09.04.2015 Views

1624-02

1624-02

1624-02

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

โครงงานวิทยาศาสตร์<br />

เรื่อง สบู ่สมุนไพรจากนํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

Herbal soap from used frying oil<br />

โดย<br />

นางสาวพิมพ์อัปสร<br />

นางสาวสรชา<br />

นางสาวปัทมา<br />

ตาธิยะ<br />

มาถา<br />

แก้วทา<br />

โรงเรียนนาทรายวิทยาคม อําเภอลี ้ จังหวัดลําพูน<br />

รายงานฉบับนี ้เป็ นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์<br />

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขากายภาพ ประเภททีม<br />

ในการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ<br />

วันที่ 18-20 สิงหาคม 2557 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์


โครงงานวิทยาศาสตร์<br />

เรื่อง สบู ่สมุนไพรจากนํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

Herbal soap from used frying oil<br />

โดย<br />

นางสาวพิมพ์อัปสร<br />

นางสาวสรชา<br />

นางสาวปัทมา<br />

ตาธิยะ<br />

มาถา<br />

แก้วทา<br />

ครูที่ปรึกษา<br />

นางวรารักษ์ เขตสิทธิ


ก<br />

บทคัดย่อ<br />

ปัจจุบันอาหารประเภททอดเป็ นอาหารประเภทหนึ ่งที่ผู้บริโภคชาวไทยนิยมรับประทาน<br />

เป็ นประจํา และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ ้นตามลําดับ โดยเฉพาะกลุ่มผู้บริโภคที่เป็ นเด็กและเยาวชน<br />

ซึ ่งนํ ้ามันที่ทอดซํ ้าหลายครั ้งจนเสื่อมสภาพแล้วจะเกิดกลุ่มสารประกอบที่เป็ นอันตรายต่อร่างกาย<br />

ซึ ่ งมีขั ้ว ที่เรี ยกว่า “สารโพลาร์คอมพาวด์” เป็ นสาเหตุหลักที่ทําให้เกิดโรคความดันโลหิต<br />

โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ โรคหัวใจวาย โรคอัมพาตและเสี่ยงต่อการเป็ นโรคมะเร็งลําไส้<br />

มะเร็งกระเพาะอาหาร ดังนั ้ นคณะผู้จัดทําโครงงานจึงได้มีการศึกษาวิธีการนํานํ ้ ามันทอดซํ ้ า<br />

ที่เสื่อมสภาพ มาผ่านกระบวนการทําให้สะอาดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบ<br />

ประสิทธิภาพของมันฝรั่งและผักกาดหัวในการดูดซับกลิ่นและสีของนํ ้ามันทอดซํ ้า โดยใช้วิธีการแช่<br />

แล้วล้าง พบว่านํ ้ามันทอดซํ ้าที่แช่ด้วยผักกาดหัวแล้วนําไปล้างด้วยนํ ้าจะมีสีเหลือง ใส ไม่มีตะกอน<br />

แล้วนํานํ ้ามันทอดซํ ้าที่สะอาดแล้วมาทดลองทําสบู่สมุนไพร 3 ชนิด คือ ตะไคร้หอม เตยหอมและ<br />

มังคุด เพื่อศึกษาหาสัดส่วนที่เหมาะสมในการใช้แทนนํ ้ามันปาล์มในอัตราส่วนร้อยละ 30, 50 และ 100<br />

เมื่อทําปฏิกิริยากับโซเดียมไฮดรอกไซด์และนํ ้ าแล้ว จะได้ว่าค่า pH, กลิ่น, ลักษณะเนื ้อสบู่ และ<br />

ปริมาณฟอง ใกล้เคียงกับสบู่ที่ไม่มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้า (control) แต่สีของสบู่สมุนไพรจะแตกต่าง<br />

กัน คือมีสีออกคลํ ้าเล็กน้อย ในอัตราส่วนร้อยละ 30, 50 และมีสีคลํ ้าในอัตราส่วนร้อยละ 100


้<br />

ข<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

การจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง สบู่สมุนไพรจากนํ ้ ามันทอดซํ ้ า สําเร็จลงได้ด้วยดี<br />

เพราะได้รับความกรุณาจากบุคคลต่อไปนี<br />

กราบขอบพระคุณนายโกศล กัญญสาย ผู้อํานวยการโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ขอขอบคุณ<br />

ครูวรารักษ์ เขตสิทธิ และครูดลนชัย ยาวิชัย ที่คอยดูแลเอาใจใส่และให้คําปรึกษา คําแนะนําที่ดี<br />

ตลอดมา ขอบคุณคณะครูโรงเรียนนาทรายวิทยาคมทุกท่านที่คอยสนับสนุน<br />

ขอบคุณผู้ปกครองและเพื่อนที่คอยช่วยเหลือและให้กําลังใจ ผู้จัดทําขอขอบพระคุณทุกท่าน<br />

ที่ทําให้โครงงานชิ้นนี ้สําเร็จไปด้วยดี<br />

คณะผู้จัดทํา<br />

18 กรกฎาคม 2557


ค<br />

สารบัญ<br />

หน้า<br />

บทคัดย่อ<br />

ก<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

ข<br />

สารบัญ<br />

ค<br />

สารบัญตาราง<br />

ง<br />

สารบัญรูปภาพ<br />

จ<br />

บทที่ 1 บทนํา 1<br />

ที่มาและความสําคัญ 1<br />

สมมติฐาน 1<br />

วัตถุประสงค์ 1<br />

ขอบเขตของโครงงาน 2<br />

นิยามเชิงปฏิบัติการ 2<br />

ตัวแปรที่ศึกษา 2<br />

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2<br />

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3<br />

บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 14<br />

บทที่ 4 ผลการทดลอง 18<br />

บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 20<br />

ภาคผนวก 21<br />

บรรณานุกรม 25


ง<br />

สารบัญตาราง<br />

หน้า<br />

ตารางที่ 1 แสดงค่า saponification ของนํ ้ามันบางชนิด 7<br />

ตารางที่ 2 แสดงลักษณะทางกายภาพของนํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

หลังจากผ่านกระบวนการทําให้สะอาด 18<br />

ตารางที่ 3 แสดงลักษณะทางกายภาพของสบู่ตะไคร้หอม 18<br />

ตารางที่ 4 แสดงลักษณะทางกายภาพของสบู่เตยหอม 19<br />

ตารางที่ 5 แสดงลักษณะทางกายภาพของสบู่มังคุด 19


จ<br />

สารบัญรูปภาพ<br />

หน้า<br />

ภาพที่ 1 แสดงปฏิกิริยา saponification 6<br />

ภาพที่ 2 ตะไคร้หอม 8<br />

ภาพที่ 3 เตยหอม 9<br />

ภาพที่ 4 มังคุด 10<br />

ภาพที่ 5 มันฝรั่ง 11<br />

ภาพที่ 6 ผักกาดหัว 12<br />

ภาพที่ 7 แสดงวิธีการอ่านผลการทดสอบสารโพลาร์ 21<br />

ภาพที่ 8 แสดงนํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการแช่ด้วยมันฝรั่ง 22<br />

ภาพที่ 9 แสดงนํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการแช่ด้วยผักกาดหัว 22<br />

ภาพที่ 10 แสดงสบู่มังคุดที่มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าเป็ นส่วนผสมในอัตราส่วนร้อยละ<br />

30, 50, 100 ตามลําดับ 23<br />

ภาพที่ 11 แสดงสบู่เตยหอมที่มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าเป็ นส่วนผสมในอัตราส่วนร้อยละ<br />

30, 50, 100 ตามลําดับ 23<br />

ภาพที่ 12 แสดงสบู่ตะไคร้หอมที่มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าเป็ นส่วนผสมในอัตราส่วนร้อยละ<br />

30, 50, 100 ตามลําดับ 24


บทที่ 1<br />

บทน า<br />

1. ที่มาและความส าคัญ<br />

ปัจจุบันนํ ้ามันกลายเป็ นส่วนผสมที่สําคัญในการประกอบอาหารเพื่อรับประทาน อาหาร<br />

ประเภททอดเป็ นอาหารประเภทหนึ ่งที่ผู้บริโภคชาวไทยนิยมรับประทาน เช่น ไก่ทอด ลูกชิ้นทอด<br />

ปาท่องโก๋ เป็ นประจํา และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ ้นตามลําดับ โดยในแต่ละปี พบว่าคนไทยบริโภค<br />

