13.07.2015 Views

Español

Español

Español

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

102 ผลกระทบทางเศรษฐกิจและทุนมนุษย


แผนภูมิที่ 6.1 การเพิ่มขึ้นหรือลดลงสุทธิของการยายถิ่นหาปในภูมิภาคตางๆ ระหวางป 2508-2543ราย8006004002000-200-400-600-8002508-2513 2518-2523 2528-2533 2538-2543ปพศกรุงเทพมหานคร ภาคกลางไมรวมกรุงเทพมหานครภาคเหนอ ภาคตะวันออกเฉยงเหนอ ภาคใตแหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2546สําหรับการศึกษารายละเอียดของการยายถิ่นตั้งแตเกิดวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 ผูเขียนใชการสํารวจการยายถิ่นที่ดําเนินการอยางตอเนื่องโดยสํานักงานสถิติแหงชาติมาตั้งแตป 2540 (ดูสํานักงานสถิติแหงชาติ, 1990) แมวาจะมีการดําเนินการสํารวจเปนประจําทุกปมาตั้งแตป 2547 แตไมมีการดําเนินการสํารวจนี้ในระหวางป 2541-2544 และในป 2546 การสํารวจใชกลุมตัวอยางระดับประเทศและใชแบบสอบถามเดียวกันกับการสํารวจกําลังแรงงานของสํานักงานสถิติแหงชาติโดยไดเพิ่มขอคําถามเกี่ยวกับการยายถิ่นเขาไวดวย แมวาจะมีการเปลี่ยนแปลงนิยามของคําวาการยายถิ่นในบางประเภทในการสํารวจในรอบหลายปที่ผานมาแตการวัดการยายถิ่นในรอบหนึ่งปกอนการสํารวจยังคงใชนิยามเดิมและดําเนินการอยางตอเนื่องแผนภูมิที่ 6.2 แสดงถึงอัตราการยายถิ่นของประชากรรวมทั้งเพศชายและเพศหญิงในป 2540-2552 การสํารวจในป 2540นั้นดําเนินการในชวงฤดูฝนซึ่งเปนเวลาหลายเดือนหลังจากที่คาเงินบาทลดลงในเดือนกรกฎาคม การวิเคราะหผลกระทบของวิกฤตการณทางการเงินป 2540 นี้พบวานาจะมีการยายถิ่นในระดับสูงซึ่งสะทอนความเปนจริงที่วาผูยายถิ่นจากชนบทจํานวนมากไดกลับภูมิลําเนาเนื่องจากโอกาสของการไดงานทําในเขตกรุงเทพมหานคร และเขตเมืองอื่นๆ นั้นลดลง แตอยางไรก็ตามพบวาสัดสวนของการยายถิ่นในป 2540 นั้นตํ่ากวาที่วัดไดในป2545 เมื่อเศรษฐกิจเริ่มฟนตัว (รอยละ 3.6 และรอยละ 4.6) โดยประเด็นนี้จะไดรับการวิเคราะหในเชิงลึกในลําดับตอไปแผนภูมิที่ 6.2 สัดสวนของประชากรที่เปนแรงงานยายถิ่นหนึ่งป (รวมและจําแนกตามเพศ) ระหวางป2540-2552รอยละ6.05.04.03.02.01.00.02540 2545 2547 2548 2549 2550 2551 2552ชายปพศหญิง รวมหมายเหตุ: เนื่องจากไมไดมีการสํารวจเปนรายปในชวงกอนป2547 ระดับของเสนแผนภูมิระหวางป 2540-2545 จึงมีความคลาดเคลื่อนแหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจการยายถิ่น 2540,2545 และ2547-2552ตั้งแตป2545 อัตราการยายถิ่นลดลงอยางตอเนื่องโดยผู ชายจะมีการยายถิ่นในอัตราที่สูงกวาผู หญิงแตความแตกตางระหวางเพศนี้ไดลดลงในชวงไมกี่ปที่ผานมา เมื่อพิจารณาถึงความแตกตางดานอายุ (ดูแผนภูมิที่ 6.3) จะพบวากลุมประชากรวัยทํางานที่ยังอยูในชวงวัยหนุมสาว (อายุ 18-24 และ 25-34 ป) มีอัตราการยายถิ่นสูงกวาประชากรในกลุมอายุอื่น ๆ โดยในป 2545 พบวารอยละ 12.7 ของผูที่มีอายุระหวาง 18-24 ป และรอยละ 8.2 ของผูที่มีอายุ 25-34 ปไดยายถิ่นในรอบปที่ผานมาในขณะที่ประชากรในกลุมอายุอื่นๆ มีอัตราการยายถิ่นนอยกวารอยละ 4 ยิ่งไปกวานั้นในขณะที่อัตราการยายถิ่นของผูที่อายุตํ่ากวา 18 ปหรือมากกวา35 ปยังคงคอนขางคงที่ในชวงเวลานี้กลับปรากฏวาคนวัยทํางานรุ นหนุ มสาวไดยายถิ่นเพิ่มขึ้นอยางมากในชวงป2540-2545 และลดลงอยางมากในระหวางป 2545-2552 ในขณะที่ความแตกตางระหวางผูมีอายุระหวาง 18-24 ป และ 25-34 ปลดลงในชวงเวลานี้ กลุ มผู ที่มีอายุระหวาง 18-24 ปเปนประชากรกลุ มเดียวที่มีอัตราการยายถิ่นเพิ่มขึ้นในป 2552106 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น


แผนภูมิที่ 6.3 รอยละของประชากรที่เปนแรงงานยายถิ่นหนึ่งปจําแนกตามกลุมอายุระหวางป 2540-2552รอยละ14.012.010.08.06.04.02.0เนื่องจากขอมูลป2552 ชี้ใหเห็นวาอัตราของแรงงานยายถิ่นที่ระบุวาพวกเขายายกลับภูมิลําเนานั้นเพิ่มขึ้นจากการสํารวจในปกอน 1ซึ่ง Boonyamanond และ Punpuing (2010) ชี้วานี่คือหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาอยางนอยการยายถิ่นกลับภูมิลําเนาบางสวนเปนผลมาจากวิกฤตเศรษฐกิจในป 2551แผนภูมิที่ 6.4 สัดสวนของประชากรที่เปนแรงงานยายถิ่นหนึ่งปจําแนกตามเสนทางในการยายถิ่นระหวางป2540-25520.02540 2545 2547 2548 2550 2551 2552ปพศนอยกวาอายุป 1.801.60แหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจการยายถิ่น 2540, 2545 และ2547-2552อัตราการยายถิ่นในชวงเวลานี้จะเห็นไดจากแผนภูมิที่ 6.4 และเนื่องจากการยายถิ่นมักเปนการยายถิ่นตามฤดูกาลจึงควรตั้งขอสังเกตุวาการสํารวจนี้ที่ผานมาจะดําเนินการหลังจากที่ผานพนชวงฤดูฝนไปใหมๆ ซึ่งเปนชวงเวลาที่สามารถเขาถึงผูยายถิ่นตามฤดูกาลในชุมชนบานเกิดไดมากที่สุดเนื่องจากผูยายถิ่นสวนใหญมักเดินทางกลับภูมิลําเนาเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตจากนาขาวแตก็มีขอยกเวนในการสํารวจป 2552 ที่ไดดําเนินการสํารวจในชวงฤดูแลงโดยมีจุดมุงหมายเพื่อที่จะดูวามีการยายถิ่นเพิ่มขึ้นเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจในป2551 หรือไม ซึ่งก็พบวาเปนไปตามที่คาดไวคือมีการเคลื่อนยายทั้งจากเมืองสู ชนบทและจากชนบทสูชนบทมากที่สุดในชวงฤดูฝนเมื่อแรงงานตามฤดูกาลและแรงงานระยะสั้นกลับสูภูมิลําเนา ในการสํารวจป 2540 พบวาการเคลื่อนยายจากเมืองสูเมืองและชนบทสูเมืองอยูในระดับที ่ตํ่าสุด ซึ่งนาจะเปนการสะทอนใหเห็นถึงการขาดโอกาสจางงานในเขตเมืองในชวงวิกฤตทางการเงินในชวงป 2540 ซึ่งสอดคลองกับการยายถิ่นจากชนบทสูชนบทซึ่งอยูในอัตราสูงสุดในป 2540 และดังที่ไดคาดไว ในขณะที่การยายถิ่นจากเมืองสู ชนบทเปนกระแสการยายถิ่นที่ใหญที่สุดแต ความจริงที่วาอัตราการยายถิ่นสู ชนบทที่เพิ่มขึ้นตอไปในป 2545 และยังคงสูงขึ้นอยางตอเนื่องตลอดชวงตนของป 2543 - 2553 ทําใหเกิดคําถามขึ้นกับผลการสํารวจกอนหนานี้ที่วาวิกฤตเศรษฐกิจในชวงป 2540 ไดกอใหเกิดการยายถิ่นกลับสูพื้นที่ชนบทขนานใหญนั้นเปนความจริงหรือไม แตอยางไรก็ตามการขาดขอมูลเกี่ยวกับชวงเวลาของการยายถิ่นและระยะเวลาของการยายถิ่นทําใหยากที่จะใหขอสรุปใดๆ เนื่องจากโอกาสการจางงานในชวงป2545-2547 นาจะทําใหเกิดการยายถิ่นระยะสั้นตามฤดูกาลเพิ่มขึ้นมากกวาอัตราที่เกิดขึ้นในชวงภาวะวิกฤตเศรษฐกิจนอกจากนี้ สิ่งที่สําคัญเชนกันก็คือการยายถิ่นจากเมืองสูชนบทที่เพิ่มมากขึ้นในชวงฤดูแลงในป 2552 รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะของการยายถิ่นเหลานี้ไดแสดงไวในตารางที่ 6.2 และรอยละของประชากร1.401.201.000.800.600.400.200.002540 2545 2547 2548 2549 2550 2551 2552เมืองสูเมืองชนบทสูเมืองแหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจการยายถิ่น 2540, 2545 และ2547-2552ตารางที่ 6.2 รอยละของแรงงานยายถิ่นหนึ่งปที่ระบุวาการยายถิ่นครั้งลาสุดเปนการยายกลับภูมิลําเนาจําแนกตามจุดหมายปลายทางระหวางป2551-2552ป เขตเมือง เขตชนบท รวม2551 (%) 42.1 66.4 58.92552 (%) 44.9 73.7 65.7แหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจการยายถิ่น 2551-2552รูปแบบของความเปนเมืองปพศเมืองสูชนบทชนบทสูชนบท อื่นๆดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนวาการศึกษาวิจัยดานการยายถิ่นฐานสวนใหญในชวงระหวางป 2503-2532 นั้นเกิดขึ้นจากความสนใจเกี่ยวกับการยายถิ่นจากชนบทสูเมืองโดยเฉพาะอยางยิ่งการยายสูกรุงเทพมหานคร ความเปนเมืองเอกในทามกลางเมืองใหญอีกหลายแหงในประเทศของกรุงเทพมหานคร ไดกอ1 คําถามนี้เปนคําถามที่เพิ่มเติมเขาไปในการสํารวจป 2551 ดังนั้นจึงไมสามารถเปรียบเทียบกับขอมูลในปกอนหนานี้ไดความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น107


ตัวขึ้นอยางชัดเจนมาตั้งแตเมื่อเริ่มสรางเมืองในคริสตศตวรรษที่18 ( 2243-2342) โดยในป 2524 กรุงเทพมหานคร มีประชากรเปนจํานวนมากถึง 50 เทาของเมืองที่ใหญเปนอันดับสองของประเทศ การเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานคร ยังเพิ่มขึ้นอีกเมื่อประเทศไทยไดเปลี่ยนเขาสู ยุคอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว และในป 2543 กรุงเทพมหานคร มีประชากรเปนจํานวนมากถึงครึ่งหนึ่งของประชากรในเขตเมืองทั้งหมดของประเทศไทย และมีผลผลิตมวลรวมในประเทศตอประชากรหรือ GDP คิดเปนรอยละ 35.2 ของเขตเมืองทั่วประเทศ การครอบงําของระบบทุนในดานโอกาสในการทํางานสามารถสะทอนใหเห็นไดจากความเปนจริงที่วามีการยายถิ่นจากชนบทสู เมืองที่ไมไดเปนไปตามรูปแบบขั้นตอนของการยายถิ่นเชนในอดีตที่ผานมาเนื ่องจากมีทั้งผูยายถิ่นตามฤดูกาลและผูยายถิ่นระยะยาวจํานวนมากมุงหนาเขาสูกรุงเทพมหานคร โดยที่ไมเคยยายถิ่นไปยังเขตเมืองอื่นที่มีขนาดเล็กกวา กรุงเทพมหานคร มากอน นอกจากนี้กรุงเทพมหานครยังเปนศูนยกลางทางการเงินในภูมิภาคลุมแมนํ้าโขงอีกดวย (ดูChamratrithirong et al, 1995, 1999. ชับบ, 1998; Glassman& Sneddon, 2003; และ Ouyannont, 1998)เพื่อตอบสนองตอการเติบโตอยางรวดเร็วรัฐบาลไทยไดประกาศใชนโยบายการกระจายอํานาจในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่สาม ( 2515-2519) และฉบับที่สี่ ( 2520-2524) ซึ่งแผนพัฒนาฯ ทั้งสองฉบับนี้ไดใหสิ่งจูงใจในการสงเสริมการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกใหเปนศูนยกลางทางการผลิตและสนับสนุนการเจริญเติบโตของเขตเมืองในภูมิภาคตางๆ โดยผานทางการพัฒนาอุตสาหกรรม แตอยางไรก็ตามความพยายามที่จะลดความเปนเมืองสําคัญหนึ่งเดียวของกรุงเทพมหานคร ลงในชวงเวลานี้ไมประสบผลสําเร็จเทาไรนัก และเมื่อถึงชวงประมาณป2530-2532 รัฐบาลไทยไดมุ งไปที่การลดผลกระทบในดานลบของการพัฒนามากกวาการวางแผนรองรับการขยายตัวของการพัฒนาความเปนเมือง แตเนื่องจากในชวงเวลานั้นพื้นที่ในเขตปริมณฑลรอบนอกกรุงเทพมหานคร มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วยิ่งกวาในเขตตัวเมืองกรุงเทพมหานคร ทําใหนักวิชาการหลายทานใหความเห็นในเชิงโตแยงวาการไมมีการวางแผนไดนําไปสูปญหาของพื้นที่เขตเมือง เชน ความแออัด และมลภาวะ ในเมืองที่เปนศูนยกลางของแตละภูมิภาคในขณะที ่ปญหาดังกลาวในเขตกรุงเทพมหานคร กลับไมไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้นแตอยางใด (ดูCODI, 2006; Glassman & Sneddon, 2003; Guest & Jones,1996; และ Punpuing, 1999)การเจริญเติบโตของเขตเมืองในทั่วทุกมุมโลกในปจจุบันนั้นอยู ในอัตราที่สูงอยางที่ไมเคยเปนมากอน ซึ่งขัดกับความเชื่อทั่วไปที่วาเมืองขนาดเล็กและขนาดกลางจะเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วมากกวาเมืองขนาดใหญระดับมหานคร (ดู UNFPA, 2007) ดังที่จะเห็นไดจากแผนภูมิที่6.5-1 ที่อัตราการเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานครนั้นสูงกวาการเติบโตของประเทศไทยโดยรวมในชวง ชวงป2503-2522 ซึ่งความแตกตางของการเติบโตนี้ไดลดลงในชวงไมกี่ปที่ผานมา การเติบโตของกรุงเทพมหานคร พุงสูจุดสูงสุดในอัตราเกือบรอยละ 5 ใน ชวงป2513-2522 แตเมื่อถึงชวงป2523-2532 จังหวัดที่อยูรอบๆ กรุงเทพมหานคร กลับมีการเติบโตในอัตราที่รวดเร็วกวา ในขณะเดียวกันอัตราการขยายตัวของเขตเมืองอื่นๆ ก็สูงกวาในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลตลอดชวงป 2533-2552 (ดูแผนภูมิที่ 6.5-2) ทําใหสัดสวนของประชากรในเขตเมืองของกรุงเทพมหานคร ลดลง (ดูแผนภูมิที่ 6.6) จากการประมาณการณโดยกระทรวงมหาดไทยพบวาจังหวัดนครราชสีมาและอําเภอหาดใหญในจังหวัดสงขลามีประชากรเมืองมากที่สุดถาไมนับกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลโดยมีจังหวัดเชียงใหมซึ่งเคยเปนเมืองใหญอันดับสองรองจากกรุงเทพมหานคร ตั้งแตในครั้งอดีตเปนเมืองที่มีประชากรหนาแนนที่สุดเปนอันดับสองรองจากสองเมืองนี้แผนภูมิที่ 6.5 อัตราการเจริญเติบโตของประชากรเฉลี่ยรายปของประเทศไทย จําแนกตามประเภทของเมืองแผนภูมิที่ 6.5-1 เขตชนบท เขตเมือง กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ประเทศไทยระหวางป 2503-2553อัตราการเติบโตเฉลี่ยตอปรอยละ5.004.504.003.503.002.502.001.501.000.500.002503-2513 2513-2523 2523-2533 2533-2543 2543-2553ปพศเขตชนบท เขตเมืองทั้งหมด กรุงเทพมหานครจังหวัดปริมณฑลรอบเขตกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย108 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น


