. PLoS ONE, 6(9),<br />

e25420.<br />

140. Sawhasan, P., Worapong, J., Flegel, T.W. <strong>and</strong> Vinijsanun, T. (2012).<br />

Fungal partnerships stimulate growth of Termitomyces<br />

clypeatus stalk mycelium in vitro. World Journal of<br />

Microbiology <strong>and</strong> Biotechnology, 28(6), 2311-2318.<br />

141. Schoch, C.L., Seifert, K.A., Huhndorf, S., Robert, V., Spouge, J.L.,<br />

Levesque, C., Chen, W. <strong>and</strong> Fungal Barcoding Consortium.<br />

(2012). Nuclear ribosomal internal transcribed spacer (ITS)<br />

region as a universal DNA barcode marker <strong>for</strong> Fungi.<br />

Proceedings of the <strong>National</strong> Academy of Sciences of<br />

the United States of America, 109(16), 6241-6246.<br />

142. Senapin, S., Jaengsanong, C., Phiwsaiya, K., Prasertsri, S., Laisutisan,<br />

K., Chuchird, N., Limsuwan, C. <strong>and</strong> Flegel, T.W. (2012).<br />

Infections of MrNV (Macrobrachium rosenbergii nodavirus)<br />

in cultivated whiteleg shrimp Penaeus vannamei in Asia.<br />

Aquaculture, 338-341, 41-46.<br />

143. Siringam, K., Juntawong, N., Cha-um, S., Boriboonkaset, T. <strong>and</strong><br />

Kirdmanee, C. (2012). Salt tolerance enhance in indica rice<br />

(Oryza sativa L. spp. indica) seedlings using exogenous<br />

sucrose supplementation. PLANT OMICS, 5(1), 52-59.<br />

144. Siritantikorn, S., Jintaworn, S., Noisakran, S., Suputtamongkol, Y.,<br />

Paris, D.H. <strong>and</strong> Blacksell, S.D. (2012). Application of ImageJ<br />

program to the enumeration of Orientia tsutsugamushi<br />

organisms cultured in vitro. Transactions of the Royal<br />

Society of Tropical Medicine <strong>and</strong> Hygiene, 106(10), 632-635.<br />

145. Sitdhipol, J., Tanasupawat, S., Tepkasikul, P., Yukphan, P.,<br />

Tosukhowong, A., Itoh, T., Benjakul, S. <strong>and</strong> Visessanguan,<br />

W. (2012). Identification <strong>and</strong> histamine <strong>for</strong>mation of<br />

Tetragenococcus isolated from Thai fermented food products.<br />

Annals of Microbiology, doi:10.1007/s13213-012-0529-1.


146. Sivichai, S., Sri-indrasutdhi, V. <strong>and</strong> Jones, E.B.G. (2011). Jahnula<br />

aquatica <strong>and</strong> its anamorph Xylomyces chlamydosporus<br />

on submerged wood in Thail<strong>and</strong>. Mycotaxon, 116(1),<br />

137-142.<br />

147. Sombatjinda, S., Boonapatcharoen, N., Ruengjitchatchawalya,<br />

M., Wantawin, C., Withyachumnarnkul, B. <strong>and</strong> Techkarnjanaruk,<br />

S. (2011). Dynamics of Microbial Communities in an<br />

Earthen Shrimp Pond during the Shrimp Growing Period.<br />

Environment <strong>and</strong> Natural Resources Research, 1(1),<br />

171-180.<br />

148. Sommart, U., Rukachaisirikul, V., Trisuwan, K., Tadpetch, K.,<br />

Phongpaichit, S., Preedanon, S. <strong>and</strong> Sakayaroj, J. (2012).<br />

Tricycloalternarene derivatives from the endophytic<br />

fungus Guignardia bidwellii PSU-G11. Phytochemistry<br />

Letters, 5(1), 139-143.<br />

149. Somsak, V., Srichairatanakool, S., Yuthavong, Y., Kamchonwongpaisan,<br />

S. <strong>and</strong> Uthaipibull, C. (2012). Flow cytometric enumeration<br />

of Plasmodium berghei-infected red blood cells stained<br />

with SYBR Green I. Acta Tropica, 122(1), 113-118.<br />

150. Somsak, V., Uthaipibull, C., Prommana, P., Srichairatanakool, S.,<br />

Yuthavong, Y. <strong>and</strong> Kamchonwongpaisan, S. (2011). Transgenic<br />

Plasmodium parasites stably expressing Plasmodium<br />

vivax dihydrofolate reductase-thymidylate synthase as in<br />

vitro <strong>and</strong> in vivo models <strong>for</strong> antifolate screening. Malaria<br />

Journal, 10, 291.<br />

151. Sopitthummakhun, K., Thongpanchang, C., Vilaivan, T., Yuthavong,<br />

Y., Chaiyen, P. <strong>and</strong> Leartsakulpanich, U. (2012). Plasmodium<br />

serine hydroxymethyltransferase as a potential<br />

anti-malarial target: inhibition studies using improved<br />

methods <strong>for</strong> enzyme production <strong>and</strong> assay. Malaria<br />

Journal, 11, 194.<br />

152. Sriket, C., Benjakul, S., Visessanguan, W., Hara, K. <strong>and</strong> Yoshida, A.<br />

(2012). Retardation of post-mortem changes of freshwater<br />

prawn (Macrobrachium rosenbergii) stored in ice by<br />

legume seed extracts. Food Chemistry, 135(2), 571-579.<br />

153. Sriket, C., Benjakul, S., Visessanguan, W., Hara, K., Yoshida, A. <strong>and</strong><br />

Liang, X. (2012). Low molecular weight trypsin from<br />

hepatopancreas of freshwater prawn (Macrobrachium<br />

rosenbergii): Characteristics <strong>and</strong> biochemical properties.<br />

Food Chemistry, 134(1), 351-358.<br />

154. Srisucharitpanit, K., Inchana, P., Rungrod, A., Promdonkoy, B. <strong>and</strong><br />

Boonserm, P. (2012). Expression <strong>and</strong> purification of the<br />

active soluble <strong>for</strong>m of Bacillus sphaericus binary toxin <strong>for</strong><br />