นํ ้ามันพืชกว่าแปดแสนตันและส่วนหนึ ่งเป็ นนํ ้ามันที่ทอดซํ ้าหลายครั ้งจนเสื่อมสภาพแล้วนํากลับมา<br />

ใช้ทอดอีก ซึ ่งส่งผลต่อการเป็ นโรคความดันโลหิต โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ โรคหัวใจวาย<br />

โรคอัมพาตและเสี่ยงต่อการเป็ นโรคมะเร็งลําไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร ในขณะที่ผู้ประกอบอาหาร<br />

ที่สู ดดมไอนํ ้ ามันทอดซํ ้ าจะเสี่ยงต่อการเป็ นมะเร็งปอด (วิชยา โกมินทร์, 2553) พบว่า<br />

การเสื่อมสภาพของนํ ้ามันจากการทอดจะเกิดกลุ่มสารประกอบที่เป็ นอันตรายต่อร่างกายซึ ่งมีขั ้ว<br />

ที่เรียกว่า “สารโพลาร์คอมพาวด์” ซึ ่งเป็ นสาเหตุหลักที่ทําให้เกิดโรคดังกล่าว<br />

จากการสังเกตพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนโรงเรียนนาทรายวิทยาคม พบว่า<br />

นักเรียนบริโภคอาหารประเภททอด เช่น ไก่ทอด ลูกชิ้นทอด ผักทอด เป็ นประจํา โดยส่วนใหญ่ซื ้อ<br />

จากผู้ประกอบการที่ขายในโรงอาหารของโรงเรียนและในชุมชน เมื่อสังเกตนํ ้ามันที่ใช้ในการทอด<br />

พบว่า ลักษณะทางกายภาพ คือ สี กลิ่น ความข้น ของนํ ้ามันเปลี่ยนไปจากเดิม และยังมีการนํานํ ้ามัน<br />

เก่ากลับมาทอดซํ ้า<br />

ดังนั ้น คณะผู้จัดทําโครงงานจึงมีความคิดที่จะนํานํ ้ ามันทอดซํ ้ ามาผ่านกระบวนการทําให้<br />

สะอาดแล้วแปรรูปเป็ นสบู่สมุนไพร ใช้ทําความสะอาด เพื่อเป็ นการลดการใช้นํ ้ ามันทอดซํ ้ าใน<br />

โรงเรียนและชุมชน<br />

2. สมมติฐาน<br />

ถ้านํ ้ามันใช้เป็ นส่วนผสมของสบู่สมุนไพร ดังนั ้นนํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการทําให้สะอาดแล้ว<br />

สามารถนํามาแปรรูปเป็ นสบู่สมุนไพรได้<br />

3. วัตถุประสงค์<br />

3.1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของมันฝรั่งและผักกาดหัวในการดูดซับกลิ่นและสี<br />

ของนํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

3.2. เพื่อศึกษาสัดส่วนของนํ ้ามันทอดซํ ้าในการทําสบู่


2<br />

4. ขอบเขตของโครงงาน<br />

4.1. ใช้ตัวอย่างนํ ้ามันทอดซํ ้าที่เก็บจากร้านค้าในโรงเรียนนาทรายวิทยาคมและชุมชนตําบล<br />

นาทราย อําเภอลี ้ จังหวัดลําพูน<br />

4.2. ลักษณะของนํ ้ามันทอดซํ ้าที่ใช้มีสารโพลาร์ไม่เกินร้อยละ 26-27 ของนํ ้าหนัก ไม่มี<br />

ลักษณะข้นเหนียว และไม่เป็ นสีดํา<br />

4.3. สมุนไพรที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ ตะไคร้หอม เตยหอมและเปลือกมังคุด<br />

5. นิยามเชิงปฏิบัติการ<br />

5.1. นํ ้ามันทอดซํ ้า คือ นํ ้ามันและไขมันที่ได้จากพืชหรือสัตว์ ที่ใช้ทอดประกอบอาหารซํ ้า<br />

มากกว่า 1 ครั ้ง ที่มีปริมาณสารโพลาร์ไม่เกินร้อยละ 25<br />

5.2. นํ ้ ามันทอดซํ ้ าที่เสื่อมสภาพ คือ นํ ้ามันและไขมันที่ได้จากพืชหรือสัตว์ ที่ใช้ทอด<br />

ประกอบอาหารซํ ้ามากกว่า 2 ครั ้งขึ ้นไป ที่มีปริมาณสารโพลาร์เกินร้อยละ 25<br />

5.3. สารโพลาร์คอมพาวด์ คือ กลุ่มสารประกอบมีขั ้ว ที่เป็ นอันตรายต่อร่างกาย<br />

6. ตัวแปรที่ศึกษา<br />

ตัวแปรต้น<br />

นํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

ตัวแปรตาม<br />

สบู่สมุนไพร<br />

ตัวแปรควบคุม<br />

ปริมาณนํ ้า<br />

ปริมาณเบส<br />

ปริมาณสมุนไพร<br />

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />

7.1. ได้สบู่สมุนไพรเพื่อใช้ในการทําความสะอาด<br />

7.2. ผู้จําหน่ายอาหารลดการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้า


้<br />

3<br />

บทที่ 2<br />

เอกสารที่เกี่ยวข้อง<br />

ในการศึกษาโครงงานเรื่อง สบู่สมุนไพรจากนํ ้ามันทอดซํ ้านั ้น คณะผู้จัดทําได้ค้นคว้า<br />

รวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยขอนําเสนอ<br />

ตามลําดับ ดังนี<br />

1. นํ ้ามัน<br />

จากการศึกษาค้นคว้าจากเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พบว่า นํ ้ามัน (Oil) เป็ นคําสามัญ<br />

ที่ใช้เรียกสารอินทรีย์ของเหลวที่ผสมเข้ากันไม่ได้ (immiscible) กับนํ ้า เนื่องจากนํ ้ามันเป็ นโมเลกุล<br />

ไม่มีขั ้ว มาจากภาษาละติน oleum ซึ ่งหมายถึงนํ ้ามันมะกอก<br />

จากรายงานของกนกวรรณ เศรษฐพงศ์วนิชและจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี (2549) กล่าวว่า<br />

นํ ้ามันมีอยู่ 2 ชนิดคือ<br />

1. นํ ้ ามันจากไขสัตว์ เช่น นํ ้ ามันหมู และนํ ้ ามันวัว เป็ นต้น ซึ ่ งมีกรดไขมันอิ่มตัวและ<br />

โคเลสเตอรอลสูง<br />

2. นํ ้ามันพืช แบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ<br />

2.1 นํ ้ามันพืชชนิดที่เป็ นไขเมื่อนําไปแช่ตู้เย็นหรืออากาศเย็น นํ ้ามันพืชชนิดนี ้ จะ<br />

ประกอบไปด้วยกรดไขมันอิ่มตัวผสมอยู่ในปริมาณมาก ได้แก่ นํ ้ามันปาล์มโอเลอิน นํ ้ามันมะพร้าว<br />

ซึ ่งข้อเสียคือ ทําให้โคเลสเตอรอลในเลือดสูง เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ แต่ก็มีข้อดี<br />

คือ นํ ้ามันชนิดนี ้จะทนความร้อน ความชื ้นและออกซิเจน ไม่เหม็นหืนง่าย เหมาะที่จะใช้ทอดอาหาร<br />

ที่ต้องใช้ความร้อนสูงนาน ๆ เช่น ปลาทั ้งตัว ไก่ หมูหรือเนื ้อชิ้นใหญ่ ๆ<br />

2.2 นํ ้ ามันพืชชนิดที่ไม่เป็ นไขในที่เย็น นํ ้ามันพืชชนิดนี ้ ประกอบด้วย<br />

ไขมันชนิดไม่อิ่มตัวในปริมาณที่สูง ได้แก่ นํ ้ามันถั่วเหลือง นํ ้ามันเมล็ดทานตะวัน นํ ้ามันดอกคําฝอย<br />

นํ ้ามันข้าวโพด นํ ้ามันฝ้ าย ไขมันชนิดนี ้ย่อยง่าย ร่างกายสามารถนําไปใช้ในการสร้างเซลล์ต่างๆ จึง<br />

เหมาะสมกับเด็กที่กําลังเจริ ญเติบโต และยังช่วยลดโคเลสเตอรอลในเลือด ผู้ที่มีปั ญหา<br />