ุแผนภูมิที่ 6.5-2 เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เขตเมืองอื่นๆ เขตชนบท ระหวางป 2538-2563อัตราการเติบโตเฉลี่ยตอปรอยละแหลงขอมูล: แผนภูมิที่ 6.5-1 ขอมูลเขตเมืองและเขตชนบทจาก UnitedNations, World Urbanization Prospects Database, 2007; ขอมูลอื่นๆ จาก 1960-2000 Population and Housing Census, NSOและ 2000-2010 Population projections, NESDB.แผนภูมิที่ 6.5-2 จาก United Nations, World UrbanizationProspects Database, 2007แผนภูมิที่ 6.6 สัดสวนของประชากรที่อาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และเขตเมืองอื่นๆ ระหวางป 2493-2553รอยละ40.035.030.025.020.015.02.502.001.501.000.500.00-0.50-1.002533-2538 2538-2543 2543-2548 2548-2553 2553-2558 2558-2563ปพศเขตกรุงเทพฯชั้นนอก เขตเมืองอื่นๆ เขตชนบทรอยละของประชากรในกรุงเทพฯและเขตปริมณฑลรอยละของประชากรในเขตเมืองอื่นๆเขาสู ประเทศไทยโดยแรงงานไรฝมือจากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีระดับเศรษฐกิจตํ่ากวา ในขณะที่มีแรงงานไทยที่เปนแรงงานกึ่งมีฝมือจํานวนมากยายถิ่นไปยังเขตเศรษฐกิจที่แข็งแกรงกวาในเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใตตะวันออกกลาง และในภูมิภาคอื่นๆ ของโลกการยายถิ่นฐานออกจากประเทศไทยสถิติอยางเปนทางการรายงานวาแรงงานไทยที่ยายถิ่นไปทํางานในตางประเทศสวนใหญเปนแรงงานชาย (รอยละ 85) และสวนใหญเปนการไปทํางานที่ใชทักษะตํ่า และเมื่อพิจารณาแนวโนมตัวเลขอยางเปนทางการในแผนภูมิที่ 6.7 จะพบวาแรงงานไทยที่ไปทํางานในตางแดนมีจํานวนลดลงเล็กนอยอยางตอเนื่องตลอดชวงระยะเวลา 10 ป โดยมีจํานวนแรงงานไทยในตางประเทศอยูระหวาง 180,000-160,000 คน แตจํานวนนี้ไดเพิ่มขึ้นเล็กนอยในชวงป 2549-2550 อยางไรก็ตามการคาดประมาณจํานวนของแรงงานไทยที่เดินทางกลับจากตางแดนอันเนื่องมาจากวิกฤติการณทางการเงินในชวงป 2540 เปนเรื่องที่ทําไดยากมากเนื่องจากมีแรงงานจํานวนมากไมไดขึ้นทะเบียนแรงงานอยางเปนทางการ วิกฤติเศรษฐกิจนี้เกิดขึ้นในชวงเวลาที่แรงงานไทยหลั่งไหลเขาไปทํางานในประเทศที่สําคัญในภูมิภาค อาทิเชน ญี่ปุนเกาหลีใต ไตหวัน ฮองกง สิงคโปรและมาเลเซีย เปนจํานวนมากและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ (ดู Skeldon, 1999) แตดวยผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจทําใหหลายๆ ประเทศพยายามที่จะจํากัดจํานวนแรงงานขามชาติโดยการออกนโยบายเลิกจางและสงกลับแรงงานจากตางประเทศ แตถึงกระนั้นก็ตามจํานวนแรงงานขามชาติที่ทํางานอยูในระบบธุรกิจที่ไมเปนทางการยังคงมีตัวเลขคงที่หรืออาจจะเพิ่มขึ้นก็เปนได ซึ่ง Skeldon (2004) ไดใหขอสรุปไววานโยบายสงกลับแรงงานขามชาติไมไดมีผลสําคัญใดๆ เลยตอการยายถิ่นฐานในชวงเวลานั้น10.05.00.02493 2498 2503 2508 2513 2518 2523 2528 2533 2538 2543 2548 2553ปพศแหลงขอมูล: สหประชาชาติ ฐานขอมูลอนาคตความเปนเมืองทั่วโลก, 2550การยายถิ่นระหวางประเทศในชวงไมกี่ปที่ผานมาความแตกตางของระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและสถานการณดานประชากรของประเทศตางๆ ในภูมิภาคที่เพิ่มมากขึ้นไดนําไปสูการโยกยายถิ่นฐานระหวางประเทศที่เพิ่มขึ้นดวยเชนกัน ซึ่งปรากฏการณนี้มักเกิดขึ้นในกลุมแรงงานไรฝมือหรือกึ่งไรฝมือที่ยายจากประเทศที่มีระดับเศรษฐกิจตํ่ากวาไปยังประเทศที่มีเศรษฐกิจที่แข็งแกรงกวา ตัวอยางเชนการยายถิ่นฐานความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น109


เชนประเทศไตหวันแรงงานไทยที่ไปทํางานตามสัญญาที่ถูกตองในตอนแรกอาจละเมิดสัญญาเมื่อสามารถหางานอื่นที่ดีกวาไดหรืออาจอยูในประเทศนานเกินกวาที่ทางรัฐบาลไตหวันกําหนดแรงงานหญิงที่ทํางานในรูปแบบที่ไมเปนทางการเชนงานรับใชในบานหรือแรงงานในภาคการเกษตรมักมีแนวโนมที่จะมีสถานะเปนแรงงานที่ผิดกฎหมาย (ดู Hugo, 2005; Martin, 2009; Sciortino& Punpuing; และ Skeldon, 1999)การอพยพมาอยูในประเทศไทยนับตั้งแตในอดีต ประเทศไทยเปนประเทศปลายทางสําหรับผูยายถิ่นฐานจากประเทศอื่นๆ โดยกลุมที่ใหญที่สุดเปนพอคาและแรงงานทักษะตํ่าจากประเทศจีนที่เดินทางเขามาเปนจํานวนมากในชวงคริสตศตวรรษที่18 และ 19 (ชวงป2243-2443) และไดลงหลักปกฐานในประเทศไทยมาหลายชั่วอายุคน การสํารวจสํามะโนประชากรในป 2452 พบวามีผูอพยพชาวจีนจํานวน 162,505 คนอาศัยอยูในกรุงเทพมหานคร (ดู APMRN, ไมปรากฏปที่พิมพ)และโดยเฉพาะในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 มีชาวตางชาติอื่นๆ ที่สวนใหญเขามายังประเทศไทยในฐานะพอคา แรงงานที่มีทักษะหรือเครือขายเชิงพาณิชย ไมวาจะเปนชาวอินเดีย ญี่ปุน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และชาวยุโรปและเอเชียอื่น ๆ โดยที่กลุมผูอพยพชาวอินเดียและมาเลยจํานวนมากไดปรับตัวเขาเปนสวนหนึ่งของสังคมไทยไดอยางกลมกลืนเปนอยางดีอีกดวย (ดูSciortino & Punpuing, 2009)กลุมผูโยกยายถิ่นฐานที่เขามายังประเทศไทยที่เห็นไดชัดเจนกลุมที่สองคือกลุมผูลี้ภัย ในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่สองมีกลุมผูอพยพจากเวียดนามที่หนีภัยจากความขัดแยงและความไรเสถียรภาพในประเทศเวียดนามเขามาอาศัยอยูในประเทศไทยเปนจํานวนมากซึ่งมีการประมาณการณวาประมาณครึ่งหนึ่งของผูอพยพจํานวน 68,800 คนไดลงหลักปกฐานในประเทศไทยในป 2502 โดยเฉพาะในพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ นอกจากนี้ในระหวางสงครามเวียดนามคลื่นผูอพยพลูกใหมไดทะลักเขามาในประเทศไทยอีกระรอกแตผูอพยพกลุมนี้สวนมากไดอพยพไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สามแลว (สวนใหญในประเทศสหรัฐอเมริกา) อยางไรก็ตามยังไมเปนที่ทราบกันวาจํานวนที่แทจริงของผู อพยพชาวเวียดนามในปจจุบันเปนอยางไรแตจากตัวเลขอยางเปนทางการในชวงป 2541-2547 พบวามีผูอพยพชาวเวียดนามอยูจํานวน 24,914 คนที่มีสถานะเปน “คนตางดาว” ตามทะเบียนราษฎรซึ่งบุตรหลานรุ นที่สองและสามของบุคคลเหลานี้ตองยื่นคํารองเพื่อขอรับ “สัญชาติไทย”(ดูSciortino& Punpuing, 2009)ในชวงหลังสงครามเวียดนาม (นับจากป2518) มีชาวลาวประมาณ320,000 คนหลบหนีเขามาอาศัยอยูในประเทศไทยซึ่งสวนใหญไดยายไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สามหรือยายกลับประเทศลาวไปแลว ในขณะที่มีกลุ มชาติพันธุ ชาวมงจากประเทศลาวรวมทั ้งบุตรหลานของประชากรกลุมนี้ที่เกิดในประเทศไทยประมาณ 15,500คนเคยอาศัยอยู ในศูนยพักพิงชั่วคราวในประเทศไทยจนกระทั่งถึงตนป 2553 ที่รัฐบาลไทยไดสงคนกลุมนี้กลับประเทศลาวกลุมผูอพยพชาวกัมพูชาถูกผลักดันใหเขามายังประเทศไทยจากเหตุการณตางๆ ในประเทศกัมพูชา อันไดแกชัยชนะของเขมรแดงในป2518 การสู รบระหวางกองทัพเวียดนามกับกองทัพเขมรแดงในป2522 การรุกคืบของกองทัพเวียดนามตามแนวชายแดนไทยในป 2527-2528 การลมสลายของรัฐบาลผสมกัมพูชาในป 2540และการสิ้นสุดของยุคเขมรแดงในป2541 โดยที่คายอพยพสําหรับผู ลี้ภัยชาวกัมพูชาแหงแรกเปดขึ้นในป2522 และคายอพยพแหงสุดทายไดถูกปดลงในป 2542 มีผูอพยพชาวกัมพูชาประมาณ235,000 คนที่ไดยายไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สามในขณะที่มีชาวกัมพูชาอีกจํานวน 370,000 คนไดรับการสงกลับไปยังประเทศกัมพูชา (ดู Robinson อางใน Huguet & Punpuing, 2005)นอกจากนี้แลวประเทศไทยยังเปนที่พักพิงของกลุมคนจํานวนมากจากประเทศพมาที่หลบหนีความขัดแยงระหวางกลุมติดอาวุธชนกลุมนอยที่อยูฝายตรงขามกับรัฐบาลกลางในประเทศพมา ตามขอมูลจากองคการกงสุลใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติหรือ UNHCR ณ เดือนธันวาคม 2550 พบวามีประชากรจํานวน130,435 คนอาศัยในศูนยพักพิงชั่วคราว 9 แหงที่ตั้งอยูในแนวชายแดนไทย-พมา (ดู UNHCR อางใน Sciortino & Punpuing,2009, หนา 83) ประเทศไทยไดกลายเปนประเทศหลักที่รองรับผูยายถิ่นมาตั้งแตชวงป2533 เมื่อมีการหลั่งไหลเขามาของแรงงานขามชาติที่มีทักษะตํ่าจากอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขงที่ประกอบดวย ประเทศจีน (โดยเฉพาะจากมณฑลยูนนาน) เวียดนาม ลาวกัมพูชา และโดยเฉพาะอยางยิ่งจากประเทศพมาที่เริ่มมีจํานวนมากกวาแรงงานไทยที่ไปทํางานในตางประเทศ (ดู Tsay, 2002และ Sciortino & Punpuing, 2009) ผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจในชวงป 2540-2542 ตอการยายถิ่นระหวางประเทศนั้นยากที่จะประมาณการณไดเนื่องจากวิกฤติการณดังกลาวไดสงผลกระทบในรูปแบบที่แตกตางกันในแตละภาคสวนธุรกิจในแตละประเทศ แตจากสถิติที่รวบรวมไดจากแหลงขอมูลที่เปนทางการโดย Skeldon(2004) พบวาจํานวนประชากรขามชาติในประเทศไทยยังคงมีอยูในระดับที่คงที่หรืออาจจะเพิ่มมากขึ้นในชวงเวลานั้นมีการคาดประมาณวามีจํานวนชาวตางชาติที่ทํางานและอาศัยอยูในประเทศไทยทั้งสิ้นประมาณ 2.8 ลานคน ณ สิ้นป 2550 (ดูSciortino & Punpuing, 2009) ทางรัฐบาลไดมีความพยายามที่จะแจงนับจํานวนกลุมประชากรเหลานี้ในการสํารวจสํามะโนประชากรในป 2553 ใหไดมากกวาที่เคยนับไดในการสํารวจสํามะโนประชากรในป 2543 ซึ่งในการสํารวจครั้งนั้นนับไดวามีแรงงานจากประเทศพมา ลาว และกัมพูชาอยูเพียงประมาณ70,000 คน เทานั้น (ดู Archavanitkul et al., 2009) ในขณะที่มีความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น111