structural analysis. Protein Expression <strong>and</strong> Purification,<br />

82(2), 368-372.<br />

155. Subpaiboonkit, S., Thammarongtham, C. <strong>and</strong> Chaijaruwanich, J.<br />

(2012). RNA family classification using the conditional r<strong>and</strong>om<br />

fields model. Chiang Mai Journal of Science, 39(1), 1-6.<br />

156. Sudhadham, M., Gerrits van den Endea, A.H.G., Sihanonth, P.,<br />

Sivichai, S., Chaiyarat, R., Menken, S.B.J., van Belkumf, A.<br />

<strong>and</strong> de Hooga, G.S. (2011). Elucidation of distribution<br />

patterns <strong>and</strong> possible infection routes of the neurotropic<br />

black yeast Exophiala dermatitidis using AFLP. Fungal<br />

Biology, 115(10), 1051-1065.<br />

157. Suetrong, S., Boonyuen, N., Pang, K.L., Ueapattanakit, J.,<br />

Klaysuban, A., Sri-indrasutdhi, V., Sivichai, S. <strong>and</strong> Jones,<br />

E.B.G. (2011). A taxonomic revision <strong>and</strong> phylogenetic<br />

reconstruction of the Jahnulales (Dothideomycetes), <strong>and</strong><br />

the new family Manglicolaceae. Fungal Diversity, 51(1),<br />

163-188.<br />

158. Suetrong, S., Hyde, K.D., Zhang, Y., Bahkali, A.H., Jones, E.B.G.<br />

(2011). Trematosphaeriaceae fam. nov. (Dothideomycetes,<br />

Ascomycota). Cryptogamie Mycologie, 32(4), 343-358.<br />

159. Supong, K., Suriyachadkun, C., Tanasupawat, S., Suwanborirux, K.,<br />

Pittayakhajonwut, P., Kudo, T. <strong>and</strong> Thawai, C. (2012).<br />

Micromonospora sediminicola sp. nov., isolated from<br />

marine sediment. International Journal of Systematic <strong>and</strong><br />

Evolutionary Microbiology, 63(2), 570-575.<br />

160. Supong, K., Thawai, C., Suwanborirux, K., Choowong, W., Supothina,<br />

S. <strong>and</strong> Pittayakhajonwut, P. (2012). Antimalarial <strong>and</strong><br />

antitubercular C-glycosylated benz[α]anthraquinones<br />

from the marine-derived Streptomyces sp. BCC45596.<br />

Phytochemistry Letters, 5(3), 651-656.<br />

161. Supothina, S., Srisanoh, U., Nithithanasilp, S., Tasanathai, K.,<br />

Luangsa-Ard, J.J., Li, C.R. <strong>and</strong> Isaka, M. (2011). Beauvericin<br />

production by the Lepidoptera pathogenic fungus Isaria<br />

tenuipes: Analysis of natural specimens, synnemata from<br />

cultivation, <strong>and</strong> mycelia from liquid-media fermentation.<br />

Natural Products <strong>and</strong> Bioprospecting, 1(3), 112-115.<br />

162. Suriyachadkun, C., Chunhametha, S., Ngaemthao, W., Tamura, T.,<br />

Kirtikara, K., Sanglier, J.-J., Kitpreechavanich, V. (2011).<br />

Sphaerisporangium krabiense sp. nov., isolated from soil.<br />

International Journal of Systematic <strong>and</strong> Evolutionary<br />

Microbiology, 61(12), 2890-2894.<br />

163. Suriyachadkun, C., Ngaemthao, W., Chunhametha, S., Tamura. T.<br />

<strong>and</strong> Sanglier, J.J. (2012). Kutzneria buriramensis sp.<br />

nov., isolated from soil in Thail<strong>and</strong>. International Journal<br />

of Systematic <strong>and</strong> Evolutionary Microbiology, 63(1), 47-52.<br />

164. Suthianthong, P., Donpudsa, S., Supungul, P., Tassanakajon, A.<br />

<strong>and</strong> Rimphanitchayakit, V. (2012). The N-terminal<br />

glycine-rich <strong>and</strong> cysteine-rich regions are essential <strong>for</strong><br />

antimicrobial activity of crustinPm1 from the black tiger<br />

shrimp Penaeus monodon. Fish <strong>and</strong> Shellfish Immunology,<br />

33(4), 977-983.<br />

165. Suttisrisung, S., Senapin, S., Withyachumnarnkul, B. <strong>and</strong> Wongprasert,<br />

K. (2011). Identification <strong>and</strong> characterization of a novel<br />

legume-like lectin cDNA sequence from the red marine algae<br />

Gracilaria fisheri. Journal of Biosciences, 36(5), 1-11.<br />

166. Suwannarangsee, S., Bunterngsook, B., Arnthong, J., Paemanee,<br />

A., Thamchaipenet, A., Eurwilaichitr, L., Laosiripojana, N.<br />

<strong>and</strong> Champreda, V. (2012). Optimisation of synergistic<br />

biomass-degrading enzyme systems <strong>for</strong> efficient rice straw<br />

hydrolysis using an experimental mixture design.<br />

Bioresource Technology, 119, 252-261.<br />

167. Suwanvecho, U. <strong>and</strong> Brockelman, W.Y. (2012). Interspecific<br />

territoriality in gibbons (Hylobates lar <strong>and</strong> H. pileatus) <strong>and</strong><br />

its effects on the dynamics of interspecies contact zones.<br />

Primates, 53(1), 97-108.<br />

168. Talakhun, W., Roytrakul, S., Phaonakrop, N., Kittisenachai, S.,<br />

Khamnamtong, B., Klinbunga, S. <strong>and</strong> Menasveta, P. (2012).<br />

Identification of reproduction-related proteins <strong>and</strong><br />

characterization of the protein disulfide isomerase A6<br />

cDNA in ovaries of the giant tiger shrimp Penaeus<br />

monodon. Comparative Biochemistry <strong>and</strong> Physiology -<br />

Part D: Genomics <strong>and</strong> Proteomics, 7(2), 180-190.<br />

169. Tanapongpipat, S., Promdonkoy, P., Watanabe, T., Tirasophon,<br />

W., Roongsawang, N., Chiba, Y. <strong>and</strong> Eurwilaichitr, L. (2012).<br />