โคเลสเตอรอลในเลือดสูงจึงควรเลือกใช้นํ ้ามันชนิดนี ้ แต่ข้อเสียของนํ ้ามันชนิดนี ้ คือ ไม่ค่อยเสถียร<br />

จึงแตกตัวให้สารโพลาร์ซึ ่งทําให้นํ ้ามันเปลี่ยนเป็ นสีนํ ้าตาล มีกลิ่นเหม็นหืน ซึ ่งสารโพลาร์นี ้ ทําให้<br />

เป็ นมะเร็งในกระเพาะอาหาร ทําให้ตับเสื่อมได้ แต่ทั ้งนี ้มีเพียงการทดลองในสัตว์เท่านั ้น ทําให้ทอด<br />

อาหารได้ไม่นาน จึงเหมาะกับที่จะใช้ผัดอาหารหรือทอดเนื ้อชนิดบางๆ เช่น หมูแฮม หมูเบคอน


่<br />

4<br />

นํ ้ามันเปรียบเสมือนตัวนําความร้อน ซึ ่ งหากได้รับความร้อนอุณหภูมิสูง ใช้งานเป็ น<br />

เวลานาน ความชื ้น แสงแดด ความไม่บริสุทธิ ์ ของนํ ้ามันและออกซิเจน จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี<br />

(Hydrolysis, Oxidation, Polymerization) ของไขมัน ส่งผลให้ไขมันนั ้นมีสีดําขึ ้น, กลิ่นเหม็นหืน,<br />

จุดเกิดควันตํ ่าลง, มีฟองและเหนียวหนืดขึ ้น หากนํ ้ ามันนั ้นมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงมากเท่าใด<br />

การเสื่อมสภาพของนํ ้ามันจะเร็วขึ ้นเท่านั ้น<br />

2. นํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง พบว่า นํ ้ามันที่ผ่านการทอดซํ ้าหลายๆ ครั ้ง<br />

จะมีคุณสมบัติเสื่อมลงทั ้งคุณภาพ สี กลิ่นและรสชาติ เนื่องจากในการทอดเกิดสารที่มีผลกระทบต่อ<br />

สุขภาพหลายชนิด เช่น สารโพลาร์ (Polar compounds) ซึ ่งเป็ นกลุ่มสารประกอบที่เป็ นอันตรายต่อ<br />

ร่างกายและเป็ นสาเหตุของโรคไขมันในเลือดสูง หลอดเลือดหัวใจตีบ และความดันโลหิตสูง<br />

ประเทศไทยมีการควบคุมความปลอดภัยจากการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าหรือประกอบอาหาร ตามประกาศ<br />

กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 283) พ.ศ. 2547 เรื่องกําหนดปริมาณสารโพลาร์ในนํ ้ามันที่ใช้ทอด<br />

หรือประกอบอาหารเพื่อจําหน่าย ให้นํ ้ามันที่ใช้ทอดหรือประกอบอาหารเพื่อจําหน่าย มีสารโพลาร์<br />

ได้ไม่เกินร้อยละ 25 ของนํ ้าหนัก หรือไม่เกิน 25% นอกจากสารโพลาร์แล้ว ยังมีกลุ่มสารที่เรียกว่า<br />

“โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน” (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons; PAHs) ซึ ่งหลายตัว<br />

เป็ นสารก่อมะเร็งในมนุษย์<br />

3. สบู่<br />

จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต<br />

พบว่า สบู่ (Soap) เกิดจากการทําปฏิกิริยาทางเคมี ระหว่างสารละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์<br />

(โซดาไฟ) กับนํ ้ามัน ซึ ่งอาจเป็ นนํ ้ามันพืชหรือนํ ้ามันสัตว์ก็ได้ กระบวนการนี ้ เรียกว่า saponification<br />

ซึ ่งทําให้ผลผลิตที่ได้กลายเป็ นของแข็งลื่น มีฟอง ใช้ทําความสะอาดขจัดคราบสกปรกได้ดี<br />

2.1 หลักการพื้นฐานในการผลิตสบู<br />

สบู่ผลิตขึ ้นจากส่วนผสมพื ้นฐาน 3 อย่าง คือ นํ ้า ด่าง(โซดาไฟ) และไขมัน เมื่อด่าง<br />

ผสมกับนํ ้า เป็ นสารละลายด่างถูกนําไปผสมกับไขมัน ได้ผลผลิตเป็ นสบู่ธรรมชาติซึ ่งเป็ นส่วนผสม<br />

ของ สบู่ 5 ส่วนและกลีเซอรีน 1 ส่วนในสบู่ธรรมชาติ กลีเซอรีนที่เกิดขึ ้นจะยังคงอยู่ในสบู่มี<br />

คุณสมบัติเพิ่มความชุ่มชื ้น และทําให้ผิวพรรณนุ่มนวล ซึ ่งกระบวนการที่จะแนะนําในการผลิตสบู่<br />

ในที่นี ้ เป็ นกระบวนการผลิตแบบเย็น (cold process method ) ซึ ่งเป็ นหลักการพื ้นฐานในการผลิตสบู่


้<br />

5<br />

2.2 ส่วนผสมในการผลิตสบู ่<br />

2.2.1. น ้ามัน (oils) นํ ้ามันแต่ละชนิดที่นํามาใช้ในการผลิตสบู่ จะให้คุณสมบัติที่<br />

แตกต่างกันไป ทั ้งลักษณะทางกายภาพและประสิทธิภาพในการทําความสะอาด นํ ้ามันที่ได้จากพืช<br />

แต่ละชนิด จะทําให้สบู่มีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ดังนี<br />

1. นํ ้ามันมะพร้าว จะให้สบู่ที่แข็งและมีฟองเป็ นครีม แต่อาจจะทําให้ผิวแห้ง จึง<br />

ต้องใช้นํ ้ามันอื่นๆร่วมด้วยเพื่อเพิ่มความชุ่มชื ้น<br />

2. นํ ้ามันปาล์ม เป็ นนํ ้ามันหลักอีกชนิดหนึ ่งที่ใช้ในการผลิตสบู่ ให้สบู่เป็ นก้อน<br />

แข็ง มีความคงทน ฟองมาก เป็ นครีม ทนนานทําความสะอาดได้ดี<br />

3. นํ ้ ามันมะกอก ให้เนื ้อสบู่ที่นุ่มนวลต่อผิวพรรณ มีสีออกเหลือง เนื ้อสบู่<br />

ค่อนข้างนิ่ม ฟองเป็ นครีมละเอียด อุดมด้วยวิตามินอีให้ความชุ่มชื ้นแก่ผิวพรรณ<br />

4. นํ ้ามันงา ให้สบู่สีขาวอมชมพูค่อนข้างนิ่ม ฟองนุ่มนวล ให้ความชุ่มชื ้นแก่<br />

ผิวพรรณ<br />

5. นํ ้ามันถั่วเหลือง เป็ นนํ ้ามันที่ใช้เป็ นส่วนผสมในสบู่เพื่อเพิ่มความนุ่มนวล<br />

เพิ่มวิตามินอีและความชุ่มชื ้นแก่ผิวพรรณ เนื ้อสบู่นิ่ม ฟองละเอียด แต่ฟองไม่มาก<br />

6. นํ ้ามันรําข้าว ได้สบู่สีขาวอมเหลือง เนื ้อสบู่นิ่ม ฟองน้อยละเอียด<br />

7. นํ ้ามันเมล็ดทานตะวัน สบู่จะมีสีขาวอมเหลือง เนื ้อสบู่ไม่สูงมาก ฟองไม่<br />

มาก เพิ่มความชุ่มชื ้นแก่ผิวพรรณ<br />

8. นํ ้ามันข้าวโพด สบู่ที่ได้มีสีขาวอมเหลือง เนื ้อสบู่ไม่แข็งมาก ฟองละเอียด<br />

2.2.2. ด่างหรือโซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือโซดาไฟ ควรใช้ชนิดที่บริสุทธิ ์ ไม่มีสาร<br />

อื่นเจือปน มิฉะนั ้นจะมีผลต่อการผลิตสบู่ได้<br />

2.2.3. น ้า นํ ้ าที่เหมาะสมในการผลิตสบู่ควรเป็ นนํ ้าฝนที่สะอาด หรือนํ ้าประปาที่<br />