การคาดประมาณวามีแรงงานขามชาติที่ไมไดขึ้นทะเบียนอยูในประเทศไทยถึง 1,314,382 คน 2 ในปลายป 2542 ซึ่งในจํานวนนี้รอยละ 82 เปนแรงงานจากประเทศพมา รอยละ 8 จากลาว และเกือบรอยละ 10 จากประเทศกัมพูชา ซึ่งเปนจํานวนมากกวาสองเทาของจํานวนรวมของประชากรขามชาติทั้งหมดที่มีอยูในประเทศไทยเนื่องจากมีประชากรขามชาติที่ขึ้นทะเบียนอยูเพียง1,093,237 คนตามที่ไดอางถึงในบทที่ 2 และเนื่องจากการจางงานที่ไมใชงานในภาคการเกษตรสวนใหญตั้งอยูในเขตเมืองจึงมีแรงงานขามชาติอาศัยอยูในเขตเมืองอยางหนาแนนดังที่เห็นจะไดจากแผนภูมิที่ 6.7 วาประมาณ 1 ใน 5 ของประชากรขามชาติหรือประมาณ 252,768 คนเปนผูที่มาจากประเทศพมา ลาว และกัมพูชาที่ทํางานและพักอาศัยอยู ในเขตกรุงเทพมหานคร ในขณะที่ประมาณรอยละ 44, 22, 13 และ 2 กระจุกตัวอยูในจังหวัดตางๆในภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามลําดับ (ดู กระทรวงแรงงาน, 2010) ประชากรขามชาติเหลานี้สวนใหญเปนแรงงานไรฝมือที่มีรายไดตํ่าแตรายไดนี้ก็ยังคงสูงกวารายไดที่กลุมคนเหลานี้จะไดรับในประเทศของตนซึ่งจะกลาวถึงในรายละเอียดตอไปนอกจากนี้ยังมีประชากรขามชาติประเภทอื่นๆ ที่ยายถิ ่นเขามาในประเทศไทยดวยเหตุผลดานการทํางานหรือเพื่อมาตั้งถิ่นฐานรกรากเนื่องจากประเทศไทยมีความตองการผู เชี่ยวชาญที่มีทักษะสูงดานการบริหารจัดการ วิศวกรรม เทคโนโลยี หรืออุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยกลุมผูเชี่ยวชาญเหลานี้สวนใหญมาจากประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และญี่ปุนโดยในปลายป 2552 มีชาวตางชาติที่ถือใบอนุญาติทํางานอยูในประเทศไทยทั้งสิ้น 210,745 คน ภายใตสัญญาจางงานจากนายจางหรือภายใตโครงการพิเศษของรัฐบาลไทยที่สงเสริมดานการลงทุนจากตางประเทศ นอกจากผู ที่เขามาตามสัญญาการจางงานแลวยังมีบุคคลชาวตางชาติอื่นๆ รวมถึงนักเรียน นักศึกษา คูสมรสของชาวไทยและชาวตางชาติที่อาศัยอยู ในประเทศไทย และผูที่เขามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยหลังเกษียณอายุการทํางาน(ดูตัวอยางใน Toyota, 2006) และมีนักทองเที่ยวบางคนที่พํานักอยู ในประเทศไทยเกินกวาระยะเวลาที่กําหนดในเอกสารเขาเมืองหรือวีซา หรือกลายเปนผูมีถิ่นที่อยูในประเทศไทยอยางถาวร(ดู Huguet & Punpuing, 2005)ผลกระทบของการยายถิ่นและความเปนเมืองความกังวลเกี่ยวกับการยายถิ่นฐานและการขยายความเปนเมืองมักมาจากการพัฒนาที่ไมเทาเทียมกัน การที่ผูมีการศึกษาและทักษะยายออกจากเขตชนบทจะยิ่งทําใหความไมเทาเทียมระหวางชนบทและเมืองเพิ่มมากขึ้น ซึ่งความไมเทาเทียมกันนี้อาจเกิดจากการหลั่งไหลของประชากรวัยทํางานที่มีการศึกษาออกจากพื้นที่ชนบทและจากภาวะการพึ่งพาที่สูงขึ้น ทั้งสองปจจัยนี้สงผลใหความไมเทาเทียมดานรายไดระหวางเขตเมืองและเขตชนบท และระหวางแรงงานยายถิ่นกับแรงงานที่ไมเคยยายถิ่นยิ่งมีมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ ประเทศไทยยังคงมีสัดสวนแรงงานในภาคการเกษตรที่คอนขางสูงดังที่แสดงใหเห็นในแผนภูมิที่6.9 วาในขณะที่อัตราสวนของสัดสวนของ GDP จากภาคการเกษตรกับสัดสวนของการจางงานในภาคการเกษตรไดเพิ่มขึ้นในชวงสองทศวรรษที่ผานมาแตอัตราสวนนี้ยังคงอยูในระดับตํ่าที่สุดในภูมิภาคนี้ ทั้งนี้เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการเชน การมีสัดสวนของผูเปนเจาของที่ดินจํานวนมาก ความถี่ของการยายถิ่นตามฤดูกาลและการยายถิ่นระยะสั้นอื่นๆ และการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว (ดู Guest & Jones, 1996และ Sussangkarn & Chalamwong, 1996) ในขณะที่นักวิชาการบางทานเห็นวาสัดสวนที่สูงของแรงงานที่ยังคงทํางานอยูในภาคการเกษตรผนวกกับความเปนเมืองที่โดดเดนแตเพียงหนึ่งเดียวของกรุงเทพมหานคร และการที่รัฐบาลใหความสําคัญกับการพัฒนาอยางรวดเร็วและการสะสมทุนมากกวาการพัฒนาอยางยั่งยืน ทําใหความแตกตางระหวางเมืองกับชนบทยิ่งเพิ่มมากขึ้นไปอีก (ดู Glassman & Sneddon, 2003)นอกจากนี้ ทรัพยากรตางๆ เชน บริการดานสุขภาพซึ่งเปนทรัพยากรพื้นฐานที่สําคัญของการดํารงชีวิตมีแนวโนมที่จะกระจุกตัวอยูในเขตเมืองโดยเฉพาะอยางยิ่งในกรุงเทพมหานคร การพัฒนาความเปนเมืองที่ไมหยุดยั้งอาจทําใหยิ่งมีการกระจุกตัวของทรัพยากรเหลานี้มากขึ้น แตแรงงานขามชาติอาจมีขอจํากัดในการเขาถึงการบริการเหลานี้ดวยเหตุผลหลายประการ นอกจากนี้ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากการพัฒนาความเปนเมืองที่เปนไปอยางตอเนื่องทั่วโลกนี้มีผลตอการดํารงชีวิตในชนบทเชนกันในสวนตอไปจะวิเคราะหใหเห็นวาแนวโนมของการยายถิ่นฐานและการพัฒนาความเปนเมืองที่อธิบายไวขางตนนี้มีผลกระทบตอความไมเสมอภาคและสิ่งแวดลอมอยางไรบาง2 แรงงานขามชาติที่ไมไดขึ้นทะเบียนหมายถึงผู ที่เดินทางเขามายังประเทศไทยโดยไมมีเอกสารตรวจคนเขาเมือง เชน บัตรผานชายแดน หรือวีซา112 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น


แผนภูมิที่ 6.9 อัตราสวนของสัดสวนของ GDP จากภาคการเกษตรตอสัดสวนของจํานวนแรงงานที่ทํางานในภาคการเกษตรของประเทศไทยและประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต0.80.70.60.50.40.30.20.10ไทยไทยอินโดนเซียลาว เวียดนาม ปพศกัมพูชาฟลิปปนสมาเลเซียรอยละของ GDP จากการเกษตรรอยละของแรงงานในภาคการเกษตรประเทศไทย2533 1 2552อินโดนีเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา ฟลิปปนส มาเลเซีย12.4 11.6 15.3 29.9 21.3 29.0 3 14.8 9.463.5 42.4 2 42.1 4 80.0 51.8 67.9 34.0 13.0 4แหลงขอมูล: จาก CIA World Factbook, 2009 ยกเวนที่ระบุไวตางหาก1 จาก Sussangkarn and Chalamwong, 1996, p. 101.2 ขอมูลป 25513 ขอมูลป 25504 ขอมูลป 2548ความแตกตางดานประชากรและสังคมการลดลงอยางรวดเร็วของภาวะการเจริญพันธุในประเทศไทยตั้งแตกลางชวงป 2513-2523 มีผลเปนอยางมากตอการเพิ่มสัดสวนประชากรผูสูงอายุ (ดู Knodel et al., 2007) ตารางที่ 6.4-1 แสดงใหเห็นถึงความแตกตางของโครงสรางอายุของประชากรในเขตชนบทและในเขตเมืองในชวงระยะเวลาสิบปนับจากป2540ถึง 2550 ซึ่งจะเห็นวามีสัดสวนของเด็กในชนบทสูงกวาในเมืองในทั้งสองชวงระยะเวลาที่กลาวมานี้ แตสัดสวนที่แตกตางกันนี้ไมเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผานไป และทั้งในป 2540 และ 2550 สัดสวนของผู สูงอายุในเขตชนบทนั้นสูงกวาในเขตเมืองเพียงเล็กนอย รูปแบบเหลานี้สะทอนใหเห็นถึงสัดสวนของภาวะพึ่งพาในทั้งสองชวงระยะเวลา จากแผนภูมิที่6.10 จะเห็นไดวาอัตราการพึ่งพารวมในเขตชนบทนั้นสูงกวาในเขตเมือง แตอยางไรก็ตาม อัตราการพึ่งพารวมในทั้งชนบทและเขตเมืองนั้นลดลงในอัตราเดียวกันในระหวางป 2540 และ 2550 โดยที่อัตราการพึ่งพาในกลุมเด็กและผูสูงอายุนั้นแตกตางกัน ในขณะที่อัตราการพึ่งพาในกลุมผูสูงอายุเพิ่มขึ้นในระยะเวลา 10 ปแตการเพิ่มขึ้นนี้ก็เปนอยางชาๆ ทีละนอยทําใหมีความแตกตางของระดับการพึ่งพาระหวางกลุ มผู สูงอายุในชนบทและในเมืองมีไมมากนัก สําหรับอัตราการพึ่งพาในเด็กนั้นพบวาลดลงโดยที่ในเขตชนบทยังคงมีอัตราการพึ่งพาในเด็กสูงกวาในเขตเมือง กลาวโดยรวมก็คือไมมีความแตกตางของโครงสรางทางอายุของประชากรหรืออัตราการพึ่งพาระหวางประชากรในชนบทและในเมือง หรืออาจกลาวในอีกนัยหนึ่งไดวาความแตกตางระหวางพื้นที่ชนบทและเขตเมืองในดานขนาดของประชากรที่เปนกําลังแรงงานเชิงเศรษฐกิจยังคงอยู ในระดับเดียวกันและทั้งชนบทและเขตเมืองตางไดรับผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของอายุเฉลี่ยของประชากรโดยรวมมากกวาผลกระทบจากการยายถิ่นหรือการเติบโตของความเปนเมือง ยิ่งไปกวานั้นยังพบวาเด็กที่ยายถิ่นสวนใหญยังคงรักษาความสัมพันธทางสังคมและเศรษฐกิจกับบิดามารดาของตน ที่อยูในชนบท (ดู Knodel et al., 2007) ประชากรขามชาติในวัยทํางานที่อาศัยอยูในประเทศไทยอาจสงผลกระทบตอการกระจายโครงสรางทางอายุและเพศของประชากรในประเทศไทยถึงแมวาการคาดประมาณจํานวนประชากรขามชาติที่แทจริงจะทําไดยากก็ตาม (ดูบทที่2) เนื่องจากประชากรขามชาติสวนใหญเปนผูที่อยูในวัยหนุมสาวที่มีอายุระหวาง 19-29 ป และสวนใหญเปนเพศชาย ในขณะที่ยังไมมีรายงานจํานวนที่แนนอนแตเด็กที่เกิดจากประชากรขามชาติในประเทศไทยและเด็กอายุตํ่ากวา 18 ปที่ไดยายถิ่นฐานเขามาทํางานในประเทศไทยดวยตนเองนั้นอาจมีสวนทําใหโครงสรางทางอายุของประชากรในประเทศไทยลดลงได (ดู Sciortino and Punpuing, 2007)ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น113