Heterologous protein expression in Pichia thermomethanolica<br />

BCC16875, a thermotolerant methylotrophic yeast <strong>and</strong><br />

characterization of N-linked glycosylation in secreted<br />

protein. FEMS Microbiology Letters, 334(2), 127-134.<br />

170. Tanasupawat, S., Kommanee, J., Yukphan, P., Moonmangmee, D.,<br />

Muramatsu, Y., Nakagawa, Y. <strong>and</strong> Yamada, Y. (2012).<br />

Gluconobacter uchimurae sp. nov., an acetic acid bacterium<br />

in the α-Proteobacteria. Journal of General <strong>and</strong> Applied<br />

Microbiology, 57(5), 293-301.<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong> 59


171. Tanasupawat, S., Taprig, T., Akaracharanya, A., Visessanguan, W.<br />

(2011). Characterization of Virgibacillus strain TKNR13-3<br />

from fermented shrimp paste (ka-pi) <strong>and</strong> its protease<br />

production. African Journal of Microbiology Research,<br />

5(26), 4714-4721.<br />

172. Tangprasittipap, A., Chouwdee, S., Phiwsaiya, K., Laiphrom, S.,<br />

Senapin, S., Flegel, T.W. Sritunyalucksana, K. (2012). Structure<br />

<strong>and</strong> expression of a shrimp prohormone convertase 2.<br />

General <strong>and</strong> Comparative Endocrinology, 178(2), 185-193.<br />

173. Tatu, T. <strong>and</strong> Kasinrerk, W. (2012). A novel test tube method of<br />

screening <strong>for</strong> hemoglobin E. International Journal of<br />

Laboratory Hematology, 34(1), 59-64.<br />

174. Tatu, T., Kiewkarnkha, T., Khuntarak, S., Khamrin, S., Suwannasin,<br />

S. <strong>and</strong> Kasinrerk, W. (2012). Screening <strong>for</strong> co-existence of<br />

α-thalassemia in β-thalassemia <strong>and</strong> in HbE heterozygotes<br />

via an enzyme-linked immunosorbent assay <strong>for</strong> Hb Bart’s<br />

<strong>and</strong> embryonic γ -globin chain. International Journal of<br />

Hematology, 95(4), 386-393.<br />

175. Techaprasan, J. <strong>and</strong> Leong-Škorničková, J. (2011). Transfer of<br />

Kaempferia c<strong>and</strong>ida to Curcuma (Zingiberaceae) based<br />

on morphological <strong>and</strong> molecular data. Nordic Journal of<br />

Botany, 29(6), 773-779.<br />

176. Thagun, C., Srisala, J., Sritunyalucksana, K., Narangajavana, J. <strong>and</strong><br />

Sojikul, P. (2012). Arabidopsis-derived shrimp viral-binding<br />

protein, PmRab7 can protect white spot syndrome virus<br />

infection in shrimp. Journal of Biotechnology, 161(1),<br />

60-67.<br />

177. Thawornwiriyanun, P., Tanasupawat, S., Dechsakulwatana, C.,<br />

Techkarnjanaruk, S. <strong>and</strong> Suntornsuk, W. (2012). Identification<br />

of Newly Zeaxanthin-Producing Bacteria Isolated from<br />

Sponges in the Gulf of Thail<strong>and</strong> <strong>and</strong> their Zeaxanthin<br />

Production. Applied Biochemistry <strong>and</strong> Biotechnology,<br />

167(8), 2357-2368.<br />

178. Theerawanitchpan, G., Saengkrit, N., Sajomsang, W., Gonil, P.,<br />

Ruktanonchai, U., Saesoo, S., Flegel, T.W. <strong>and</strong> Saksmerprome,<br />

V. (2012). Chitosan <strong>and</strong> its quaternized derivative as<br />

effective long dsRNA carriers targeting shrimp virus in<br />

Spodoptera frugiperda 9 cells. Journal of Biotechnology,<br />

160(3-4), 97-104.<br />

179. Theerawitaya, C., Boriboonkaset, T., Cha-um, S., Supaibulwatana,<br />

K. <strong>and</strong> Kirdmanee, C. (2012). Transcriptional regulations of<br />

the genes of starch metabolism <strong>and</strong> physiological changes<br />

in response to salt stress rice (Oryza sativa L.)<br />

seedlings. Physiology <strong>and</strong> Molecular Biology of Plants,<br />

18(3), 197-208.<br />

180. Theerawitaya, C., Triwitayakorn, K., Kirdmanee, C., Smith, D.R.<br />

<strong>and</strong> Supaibulwatana, K. (2011). <strong>Genetic</strong> variations associated<br />

with salt tolerance detected in mutants of KDML105<br />

(Oryza sativa L. spp. indica) rice. Australian Journal of<br />

Crop Science, 5(11), 1475-1480.<br />

181. Theinsathid, P., Visessanguan, W., Kingcha, Y. <strong>and</strong> Keeratipibul, S.<br />

(2011). Antimicrobial Effectiveness of Biobased Film<br />

Against Escherichia coli 0157:H7, Listeria monocytogenes<br />

<strong>and</strong> Salmonella typhimurium. Advance Journal of Food<br />

Science <strong>and</strong> Technology, 3(4), 294-302.<br />

182. Theinsathid, P., Visessanguan, W., Kruenate, J., Kingcha, Y. <strong>and</strong><br />

Keeratipibul, S. (2012). Antimicrobial Activity of Lauric<br />

Arginate-Coated Polylactic Acid Films against Listeria<br />

monocytogenes <strong>and</strong> Salmonella Typhimurium on cooked<br />

sliced ham. Journal of Food Science, 77(2), M142-M149.<br />

183. Thongnoppakhun, W., Assawamakin, A. <strong>and</strong> Tongsima, S. (2012).<br />

An abundance of population-specific monomorphic SNPs<br />

may or may not be meaningful: a commentary on<br />

differences in allele frequencies of familial hypercholesterolemia SNPs<br />

in the Malaysian population. Journal of Human<br />

<strong>Genetic</strong>s, 57(7), 403-404.<br />

184. Tipsuwan, W., Srichairatanakool, S., Kamchonwongpaisan,S.,<br />

Yuthavong, Y. <strong>and</strong> Uthaipibull,C. (2012). Identification of<br />