สะอาด ไม่ควรเป็ นนํ ้ากระด้าง<br />

2.2.4. ส่ วนผสมอื่นๆ หลังจากกวนส่วนผสมต่างๆจนได้เนื ้อสบู่แล้ว สามารถใช้<br />

ส่วนผสมอื่นๆเพิ่มเข้าไปเพื่อเพิ่มชนิดและคุณสมบัติพิเศษให้แก่สบู่ เช่น<br />

- นมแพะ อาจใช้นมแพะผสมกับโซดาไฟแทนนํ ้า จะทําให้ได่สบู่ที่นุ่มนวล<br />

มาก มีฟองครีมมาก<br />

- กลีเซอรีน ช่วยเพิ่มความชุ่มชื ้นและปกป้ องผิว


6<br />

- นํ ้ามันหอมระเหย ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื ้อโรคนอกจากนั ้นยัง<br />

ช่วยเพิ่มกลิ่นหอมให้กับสบู่อีกด้วย นํ ้ ามันหอมระเหยมักจะเข้มข้น จึงควรใช้ในปริมาณไม่มาก<br />

- สมุนไพร เพิ่มคุณสมบัติในด้านถนอมผิวพรรณ รักษาโรคหรืออาการทาง<br />

ผิวหนัง<br />

3. ปฏิกิริยา saponification<br />

ซาพอนนิฟิ เคชัน (saponification) เป็ นปฏิกิริยาของลิพิด (lipid) เช่น ไตรกลีเซอไรด์<br />

(triglyceride) ถูกสลายพันธะเอสเทอร์ด้วยด่าง เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือ โพแทสเซียม<br />

ไฮดรอกไซด์ จะได้กลีเซอรอลและเกลือของกรดไขมัน หรือสบู่ (soap) สบู่ที่เกิดขึ ้นนี ้ มีสมบัติ<br />

ละลายในนํ ้าได้<br />

ภาพที่ 1 แสดงปฏิกิริยา saponification<br />

ที่มา http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1631/saponification<br />

ค่าซาพอนนิฟิ เคชัน (saponification number หรือ saponification value ,S.V.) คือ<br />

จํานวนมิลลิกรัมของด่าง เช่น โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ที่ใช้ในการทําปฏิกิริยากับไตรกลีเซอไรด์<br />

(triglyceride) ในไขมัน หรือนํ ้ามัน (เรียกว่า ปฏิกริยา saponification) อย่างสมบูรณ์ จํานวน 1 กรัม<br />

ได้เป็ นสบู่ ซึ ่งเป็ นเกลือของกรดไขมัน (fatty acid) 3 โมเลกุลและกลีเซอรอล<br />

ค่าซาพอนนิฟิ เคชัน (saponification number) ใช้เป็ นค่าที่ใช้ขนาดโมเลกุล หรือนํ ้าหนัก<br />

โมเลกุลของกรดไขมันที่เป็ นส่วนประกอบในโมเลกุลไตรกลีเซอไรด์ หากนํ ้ามันที่มีค่าซาพอนนิฟิ เคชั่น<br />

สูง แสดงว่ากรดไขมันที่เป็ นองค์ประกอบในโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์มีนํ ้าหนักโมเลกุลตํ ่ามาก จึง<br />

มีจํานวนโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์ต่อหน่วยนํ ้ าหนักเป็ นจํานวนมาก ดังนั ้น จึงต้องใช้ด่างเป็ น<br />

จํานวนมากในการไฮโดรไลซ์ ทํานองเดียวกันถ้าค่าซาพอนนิฟิ เคชันตํ ่า แสดงว่ากรดไขมันที่เป็ น


7<br />

้ องค์ประกอบในโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์มีนําหนักโมเลกุลมาก จึงมีจํานวนโมเลกุลของ<br />

ไตรกลีเซอไรด์ ต่อหน่วยนํ ้าหนักเป็ นจํานวนน้อย ทําให้ใช้ด่างน้อยในการทําปฏิกิริยา<br />

ตารางที่ 1 แสดงค่า saponification number ของนํ ้ามันบางชนิด<br />

ชนิดไขมันและน ้ามัน<br />

ค่า saponification number<br />

ไขมันวัว 0.1292<br />

ไขมันหมู 0.1276<br />

นํ ้ามันมะพร้าว 0.1692<br />

นํ ้ามันปาล์ม 0.1306<br />

นํ ้ามันมะกอก 0.1246<br />

นํ ้ามันงา 0.1266<br />

นํ ้ามันรําข้าว 0.1233<br />

นํ ้ามันเมล็ดทานตะวัน 0.1256<br />

นํ ้ามันถั่วเหลือง 0.1246<br />

นํ ้ามันข้าวโพด 0.126<br />

นํ ้ามันละหุ่ง 0.1183<br />

ขี ้ผึ ้ง 0.0617<br />

ที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet5/topic8/fat.html


8<br />

4. ตะไคร้หอม<br />

ภาพที่ 2 ตะไคร้หอม<br />

ที่มา http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_12_2.htm<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cymbopogon citratus Stapf.<br />

ชื่อสามัญ : Lemon Grass, Lapine<br />

วงศ์ : Poaceae (Gramineae)<br />

ชื่ออื่น : จะไคร้ (ภาคเหนือ) ไคร (ภาคใต้) คาหอม (เงี ้ยว-แม่ฮ่องสอน) ห่อวอตะไป่<br />

(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) หัวสิงโต (เขมร-ปราจีนบุรี) ตะไคร้แกง (ทั่วไป)<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :<br />

ส่วนที่ใช้ :<br />

ทั ้งต้น เก็บได้ตลอดปี ล้างให้สะอาด ใช้สดหรือผึ ่งให้แห้งในที่ร่ม เก็บไว้ใช้<br />

ราก เก็บได้ตลอดปี ล้างให้สะอาด ใช้สด ใบสด<br />

สรรพคุณ :<br />

ทั ้งต้น<br />

1. รสฉุน แก้หวัด ปวดศีรษะ ไอ<br />

2. แก้ท้องอืดท้องเฟ้ อ แน่นจุกเสียด ขับลมในลําไส้ บํารุงไฟธาตุ<br />

3. ทําให้เจริญอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ท้องเสีย<br />

4. แก้ปวดข้อ ปวดเมื่อย ฟกชํ ้าจากหกล้ม ขาบวมนํ ้า<br />

5. แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่ว ขับปัสสาวะ ประจําเดือนมาผิดปกติ<br />

6. แก้ปัสสาวะเป็ นเลือด แก้โรคหืด<br />

ราก<br />

1. แก้เสียดแน่น แสบบริเวณหน้าอก ปวดกระเพาะอาหารและขับปัสสาวะ


2. บํารุงไฟธาตุ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้ปัสสาวะพิการ<br />

3. รักษาเกลื ้อน แก้อาการขัดเบา<br />

ใบสด - มีสรรพคุณช่วยลดความดันโลหิตสูง แก้ไข้<br />

ต้น - มีสรรพคุณเป็ นยาขับลม แก้ผมแตกปลาย เป็ นยาช่วยให้ลมเบ่งขณะคลอดลูก<br />

ใช้ดับกลิ่นคาว แก้เบื่ออาหาร บํารุงไฟธาตุให้เจริญ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ<br />

นิ่วปัสสาวะพิการ แก้หนองใน<br />

สารเคมี : ใบ - มีนํ ้ามันหอมระเหย 0.4-0.8% ประกอบด้วย Citral 75-85 % Citronellal,<br />

Geraniol Methylheptenone เล็กน้อย , Eugenol และ Methylheptenol<br />

ราก - มี อัลคาลอยด์ 0.3%<br />

5. เตยหอม<br />

9<br />

ภาพที่ 3 เตยหอม<br />

ที่มา http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_03_3.htm<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pandanus amaryllifolius Roxb.<br />

ชื่อสามัญ : Pandanus Palm , Fragrant Pandan , Pandom wangi.<br />

วงศ์ : Pandanaceae<br />

ชื่ออื่น : ปาแนะวองิง (มาเลเซีย-นราธิวาส)<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็ นพืชใบเลี ้ยงเดี่ยวลักษณะแตกกอเป็ นพุ่มขนาดเล็ก ลําต้นเป็ นข้อ<br />

ใบออกเป็ นพุ่มบริเวณปลายยอด ใบเป็ นใบเดี่ยวเรียงสลับเวียนเป็ นเกลียวขึ ้นไปจนถึงยอด<br />

ลักษณะใบยาวเรียวคล้ายใบหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเป็ นมัน เส้นกลางใบเว้าลึก<br />