ตารางที่ 6.4 การกระจายประชากรในเขตชนบทและเขตเมืองจําแนกตามกลุมอายุและเพศในป 2540 และ 2550ป 2540 ป 2550อายุเขตเมือง เขตชนบท เขตเมือง เขตชนบทชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิงตํ่ากวา 15 ป (%) 26.9 25.6 31.0 30.2 24.8 22.5 27.8 26.215-59 ป (%) 64.6 64.6 60.0 59.3 65.5 66.0 61.4 61.160 ปขึ้นไป (%) 8.4 9.8 9.0 10.5 9.7 11.6 10.7 12.8Total 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0แหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจภาวะการทํางานของประชากร 2540 และ 2550แผนภูมิที่ 6.10 อัตราการพึ่งพารวม อัตราการพึ่งพาในกลุมเด็กและกลุมผูสูงอายุ ในเขตชนบทและเขตเมืองในป พ .ศ.2540 และ 255080.070.060.050.040.030.020.010.00.02540 2550ปพศเขตชนบทรวมเด็กชนบทผูสูงอายุชนบทเขตเมืองรวมเด็กในเมืองผูสูงอายุในเมืองแหลงที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจภาวะการทํางานของประชากรป 2540และ2550ความไมเทาเทียมกันระหวางชนบทและเขตเมืองสวนหนึ่งเกิดจากปญหา "สมองไหล" เมื่อแรงงานที่มีทักษะและมีการศึกษายายถิ่นไปอยูในเขตเมืองมากขึ้นเพราะไมสามารถที่จะหางานที่เหมาะสมในชนบทได สําหรับประเทศไทยไดมีการปรับระดับการศึกษาภาคบังคับจากประถม 6 เปนมัธยมศึกษาตอนตนในป 2542 และดวยเหตุนี้จํานวนนักเรียนที่กําลังอยู ในระหวางการศึกษาจึงมีความสัมพันธกับขนาดประชากรตามกลุมอายุดวย 3 และเมื่อวิเคราะหความแตกตางระหวางเด็กที่กําลังเรียนอยู ในระดับมัธยมศึกษาในเขตชนบทและเขตเมืองโดยจําแนกตามเพศและปการศึกษาตามแผนภูมิที่ 6.11 แลวก็จะพบวาความแตกตางของอัตราการเขาเรียนในระดับมัธยมศึกษาจากป 2540-2550 ไดลดลงอยางมาก3 เนื่องจากจํานวนนักเรียนที่กําลังอยูระหวางการศึกษาเลาเรียนมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับอายุของประชากร การกระจายสัดสวนในที่นี้จึงเปนสัดสวนที่มีมาตรฐานการกระจายตามอายุแลว ดังนั้นตัวเลขจึงแสดงใหเห็นวาสัดสวนของเด็กที่กําลังศึกษาเลาเรียนในป 2550 จะเปนอยางไร หากการกระจายของอายุประชากรในป 2540 ยังอยูในระดับที่คงที่แตอยางไรก็ตาม ถึงแมวาจะมีเด็กไดเขาเรียนในระดับการศึกษาที่สูงขึ้นเพิ่มขึ้นเล็กนอยในภาพรวม แตสัดสวนเด็กที่เขาเรียนในระดับการศึกษาที่สูงขึ้นในเขตเมืองก็ยังคงสูงกวาสัดสวนของเด็กในชนบทอยูถึงประมาณสามเทาโดยเด็กผูหญิงในเขตชนบทเปนกลุ มที่มีสัดสวนของการเขาเรียนในระดับที่สูงขึ้นเพิ่มขึ้นมากที่สุดในชวงระยะเวลาสิบปนี้โดยเพิ่มจากรอยละ 6.2 เปน 8.4 แตโดยภาพรวมแลวความแตกตางระหวางเพศในดานการศึกษายังคอนขางคงที่แผนภูมิที่ 6.11 การเขารับการศึกษาของเด็กในชนบทและในเขตเมืองจําแนกตามเพศในป 2540 และ 2550(เปรียบเทียบโดยใชอายุมาตรฐานเปนเกณฑ)รอยละ80706050403020100ระดับสูงกวามัธยมศึกษาระดับมัธยมศึกษาชายในเมือง ชายใน ชนบทชายในเมือง ชายใน ชนบท2540 2550 2540 2550แหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจภาวะการทํางานของประชากรป 2540และ2550การแบงแยกดานอาชีพหญิงในเมืองปพศหญิงในชนบท ในเมืองหญิงหญิงในชนบทแมวาสถานการณของแรงงานขามชาติในประเทศไทยจะไดรับความสนใจมากกวาแรงงานในประเทศ แตความแตกตางของ114 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น


ตารางที่ 6.5 อาชีพของแรงงานที่ยายถิ่นในรอบหนึ่งปและแรงงานที่ไมยายถิ่นจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมและเพศในป 2550ประเภทอุตสาหกรรมแรงงานยายถิ่น แรงงานที่ไมไดยายถิ่นชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวมการเกษตร/การประมง 42.2 36.3 39.9 47.9 48.7 48.2อาชีพอื่นทั้งหมดที่นอกเหนือจากการเกษตร57.8 63.7 60.1 51.9 51.2 51.6การผลิต 15.9 14.5 15.4 8.8 8.2 8.5การกอสราง 11.8 2.7 8.3 7.8 1.8 5.0การขาย 13.7 16.4 14.8 14.5 15.3 14.9การบริการ 10.5 15.1 12.3 10.4 12.5 11.4การเงิน/อสังหาริมทรัพย/ ธุรกิจ 2.2 2.5 2.3 2.9 3.1 3.0งานราชการ/ ธุรการ/เสมียน 3.6 9.9 6.0 7.3 9.1 8.2งานรับใชในบาน 0.1 2.5 1.0 0.2 1.2 0.7รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0แหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจการยายถิ่น 2550ประเภทของอาชีพในแรงงานเหลานี้ไดสงผลกระทบตอแรงงานยายถิ่นภายในประเทศดวยเชนกัน ตารางที่ 6.5 แสดงถึงขอมูลระดับประเทศของแรงงานยายถิ่นและแรงงานที่ไมไดยายถิ่นในรอบ 1 ปกอนการสํารวจซึ่งเปนที่ชัดเจนวาแรงงานยายถิ่นยังคงทํางานในเฉพาะบางสาขาอาชีพอยางตอเนื่องโดยเฉพาะในภาคการผลิต (รอยละ 16 ในแรงงานชายและรอยละ 14 ในแรงงานหญิง) โดยที่งานกอสรางจัดเปนงานที่สําคัญสําหรับแรงงานชาย(รอยละ 8) ในขณะที่สัดสวนของแรงงานหญิงจะสูงมากในภาคบริการ (รอยละ 15) สําหรับงานประเภทอื่นๆ เชน พนักงานขายหรือพนักงานของรัฐนั้นมีสัดสวนของแรงงานยายถิ่นที่ไดรับการวาจางใกลเคียงกันกับสัดสวนของแรงงานที่ไมไดเปนผูยายถิ่นอยางไรก็ตามพบวามีแรงงานที่มีประสบการณการยายถิ่นในรอบ1 ปที่ผานมาทํางานในภาคการเกษตรนอยกวาแรงงานที่ไมไดยายถิ่นโดยเฉพาะอยางยิ่งแรงงานหญิงตารางที่ 6.6 แสดงใหเห็นวาแรงงานขามชาติกระจุกตัวอยูในภาคการเกษตรและการประมง (ประมาณรอยละ 40) ตามดวยภาคการผลิต การขาย และงานบริการ (ประมาณรอยละ 15 ในแตละประเภท) สัดสวนที่สูงที่สุดของแรงงานขามชาติจากประเทศพมาอยู ในภาคบริการ ในขณะที่งานรับใชในบานสวนใหญตกเปนของแรงงานขามชาติจากประเทศลาว และภาคการกอสรางเปนงานสําหรับแรงงานขามชาติจากประเทศกัมพูชาเปนสวนใหญ(ดู กระทรวงแรงงาน, 2553) ภาคการประมงและการแปรรูปอาหารทะเลสวนใหญก็เปนงานที่มีแรงงานขามชาติอยูมากเชนกัน นอกจากนี้แรงงานขามชาติจํานวนมากยังเปนแหลงแรงงานสําหรับการผลิตทางการเกษตรขนาดใหญในภาคใต (สวนใหญเปนการผลิตยางพารา) และสําหรับการเลี้ยงสัตวและการเพาะปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ดู Sciortino และ Punpuing, 2009)ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น115


ตารางที่ 6.6 แรงงานขามชาติจากประเทศพมา ลาว และกัมพูชาที่ไมมีเอกสารเขาเมืองที่ไดรับใบอนุญาตทํางานจําแนกตามประเภทธุรกิจ ณ เดือนธันวาคม 2552แรงงานขามชาติทั้งหมด แรงงานพมา แรงงานลาว แรงงานกัมพูชารวมทุกภาคอุตสาหกรรม (จํานวนคน) 1,314,382 1,078,767 110,854 124,761รอยละจําแนกตามประเภทธุรกิจภาคบริการ 18.2 19.8 11.8 10.1ภาคการเกษตร 16.9 16.6 16.3 19.3การกอสราง 16.7 16.2 11.4 26.1การแปรรูปอาหารทะเล/ ประมง 14.7 15.7 2.7 16.7งานรับใชในบาน 9.9 9.5 19.2 5.3อื่นๆ 23.6 22.2 38.6 22.5รวม 100.0 100.0 100.0 100.0แหลงขอมูล: กระทรวงแรงงาน รายงานสถานการณแรงงาน, 2553ความเหลื่อมลํ้าทางดานรายไดถึงแมวาจะมีการใหความสําคัญตอปญหาความไมเทาเทียมกันในประเทศไทยในชวงหลายปที่ผานมา แตองคการสหประชาชาติยังคงจัดอันดับสัมประสิทธิ์จินีหรือสัมประสิทธิ์การกระจายรายได(Gini Coefficient) ของประเทศไทยใหอยู ในระดับกลางเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ โดยในป 2553 ประเทศไทยมีคาสัมประสิทธิ์การกระจายรายได อยูที่ระดับ 42.5 เมื่อเปรียบเทียบกับระดับ 37.8 ของประเทศเวียดนาม 44.0 ในประเทศฟลิปปนส และ 51.6 ในประเทศมาเลเซีย (ดู United Nations,2010) แผนภูมิที่ 6.12 แสดงความแตกตางของรายไดเฉลี่ยตอครัวเรือนจําแนกตามสภาพความเปนเมือง 4 ในชวงหลายปที่ผานมา ความแตกตางของรายไดระหวางครัวเรือนในชนบท ในกรุงเทพมหานคร และในเขตเมืองอื่นๆ ยังคงเดิมโดยความแตกตางลดลงเพียงเล็กนอยในขณะที่ครัวเรือนในเขตเมืองอื่นๆ และในกรุงเทพมหานคร มีความแตกตางของรายไดมากขึ้น จากขอมูลในแผนภูมิจะเห็นวาครัวเรือนในชนบทมีรายไดเพียงรอยละ 39ของรายไดครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร ในขณะที่ครัวเรือนในเขตเมืองอื่นๆ มีรายไดประมาณรอยละ 65 ของรายไดครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร4 ขอมูลรายไดครัวเรือนที่ใชนี้เปนขอมูลที่ปรับคาตามอัตราเงินเฟอแลวโดยใชการปรับเปลี่ยนคาตามสมมูลยหรือเครื่องชั่งสมดุลของ OECD (OECDequivalence scale) ซึ่งทําใหการวัดมีความถูกตองแมนยํามากกวาการใชขอมูลรายไดตอหัวประชากร ซึ่งคาสมมูล (Equivalence scale) ของOECD ไดกําหนดการถวงนํ้าหนักไวที่ 1.0 สําหรับหัวหนาครัวเรือน 0.5 ตอสมาชิกครัวเรือนวัยผูใหญแตละคน และ 0.3 สําหรับสมาชิกครัวเรือนวัยเด็กแตละคน ในขณะที่ปกติการวัดรายไดตอหัวประชากรจะใชวิธีแบงหารรายไดของครัวเรือนดวยจํานวนสมาชิกทั้งหมดในครัวเรือน (OECD, ไมปรากฏปที่พิมพ.)แผนภูมิที่ 6.12 รายไดครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือนที่ปรับโดยใชคาสมมูลยของ OECD สําหรับครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร เมืองอื่นๆ และในชนบทระหวางป 2539-2552 (บาทในป 2550) 5รายไดครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน25,00020,00015,00010,0005,000014,82210,3585,05517,01010,4195,57017,01011,9486,92917,01012,7607,7202539 2545 2549 2552ปพศกรุงเทพมหานครเมืองอื่นๆชนบทแหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน, พ .ศ.2539, 2545, 2549 และ 2552ขอมูลเกี่ยวกับคาใชจายจากการสํารวจเศรษฐกิจในครัวเรือนมีแนวโนมที่จะมีความถูกตองมากกวาขอมูลดานรายได ซึ่งมักจะไมคอยมีการรายงานหรือยากที่จะคํานวณ แผนภูมิที่6.13 แสดงใหเห็นวาแมครัวเรือนในเขตชนบทจะมีคาใชจายในระดับที่ตํ่ากวาครัวเรือนในเขตกรุงเทพมหานคร อยูมากแตคาใชจายครัวเรือนระหวางชนบทและกรุงเทพมหานคร ยังมีความแตกตางเพิ่มขึ้นมาตลอดจนถึงปจจุบันซึ่งการคนพบนี้ชี้ใหเห็นวาความไมเทาเทียมดานรายไดระหวางเขตชนบทและเขตเมืองมีแนวโนมที่จะเพิ่มสูงขึ้นอีก5 ดูอัตราเงินเฟอจากธนาคารแหงประเทศไทยไดที่ http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=409&language=eng116 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น


แผนภูมิที่ 6.13 คาใชจายครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือนปรับโดยใชคาสมมูลของ OECD สําหรับครัวเรือนในกรุงเทพฯ ใเมืองอื่นๆ และในชนบทในป2539-2552 (บาทในป 2550) 6รายไดครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน16,00014,00012,000 11,264 10,98410,0008,0006,0004,0002,00007,1027,1284,137 4,22213,4836,04314,6939,771 9,91212,7606,4412539 2545 2549 2552ปพศกรุงเทพมหานครเมืองอื่นๆชนบทแหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน, 2539, 2545, 2549 และ 2552อัตราสวนความยากจนตอหัวประชากรเปนอีกตัวชี้วัดหนึ่งที่สามารถสะทอนความกินดีอยูดีของประชากรดังที่จะเห็นไดจากแผนภูมิที่ 6.14 วาแมประเทศไทยจะประสบความสําเร็จในการลดอัตราความยากจนลงในชวง 10-15 ปที่ผานแตชองวางระหวางชนบท เขตเมือง และกรุงเทพมหานครจะยังคงมีขนาดใหญอยูโดยขอมูลในป 2552 ไดชี้ใหเห็นวารอยละ 10 ของครัวเรือนในชนบทถูกจัดอยู ในกลุ มครัวเรือนที่มีสถานะยากจนในขณะที่มีครัวเรือนในเขตกรุงเทพมหานคร ที่อยูในกลุมยากจนไมถึงรอยละ 1ผลกระทบของการยายถิ่นและการพัฒนาความเปนเมืองตอสิ่งแวดลอมการตั้งถิ่นฐานระยะยาวสองรูปแบบมีผลกระทบอยางเฉียบพลันตอสิ่งแวดลอมในประเทศไทย รูปแบบแรกคือการยายถิ่นเขาไปในพื้นที่ที่ยังไมเคยมีการทําการเพาะปลูกมากอนซึ่งพบมากที่สุดในการยายถิ่นจากชนบทสูชนบทในชวงกอนป 2513 - 2523 มีการศึกษาพบวาการยายถิ่นมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับการใชประโยชนที่ดินและรายละเอียดของวิธีการใชที่ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ดู Entwisle et al., 1998 และ Walsh et al., 1999)สวนรูปแบบของการตั้งถิ่นฐานแบบที่สองที่มีผลตอสิ่งแวดลอมคือการพัฒนาความเปนเมืองและโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อการเติบโตของเมืองไดควบรวมเอาพื้นที่ที่เคยถูกใชเพื่อการผลิตมากอนเขาไวดวย (ดู Punpuing, 1999)6 ดูอัตราเงินเฟอจากธนาคารแหงประเทศไทยไดที่ http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=409&language=engแผนภูมิที่ 6.14 สัดสวนความยากจนตอหัวประชากรระหวางปพ .ศ. 2539-2552รอยละ30.025.020.015.010.05.0-18.26.81.222.07.126.58.61.2 1.718.96.42.214.212.0 11.54.63.6 3.00.8 0.5 0.83.00.9แหลงที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน, 2539, 2545, 2549 และ 2552 คํานวณโดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทยหมายเหตุ: สัดสวนของความยากจนคํานวณโดยการนําจํานวนประชากรทั้งหมดมาหารดวยจํานวนประชากรที่มีคาใชจายในการบริโภคตํ่ากวาเสนแบงระดับความยากจนการเปลี่ยนแปลงดานสิ่งแวดลอมสามารถเปนไดทั้งสาเหตุและผลกระทบของการยายถิ่นฐาน การที่ที่ดินใหผลผลิตที่ลดลงเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ผลักดันใหมีการยายถิ่นของเกษตรกรเขาสูชุมชนแออัดในเมืองใหญเพื่อความอยูรอด และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสามารถทําใหเกิดพื้นที่ทะเลทราย การเปลี่ยนแปลงของแหลงนํ้าทั้งจากภัยแลงและนํ้าทวมและภัยธรรมชาติอื่นๆ (ดู Gleditsch et al, 2007 และ Richteret al., 2009) ผูลี้ภัยจากสภาพแวดลอมจะถูกหนุนใหอพยพโดยปจจัยเหลานี้เชนกันซึ่งอาจจะเปนทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เปนความหายนะที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและ/หรือคอยๆ กอตัวขึ้นในชวงระยะเวลาที่ยาวนาน การยายถิ่นอาจถูกมองวาเปนการอพยพโดยความสมัครใจ (เมื่อรายไดลดลงเมื่อเทียบกับโอกาสในที่อื่นๆ) หรือโดยความไมสมัครใจ (เมื่อที่ดินที่เคยครอบครองไดกลายเปนที่ซึ่งหาประโยชนไมไดเนื่องจากอุบัติเหตุทางสิ่งแวดลอมหรือภัยพิบัติตามธรรมชาติ หรือแมกระทั่งการเวนคืนที่ดินดวยเหตุผลดานสิ่งแวดลอม) (ดู Hunter, 2004 และ Vine, 2005)ในทางกลับกัน ผูยายถิ่นอาจสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทั้งในชุมชนตนทางและชุมชนปลายทางของการยายถิ่นฐาน ความยากจนในกลุ มผู ยายถิ่นในชุมชนปลายทางและการขาดความรู สึกผูกพันตอชุมชนกอใหเกิดแรงตานตอแรงจูงใจในการดูแลรักษาทรัพยากรของชุมชน (ดู Cassels, 2006) การยายถิ่นเขาไปยังพื้นที่ที่หางไกลมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทั้งดานการใชประโยชนที่ดินและรายละเอียดของวิธีการใชที่ดินผานการตัดไมทําลายปา (ดู de Sherbinin et al., 2007) มีการประมาณการณวาครึ่งหนึ่งของพื้นที่ปาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยไดถูกทําลายลงในระหวางป 2516-2525 (ดู Suhrke, 1993)10.42539 2541 2543 2545 2547 2549 2551 2552ปพศชนบทเมืองอื่นๆกรุงเทพมหานครความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น117