Pfdhfr mutant variants in Plasmodium berghei model.<br />

Maejo International Journal of Science <strong>and</strong> Technology,<br />

5(03), 401-412.<br />

185. Tirakarn, S., Riangrungroj, P., Kongsaeree, P., Imwong, M.,<br />

Yuthavong, Y. <strong>and</strong> Leartsakulpanich, U. (2012). Cloning <strong>and</strong><br />

heterologous expression of Plasmodium ovale<br />

dihydrofolate reductase-thymidylate synthase gene.<br />

Parasitology International, 61(2), 324-332.<br />

186. Tosukhowong, A., Zendo, T., Visessanguan, W., Roytrakul, S.,<br />

Pumpuang, L., Jaresitthikunchai, J. <strong>and</strong> Sonomoto, K.<br />

(2012). Garvieacin Q, a novel class II bacteriocin from<br />

Lactococcus garvieae BCC 43578. Applied <strong>and</strong><br />

Environmental Microbiology, 78(5), 1619-1623.<br />

187. Tranbarger, T.J., Kluabmongkol, W., Sangsrakru, D., Morcillo, F.,<br />

Tregear, J.W., Tragoonrung, S. <strong>and</strong> Billotte, N. (2012).<br />

SSR markers in transcripts of genes linked to<br />

post-transcriptional <strong>and</strong> transcriptional regulatory<br />

functions during vegetative <strong>and</strong> reproductive development<br />

of Elaeis guineensis. BMC Plant Biology, 12, 1.<br />

188. Triwitayakorn, K., Chatkulkawin, P., Kanjanawattanawong, S.,<br />

Sraphet, S., Yoocha, T., Sangsrakru, D., Chanprasert, J.,<br />

Ngamphiw, C., Jomchai, N., Therawattanasuk, K. <strong>and</strong><br />

Tangphatsornruang, S. (2011). Transcriptome Sequencing<br />

of Hevea brasiliensis <strong>for</strong> Development of Microsatellite<br />

Markers <strong>and</strong> Construction of a <strong>Genetic</strong> Linkage Map. DNA<br />

Research, 18(6), 471-482.<br />

189. Uawisetwathana, U., Leelatanawit, R., Klanchui, A., Prommoon,<br />

J., Klinbunga, S. <strong>and</strong> Karoonuthaisiri, N. (2011). Insights into<br />

Eyestalk Ablation Mechanism to Induce Ovarian Maturation<br />

in the Black Tiger Shrimp. PLoS ONE, 6(9), e24427.<br />

190. Unajak, S., Meesawat, P., Paemanee, A., Areechon, N., Engkagul,<br />

A., Kovitvadhi, U., Kovitvadhi, S., Rungruangsak-Torrissen,<br />

K. <strong>and</strong> Choowongkomon, K. (2012). Characterisation of<br />

thermostable trypsin <strong>and</strong> determination of trypsin<br />

isozymes from intestine of Nile tilapia (Oreochromis<br />

niloticus L.). Food Chemistry, 134(3), 1533-1541.<br />

191. Unrean, P. <strong>and</strong> Nguyen, N.H.A. (2012). Metabolic pathway<br />

analysis <strong>and</strong> kinetic studies <strong>for</strong> production of nattokinase<br />

in Bacillus subtilis. Bioprocess <strong>and</strong> Biosystems <strong>Engineering</strong>,<br />

doi:10.1007/s00449-012-0760-y.<br />

192. Unrean, P. <strong>and</strong> Nguyen, N.H.A. (2012). Metabolic pathway analysis<br />

of Scheffersomyces (Pichia) stipitis: effect of oxygen<br />

availability on ethanol synthesis <strong>and</strong> flux distributions.<br />

Applied Microbiology <strong>and</strong> Biotechnology, 94(5), 1387-1398.<br />

193. Unrean, P. <strong>and</strong> Nguyen, N.H.A. (2012). Rational optimization of<br />

culture conditions <strong>for</strong> the most efficient ethanol production in<br />