เป็ นแอ่ง ถ้าดูด้านท้องใบจะเห็นเป็ นรูปคล้ายกระดูกงูเรือ ใบมีกลิ่นหอม


10<br />

ส่วนที่ใช้ : ต้นและราก, ใบสด<br />

สรรพคุณ :<br />

ต้นและราก<br />

- ใช้เป็ นยาขับปัสสาวะ แก้กระษัย<br />

ใบสด<br />

- ตําพอกโรคผิวหนัง<br />

- รักษาโรคหืด<br />

- นํ ้าใบเตย ใช้เป็ นยาบํารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น<br />

- ใช้ผสมอาหาร แต่งกลิ่น ให้สีเขียวแต่งสีขนม<br />

สารเคมี : สารกลุ่ม anthocyanin<br />

6. มังคุด<br />

ภาพที่ 4 มังคุด<br />

ที่มา http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_07_12.htm<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Garcinia mangostana L.<br />

ชื่อสามัญ : Mangosteen<br />

วงศ์ : Guttiferae<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 10 - 12 เมตร ทุกส่วนมียางสีเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม<br />

รูปไข่ หรือรูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 6 - 11 ซม. ยาว 15 - 25 ซม. เนื ้อใบหนา และค่อนข้างเหนียว<br />

คล้ายหนัง หลังใบสีเขียวเข้ม เป็ นมัน ท้องใบสีอ่อน ดอกเดี่ยวหรือเป็ นคู่ ออกที่ซอกใบ ใกล้ปลายกิ่ง<br />

สมบูรณ์เพศ หรือแยกเพศ กลีบเลี ้ยงสีเขียวอมเหลือง กลีบดอกสีแดง ฉํ ่านํ ้า ผลเป็ นผลสด ค่อนข้างกลม<br />

ส่วนที่ใช้ : เปลือกผลแห้ง


11<br />

สรรพคุณ : 1. รักษาโรคท้องเสียเรื ้อรัง และโรคลําไส้<br />

2. ยาแก้ท้องร่วง ท้องเดิน<br />

3. ยาแก้บิด (ปวดเบ่งและมีมูก และอาจมีเลือดด้วย) เป็ นยาคุมธาตุ<br />

4. เป็ นยารักษานํ ้ากัดเท้า รักษาบาดแผล<br />

5. รสฝาด สมานแผล ใช้ชะล้างบาดแผล แก้แผลเปื่ อย แผลเป็ นหนอง ยาฟอกแผลกลาย<br />

ทาแผลพุพอง<br />

สารเคมี : Chrysanthemin, Xanthone, Garcinone A, Garcinone B, Gartanin, Mangostin, Kolanone<br />

7. มันฝรั่ง<br />

ภาพที่ 5 มันฝรั่ง<br />

ที่มา http://frynn.com<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum tuberosum Linn. (Solanum sinens Blancs)<br />

ชื่อวงศ์ : SOLANACEAE<br />

ชื่อสามัญ : Potato, Irish potato, White potato<br />

ชื่อท้องถิ่น : มันเทศ มันอาลู มันอีลู (ภาคเหนือ)<br />

ลักษณะของมันฝรั่ง<br />

ต้นมันฝรั่ง : เป็ นพืชดั ้งเดิมของชาวโลกซีกตะวันตก เชื่อว่ามีแหล่งกําเนิดบนพื ้นที่ระหว่างเม็กซิโก<br />

และชิลี บนแถบที่ราบสูงบนเทือกเขาแอนดีส ในประเทศโบลิเวีย หรือเปรู โดยจัดเป็ นพืชล้มลุกที่มี<br />

อายุตั ้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 4-5 เดือน ลําต้นมีลักษณะเป็ นกิ่ง ตั ้งตรงและมีความสูงของ<br />

ต้นประมาณ 0.6-1 เมตร ลําต้นเป็ นครีบ เมื่ออ่อนมีขน หัวเกิดจากลําต้นที่อยู่ใต้ดิน ใน 1 ต้นจะให้<br />

หัวมันฝรั่งประมาณ 8-10 หัว สําหรับแหล่งปลูกมันฝรั่งในประเทศไทยที่ได้ผลดี คือ จังหวัดทาง


12<br />

ภาคเหนือซึ ่งมีอากาศหนาวเย็น เช่น เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน พื ้นผิวของแผ่น มันฝรั่งจะดูด<br />

ซับไขมันไว้ได้ถึงประมาณ 2 ใน 3 ของนํ ้าหนัก ส่วนปริมาณไขมันอิ่มตัวที่ถูกดูดซับไว้นั ้น ขึ ้นอยู่<br />

กับชนิดของนํ ้ามันที่ใช้ทอด<br />

8. ผักกาดหัว<br />

ภาพที่ 6 ผักกาดหัว<br />

ที่มา http://kessaneeptp.wordpress.com<br />

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Raphanus sativus Linn., Cv group Chinese radish<br />

ชื่อสามัญ : Chinese radish, Oriental radish, Daikon<br />

ชื่อวงศ์ : Cruciferae<br />

ชื่ออื่น : ไช่เท้า,หัวผักกาดขาว (ทั่วไป) ; ผักกาดจีน(ภาคกลาง) ; ผักขี ้หูด, ผักเปิ๊ กหัว<br />

(ภาคเหนือ) ; ไหล่ฮก, จี๋ซ้ง (จีน)<br />

ถิ่นก าเนิดและการแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์<br />

ไม่ทราบถิ่นกําเนิดแน่ชัด แต่บริเวณที่มีความหลากหลายทางพันธุกรรมมากคือทางด้าน<br />

ตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจรดทะเลแคสเปี ยน มีการปลูกผักกาดหัวในพื ้นที่แถบทะเล<br />

เมดิเตอร์เรเนียน เมื่อประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาล และแพร่หลายมายังประเทศจีน เมื่อประมาณ<br />

500 ปี ก่อนคริสตกาล จากนั ้นแพร่หลายเข้าไปในประเทศญี่ปุ ่ น ราวปี ค.ศ. 700 ปัจจุบันมีการปลูก<br />

ผักกาดหัวแพร่หลายไปทั่วโลก ผักกาดหัว cv. Group Chinese Radish เป็ นที่นิยมและมีความสําคัญ<br />

ทางเศรษฐกิจ ใน จีน ญี่ปุ ่ น เกาหลี และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


13<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์<br />

พืชปี เดียว ไม่มีเนื ้อไม้ พุ่มตั ้งตรง สูง 20-100 เซนติเมตร ลําต้นใต้ใบเลี ้ยงและส่วนบน<br />

ของรากแก้วมีลักษณะบวมพองอวบอ้วนเก็บสะสมอาหารมีลักษณะเป็ นทรงกระบอกสีขาว เนื ้อ<br />

ภายในรากนุ่มฉํ ่านํ ้ ามีสีขาว ความยาว 10-25 เซนติเมตร ความกว้าง 4-5 เซนติเมตร ลําต้นเตี ้ยใน<br />

การเจริญเติบโตระยะแรก เมื่อออกดอกลําต้นจะยืดยาวสูงขึ ้น ใบเป็ นใบเดี่ยว มีการเรียงใบแบบสลับ<br />

ใบเกลี ้ยงหรืออาจมีขนสากเล็กน้อย ใบที่อยู่ทางด้านล่างเรียงซ้อนกันเป็ นกระจุก ก้านใบ ยาว 3-5.5<br />

เซนติเมตร แผ่นใบมีรอยหยักเว้าเข้าหาเนื ้ อใบแบบขนนก ประมาณ 8-12 คู่ ใบยาวได้ถึง<br />

60 เซนติเมตร ใบที่อยู่ทางด้านบนมีขนาดเล็กกว่าใบทางด้านล่าง แผ่นใบเป็ นรูปช้อนผสมใบหอก<br />

ก้านใบสั ้น ช่อดอกเกิดที่บริเวณตายอด เป็ นช่อแบบกระจะลักษณะยาวตรง มีดอกย่อยจํานวนมาก<br />

ดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เซนติเมตร สีขาวมีกลิ่นหอม ก้านดอกย่อยยาว 2.5 เซนติเมตร มีกลีบ<br />

เลี ้ยง 4 กลีบเป็ นรูปแถบขอบขนาน ยาว 0.6-1 เซนติเมตร กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อนมีลักษณะโค้ง<br />

ความยาว 1-2 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู้ 6 อัน ผลรูปทรงกระบอก เกิดจาก 2 รังไข่หรือมากกว่าเชื่อม<br />