ซึ่งกระแสการยายถิ่นเขาสูกรุงเทพมหานคร ในชวงระยะเวลานี้สามารถเชื่อมโยงไดโดยตรงกับความตองการอยางมากตอการใชที่ดินเพื่อการเกษตรผนวกกับวัฏจักรของภัยแลงในภูมิภาคนี้การตัดไมเชิงพาณิชยเปนปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งที่ทําใหเกิดการทําลายผืนปาในประเทศไทย การขาดแคลนที่ดินผืนใหมสําหรับทําการเกษตรและความไมแนนอนของแหลงนํ้าก็มีสวนทําใหคนจํานวนมากเปนผูที่ไมมีที่ดินทํากินเปนของตนเองซึ่งคนกลุมนี้อาจยายถิ่นไปเปนแรงงานรายวันหรือทํางานในภาคอุตสาหกรรม (ดู Yoddumnern - Attig et al., 2004) การศึกษาระยะยาว โครงการ “นางรอง” พบวานอกจากการไมมีที่ดินทํากินแลวการลดลงของขนาดการถือครองที่ดินในชวงระหวางป2527-2537 นั้นยังมีความสัมพันธกับการยายถิ่นของประชากรอีกดวย(ดู Rattanawarang & Punpuing, 2003)จากการศึกษาลาสุดอื่นๆ เกี่ยวกับผลกระทบของการพัฒนาความเปนเมืองโดยเฉพาะในกรุงเทพกรุงเทพมหานคร ตอปจจัยดานสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของประชาชนพบวา Chamratrithironget al. (1999) ไดเชื่อมโยงระดับความหนาแนนของประชากรและระดับการบริโภคที่สูงมากในเขตกรุงเทพมหานคร กับการเกิดปญหามลพิษทางอากาศ นํ้า และขยะมูลฝอยที่เปนอันตราย โดยผลการวิจัยชี้ใหเห็นวามลพิษทางอากาศเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในชวงป 2533 - 2543 และประมาณรอยละ 60-70 ของมลพิษเกิดจากการเพิ่มขึ้นของยวดยานพาหนะที่ใชในการสัญจร และที่เหลือเกิดจากการอุปโภคบริโภคในครัวเรือนและจากการอุตสาหกรรมรวมทั้งการเปลี่ยนไปใชเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ทันสมัยมากขึ้น ราคาที่ดินในใจกลางกรุงเทพมหานคร ที่สูงขึ้นมากนั้นนอกจากจะกอใหเกิดการขยายตัวของความเปนเมืองไปยังพื้นที่ในจังหวัดรอบนอกซึ่งทําใหประชาชนมีความจําเปนที่จะตองเดินทางเขาเมืองเพื่อการทํางานมากขึ้นและนําไปสู ปญหามลพิษทางอากาศในที่สุดแลว ยังผลักดันใหผู ที่อยู ในชุมชนแออัดและผู ที่เปนผู อาศัยอยู เดิมของพื้นที่รอบกรุงเทพมหานคร ตองเผชิญกับความหนาแนนของประชากรและพื้นที่ที่มีมลภาวะมากขึ้น อยางไรก็ตามจํานวนผู ยายถิ่นที่อาศัยอยู ในพื้นที่รอบนอกก็เพิ่มขึ้นดวยเนื่องจากพื้นที่เหลานี้ไดกลายเปนเขตอุตสาหกรรมเชนกัน (ดู Storey, 2005) อยางไรก็ตามไมพบวามีความแตกตางในดานการใชนํ ้ามันเชื้อเพลิงในกลุมผูยายถิ่นและผูที่ไมไดยายถิ่น Poungsomlee and Ross(1992) ไดทําการศึกษาความเชื่อมโยงระหวางภาวะการพัฒนาความทันสมัยและการพัฒนาความเปนเมืองกับประโยชนหรือขอดีของความทันสมัยตอกลุ มชนชั้นสูงในขณะที่ปญหาเหลานี้มีผลกระทบตอผูมีรายไดนอยและกลับจะยิ่งเพิ่มความไมเทาเทียมกันในสังคมใหมากขึ้น และ Storey (2005) ไดชี้ใหเห็นวาสถาบันตางๆไดใหความสําคัญกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวาปญหาสิ่งแวดลอมและดวยเหตุนี้การดําเนินมาตรการดานสิ่งแวดลอมของรัฐบาลไทยจึงเปนไปอยางลาชาสรุปการยายถิ่นภายในประเทศไทยในอัตราที่สูงเปนการยายถิ่นในระยะยาวซึ่งมีแรงขับเคลื่อนมาจากปจจัยตางๆ เชนวัฏจักรของฤดูกาลของการเพาะปลูกขาว ความกดดันดานประชากร และการพัฒนาอุตสาหกรรม การยายถิ่นระยะยาวถือเปนเรื่องปกติและการเติบโตของความเปนเมืองไดเกิดขึ้นพรอมๆ กับการพัฒนาเปนเมืองอุตสาหกรรมและการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการเกษตร เชน การกอสราง และการบริการ อยางไรก็ตามมีหลักฐานจากการศึกษาวิจัยที่ยืนยันวาการยายถิ่นเปนปฏิกิริยาปกติที่ตอบสนองตอวิกฤตทางเศรษฐกิจทั้งวิกฤตในชวงป 2540และการถดถอยของเศรษฐกิจในป 2551 ที่ผานมาซึ่งปรากฏวามีอัตราการยายถิ่นกลับสู ภูมิลําเนาในชนบทที่เพิ่มสูงขึ้น จากความจริงที่วาแรงงานยายถิ่นมักจะกระจุกตัวอยู ในภาคการผลิตและงานที่ตองอาศัยกําลังแรงงานของมนุษยทําใหแรงงานเหลานี้ยิ่งตกอยูในภาวะที่เปราะบางเมื่อมีการหดตัวในภาคการผลิตและการกอสรางในชวงเวลาที่เศรษฐกิจถดถอย และเนื่องจากสัดสวนของการทํางานในภาคการเกษตรลดลงจึงเปนไปไดที่ศักยภาพของครัวเรือนในชนบทในการรองรับแรงงานยายถิ่นที่ตองกลับสู ชนบทจะลดลงดวย ดังนั้นสมดุลทางเศรษฐกิจที่ครัวเรือนไดรับผานทางการยายถิ่นในรูปของเงินออมที่แรงงานสงกลับภูมิลําเนาเพื่อชวยเพิ่มรายไดของครัวเรือนที่ไมไดถือครองที่ดินหรือมีทรัพยสินอื่นๆจึงยังเปนประเด็นคําถามใหตองขบคิดตอไปขอมูลจากการสํารวจสํามะโนประชากรและการสํารวจอื่นๆ ในชวงระยะ 15 ปที่ผานมาไดแสดงใหเห็นวาอัตราการยายถิ่นลดลงอยางตอเนื่อง ยิ่งไปกวานั้นยังพบวาการลดลงของการยายถิ่นนั้นสวนใหญเกี่ยวของกับการที่กลุมประชากรวัยทํางานที่อยูในวัยหนุมสาวมีการยายถิ่นนอยลง ในขณะที่ขอมูลการยายถิ่นตามฤดูกาลและการยายถิ่นระยะสั้นมีแนวโนมวานาจะตํ่ากวาความเปนจริงแตก็ปรากฏวากลุมแรงงานวัยหนุมสาวนี้มีการยายถิ่นนอยกวาในอดีต ซึ่งคนกลุมนี้เปนกลุมประชากรรุนแรกของประเทศที่ไดรับประโยชนจากการขยายการศึกษาภาคบังคับไปดึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนซึ่งอาจทําใหประชากรกลุมนี้มีโอกาสไดงานที่มั่นคงถาวรมากกวากลุมประชากรที่มีอายุสูงกวาในบางครั้งแรงงานขามชาติจะถูกมองวาเขามาแยงงานคนไทยโดยเฉพาะงานที่ใชทักษะตํ่าในภาคเกษตรกรรมและงานประเภท 3D หรืองานหนัก (Difficult) สกปรก (Dirty) และอันตราย(Dangerous) อยางไรก็ตาม เมื่อไมนานมานี้ไดมีงานวิจัยเพื่อศึกษาวาแรงงานขามชาติซึ่งเปนแหลงแรงงานทดแทนจะสามารถลดการสูญเสียกําลังแรงงานไทยที่มีอายุเพิ่มขึ้นไดหรือไมโดยการใชเทคนิคการสรางแบบจําลองตางๆ เพื่อตรวจสอบสมมุติฐานนี้ จากผลการศึกษาพบวาแรงงานขามชาติหนึ่งคนจะมีกําลังการผลิตเทากับแรงงานไทยเพียง 0.58 คนเทานั้น นอกจากนี้ยังพบวาแรงงานขามชาติไมสามารถบรรเทาความสูญเสียของ118 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น


GDP จากการที่ประชากรไทยมีอายุสูงขึ้นไดอยางเต็มที่ เนื่องจากแรงงานขามชาติมีศักยภาพในดานกําลังการผลิตตอหัวประชากรตํ่ากวาแรงงานไทยมาก และเนื่องจากมีการลดลงของทุนในการผลิต (ดู Potipiti, 2010)นอกจากนี้แลว รูปแบบของการพัฒนาความเปนเมืองในประเทศไทยยังทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิทัศนอีกดวยถึงแมวาการเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานคร จะมีการชะลอตัวแตนั่นก็เปนผลมาจากการขยายตัวของจังหวัดปริมณฑลที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็วยิ่งกวากรุงเทพมหานคร ทําใหกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลกลายเปนมหานครที่มีขอบเขตพื้นที่กวางขวางขึ้น ในขณะเดียวกัน ศูนยกลางของความเปนเมืองในภูมิภาคอื ่นๆ ก็มีอัตราการเจริญเติบโตที่สูงขึ้นโดยเฉพาะในภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และแมการกระจายฐานการผลิตและงานอื่นๆ ไปยังภูมิภาคตางๆ จะมีผลในทางบวกแตการเติบโตเหลานี้โดยสวนใหญเปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยปราศจากแผนยุทธศาสตรในระดับภูมิภาคหรือระดับชาติการวิเคราะหลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรไดแสดงใหเห็นวาโดยรวมแลวความแตกตางระหวางเขตเมืองกับเขตชนบทนั้นลดลงเพียงเล็กนอยเทานั้น แมวาชองวางทางการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาระหวางนักเรียนในชนบทและในเมืองเริ่มแคบลงแตก็ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยเทานั้นเมื่อพิจารณาถึงโอกาสในการศึกษาในระดับที่สูงกวา มัธยมศึกษา ในขณะเดียวกัน ยังคงมีชองวางที่เดนชัดในดานรายไดและคาใชจายครัวเรือนและอัตราความยากจนระหวางพื้นที่ชนบทและในเมืองซึ่งชี้ใหเห็นถึงความไมเทาเทียมกันที่ยังคงมีอยู อยางตอเนื่องแนวโนมประชากรจะยังคงเปนแรงผลักดันที่มีผลตอการยายถิ่นฐานโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อประชากรโดยรวมของประเทศไทยมีสูงอายุขึ้นซึ่งจะสงผลใหมีสัดสวนกําลังแรงงานเชิงเศรษฐกิจลดลงในขณะที่มีอัตราการพึ่งพาที่สูงขึ้น และภาวะพึ่งพาก็มักจะเชื่อมโยงกับประชากรที่อยูนอกครัวเรือนดวย ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและการพัฒนาความเปนเมืองจึงเปนประเด็นที่มีความสําคัญอยางยิ่ง และการวางแผนยุทธศาสตรของประเทศไทยก็ควรมีการพิจารณาถึงพลวัตรทางประชากรทั้งในแงที่เปนปจจัยขับเคลื่อนและการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจรวมดวยความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น119