Scheffersomyces stipitis using design of experiments.<br />

Biotechnology Progress, 28(5), 1119-1125.<br />

194. Uthaipaisanwong, P., Chanprasert, J., Shearman, J.R., Sangsrakru, D.,<br />

Yoocha, T., Jomchai, N., Jantasuriyarat, C., Tragoonrung, S.<br />

<strong>and</strong> Tangphatsornruang, S. (2012). Characterization of<br />

the chloroplast genome sequence of oil palm (Elaeis<br />

guineensis Jacq.). Gene, 500(2), 172-180.<br />

60 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


195. Vanichtanankul, J., Taweechai, S., Uttamapinant, C., Chitnumsub, P.,<br />

Vilaivan, T., Yuthavong, Y. <strong>and</strong> Kamchonwongpaisan, S.<br />

(2012). Combined Spatial Limitation around Residues 16<br />

<strong>and</strong> 108 of Plasmodium falciparum Dihydrofolate Reductase<br />

Explains Resistance to Cycloguanil. Antimicrobial Agents<br />

<strong>and</strong> Chemotherapy, 56(7), 3928-3935.<br />

196. Vatanavicharn, T., Pongsomboon, S. <strong>and</strong> Tassanakajon, A. (2012). Two<br />

plasmolipins from the black tiger shrimp, Penaeus monodon<br />

<strong>and</strong> their response to virus pathogens. Developmental<br />

<strong>and</strong> Comparative Immunology, 38(2), 389-394.<br />

197. Vorapreeda, T., Thammarongtham, C., Cheevadhanarak, S. <strong>and</strong><br />

Laoteng, K. (2012). Alternative routes of acetyl-CoA<br />

synthesis identified by comparative genomic analysis:<br />

involvement in lipid production of oleaginous yeast <strong>and</strong><br />

fungi. Microbiology-Sgm, 158(1), 217-228.<br />

198. Wangchuk, P., Keller, P.A., Pyne, S.G., Sastraruji, T., Taweechotipatr,<br />

M., Rattanajak, R., Tonsomboon, A. <strong>and</strong> Kamchonwongpaisan,<br />

S. (2012). Phytochemical <strong>and</strong> biological activity studies<br />

of the Bhutanese medicinal plant Corydalis crispa. Natural<br />

Product Communications, 7(5), 575-580.<br />

199. Wangchuk, P., Keller, P.A., Pyne, S.G., Willis, A.C. <strong>and</strong><br />

Kamchonwongpaisan, S. (2012). Antimalarial alkaloids<br />

from a Bhutanese traditional medicinal plant Corydalis<br />

dubia. Journal of Ethnopharmacology, 143(1), 310-313.<br />

200. Wangman, P., Longyant, S., Chaivisuthangkura, P., Sridulyakul, P.,<br />

Rukpratanporn, S. <strong>and</strong> Sithigorngul, P. (2011). Penaeus<br />

monodon nucleopolyhedrovirus detection using<br />

monoclonal antibodies specific to recombinant<br />

polyhedrin protein. Aquaculture, 321(3-4), 216-222.<br />

201. Wangman, P., Longyant, S., Chaivisuthangkura, P., Sridulyakul, P.,<br />

Rukpratanporn, S. <strong>and</strong> Sithigorngul, P. (2012). Penaeus<br />

monodon nucleopolyhedrovirus detection using an<br />

immunochromatographic strip test. Journal of Virological<br />

Methods, 183(2), 210-214.<br />

202. Wangman, P., Senapin, S., Chaivisuthangkura, P., Longyant, S.,<br />

Rukpratanporn, S. <strong>and</strong> Sithigorngul, P. (2012). Production<br />

of monoclonal antibodies specific to Macrobrachium<br />

rosenbergii nodavirus using recombinant capsid protein.<br />

Diseases of Aquatic Organisms, 98(2), 121-131.<br />

203. Wanitchang, A., Narkpuk, J., Jaru-ampornpan, P., Jengarn, J. <strong>and</strong><br />

Jongkaewwattana, A. (2012). Inhibition of influenza A virus<br />

replication by influenza B virus nucleoprotein: An insight<br />

into interference between influenza A <strong>and</strong> B viruses.<br />

Virology, 432(1), 194-203.<br />

204. Washio, K., Lim, S.P., Roongsawang, N. <strong>and</strong> Morikawa, M. (2011).<br />

A Truncated Form of SpoT, Including the ACT Domain, Inhibits<br />

the Production of Cyclic Lipopeptide Arthrofactin, <strong>and</strong> Is<br />

Associated with Moderate Elevation of Guanosine 3’,5’-<br />

Bispyrophosphate Level in Pseudomonas sp. MIS38.<br />

Bioscience Biotechnology <strong>and</strong> Biochemistry, 75(10), 1880-1888.<br />

205. Watthanasurorot, A., Söderhäll, K. <strong>and</strong> Jiravanichpaisal, P. (2012).<br />

A mammalian like interleukin-1 receptor-associated kinase 4<br />

(IRAK-4), a TIR signaling mediator in intestinal<br />

innate immunity of black tiger shrimp (Penaeus monodon).<br />

Biochemical <strong>and</strong> Biophysical Research Communications,<br />

417(1), 623-629.<br />

206. Wijarat, P., Keeratinijakal, V., Toojinda T., Vanavichit, A. <strong>and</strong><br />

Tragoonrung, S. (2012). <strong>Genetic</strong> evaluation of Andrographis<br />

paniculata (Burm. f.) Nees revealed by SSR, AFLP <strong>and</strong><br />

RAPD markers. Journal of Medicinal Plants Research,<br />

6(14), 2777-2788.<br />

207. Wijarat, P., Keeratinijakal, V., Toojinda, T., Vanavichit, A. <strong>and</strong><br />

Tragoonrung, S. (2011). <strong>Genetic</strong> diversity <strong>and</strong> inbreeder<br />

specie of Andrographis paniculata (Burm. f.) Nees by<br />

r<strong>and</strong>omly amplified polymorphic deoxyribonucleic acid<br />

(RAPD) <strong>and</strong> floral architecture analysis. Journal of Plant<br />

Breeding <strong>and</strong> Crop Science, 3(12), 327-334.<br />

208. Wongtrakoongate, P., Roytrakul, S., Yasothornsrikul, S.,<br />

Tungpradabkul, S. (2011). A Proteome Reference Map of<br />

the Causative Agent of Melioidosis Burkholderia<br />

pseudomallei. Journal of Biomedicine <strong>and</strong> Biotechnology,<br />

2011,art. ID 530926.<br />

209. Wu, C., Noonin, C., Jiravanichpaisal, P., Söderhäll, I. <strong>and</strong> Söderhäll, K.<br />

(2012). An insect TEP in a crustacean is specific <strong>for</strong><br />

cuticular tissues <strong>and</strong> involved in intestinal defense. Insect<br />

Biochemistry <strong>and</strong> Molecular Biology, 42(2), 71-80.<br />

210. Wuthisathid, K., Phiwsaiya, K., Chen, X.J., Senapin, S. <strong>and</strong> Flegel,<br />

T.W. (2012). Shrimp ATP synthase genes complement<br />

yeast null mutants <strong>for</strong> ATP hydrolysis but not synthesis<br />

activity. Molecular Biology Reports, 39(10), 9791-9799.<br />

211. Xua, S., Pugach, I., Stoneking, M., Kayser, M., Jin, L. <strong>and</strong> The<br />

HUGO Pan-Asian SNP Consortium. (2012). <strong>Genetic</strong> dating<br />

indicates that the Asian–Papuan admixture through<br />

Eastern Indonesia corresponds to the Austronesian<br />

expansion. Proceedings of the <strong>National</strong> Academy of<br />

Sciences of the United States of America, 109(12),<br />

4574-4579.<br />

212. Yamaguchi, K., Tsurumi, Y., Suzuki, R., Chuaseeharonnachai, C.,<br />

Sri-indrasutdhi, V., Boonyuen, N., Okane, I., Suzuki, K. <strong>and</strong><br />