ติดกัน มีตั ้งแต่ 2-12 เมล็ด เมล็ดสีเหลืองซีดมีลักษณะกลมผสมรูปไข่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 3 มิลลิเมตร


้<br />

14<br />

บทที่ 3<br />

อุปกรณ์และวิธีการทดลอง<br />

โครงงานเรื่องสบู่สมุนไพรจากนํ ้ามันทอดซํ ้า ได้ดําเนินการทดลองโดยใช้อุปกรณ์และขั ้นตอน<br />

การทดลองดังต่อไปนี<br />

1. วัสดุอุปกรณ์การทดลอง<br />

1. เครื่องชั่ง<br />

2. ชุดกลั่น<br />

3. บีกเกอร์<br />

4. เทอร์โมมิเตอร์<br />

5. กรวยแยก<br />

6. ขวดรูปชมพู่<br />

7. แท่งแก้วคนสาร<br />

8. ช้อนตักสาร<br />

9. เครื่องปั่น<br />

10. แม่พิมพ์สบู่<br />

11. กระดาษไข<br />

12. กระดาษกรองเบอร์ 1<br />

13. กรวยกรอง<br />

14. ขวดรูปชมพู่<br />

15. ผ้าขาวบาง<br />

16. มันฝรั่ง<br />

17. หัวไชเท้า<br />

18. เตยหอม<br />

19. ตะไคร้หอม<br />

20. เปลือกมังคุด<br />

21. ชุดทดสอบสารโพลาร์ในนํ ้ามันทอดซํ ้า


15<br />

2. สารเคมี<br />

1. Methanol<br />

2. นํ ้ากลั่น<br />

3. NaOH<br />

4. นํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

3. วิธีการทดลอง<br />

ตอนที่ 1 การทดสอบสารโพลาร์ในน ้ามันทอดซ ้า<br />

1. เก็บตัวอย่างนํ ้ามันทอดซํ ้าจากร้านค้าในโรงเรียนนาทรายวิทยาคมและในชุมชน โดยลักษณะ<br />

ทางกายภาพของนํ ้ามันจะต้องไม่ข้นเหนียว และไม่เป็ นสีดํา<br />

2. นําตัวอย่างนํ ้ ามันทอดซํ ้ าที่เก็บได้มาทดสอบด้วยชุดทดสอบสารโพลาร์ในนํ ้ ามันทอดซํ ้ า<br />

(ภาคผนวก ก) เลือกใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าที่เสื่อมสภาพที่มีปริมาณสารโพลาร์ร้อยละ 26-27 ของ<br />

นํ ้าหนัก<br />

ตอนที่ 2 ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับกลิ่นและสีของน ้ามันทอดซ ้า<br />

1. นํานํ ้ามันทอดซํ ้ามากรองผ่านผ้าขาวบางที่มีความหนาพอเหมาะใส่บีกเกอร์ เพื่อกรองเอา<br />

ตะกอนที่เป็ นของแข็งและมีขนาดใหญ่ออก ทําซํ ้า 3 ครั ้ง สะสมให้ได้จํานวน 500 มิลลิลิตร<br />

2. ทําความสะอาดมันฝรั่ง ปอกเปลือกแล้วหั่นให้ได้ขนาด 1x1 เซนติเมตร แล้วแช่ในนํ ้ามันที่ได้<br />

จากข้อ 1 เป็ นเวลา 1 คืน<br />

3. นํานํ ้ามันที่ได้กรองด้วยผ้าขาวบางอีกครั ้ง ใส่ลงในกรวยแยก เติมนํ ้าในปริมาตรที่เท่ากัน เขย่า<br />

ให้ผสมกันแล้วตั ้งทิ้งไว้อย่างน้อย 1 วัน<br />

4. เมื่อได้นํ ้ามันที่ใสแล้ว เปิ ดจุกกรวยแยกเพื่อให้ส่วนที่เป็ นนํ ้าที่อยู่ด้านล่างทิ้งไป แล้วเก็บนํ ้ามัน<br />

เพื่อใช้ในขั ้นตอนต่อไป<br />

5. ทําซํ ้าข้อ 1-4 แต่เปลี่ยนจากใช้มันฝรั่งเป็ นใช้ผักกาดหัวแทน


16<br />

ตอนที่ 3 การสกัดสาร<br />

1. ล้างทําความสะอาด เตยหอม ตะไคร้หอมและเปลือกมังคุด จากนั ้นตากแดดให้แห้ง<br />

2. บดสมุนไพรจนละเอียดเป็ นผง<br />

3. ชั่งนํ ้าหนักสมุนไพรที่ละเอียดเป็ นผง 50 กรัม นํามาแช่สารละลายเมทานอลให้ท่วมจํานวน<br />

500 มิลลิลิตร เป็ นเวลา 3 วัน<br />

4. นํามากรองด้วยกระดาษกรองเบอร์ 1<br />

5. นําสารละลายสมุนไพรที่สกัดได้ไประเหยเมทานอลออกจนแห้งสนิท ได้เป็ นส่วนสกัดหยาบ<br />

นําไปใช้ในขั ้นตอนต่อไป<br />

ตอนที่ 4 ศึกษาสัดส่วนของน ้ามันทอดซ ้าที่เหมาะสมในการท าสบู ่สมุนไพร<br />

สูตรที่ 1 ใช้นํ ้ามันปาล์มเพียงชนิดเดียว จํานวน 50 มิลลิลิตร ค่า Saponification number ของ<br />

นํ ้ามันปาล์มมีค่า 0.1306<br />

1. คํานวณหาปริมาณด่าง โดยใช้สูตร<br />

ปริมาณด่าง = ค่า Saponification number x ปริมาณนํ ้ามัน<br />

= 0.1306 x 50<br />

= 6.53 กรัม<br />

2. คํานวณหาปริมาณนํ ้า โดยใช้สูตร<br />

ปริมาณนํ ้า = นํ ้าหนักด่าง x 2.33<br />

= 6.53 x 2.33<br />

= 15.21 กรัม<br />

3. เท NaOH ลงในนํ ้าอย่างช้าๆ คนให้ละลายจนหมด วัดอุณหภูมิ ตั ้งทิ้งไว้รอจนกว่าอุณหภูมิ<br />

ประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส<br />

4. อุ่นนํ ้ามันปาล์มให้ได้อุณหภูมิ 40-45 องศาเซลเซียส ยกลง<br />

5. เทนํ ้าด่างลงในนํ ้ามันอย่างช้าๆ คนให้เข้ากัน แล้วเติมสารสกัดสมุนไพรเพื่อเพิ่มกลิ่น คือ เตย<br />

หอม หรือตะไคร้หอม หรือเปลือกมังคุด จํานวน 5 กรัม คนต่อไปอย่างน้อย 30 นาที<br />

จนกระทั่งของเหลวมีลักษณะข้นหนืด สีขาวขุ ่น จึงเทลงในแม่พิมพ์สบู่<br />

6. ทิ้งไว้ 1-2 วัน แกะสบู่ออกจากแม่พิมพ์<br />

7. วัดค่า pH และตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพของสบู่


17<br />

สูตรที่ 2 ใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าที่สะอาดแล้ว ร้อยละ 30 ของนํ ้ามันทั ้งหมดที่ใช้ในสูตร<br />

1. ชั่งนํ ้าหนัก NaOH และนํ ้า ตามสูตรสบู่<br />

2. เท NaOH ลงในนํ ้าอย่างช้าๆ คนให้ละลายจนหมด วัดอุณหภูมิ ตั ้งทิ้งไว้รอจนกว่าอุณหภูมิ<br />

ประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส<br />

3. ตวงนํ ้ามันทอดซํ ้าจํานวน 15 มิลลิลิตร นํ ้ามันปาล์ม 35 มิลลิลิตร แล้วผสมให้เข้ากัน อุ่นให้<br />

ได้อุณหภูมิ 40-45 องศาเซลเซียส ยกลง<br />

4. เทนํ ้าด่างลงในนํ ้ามันอย่างช้าๆ คนให้เข้ากัน แล้วเติมสารสกัดสมุนไพรเพื่อเพิ่มกลิ่น จํานวน<br />

5 กรัม คนต่อไป อย่างน้อย 30 นาที จนกระทั่งของเหลวมีลักษณะข้นหนืด สีขาวขุ ่น จึงเทลง<br />