120 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น


บทที่การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร7เนื้อหาบทนี้ จะเปนการแสดงวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงประชากรในประเทศไทย และวิเคราะหถึงผลกระทบและนัยตอนโยบาย บทนี้จะใหภาพรวมของขอคิดเห็นในบทตางๆ และใหความสําคัญกับนโยบายที่มีผลตอแนวโนมประชากรของประเทศไทย ดังที่ไดกลาวแลวในบทที่ 1 วาประเทศไทยมีคุณลักษณะพิเศษเฉพาะตัว และยังดูเหมือนวานโยบายประชากรที่เคยใชไดในประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคหรือประเทศอื่นๆ ในโลกที่มีลักษณะที่คลายกัน จะไมสามารถนํามาใชกับประเทศไทยหากไมนํามาปรับเปลี่ยนใหเหมาะกับบริบทของประเทศเสียกอนลักษณะเฉพาะของประเทศไทยยอมตองมีนโยบายที่เฉพาะเหมาะสมกับประเทศไทยดวย อยางไรก็ตาม บทเรียนจากประเทศอื่นๆ ยอมสามารถเปนประโยชนในการเรียนรูสําหรับประเทศไทยไดอยางแนนอนนโยบายที่ตอบสนองและนโยบายที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของประชากรจุดประสงคหลักของรายงานฉบับนี้คือเพื่อทําความเขาใจถึง การเปลี่ยนแปลงของประชากรที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของปจจัยดานประชากรที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและคาดการณถึงผลกระทบดานตางๆ ที่มีตอชีวิตและความเปนอยูของคนคนในประเทศไทย นโยบายที่คํานึงถึง ผลกระทบของแนวโนมการเปลี่ยนแปลงประชากร ซึ่งชวยสรางใหเกิดผลในเชิงบวกและชวยลดการเกิดผลลัพธในเชิงลบจะถูกจัดไปรวมอยูในกลุ ม “นโยบายที่ตอบสนอง”(Population-responsive policies)ตอการเปลี่ยนแปลงของประชากร ซึ่งอาจโตแยงวานโยบายแทบทุกนโยบายลวนไดรับผลกระทบมาจากการเปลี่ยนแปลงของประชากรแทบทั้งสิ้น และยังรวมเขาวาเปนนโยบายที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากร ซึ่งพึงควรระวังวาการศึกษาที่ออกแบบเพื่อการตอบสนองเชิงนโยบายที่เปนผลมาจากแนวโนมของโครงสรางประชากรที่เปลี่ยนแปลงนั้น อาจกลับกลายเปนเพียงการศึกษาเพื่อนโยบายการพัฒนาทั่วๆ ไปซึ่งเปนสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง ทั้งนี้คงไมเปนการเหมาะสมที่จะเหมารวมวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางประชากรจะเกี่ยวของกับการพัฒนาในทุกๆ ดาน แตสิ่งสําคัญที่ควรคํานึงถึงคือประเด็นสําคัญดานการพัฒนาตางๆ ที่แนวโนมทางประชากรจะเปนหัวใจสําคัญของแผนการพัฒนานโยบายที่พยายามที่จะทําใหการคาดประมาณทางประชากรไดรับการปรับเปลี่ยน โดยจะหลีกเลี่ยงผลผลัพธทางลบเรียกวาเปนนโยบายที่ “มีอิทธิพลตอประชากร” (Population-influencingpolicies) ตลอดระยะเวลาที่ผานมานโยบายทางประชากรของประเทศไทยเปนนโยบายที่ตองการลดอัตราเจริญพันธุของประเทศที่คิดวาสูงเกินไป ดังที่ไดกลาวไวในบทที่ 1 แลววาเปาหมายนี้ถูกยกเลิกไปในแผนฯ ฉบับที่ 8 ซึ่งเปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ5 ป สวนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติสองฉบับลาสุด (คือ ฉบับที่9 และ 10 ซึ่งครอบคลุมป 2545-2549 และ 2550-2554 ตามลําดับ) ไดเนนถึงความจําเปนที่จะรักษาอัตราเจริญพันธุ ใหอยู ในระดับที่สามารถทดแทนประชากรได แตอัตราเจริญพันธของประเทศไดลดลงตํ่ากวาระดับทดแทนตั้งแตชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทั้งสองฉบับนี้แลว เมื่อทราบวาเจริญพันธุนั้นอยูในระดับที่ตํ่า สถานการณจึงคอยๆเปลี่ยนไป ทําใหประเด็นหลักสําหรับประเทศไทยในปจจุบันนาจะพิจารณาใหมีมาตรการสนับสนุนการเกิดโดยชะลอการเปนสังคมผูสูงอายุอยางรวดเร็ว การลดลงของกําลังแรงงาน ซึ่งในที่สุดอาจจะนําไปสูการลดลงของจํานวนประชากรโดยรวมวิวัฒนาการของนโยบายประชากรในประเทศไทยนโยบายประชากรของไทยระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบัน สามารถแบงไดเปน 3 ชวงที่ชัดเจน คือ หนึ่ง ชวงของนโยบายสนันสนุนการเกิด (อยูระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1) สอง ชวงของนโยบายควบคุมการเกิด (อยู ระวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ 1-9) สาม ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่10 จนถึงปจจุบัน ทั้งนี้รัฐบาลไทยมีนโยบายที่แตกตางกันอยางชัดเจนสําหรับแตละชวงเวลาดังกลาวการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร121


สงครามโลกครั้งที่ 2 - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 : นโยบายสนันสนุนการเกิดกลาวไดวาไทยมีนโยบายประชากรครั้งแรกในสมัยของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีของไทยในชวงป 2481-2487 และชวงป 2491-2500 นโยบายการสรางชาติของจอมพล ป. เชื่อวาการจะสรางใหประเทศชาติใหเขมแข็งได ประเทศไทยจะตองมีประชากรจํานวนมาก รัฐจึงไดมีนโยบายสนับสนุนใหผูหญิงมีสุขภาพดี โดยมองวาผู หญิงที่มีสุขภาพดีจะสามารถใหกําเนิดเด็กที่มีสุขภาพดีได แนวทางในการดําเนินงานตางๆ ที่สนันสนุนนโยบายนี้ มีดังตอไปนี้1• มีการจัดตั้งโรงเรียนทางผดุงครรภในโรงพยาบาลวชิรพยาบาล เพื่อปรับปรุงอนามัยแมและเด็กในป 2482 โดยผูหญิงอายุ 19-30 ป ที่จบประถมศึกษาปที่ 4 สามารถเขารับการอบรม หลักสูตร 1 ป โดยภาครัฐเปนผูใหทุน• มีการจัดตั้งกระทรวงสาธารณสุขขึ้น ในป พ.ศ. 2485 โดยเปนการรวมกิจการทางการแพทยและการสาธารณะสุขที่เคยกระจัดกระจายตามหนวยงานตางๆ ไวดวยกัน ซึ่งงานอนามัยแมและเด็กถูกรวมไวเปนสวนหนึ่งในกระทรวงสาธารณสุข• ไดแทรกแซงการแตงงานของประชาชน โดยภาครัฐไดประกาศวัฒนธรรมผัวเมีย เพื่อชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของครอบครัวที่จะสงผลตอความเขมแข็งของชาติ ทั้งนี้รัฐไดสงเสริมหนุมโสดแตงงานสรางครอบครัว และขอใหฝายหญิงเรียกสินสอดในการแตงงานแตนอย• จัดตั้งองคกรสงเสริมการสมรสขึ้นภายใตกระทรวงสาธารณสุข โดยมีหนาที่ใหคําแนะนําแกชายหญิงในการตรวจรางกายกอนการสมรส• รับบทบาทเปนผูจัดหาคูใหประชาชน โดยภาครัฐจัดตั้งสํานักงานสื่อสมรส• ออกพระราชบัญญัติภาษีคนโสดป 2487 โดยจัดเก็บภาษีกับหนุมโสดที่อายุตั้งแต 25 ปขึ้นไป ภาษีนี้อยูนอกเหนือจากภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา โดยชายโสดตองเสียเพิ่มอีกรอยละ 10 ของภาษีเงินได• แนะนําใหประชาชนเลือกคู สมรสที่มีสุขภาพแข็งแรง คนที่เปนโรคทางพันธุกรรมจึงไมไดรับการสนันสนุนใหแตงงานรัฐไดพยายามตรากฏหมายเพื่อบังคับใหคูสมรสตรวจรางกาย และไดรับใบอนุญาตจากเจาหนาที่กอนสมรส• รัฐไดออกมาตรการจูงใจตางๆ แกคูสมรสใหม อาทิเชน. คูสมรสใหมสามารถกูเงินเกินเงินฝากไดรอยละ 50. ลูกคนแรกของคูสมรสทุกคูจะไดรับการศึกษาฟรี หากรัฐประกอบพิธีสมรสให. คูสมรสใหมสามารถดูหนังฟรีไดที่โรงหนังเครือสหซีนีมาเปนเวลา 30 วัน นับตั้งแตวันที่จดทะเบียนสมรส. หญิงมีครรภสามารถขึ้นรถโดยสารสาธารณะฟรี• มีการหามการคุมกําเนิด ยกเวนแตไดรับการอนุญาตจากแพทยเทานั้น• ใหคําแนะนําถึงอายุที่เหมาะสมสําหรับการสมรส สําหรับผู ชายควรมีอายุ20-30 ป สําหรับผู หญิงควรมีอายุ18-25ป และมีการจัดทําคูมือสมรสในป 2486ผลกระทบของนโยบายเหลานี้ยากที่จะประเมินได อยางไรก็ตาม ประชากรไทยไดเพิ่มขึ้นจาก 21 ลานคน ไปเปน 28ลานคนในชวง 10 ป ระหวางป 2493 และ 2503 ดวยอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยรอยละ 3.4 ตอป ซึ่งนี่คือการเจริญเติบโตที่รวดเร็วที่สุดในประวัติศาสตรไทย ปจจัยหลักที่ทําใหประชากรเพิ่มขึ้นมากนั้นมาจากอัตราการตายของไทยที่ลดลงอยางเห็นไดชัดแตไมอาจปฏิเสธไดวานโยบายสนันสนุนการเกิดไดมีผลตอการเพิ่มขึ้นของประชากร1 ที่มาจาก ภิญญพันธุ พจนะลาวัณย 2552. วันแมในทศวรรษ 2480: เซ็กส ความรักกับการเปน “แมพันธุ” แหงชาติ122 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร


ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1-9 : ควบคุมอัตราการเพิ่มของประชากรเปนชวงที่เด็กที่เกิดมากในชวงสนันสนุนการเกิด (pro-natalistperiod) ไดเขาสูวัยเจริญพันธุซึ่งพรอมที่จะมีลูกหลานสืบตอถาไมมีการแทรกแซงอยางอื่น อัตราการเจริญเติบโตของคลื่นประชากรที่สองนี้จะสูงมาก ในชวงนี้รัฐบาลจึงไดเปลี่ยนจากนโยบายสนันสนุนการเกิดมาเปนนโยบายควบคุมการเกิดอัตราการเจริญเติบโตของประชากรในชวงแผนฯ 1 (2504-2509)และแผนฯ 2 (2510-2513) อยู ที่ประมาณรอยละ 3 ซึ่งสงผลใหภาครัฐตองเพิ่มคาใชจายในการจัดบริการสังคม ในป 2506 ภาครัฐไดเริ่มถกถึงปญหาที่มีสาเหตุมาจากการที่ประชากรมีอัตราการเจริญเติบโตที่สูง (Robinson and Rachapetayakom, 1993; Rosenfieldand Min, 2007: 223-7). นโยบายประชากรถูกประกาศอยางเปนทางการในป พ.ศ. 2513 ไดมีการจัดตั้งสมาคมวางแผนครอบครัวแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งเปนองคกรไมแสวงผลกําไรแหงแรกที่ใหความชวยเหลือในการวางแผนครอบครัวอยางจริงจังภาครัฐประกาศเปาหมายการเติบโตของประชากรไวที่รอยละ2.5 เมื่อสิ้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3(2515-2519) แตผลจากการดําเนินงานพบวาในป 2519 อัตราการเพิ่มประชากรอยูที่รอยละ 2.7 (ตารางที่ 7.1) ทั้งนี้ ภาครัฐมีเปาหมายที่จะลดอัตราการเพิ่มประชากรอยางตอเนื่อง โดยบรรจุเขาไปในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแตละฉบับ เปนเวลามากกวา 2 ทศวรรษมาแลว ถึงแมผลที่ทําไดจะคอนขางไมเปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไวในแตละแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แตไมไดหมายความวาการดําเนินการเพื่อลดอัตราการเพิ่มประชากรนั้นลมเหลว ทั้งนี้เนื่องจากการไมสามารถบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวไมไดมาจากการดําเนินการที่ไมดี แตมาจากการตั้งเปาหมายที่คอนขางเกินจริง สิ่งที่เกิดในประเทศไทยชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 ถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 ถือไดวาเปนในชวงที่อัตราเจริญพันธุลดลงอยางรวดเร็วมากที่สุดแหงหนึ่งในประวัติศาสตรโลก โดยอัตราเจริญพันธุลดลงจาก 5.5 ในป 2513 มาเหลือเพียง 2.2 ในเวลา 20 ปตอมา เหตุผลที่เปาหมายอัตราการเพิ่มประชากรไมบรรลุนั้นเพราะวาประเทศไทยมีความคาดหวังกับเปาหมายที่ตั้งไวสูงเกินไปโดยมองขามผลที่เกิดจากแรงเหวี่ยงทางประชากร (Population Momentum) ที่ทําใหอัตราการเติบโตของประชากรในชวงนั้นไมลดลงเทาที่ควรแมวาภาวะเจริญพันธขณะนั้นจะลดลงอยางรวดเร็วก็ตาม ตัวอยางเชน การคาดวาอัตราการเพิ่มของประชากรจะสามารถลดลงจากรอยละ 2.7 ตอปมาเปนรอยละ 1.5 ตอปภายในเวลาเพียง 10 ปนั้น ในชวง 2519ถึง 2529 นั้น เปนการตั้งความคาดหวังที่สูงเกินไป เพราะการที่ภาวะเจริญพันธลดลงอยางรวดเร็วนั้นไดสงผลทําใหสัดสวนของประชากรวัยเจริญพันธเพิ่มขึ้นตารางที่ 7.1 เปาหมายและผลสําเร็จของการลดอัตราการเจริญเติบโตของประชากรแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ เปาหมาย (%) ผลสําเร็จ (%)สังคมแหงชาติฉบับที่ 3 (2515-2519) 2.5 2.7ฉบับที่ 4 (2520-2524) 2.1 2.2ฉบับที่ 5 (2525-2529) 1.5 1.7ฉบับที่ 6 (2530-2534) 1.3 1.4ฉบับที่ 7 (2535-2539) 1.2 1.2ในชวง พศ 2513 ภาครัฐและเอกชนไดทํางานรวมกันในดานงานวางแผนครอบครัว การประชาสัมพันธ “มีลูกมากจะยากจน”เปนที่รูจักกันดี กระทรวงสาธารณสุขไดสรางความมั่นใจวาจะสามารถใหบริการการคุมกํานิดไดอยางทั่วถึง ซึ่งรวมถึงมาตรการที่อนุญาตใหพยาบาลผดุงครรภสามารถใหบริการใสหวงคุมกําเนิดได (Rosenfield et al., 1982) ในป 2522 คุณ มีชัย วีระไวทยะหรือที่รูจักกันดีวา Mr. Condom ไดยํ้าวาการมีลูกมากไมเพียงแตจะทําใหยากจนเทานั้นแตยังสงผลลบตอสุขภาพของบิดา และมารดาของเด็กทารกอีกดวย (Veravaidya, 1979) กิจกรรมของภาคเอกชนภายใตการนําของคุณมีชัยมีสวนสําคัญที่ชวยเสริมการขยายงานวางแผนครอบครัวของกระทรวงสาธารณสุขใหเปนที่ยอมรับทั่วประเทศเปนเรื่องยากที่จะระบุไดอยางเจาะจงวาปจจัยใดมีอิทธิพลมากกวากันในการลดลงของอัตราการเติบโตของประชากร ระหวางปจจัยทางดานการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมอันเนื่องมาจากการพัฒนาประเทศ การลดลงของอัตราการตาย หรือวาเปนผลมาจากการวางแผนครอบครัว ในกรณีของประเทศไทยนั้นมีความชัดเจนวาปจจัยตางๆ เหลานี้สงเสริมกันนําไปสูอัตราการเติบโตของประชากรที่ลดลงในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 จํานวนเด็กตอครอบครัวไดลดลงอยางตอเนื่องทั่วประเทศ เปาหมายของการลดภาวะเจริญพันธุถูกกําหนดไวในบางภาค เชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและในพื้นที่บนภูเขา ซึ่งเปนพื้นที่ที่อัตราการเกิดยังคงสูงอยู ทําใหเกิดการไมสมดุลของการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาและดานสุขภาพ ดังที่ไดกลาวมาแลวในบทที่ 1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (2540-2544) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (2545-2549)การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร123