Nakagiri, A. (2012). Trichoderma matsushimae <strong>and</strong> T.<br />

aeroaquaticum: two aero-aquatic species from Thail<strong>and</strong><br />

<strong>and</strong> Japan with Pseudaegerita-like propagules. Mycologia,<br />

104(5), 1109-1120.<br />

213. Yang, X., Xu, S. <strong>and</strong> The HUGO Pan-Asian SNP Consortium.<br />

(2011). Identification of Close Relatives in the HUGO<br />

Pan-Asian SNP Database. PLoS ONE, 6(12), e29502.<br />

214. Yokthongwattana, C., Mahong, B., Roytrakul, S., Phaonaklop, N.,<br />

Narangajavana, J. <strong>and</strong> Yokthongwattana, K. (2012).<br />

Proteomic analysis of salinity-stressed Chlamydomonas<br />

reinhardtii revealed differential suppression <strong>and</strong> induction<br />

of a large number of important housekeeping proteins.<br />

Planta, 235(3), 649-659.<br />

215. Yooyongwech, S., Horigane, A.K., Yoshida, M., Sekozawa, Y.,<br />

Sugaya, S., Cha-um, S. <strong>and</strong> Gemma, H. (2012). Hydrogen<br />

cyanamide enhances MRI-measured water status in flower<br />

buds of peach (Prunus persica L.) during winter. Plant<br />

Omics, 5(4), 400-404.<br />

216. Yorsangsukkamol, J., Chaiprasert, A., Palaga, T., Prammananan,<br />

T., Faksri, K., Palittapongarnpim, P.<strong>and</strong> Prayoonwiwat, N.<br />

(2011). Apoptosis, production of MMP9, VEGF, TNF-alpha<br />

<strong>and</strong> intracellular growth of M. tuberculosis <strong>for</strong> different<br />

genotypes <strong>and</strong> different pks5/1 genes. Asian Pacific<br />

Journal of Allergy <strong>and</strong> Immunology, 29(3), 240-251.<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong><br />

61


รางวัลแห่งความสาเร็จ จานวน 24 รางวัล<br />

ดร.เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ ดร.สุนีย์ โชตินีรนำท<br />

ดร.จักรพล สุนทรวรำภำส นำยสิทธิโชค วัลลภำทิตย์ และ<br />

นำงสำวรุ่งทิวำ วันสุขศรี<br />

หน่วยปฏิบัติการเทคโนโลยีแปรรูปมันสาปะหลังและแป้ง<br />

ได้รับทุนวิจัยจาก European Union FP7 สาหรับการวิจัยเรื่อง<br />

Gains from Losses of Root <strong>and</strong> Tuber Crops<br />

ดร.ภัทรียำ พลซำ<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร<br />

ได้รับทุนวิจัยจาก International Foundation <strong>for</strong> Science (IFS)<br />

สาหรับการวิจัยเรื่อง Molecular effects of photoperiods on<br />

expression of genes functional related to reproductive<br />

maturation of the giant tiger shrimp Penaeus monodon<br />

ดร.นิศรำ กำรุณอุทัยศิริ<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร<br />

ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจาปี 2554 สาหรับผลงาน<br />

วิจัยเรื่อง การพัฒนาศักยภาพการผลิตไมโครอะเรย์ในประเทศไทย<br />

จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

นำงวรรณสิกำ เกียรติปฐมชัย<br />

หน่วยวิจัยเพื่อความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง<br />

ได้รับรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับดี ประจาปี <strong>2555</strong> สาขา<br />

ด้านเกษตรศาสตร์และอุตสาหกรรมการเกษตร สาหรับผลงาน<br />

เครื่องวัดความขุ่นสาหรับตรวจเชื้อไวรัสในกุ้ง จากสภาวิจัยแห่งชาติ<br />

ดร.ศิษเฎศ ทองสิมำ<br />

สถาบันจีโนม<br />

ได้รับรางวัล The Meritorious Service Award จากงานประชุม 10 th<br />

International Conference on Bioin<strong>for</strong>matics <strong>and</strong> Computational<br />

Biology (InCoB) - 1st ISCB-Asia Joint conference 2011<br />

ดร.นพพล คบหมู่<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ<br />

ได้รับรางวัลการนาเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ ระดับดีเยี่ยม<br />

สาหรับผลงานวิจัยเรื่อง Molecular phylogenies reveal cryptic<br />

speciation of Ophiocordyceps unilateralis through specificity to<br />

its host ants จากการประชุม ANeT Meeting 2011 (8th International<br />

Conference on Ants)<br />

ดร.สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง<br />

สถาบันจีโนม<br />

ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาชีวโมเลกุลพืช ประจาปี <strong>2555</strong><br />

สาหรับผลงานเรื ่อง การใช้จีโนมเทคโนโลยีในการปรับปรุงพันธุ ์พืช<br />

จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ดร.สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง<br />

สถาบันจีโนม<br />

ได้รับรางวัล นักเทคโนโลยีชีวภาพ จากบริษัท ไบโอจีโนเมต จากัด<br />

ดร.อภิชำติ วรรณวิจิตร<br />

หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว<br />

ได้รับรางวัลเกียรติคุณบุคคลดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และ<br />