ในแม่พิมพ์สบู่<br />

5. ทิ้งไว้ 1-2 วัน แกะสบู่ออกจากแม่พิมพ์<br />

6. วัดค่า pH และตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพของสบู่<br />

สูตรที่ 3 ใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าที่สะอาดแล้ว ร้อยละ 50 ของนํ ้ามันทั ้งหมดที่ใช้ในสูตร<br />

1. ชั่งนํ ้าหนัก NaOH และนํ ้า ตามสูตรสบู่<br />

2. เท NaOH ลงในนํ ้าอย่างช้าๆ คนให้ละลายจนหมด วัดอุณหภูมิ ตั ้งทิ้งไว้รอจนกว่าอุณหภูมิ<br />

ประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส<br />

3. ตวงนํ ้ามันทอดซํ ้าจํานวน 25 มิลลิลิตร นํ ้ามันปาล์ม 25 มิลลิลิตร แล้วผสมให้เข้ากัน อุ่นให้ได้<br />

อุณหภูมิ 40-45 องศาเซลเซียส ยกลง<br />

4. เทนํ ้าด่างลงในนํ ้ามันอย่างช้าๆ คนให้เข้ากัน แล้วเติมสารสกัดสมุนไพรเพื่อเพิ่มกลิ่น คือ<br />

เตยหอม หรือตะไคร้หอม หรือเปลือกมังคุด จํานวน 5 กรัม คนต่อไปอย่างน้อย 30 นาที<br />

จนกระทั่งของเหลวมีลักษณะข้นหนืด สีขาวขุ ่น จึงเทลงในแม่พิมพ์สบู่<br />

5. ทิ้งไว้ 1-2 วัน แกะสบู่ออกจากแม่พิมพ์<br />

6. วัดค่า pH และตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพของสบู่<br />

สูตรที่ 4 ใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าที่สะอาดแล้วเพียงอย่างเดียว<br />

1. ชั่งนํ ้าหนัก NaOH และนํ ้า ตามสูตรสบู่<br />

2. เท NaOH ลงในนํ ้าอย่างช้าๆ คนให้ละลายจนหมด วัดอุณหภูมิ ตั ้งทิ้งไว้รอจนกว่าอุณหภูมิ<br />

ประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส


18<br />

3. ตวงนํ ้ามันทอดซํ ้าจํานวน 50 มิลลิลิตร อุ่นให้ได้อุณหภูมิ 40-45 องศาเซลเซียส ยกลง<br />

4. เทนํ ้าด่างลงในนํ ้ามันอย่างช้าๆ คนให้เข้ากัน แล้วเติมสารสกัดสมุนไพรเพื่อเพิ่มกลิ่น คือ<br />

เตยหอม หรือตะไคร้หอม หรือเปลือกมังคุด จํานวน 5 กรัม คนต่อไปอย่างน้อย 30 นาที<br />

จนกระทั่งของเหลวมีลักษณะข้นหนืด สีขาวขุ ่น จึงเทลงในแม่พิมพ์สบู่<br />

5. ทิ้งไว้ 1-2 วัน แกะสบู่ออกจากแม่พิมพ์<br />

6. วัดค่า pH และตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพของสบู่<br />

บทที่ 4<br />

ผลการทดลอง<br />

จากการนําตัวอย่างนํ ้ามันที่ผ่านการทอดซํ ้ามากกว่า 2 ครั ้งขึ ้นไปมาทดสอบด้วยชุดทดสอบ<br />

สารโพลาร์ในนํ ้ามันทอดซํ ้า พบว่าตัวอย่างนํ ้ามันมีสารโพลาร์เกินร้อยละ 25 ของนํ ้าหนัก เป็ นนํ ้ามัน<br />

ที่เสื่อมสภาพแล้ว ไม่ควรใช้ ดังนั ้นจึงนําตัวอย่างนํ ้ามันมาทําให้สะอาดโดยใช้กระบวนการแช่แล้ว<br />

ล้างด้วยนํ ้ า โดยได้มีการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของมันฝรั่งและผักกาดหัวในการดูดซับ<br />

กลิ่นและสีของนํ ้ามันทอดซํ ้า ผลปรากฏดังตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 แสดงลักษณะทางกายภาพของน ้ามันทอดซ ้าหลังจากผ่านกระบวนการท าให้สะอาด<br />

พืช สี กลิ่น ความใสของน ้ามัน<br />

มันฝรั่ง เหลืองออกคลํ ้า เหม็นหืนเล็กน้อย ขุ ่น<br />

ผักกาดหัว เหลือง เหม็นหืนเล็กน้อย ใส<br />

จากตารางที่ 2 จะเห็นว่า นํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการแช่ด้วยผักกาดหัวจะมีสีเหลืองใสไม่มี<br />

ตะกอน ซึ ่งลักษณะดีกว่านํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการแช่ด้วยมันฝรั่ง แต่มีกลิ่นเหม็นหืนเล็กน้อย ดังนั ้น<br />

จึงเลือกใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านกระบวนการแช่ด้วยผักกาดหัวแล้วล้างให้สะอาด มาเป็ นส่วนผสมใน<br />

การทําสบู่สมุนไพร โดยได้มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าแทนนํ ้ามันปาล์มในอัตราส่วนร้อยละ 30,50 และ<br />

100 จะได้สบู่สมุนไพรที่มีลักษณะทางกายภาพแสดงดังตารางที่ 3 ตารางที่ 4 และตารางที่ 5


19<br />

ตารางที่ 3 แสดงลักษณะทางกายภาพของสบู ่ตะไคร้หอม<br />

ลักษณะทาง<br />

ร้อยละของน ้ามันทอดซ ้าในส่วนผสม<br />

กายภาพ control 30 50 100<br />

ค่า pH 10 9 8 9<br />

กลิ่น ตะไคร้ ตะไคร้ ตะไคร้ ตะไคร้<br />

สี เหลือง เหลืองคลํ ้า<br />

เล็กน้อย<br />

ลักษณะเนื<br />

เหลืองคลํ ้า<br />

คลํ ้า<br />

้อสบู่ เนียน เนียน เนียน เนียน<br />

ปริมาณฟอง น้อย น้อย น้อย น้อย<br />

ตารางที่ 4 แสดงลักษณะทางกายภาพของสบู ่เตยหอม<br />

ลักษณะทาง<br />

ร้อยละของน ้ามันทอดซ ้าในส่วนผสม<br />

กายภาพ control 30 50 100<br />

ค่า pH 10 9 9 8<br />

กลิ่น ใบเตย ใบเตย ใบเตย ใบเตย<br />

สี เหลือง เหลืองคลํ ้า เหลืองคลํ ้า<br />

คลํ ้า<br />

ลักษณะเนื ้อสบู่ เนียน เนียน เนียน เนียน<br />

ปริมาณฟอง น้อย น้อย น้อย น้อย<br />

ตารางที่ 5 แสดงลักษณะทางกายภาพของสบู ่มังคุด<br />

ลักษณะทาง<br />

ร้อยละของน ้ามันทอดซ ้าในส่วนผสม<br />

กายภาพ control 30 50 100<br />

ค่า pH 9 9 8 8<br />

กลิ่น ไม่มีกลิ่น ไม่มีกลิ่น ไม่มีกลิ่น เหม็นหืนเล็กน้อย<br />

สี ม่วง ม่วงคลํ ้าเล็กน้อย ม่วงคลํ ้า<br />

คลํ ้า<br />

การแยกชั ้น ไม่แยกชั ้น ไม่แยกชั ้น ไม่แยกชั ้น ไม่แยกชั ้น<br />

ปริมาณฟอง น้อย น้อย น้อย น้อย


20<br />

บทที่ 5<br />

สรุปและอภิปรายผลการทดลอง<br />

จากการนํานํ ้ามันทอดซํ ้าที่เสื่อมสภาพจากความร้อน และเครื่องปรุงรสในขณะทอดอาหาร<br />

ซึ ่งทําให้ลักษณะทางกายภาพของนํ ้ามันเปลี่ยนไปจากเดิมมาทดลองทําสบู่สมุนไพร โดยนําไปผ่าน<br />

กระบวนการทําให้สะอาดด้วยวิธีการแช่แล้วล้าง ซึ ่ งได้มีการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ<br />

มันฝรั่งและผักกาดหัวในการดูดซับกลิ่นและสีของนํ ้ามันทอดซํ ้า พบว่าผักกาดหัวมีประสิทธิภาพใน<br />