เทคโนโลยี ประจาปี <strong>2555</strong> จากการเป็นผู้นาทีมนักวิจัยไทยร่วม<br />

ถอดรหัสจีโนมข้าวร่วมกับนักวิจัยนานาชาติ 10 ประเทศ ใน<br />

โครงการถอดรหัสจีโนมข้าวนานาชาติ และประสบความสาเร็จใน<br />

การนาจีโนมเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการค้นหายีนเพื่อปรับปรุงพันธุ์<br />

ข้าว จากคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สานักนายกรัฐมนตรี<br />

ดร.สรวง สมำนหมู่<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ<br />

ได้รับรางวัลชนะเลิศ True Innovation Awards 2011 ประเภท Idea<br />

Seed สาหรับผลงานเรื่อง เธอคือลมหายใจ เครื่องตรวจเบาหวาน<br />

จากลมหายใจ จากงาน Awards Night<br />

ได้รับรางวัล Audience Choice Winner Award สาหรับผลงานวิจัย<br />

เรื่อง G-breath เครื่องตรวจและบอกชนิดเบาหวาน จากงาน<br />

ประกวด Intel-DST Asia Pacific Challenge 2012<br />

ดร.วรำงคณำ สงสังข์ทอง<br />

หน่วยวิจัยชีวโมเลกุลทางการแพทย์<br />

ได้รับรางวัลการนาเสนอผลงานโปสเตอร์ ระดับดีเยี่ยม สาหรับผล<br />

งานวิจัยเรื่อง Role of Plasmodium Glutathione Biosynthesis in<br />

Antimalarial Sensitivity จากการประชุม Keystone Symposia:<br />

Drug Discovery <strong>for</strong> Protozoan Parasites<br />

ดร.กุลฤดี แสงสีทอง<br />

หน่วยปฏิบัติการเทคโนโลยีแปรรูปมันสาปะหลังและแป้ง<br />

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภทการนาเสนอผลงานโปสเตอร์<br />

สาหรับผลงานวิจัยเรื่อง Paste <strong>and</strong> film properties of oxidized<br />

cassava starch จากการประชุมวิชาการนานาชาติ Starch Update<br />

2011 : The 6th International Conference on Starch Technology<br />

นำงจิรนันท์ เตชะประสำน และ Dr. Jana Leong-Skornickova<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ และ Singapore Botanic<br />

Gardens<br />

รางวัล Tem Smitin<strong>and</strong> Poster Awards Voting Result สาหรับผล<br />

งานวิจัยเรื่อง Kaempferia c<strong>and</strong>ida (Zingiberaceae): Curcuma in<br />

disguise จากการประชุม 15th Flora of Thail<strong>and</strong> Meeting<br />

ดร.สำทินี ซื่อตรง<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ<br />

ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี ประจาปี 2554 สาขาเกษตรศาสตร์<br />

และชีววิทยา สาหรับผลงานวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระดับโมเลกุล<br />

ของราทะเลกลุ่ม Dothideomycetes จากสภาวิจัยแห่งชาติ<br />

62 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>


ดร.จำรุณี วำนิชธนันกูล<br />

หน่วยวิจัยชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์<br />

ได้รับรางวัลการเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ขอนักศึกษาบัณฑิต<br />

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจาปีการศึกษา 2554 กลุ่มสาขา<br />

วิชาวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ จากผลงานวิจัยเรื่อง<br />

Trypanosomal Dihydrofolate Reductase Reveals<br />

Natural Antifolate Resistance<br />

ดร.อภิรดี หงส์ทอง นำงภำวิณี รักเรืองเดช<br />

ดร.จิตติศักดิ์ เสนำจักร นำงสำวมธุรำ สิริจันทรัตน์<br />

นำงสำวรยำกร ยุทธนำสิริกุล นำงสำวพุทธวดี พึ่งเจริญ<br />

นำงวัฒนำ เจียมตน ดร.สุภำภรณ์ ชีวะธนรักษ์<br />

และ ดร.สิทธิรักษ์ รอยตระกูล<br />

หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมชีวเคมีและโรงงาน<br />

ต้นแบบ และสถาบันจีโนม<br />

ได้รับการคัดเลือกให้เป็น Research Highlight บนเว็บไซต์ของ<br />

A-IMBN (Asia-Pacific International Molecular Bio logy Network)<br />

Research สาหรับผลงาน Comparative analysis of the<br />

Spirulina platensis subcellular proteome in response to<br />

low- <strong>and</strong> high-temperature stresses: uncovering cross-talk of<br />

signaling components<br />

นำยชุมพล งำมผิว ดร.อนันต์ชัย อัศวเมฆิน ดร.ศิษเฎศ ทองสิมำ<br />

และ ดร.ฟิลิป ชอว์<br />

สถาบันจีโนม และหน่วยวิจัยชีวโมเลกุลทางการแพทย์<br />

ได้รับการคัดเลือกให้เป็น Research Highlight บนเว็บไซต์ของ<br />

A-IMBN (Asia-Pacific International Molecular Biology Network)<br />

Research สาหรับผลงาน ฐานข้อมูล PanSNPdb<br />

ดร.จิตติมำ พิริยะพงศำ นำยชัยวัฒน์ บุตรไชย<br />

นำยชุมพล งำมผิว และ ดร.ศิษเฎศ ทองสิมำ<br />

สถาบันจีโนม<br />

ได้รับการคัดเลือกให้เป็น Research Highlight บนเว็บไซต์ของ<br />

A-IMBN (Asia-Pacific International Molecular Biology Network)<br />

Research สาหรับผลงาน microPIR: an Integrated database of<br />

microRNA target sites within human promoter sequences<br />

ดร.ชัยรัตน์ อุทัยพิบูลย์ ดร.สุมำลี กำจรวงศ์ไพศำล และ<br />

ศ. ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์<br />

หน่วยวิจัยชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์<br />

ได้รับการคัดเลือกให้เป็น Research Highlight บนเว็บไซต์ของ<br />

A-IMBN (Asia-Pacific International Molecular Biology Network)<br />

Research สาหรับผลงาน Flow cytometric enumeration of<br />

Plasmodium berghei-infected red blood cells stained with<br />

SYBR Green I<br />

ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนำ และคณะผู้วิจัยจำกห้องปฏิบัติกำร<br />

ไวรัสวิทยำและเซลล์เทคโนโลยี<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร<br />

ได้รับการคัดเลือกให้เป็น Research Highlight บนเว็บไซต์ของ<br />

A-IMBN (Asia-Pacific International Molecular Biology<br />

Network) Research สาหรับผลงาน Inhibition of influenza A virus<br />

replication by influenza B virus nucleoprotein: An insight into<br />

interference between influenza A <strong>and</strong> B viruses<br />

ดร.กัลยำณ์ ศรีธัญญลักษณำ ดร.อมรรัตน์ ตั้งประสิทธิภำพ<br />

นำงสำวสำยสุนีย์ เชำวน์ดี ศ. ดร.ทิมโมที วิลเลี่ยม เฟลเกล<br />

ดร.แสงจันทร์ เสนำปิน นำงสำวกรสุณี ผิวไสยำ<br />

และนำงสำวแสนสุข ลำยพรหม<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร หน่วยวิจัยเพื่อความเป็น<br />

เลิศเทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง และศูนย์วิจัยและพัฒนาสายพันธุ์กุ้ง<br />

ได้รับการคัดเลือกให้เป็น Research Highlight บนเว็บไซต์ของ<br />

A-IMBN (Asia-Pacific International Molecular Biology Network)<br />

Research สาหรับผลงาน Structure <strong>and</strong> expression of a shrimp<br />

prohormone convertase 2<br />

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภำพแห่งชำติ<br />

ได้รับรางวัลดีเด่น ด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภทอาคารควบคุม<br />

จากการประกวด Thail<strong>and</strong> Energy Awards 2012 ประจาปี <strong>2555</strong><br />

จัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวง<br />

พลังงาน<br />

ดร.นิศรำ กำรุณอุทัยศิริ นำยรัฐพล เฉลิมโรจน์<br />

ดร.อรประไพ คชนันทน์ ดร.อรวรรณ หิมำนันโต<br />

นำงสำวมัลลิกำ กำภูศิริ Prof. Christopher Elliott และ<br />

Dr. Michalina Oplatowska<br />

หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร และ Queen’s University<br />

Belfast<br />

ได้รับการคัดเลือกให้เป็น Research Highlight บนเว็บไซต์ของ<br />

A-IMBN (Asia-Pacific International Molecular Biology Network)<br />

Research สาหรับผลงาน Comparison of techniques to screen<br />

<strong>and</strong> characterize bacteria-specific hybridomas <strong>for</strong> high-quality<br />

monoclonal antibodies selection<br />

รายงานประจำาปี <strong>2555</strong> 63


คณะกรรมการบริหารไบโอเทค<br />

ประธำนกรรมกำร<br />

รศ. ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

รองประธำนกรรมกำร<br />

ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล<br />

ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ<br />

กรรมกำร<br />

นำยปรเมธี วิมลศิริ<br />

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ<br />

และสังคมแห่งชาติ<br />

ศ. ดร.ประพนธ์ วิไลรัตน์<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

ศ. ดร.กฤษฎำ สัมพันธำรักษ์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

นำยพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล<br />

สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย<br />

นำงอมรรัตน์ ลิ่มไทย<br />

สานักงบประมาณ<br />

นำยจิรำกร โกศัยเสวี<br />

กรมวิชาการเกษตร<br />

นสพ.รุจเวทย์ ทหำรแกล้ว<br />

บริษัท ศูนย์วิทยาศาสตร์เบทาโกร จากัด<br />

นำยพำโชค พงษ์พำนิช<br />

สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย<br />

นำยทศพล ตันติวงษ์<br />

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย<br />

ศ. ดร.อมเรศ ภูมิรัตน<br />

สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย<br />

กรรมกำรและเลขำนุกำร<br />

ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร<br />

ผู้อานวยการไบโอเทค<br />

กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร<br />

นำงสำวดุษฎี เสียมหำญ<br />

รองผู้อานวยการไบโอเทค<br />

คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติ<br />

ประธำนกรรมกำร<br />

Prof. Ken-ichi Arai<br />

Professor Emeritus, The University of Tokyo, JAPAN<br />

กรรมกำร<br />

Dr. Jill Conley<br />

Director, International <strong>and</strong> Precollege Science Education<br />

Programs Howard Hughes Medical Institute (HHMI), USA<br />

Prof. Douglas Hilton<br />

Director, Walter <strong>and</strong> Eliza Hall Institute (WEHI), AUSTRALIA<br />

Dr. Ming-Chu Hsu<br />

Chairman & CEO, TaiGen Biotechnology Co., Ltd., TAIWAN<br />

Dr. Martin Keller<br />

Associate Laboratory Director of Biological <strong>and</strong> Environmental<br />

Sciences, Oak Ridge <strong>National</strong> Laboratory (ORNL), USA<br />

Prof. Gerald T. Keusch<br />

Professor of International Health <strong>and</strong> of Medicine, Boston<br />

University School of Public Health, USA<br />

Prof. Lene Lange<br />

Vice Dean <strong>for</strong> Faculty of <strong>Engineering</strong>, Science <strong>and</strong> Medicine,<br />

Aalborg University, DENMARK<br />

Prof. Sangkot Marzuki<br />

Director, Eijkman Institute <strong>for</strong> Molecular Biology, INDONESIA<br />

Dr. Jean-Marcel Ribaut<br />

Director, Generation Challenge Program (GCP)<br />

คณะผู้บริหารไบโอเทค<br />

ดร. กัญญวิมว์ กีรติกร<br />

ผู้อานวยการ<br />

รศ.ดร. สุวิทย์ เตีย<br />

รองผู้อานวยการ<br />

นำงสำวดุษฎี เสียมหำญ<br />

รองผู้อานวยการ<br />

นำงสำวเครือวรรณ โพธิสมบัติ<br />

ผู้ช่วยผู้อานวยการ (ถึง 31 พฤษภาคม <strong>2555</strong>)<br />

64 รายงานประจำาปี <strong>2555</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!