การดูดซับสีของนํ ้ามันทอดซํ ้าได้ดีกว่ามันฝรั่ง ทั ้งนี ้อาจเป็ นเพราะว่าองค์ประกอบของหัวผักกาดจะ<br />

ชุ่มด้วยนํ ้า ดังนั ้นเมื่อนําไปแช่ในนํ ้ามันจะสามารถดูดซับโมเลกุลของสารละลายที่มีขั ้วซึ ่งเจือปนใน<br />

นํ ้ามันทอดซํ ้าได้ดีกว่ามันฝรั่ง แต่มันฝรั่งและผักกาดหัวยังไม่มีประสิทธิภาพในการดูดซับกลิ่นของ<br />

นํ ้ามันทอดซํ ้าได้ เมื่อนํานํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการทําให้สะอาดแล้วมาทดลองทําสบู่สมุนไพร 3 ชนิด<br />

คือสบู่ตะไคร้หอม สบู่เตยหอมและสบู่มังคุด โดยได้มีการศึกษาหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการนํา<br />

นํ ้ามันทอดซํ ้ามาแทนที่นํ ้ามันปาล์มซึ ่งเป็ นส่วนผสมหลักในการทําให้เกิดปฏิกิริยา saponification<br />

พบว่า สบู่ตะไคร้หอม, สบู่เตยหอม และสบู่มังคุด ที่มีการผสมนํ ้ามันทอดซํ ้าในอัตราส่วนร้อยละ 30,<br />

50 และ 100 จะมีค่า pH, กลิ่น, ลักษณะเนื ้อสบู่ และปริมาณฟอง ที่ใกล้เคียงกับสบู่ที่ไม่มีการใช้<br />

นํ ้ามันทอดซํ ้ า (control) แต่สีของสบู่สมุนไพรจะมีความแตกต่างกัน คือมีสีออกคลํ ้าเล็กน้อย ใน<br />

อัตราส่วนร้อยละ 30, 50 และมีสีคลํ ้าในอัตราส่วนร้อยละ 100 จะเห็นได้ว่าในนํ ้ ามันทอดซํ ้ายังมี<br />

โมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์ที่สามารถทําปฏิกิริยากับด่างแล้วเกิดเป็ นสบู่ได้ ดังนั ้นจึงสรุปได้ว่า<br />

นํ ้ามันทอดซํ ้าที่เสื่อมสภาพสามารถนํามาทําเป็ นสบู่สมุนไพรได้ และควรใช้ในอัตราส่วนร้อยละ 50<br />

ของปริมาณนํ ้ามันในสูตรสบู่<br />

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน<br />

1. ทราบวิธีการทําสบู่สมุนไพรโดยการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้า<br />

2. ลดการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าในโรงเรียนและชุมชน<br />

ข้อเสนอแนะ<br />

1. ในการทําให้นํ ้ามันสะอาด ควรทําซํ ้าหลายๆครั ้งเพื่อป้ องกันไม่ให้โมเลกุลของสารอื่นๆ<br />

ปนเปื ้ อนในนํ ้ามัน<br />

2. สบู่สมุนไพรที่ได้ไม่ควรนําไปใช้ทําความสะอาดหน้าและร่างกาย เนื่องจากอาจทําให้<br />

เกิดการแพ้ ควรนําไปใช้ล้างมือหรือทําความสะอาดเสื ้อผ้า


21<br />

ภาคผนวก ก<br />

คู ่มือการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน ้ามันทอดซ ้า<br />

ข้อจ ากัดในการใช้งาน<br />

1. ใช้ตรวจนํ ้ามันที่ใช้ทอดอาหาร 9 ชนิด ประกอบด้วย นํ ้ามันปาล์ม (จากเนื ้อปาล์ม), นํ ้ามัน<br />

ถั่วเหลือง, นํ ้ามันรําข้าว, นํ ้ามันหมู, นํ ้ามันมะพร้าวผสมนํ ้ามันปาล์ม (จากเนื ้อปาล์ม), นํ ้ามัน<br />

ไก่, นํ ้ามันดอกทานตะวันและนํ ้ามันข้าวโพด<br />

2. ชุดทดสอบนี ้ไม่มีการรบกวนจากเครื่องปรุงรสที่ผสมในอาหารสําหรับทอด เช่น ซอส ซีอิ๊ว<br />

นํ ้าปลา นํ ้าตาล กระเทียม พริกไทย และผงปรุงรสต่างๆ สามารถตรวจสอบนํ ้ามันที่<br />

อุณหภูมิห้องและนํ ้ามันอุ่นที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส<br />

วัสดุอุปกรณ์<br />

1. หลอดทดสอบตัวอย่าง<br />

2. หลอดดูดพลาสติก(ใช้ในการดูดและหยดตัวอย่าง)<br />

3. นํ ้ายาทดสอบสารโพลาร์<br />

วิธีใช้<br />

1. เติมนํ ้ายาทดสอบสารโพลาร์ลงในหลอดทดสอบตัวอย่างจํานวน 4 หยด<br />

2. จากนั ้นเติมตัวอย่างนํ ้ามันลงในหลอดทดสอบตัวอย่างจํานวน 2 หยด<br />

3. กดปิ ดฝาหลอดทดสอบตัวอย่างให้แน่น เขย่าแนวขวาง 30 วินาที แล้วแปลผลทันที<br />

วิธีการอ่านผล<br />

ภาพที่ 7 แสดงวิธีการอ่านผลการทดสอบสารโพลาร์


22<br />

ภาคผนวก ข<br />

ภาพที่ 8 แสดงนํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการแช่ด้วยมันฝรั่ง<br />

ภาพที่ 9 แสดงนํ ้ามันทอดซํ ้าที่ผ่านการแช่ด้วยผักกาดหัว


23<br />

control 30% 50% 100%<br />

ภาพที่ 10 แสดงสบู่มังคุดที่มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าเป็ นส่วนผสมในอัตราส่วน<br />

ร้อยละ 30, 50, 100 ตามลําดับ<br />

control 30% 50% 100%<br />

ภาพที่ 11 แสดงสบู่เตยหอมที่มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าเป็ นส่วนผสมในอัตราส่วน<br />

ร้อยละ 30, 50, 100 ตามลําดับ


24<br />

control 30% 50% 100%<br />

ภาพที่ 12 แสดงสบู่ตะไคร้หอมที่มีการใช้นํ ้ามันทอดซํ ้าเป็ นส่วนผสมในอัตราส่วน<br />

ร้อยละ 30, 50, 100 ตามลําดับ


25<br />

บรรณานุกรม<br />

กนกวรรณ เศรษฐพงศ์วนิช และจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี (2549) “ภัยนํ ้ามันทอดซํ ้า” ศูนย์ปฏิบัติการ<br />

ความปลอดภัยด้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข<br />

คณะทํางานการพัฒนาคุณภาพชีวิต สาธารณสุขและคุ้มครองผู้บริโภค สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแห่งชาติ และแผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ คณะ<br />

เภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2556) “ความเห็นและข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหา<br />

นํ ้ามันทอดซํ ้าที่เสื่อมสภาพ” กรุงเทพมหานคร<br />

คู่มือการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในนํ ้ามันทอดซํ ้า (2556) อุบลราชธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7<br />

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์<br />

ตะไคร้หอม [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_12_2.htm<br />

(วันที่ค้นข้อมูล 14 มิถุนายน 2557)<br />

เตยหอม [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_03_3.htm<br />

(วันที่ค้นข้อมูล 14 มิถุนายน 2557)<br />

นิธิยา รัตนาปนนท์ และพิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ “ปฏิกิริยา Saponification” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก<br />

http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1631/saponification (วันที่ค้นข้อมูล<br />

11 มิถุนายน 2557)<br />

นํ ้ามัน [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/นํ ้ามัน (วันที่ค้นข้อมูล 11 มิถุนายน 2557)<br />

ผักกาดหัว [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://kessaneeptp.wordpress.com (วันที่ค้นข้อมูล 11 มิถุนายน 2557)<br />

มังคุด [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_07_12.htm<br />

(วันที่ค้นข้อมูล 14 มิถุนายน 2557)<br />

มันฝรั่ง [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://frynn.com (วันที่ค้นข้อมูล 11 มิถุนายน 2557)<br />

สบู่ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet5/topic8/fat.html (วันที่ค้นข้อมูล<br />

11 มิถุนายน 2557)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!