ไมไดมีเปาหมายในการลดอัตราการเพิ่มประชากรเชนเดิม แตมีเปาหมายใหคนไทยมีขนาดครอบครัวที่เหมาะสม ไมเล็กเกินไปหรือใหญเกินไป ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 ไดกลาวถึงความพยายามรักษาระดับอัตราเจริญพันธุใหอยูในระดับทดแทน ในบางพื้นที่ อัตราเจริญพันธุถูกพิจารณาวาตํ่าเกินไปแตไมมีนโยบายที่ชัดเจนในการจัดการปญหานี้ อัตราการเจริญเติบโตของประชากรเมื่อสิ้นป2548 อยู ที่ประมาณรอยละ1.2 ตอปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่10 - ปจจุบัน : ประเด็นประชากรสูงอายุแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 ไดตระหนักถึงการเขาสูสังคมผูสูงอายุในประเทศไทยและกลุมประเทศที่พัฒนาแลว โดยมีขอสังเกตุวาการที่ประเทศพัฒนาแลวมีผูสูงอายุเพิ่มขึ้น อาจทําใหเกิดการเคลื่อนยายประชากรจํานวนมากจากประเทศกําลังพัฒนาไปสูสูประเทศที่พัฒนาแลวเพื่อโอกาสในการทํางานที่ดีกวารออยู ซึ่งอาจจะทําใหไทยประสบปญหาการขาดแคลนแรงงานในอนาคตได อยางไรก็ตาม นโยบายในระดับกระทรวงตางๆ เปนแบบนโยบายที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของประชากร เพื่อเผชิญกับปญหาการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร ยังไมมีการกลาวถึงการเพิ่มอัตราการเกิดแตไดตั้งเปาไปที่ลดอัตราการตายของแมและเด็ก ตามนโยบายตางๆ ที่แสดงในตารางที่ 7.2ประเด็นนากังวลที่สําคัญสําหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับตอไป คือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รายจายดานการดูแลสุขภาพและสวัสดิการสังคม เศรษฐกิจโลกที่เติบโตตํ่าและหนี้สาธารณะที่สูง ความทาทายที่สําคัญขอหนึ่งสําหรับแผนฯฉบับหนา คือ อัตราการเติบโตที ่ลดลงของกําลังแรงงานจากรอยละ0.98 ตอป ในชวงป2548-2552 มาเปนรอยละ 0.45 ตอป ในชวง2553-2557 กําลังแรงงานจะเริ่มลดลงในป พ.ศ. 2561 แตสัดสวนกําลังแรงงานตอประชากรทั้งหมดเริ่มลดลงในปจจุบันตารางที่ 7.2. นโยบายตอบสนองทางประชากรดานสังคมและเศรษฐกิจในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10หนวยงานนโยบายตอบสนองทางประชากรกระทรวงการคลัง สนับสนุนใหประชาชนออมเพื่อการเกษียณกระทรวงแรงงานไมมีแผนระยะยาวสําหรับแรงงานตางดาวแผนสนับสนุนการจางงานผูสูงอายุ ในสวนงานชั่วคราวหรืองาน part-timeแผนพัฒนาผลิตภาพแรงงานศึกษาการขยายอายุเกษียณกระทรวงสาธารณสุขสงเสริมการวางแผนครอบครัวปรับปรุงการดูแลแมและเด็กเฝาสังเกตดัชนีอนามัยเจริญพันธุและภาวะเจริญพันธุวางแผนการดูแลผูสูงอายุระยะยาวรัฐบาลทองถิ่น รวมมือกับภาคเอกชนในการสรางศูนยดูแลเด็กระดับชุมชนขยายความชวยเหลือทางสังคมแกผูสูงอายุสงเสริมกิจกรรมทางสังคมของผูสูงอายุสนันสนุนใหภาคประชาชน ภาครัฐ และเอกชน มีสวนรวมในการบริหารงานสวัสดิการกระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย เสริมสรางความตระหนักแกสังคมเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุปกปองสิทธิทางสังคมของผูสูงอายุหมายเหตุ: นโยบายเหลานี้ไมไดมีผลตอบสนองตอแนวโนมประชากรเทานั้น แตยังมีผลตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคมในประเทศไทยอีกดวย124 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร


ตารางที่ 7.3 สมมุติฐานอัตราเจริญพันธรวม (Total Fertility Rate-TFR) ตามการคาดประมาณประชากรขององคการสหประชาชาติ2548-2553 2553-2558 2558-2563 2563-2568 2568-2573คาดประมาณระดับสูง 1.81 2.10 2.25 2.35 2.35คาดประมาณระดับกลาง 1.81 1.85 1.85 1.85 1.85คาดประมาณระดับตํ่า 1.81 1.60 1.45 1.35 1.35แหลงขอมูล: UN World Population Prospects, 2008ตารางที่ 7.4 ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนสมมุติฐานการเติบโตระดับกลางและโครงสรางประชากรที่เปลี่ยนไปของประเทศไทย2553 2558 2563 2568 2573รอยละ ชวงอายุ 0-14คาดประมาณระดับสูง 21.5 21.4 21.9 22.4 22.1คาดประมาณระดับกลาง 21.5 20.7 20.1 19.3 18.5คาดประมาณระดับตํ่า 21.5 20.0 18.2 16.0 14.7รอยละ ชวงอายุ 15-64คาดประมาณระดับสูง 70.8 69.9 67.7 65.2 63.4คาดประมาณระดับกลาง 70.8 69.8 69.3 67.8 66.2คาดประมาณระดับตํ่า 70.8 71.1 70.7 70.5 69.1แหลงขอมูล: UN World Population Prospects, 2008การตอบสนองตอแนวโนมประชากรในปจจุบันและที่คาดการณในอนาคตอัตราการเจริญเติบโตของประชากร และโครงสรางอายุปจจุบันประชากรของไทยเติบโตชามาก และคาดวาจะหยุดเติบโตภายใน 1-2 ทศวรรษ องคการสหประชาชาติคาดวาการเปลี่ยนแปลงภาวะเจริญพันธุและการตายในอนาคตจะทําใหเกิดความแตกตางเล็กนอยในการคาดการณแนวโนมโครงสรางอายุ การคาดประมาณประชากรขององคการสหประชาชาติ มีการกําหนดขอสมมติภาวะเจริญพันธุที่แตกตางกันดังที่แสดงในตารางที่ 7.3 ในตารางที่ 7.4 แสดงใหเห็นวาถาหากคาดประมาณโดยใชขอสมมุติภาวะเจริญพันธุสูงหรือตํ่า จะมีผลกระทบไมมากตอโครงสรางอายุในชวงระหวางป 2553-2563 (ยกตัวอยางเชนสัดสวนประชากรที่มีอายุ 0-14 ป จะแตกตางกันเพียงเล็กนอยระหวางรอยละ 18.2 และรอยละ 21.9 สําหรับสัดสวนประชากรวัยแรงงานแตกตางกันเพียงรอยละ 67.7 และรอยละ 70.7) ในชวง10 ปตอมาขอสมมติภาวะเจริญพันธุ ที่ตางกันจะมีผลตอโครงสรางอายุที่แตกตางกันมากขึ้น แตเนื่องจากผลกระทบที่หักลางกันของประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นและประชากรวัยเด็กที่ลดลง สัดสวนประชากรวัยแรงงานจึงเปลี่ยนแปลงไมมากนัก (ระหวางรอยละ63.4 และรอยละ 69.1)หากพิจารณาขอสมมุติภาวะเจริญพันธุในตารางที่ 7.3 พบวาการคาดประมาณระดับสูง (ขอสมมติภาวะเจริญพันธุสูง) มีแนวโนมวาจะไมเกิดขึ้นจริง และจากการประมาณภาวะเจริญพันธุของประเทศไทยลาสุดที่แสดงในบทที่2 การคาดประมาณที่ระดับภาวะเจริญพันธุตํ่าและกลางมีความเปนไปไดพอๆ กัน จริงๆ แลวอาจกลาวไดวาการคาดประมาณดวยภาวะเจริญพันธุ ตํ่าอาจจะมีโอกาสเกิดขึ้นมากกวาดวยซํ้า เพราะภาวะเจริญพันธุจริงนั้นไดตํ่ากวาสมมุติฐานที่ใชในการคาดประมาณระดับกลางแลว ทั้งนี้ การคาดประมาณดวยภาวะเจริญพันธุระดับกลางไดสมมุติใหอัตราเจริญพันธุในอีก 2 ทศวรรษขางหนานั้นคงที่ดวยซํ้า เพราะฉะนั้นการเปรียบเทียบการเติบโตของประชากรในอนาคต จึงไมใชการคาดประมาณดวยภาวะเจริญพันธุ ระดับสูงขององคการสหประชาชาติและเมื่อเปรียบเทียบการเติบโตประชากรจากการคาดประมาณการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร125


ระดับกลางและตํ่า จะเห็นวาจํานวนประชากรวัยแรงงานจะเริ่มลดลงในชวงตนทศวรรษ 2563 อยางไรก็ตาม สําหรับการคาดประมาณทั้ง 2 กรณี จํานวนประชากรวัยหนุมสาว (อายุ 15-29ป) จะเริ่มลดลงกอนป 2553 (ดูบทที่1 ตาราง 1.5)ผูสูงอายุและความหมายโดยนัยการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรและปจจัยทางทางเศรษฐกิจและสังคมตางมีผลกระทบสําคัญตอชีวิตความเปนอยู ของผู สูงอายุเชน การลดลงของการอยู ในครอบครัวเดียวกันของลูกวัยผู ใหญกับพอแมวัยสูงอายุ การอยูในครอบครัวเดียวกันจะยิ่งลดลงอยางตอเนื่องในอนาคต อีกทั้งยังคาดวาผู สูงอายุในอนาคตจะมีการศึกษาที่ดีขึ้น มีสุขภาพที่ดีขึ้น ผูสูงอายุจํานวนมากจะไดรับรายไดหรือผลประโยชนเพื่อจากการเกษียณอายุ หนวยงานภาครัฐและเอกชนจึงควรจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูสูงอายุ เพื่อใหสามารถอยูไดดวยตนเองอยางปลอดภัยในประเทศไทยลูกเปนที่พึ่งของพอแมเมื่อยามแกเฒามาเปนเวลานาน ในบทที่ 3 ไดแสดงใหเห็นวาการเกื้อหนุนทางดานวัตถุจากลูกแกพอแมลดลงเล็กนอย การเกื้อหนุนทางดานการเงินไมจําเปนวาจะถูกกําหนดจากระยะทางระหวางลูกกับพอแม การชวยดานการเงินจากลูกเพิ่มขึ้นตามโอกาสการไดงานทําที่ดีขึ้นของลูก อยางไรก็ตามในอนาคต การเกื้อหนุนทางดานวัตถุอาจจะลดลงเนื่องจากครัวเรือนของผูสูงอายุในอนาคตจะมีขนาดเล็กลง และจากหลักฐานที่ชัดเจนยังจะเห็นวาสัดสวนผูสูงอายุที่ไมมีลูกจะมีมากขึ้น ดังนั้น จึงคอนขางสําคัญที่รัฐจะขยายบํานาญแกผูประกันตนภายใตระบบประกันสังคมและผูออมภายใตระบบกองทุนการออมแหงชาติ1 ที่กําลังจะเกิดขึ้น ในระหวางนี้จึงคอนขางสําคัญที่รัฐจะยังคงจายเบี้ยยังชีพจํานวน 500 ใหแกผูสูงอายุทั้งนี้ ควรคํานึงวา ในอนาคตสัดสวนผู สูงอายุจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆดังนั้น คนวัยทํางานทั้งหลายจึงควรเตรียมการออมใหเพียงพอเพื่อไปเพิ่มใหแกเงินเบี้ยยังชีพจํานวนนอยที่จะไดรับจากรัฐซึ่งจะมีจํานวนเพิ่มขึ้นไดยากชีวิตความเปนอยูในเชิงกายภาพของผูสูงอายุสามารถดีขึ้นถาไดรับการดูแลสุขภาพที่ดีจนทําใหสามารถทํางานไดนานขึ้น สิ่งนี้จําเปนตองเชื่อมโยงกับการขยายอายุเกษียณจาก 60 ป ไปเปน 65ป หรือ การจัดรูปแบบการจางงานใหเหมาะสมกับผูสูงอายุ เพื่อใหสามารถทํางานบางเวลาได จากการสํารวจประชากรผู สูงอายุในประเทศไทยป 2550 พบวารอยละ 70 ของประชากรที่มีอายุ 60ปขึ้นไปไมไดอยู ในกําลังแรงงาน ซึ่งเหตุผลหลักเนื่องจากผู สูงอายุคิดวาพวกเขามีอายุมากเกินไปที่จะทํางาน แตหากมีโอกาสในการทํางาน ผู สูงอายุเหลานี้บางสวนอาจตองการทํางานก็เปนได ทั้งนี้1 ระบบการออมแหงชาติ เพิ่งไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี โดยมีจุดประสงคที่จะสนันสนุนใหคนวัยทํางานออมเงินเพื่อการเกษียณ โดยภาครัฐสัญญาวาจะจายเงินสมทบใหหากประชาชนออมจนกระทั่งถึงวัยเกษียณอายุมีเพียงรอยละ 7 ของผูสูงอายุที่ไมอยูในกําลังแรงงานไมสามารถทํางานไดเนื่องจากความเจ็บปวยหรือทุพพลภาพดังที่ไดกลาวแลวในบทที่ 3 รัฐควรสงเสริมใหประชาชนที่ในที่สุดจะตองเขาสู วัยสูงอายุทุกคน ไดวางแผนสําหรับตนเองตั้งแตเนิ่นๆทั้งผานชองทางระบบการศึกษาอยางเปนทางการและอยางไมเปนทางการ การสงเสริมควรทําอยางสมเหตุสมผลและอิงบนหลักความเปนจริงเชนวาการไดรับเงินสนับสนุนสําหรับผู สูงอายุนั้นจะมากนอยเพียงใดและผานโครงการใดบาง ดวยขอจํากัดดานการเงินของรัฐและการเติบโตของจํานวนผูสูงอายุอยางรวดเร็ว การพึ่งพิงตนเองยอมเปนแนวทางหลักในการเตรียมชีวิตความเปนอยู อยางเหมาะสม ในขณะเดียวกันรัฐควรคํานึงถึงการชวยเหลือที่เหมาะสมแกบางคน บางครอบครัว หรือบางชุมชน ที่ไมสามารถเตรียมการดวยตนเองได ดวยทรัพยากรที่จํากัด การชวยเหลือดังกลาวอาจจะถูกจํากัดอยู ที่บางกลุ มที่จําเปนจริงๆ เชน คนแกที่สุดหรือคนที่ทุพพลภาพการดูแลระยะยาวสําหรับบุคคลทุพพลภาพหรือมีโรคเรื้อรังรุนแรงจะเผชิญกับความทาทายมากที่สุดในภาวะที่ขนาดครอบครัวที่เล็กลง การแยกที่อยูของลูก และการเพิ่มขึ้นของสัดสวนผูสูงอายุที่ไมมีลูก ภาครัฐจึงควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนทั้งมาตรการสําหรับผูสูงอายุที่มีครอบครัวและไมมีครอบครัว ในสวนมาตรการสําหรับผูสูงอายุที่มีครอบครัว ภาครัฐควรสงเสริมนโยบายการลางานเพื่อดูแลผู สูงอายุ ซึ่งการดําเนินการควรทําดวยความระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงการกระทําที่ไมถูกตอง และตองมีความชัดเจนดวยวาใครจะเปนผู แบกรับตนทุนและจะมีการจัดการกับคนที่ทําไมถูกตองอยางไร ในสวนมาตรการที่ไมผานกลไกครอบครัว รัฐควรสงเสริมและกํากับดูแลหนวยงานภาคเอกชนที่ใหเขามาดูแลเต็มเวลาแกผูสูงอายุ ความตองการการดูสําหรับผูสูงอายุจะเพิ่มมากขึ้นพรอมๆ กับจํานวนผูสูงอายุซึ่งจะมีลูกนอยลง หรือไมมีลูก หรือไมเคยแตงงาน การแทรกแซงของรัฐบาลในการตรวจสอบและกํากับดูแลเปนสิ่งจําเปนเพื่อปกปองผู สูงอายุ ผูซึ่งไดเก็บออมในชวงวัยทํางานเพื่อใชจายในชวงสุดทายของชีวิตรัฐบาลไทยไดตระหนักถึงความทาทายในเรื่องการดูแลผูสูงอายุระยะยาวในบริบทของการชวยเหลือจากครอบครัวที่ลดลง และไดมีการทดลองโครงการนํารองในชวยเหลือผูสูงอายุที่บานในระดับชุมชนผานอาสาสมัครทั้งแบบจายเงินและแบบไมจายเงิน วิธีการนี้เปนยุทธศาสตรที่สามารถพิสูจนไดวามีประสิทธิภาพสําหรับจัดการกับกิจกรรมบางประเภท เชน การเตรียมอาหาร การซื้อของ การทําความสะอาดบาน ซึ่งตองใชเวลาจากอาสาสมัครแบบไมเต็มเวลาเทานั้น แตสําหรับผูสูงอายุที่ตองนอนเตียงหรือเจ็บปวยเรื้อรังนั้นจะไมสามารถใชวิธีการนี้ได ซึ่งสําหรับกลุ มนี้จะตองใชเงินชวยเหลือจากรัฐจํานวนมาก จึงควรลดจํานวนผูสูงอายุที่มีความเปราะบางลักษณะนี้ดวยการปองกันไมใหสุขภาพเสื่อมถอยในวัยที่สามารถทําได126 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร


ตารางที่ 7.5 การเจริญเติบโตของประชากรไทยในอนาคต ตามการคาดประมาณระดับกลางและระดับตํ่าขององคการสหประชาชาติการคาดประมาณระดับกลาง 2553 2558 2563 2568 2573 2578 2583ประชากรอายุ 0-14 14,629 14,485 14,321 14,027 13,651 13,327 13,078อายุ 15-64 48,259 49,311 49,528 49,207 48,602 47,847 47,103อายุ 65+ 5,251 6,143 7,594 9,394 11,209 12,736 13,823รวม 68,139 69,939 71,443 72,628 73,462 73,910 74,004รอยละการเติบโตเมื่อเทียบกับหาปกอนอายุ 0-14 -3.3 -1.0 -1.1 -2.1 -2.7 -2.4 -1.9อายุ 15-64 4.6 2.2 0.4 -0.4 -1.2 -1.6 -1.6อายุ 65+ 12.1 17.0 23.6 23.7 19.3 13.6 8.5รวม 3.3 2.6 2.2 1.7 1.1 0.6 0.1การคาดประมาณระดับตํ่าประชากรอายุ 0-14 14,629 13,834 12,661 11,140 10,203 9,634 9,227อายุ 15-64 48,259 49,311 49,528 49,207 47,956 46,197 44,237อายุ 65+ 5,251 6,143 7,594 9,494 11,209 12,736 13,823รวม 68,139 69,288 69,782 69,741 69,369 68,568 67,287รอยละการเติบโตเมื่อเทียบกับหาปกอนอายุ 0-14 -3.3 -5.4 -8.5 -12.0 -8.4 -5.6 -4.2อายุ 15-64 4.6 2.2 0.4 -0.6 -2.5 -3.7 -4.2อายุ 65+ 12.1 17.0 23.6 23.7 19.3 13.6 8.5รวม 3.3 1.7 0.7 -0.1 -0.5 -1.2 -1.9แหลงขอมูล: UN World Population Prospects, 2008การวางแผนบริการดานสุขภาพจากบทที่ 4 เนนใหเห็นวาการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรและสุขภาพมีผลตองบประมาณดานสุขภาพ เนื่องจาก สัดสวนความตองการการดูแลดานสุขภาพของผูสูงอายุเพิ่มขึ้น และรายจายดานสุขภาพในหลายๆ ดานเพิ่มขึ้น ในชวงชีวิตของคนเรานั้น ปแรกและปสุดทายของการมีชีวิต เปนชวงที่มีคาใชจายดานการรักษาพยาบาลสูงที่สุด ถาใหสัดสวนทารกแรกเกิดลดลงอยางตอเนื่อง และสัดสวนผู สูงอายุตอประชากรทั้งหมดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สัดสวนของคาใชจายภาครัฐในการดูแลสุขภาพผู สูงอายุตองบประมาณดานสุขภาพทั้งหมดยอมเพิ่มขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมไดอยางไรก็ตามภาระดานงบประมาณของรัฐจะมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับวาไดมีการใชนโยบายอะไรดวยโรคที่มีความสําคัญจาก การวัดการสูญเสียสุขภาวะรายป(Disability Adjusted Life Years หรือ DALY) ของผู สูงอายุทั้งชายและหญิง ไดแก โรคมะเร็ง โรคทางระบบหลอดเลือดหัวใจ และโรคเรื้อรังทางระบบหายใจ ความผิดปกติของอวัยวะที่มีประสาทรับรูทั้งหา เชน การสูญเสียความสามารถในการมองเห็น การไดยินและความพิการทางระบบประสาท (Neurological disorders)เชน ภาวะสมองเสื่อม ลวนแตมีความสําคัญสําหรับผูสูงอายุเชนกัน เนื่องจากเปนตัวสะทอนถึงพัฒนาการความเสื่อมโทรมทางการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร127


รางกายเมื่อแกตัวไป สวนกลุมคนกอนเขาสูวัยชรา (pre-elderlygroup) นั้น แมโรคมะเร็ง โรคทางระบบหลอดเลือดหัวใจ ยังคงเปนกลุ มโรคที่ความสําคัญเหมือนกับผู สูงอายุ แตการบาดเจ็บโดยไมตั้งใจ การติดเชื้อไวรัส HIV/AIDS และ อาการผิดปกติทางจิตนั้น เปนกลุ มโรคที่สําคัญ มากกวาผู สูงอายุ ตามขอมูลของ DALYบทที่ 4 ยํ้าถึงความจําเปนในการเตรียมความพรอมดานสุขภาพกอนเขาสู วัยสูงอายุ และพยายามลดปจจัยเสี่ยงตางๆ ของผู ชายในวัยกอนสูงอายุที่เกิดจากการดื่มสุรา สูบบุหรี่ และความดันโลหิตสูงและลดปจจัยเสี่ยงสําหรับผูหญิงในวันกอนสูงอายุทางดานดัชนีมวลกายที่สูง การมีเพศสัมพันธุที่ไมปลอดภัย ความดันโลหิตสูงการติดตามปญหาเหลานี้จําเปนตองมีหลายวิธีการ นับตั้งแตการออกกฎหมาย การบังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพผานการประชาสัมพันธเพื่อสงเสริมสุขภาพ และการออกแบบชุมชนเมืองที่ดีขึ้นซึ่งเอื้อตอการดําเนินชีวิต การทํางานรวมกันระหวางภาครัฐและภาคประชาสังคมอยางมีประสิทธิภาพจะสามารถชวยใหความพยายามเหลานี้ดําเนินไปในแนวทางที่ตองการมากขึ้นสําหรับการดูแลสุขภาพสําหรับผูสูงอายุนั้นจําเปนจะตองมียุทธศาสตรที่ชัดเจน มาตรการดานสาธารณสุขจําเปนตองไดรับการจัดการเพื่อลดการเผชิญกับปจจัยเสี ่ยงพื้นฐาน อยางเชน การบริโภคสุราและบุหรี่ การปรับปรุงภาวะโภชนาการ และสงเสริมกิจกรรมการออกกําลังกาย อีกทั้ง ทักษะในการจัดหาการดูแลผูสูงอายุที่บาน จําเปนตองไดรับการพัฒนารวมกัน ระหวางบานชุมชน และสถาบันที่ดูแลผูสูงอายุประเทศไทยประสบกับปญหาการขาดแคลนบุคลากรทางแพทยในหลายพื้นที่ ที่ไมดึงดูดใหไปทํางาน จากการสํารวจพบวาสัดสวนแพทยตอประชากรในกรุงเทพ 10,000 คน มีสัดสวนมากกวาสัดสวนแพทยในภาคเหนือถึง 10 เทา การวางแผนรับมือเรื่องบุคลากรทางแพทยนี้มีความซับซอน เนื่องจากสัดสวนของโรงพยาบาลเอกชนที่เพิ่มมากขึ้นในตลาดสุขภาพ ซึ ่งเปนผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจและการสงเสริมการทองเที่ยวเพื่อสุขภาวะ (Medical Tourism) ของรัฐบาลที่ดึงดูดใหทั้งแพทยและพยาบาลจากสถานพยาบาลของรัฐในชนบทยายมาทําในโรงพยาบาลเอกชน สัดสวนของแพทยที่ยายมาจากกระทรวงสาธารณสุข ของสถานพยาบาลรัฐ ไปสูสถานประกอบการใหมเพิ่มขึ้นจาก รอยละ 22 ในป 2544 เปนรอยละ 80 ในป 2551 และถึงแมวาจะมีการเพิ่มเงินเพื่อจูงใจมากขึ้น ในป 2552 สัดสวนจึงลดลงรอยละ 63 ในป 2552 แตการจายเงินสวนนี้ตองอยูในระดับที่เหมาะสมเพื่อใหแนใจวาจะเกิดสมดุลที่ดีขึ้นระหวางปริมาณบุคลกรทางแพทย กับความตองการใชบริการที่แตกตางกันในแตละภูมิภาคของประเทศแนวโนมการสมรสในประเทศไทยมีผลอยางมากตอการเปลี่ยนแปลงองคประกอบความตองการเขาถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ ของประชากร รวมทั้งการคุมกําเนิด อยางไรก็ตามเปนเรื่องสําคัญที่ตองใหความสนใจเรื่องอนามัยเจริญพันธุของหญิงวัยเจริญพันธุที่ยังไมไดแตงงาน ความเรงดวนของนโยบายที่จะดูแลประชากรกลุมนี้เกิดจากการที่สัดสวนประชากรวัยเจริญพันธุที่ยังไมไดแตงงานมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากการแตงงานที่ชาลง ควรคํานึงถึงมาตรการเพื่อลดความออนใหวในการใหบริการดานอนามัยเจริญพันธุแกหญิงที่ยังไมเคยแตงงานเพื่อประโยชนของประชากรกลุมนี้ ไมใชเพียงแตประโยชนจากการลดความเสี่ยงในเรื่อง HIV/AIDSแผนพัฒนาทุนมนุษยสัดสวนเด็กที่มีอายุ 0-14 ป และวัยแรงงานอายุ 15-59 ป ตอประชากรทั้งหมด เพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุดในชวงเวลาที่แตกตางกัน กลาวคือ สัดสวนเด็กคิดเปนรอยละ 45 ในป พ.ศ. 2508(ปจจุบันลดลงเหลือรอยละ 21) สัดสวนประชากรวัยแรงงานถึงจุดสูงสุดในป 2553 คิดเปนรอยละ 71 ในบทที่ 5 แสดงใหเห็นวาการปนผลทางประชากรครั้งแรกจะสิ้นสุดลงในป 2553 การปนผลทางประชากรครั้งแรกหมายถึง อัตราการเจริญเติบโตของสัดสวนระหวางจํานวนผูผลิตที่มีประสิทธิภาพตอจํานวนผูบริโภคที่มีประสิทธิภาพ หลังจากป 2553 ประเทศไทยจะไมไดรับผลกระทบดานบวกตอการเติบโตทางเศรษฐกิจอันเกิดจากโครงสรางประชากร ดังนั้น นโยบายที่มีแนวทางเพื่อปรับปรุงทุนมนุษยหรือเพิ่มการสะสมทุน จึงมีความจําเปนตอเศรษฐกิจในระยะกลางและระยะยาวการสะสมทุนมนุษยมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อุปสรรคสําคัญในการพัฒนาทุนมนุษยของไทยคือคุณภาพการศึกษา ไทยใชจายเพื่อการศึกษามากแตยังลาหลังกวาประเทศเพื่อนบาน เชน สิงคโปรมาเลเซีย และอินโดนีเซีย เมื่อพิจารณาจากดัชนีชี้วัดดานการศึกษา คุณภาพการศึกษาระดับประถมและมัธยมมีความแตกตางกันมากระหวางในเมืองและชนบท และระหวางในจังหวัดที่พัฒนาแลวกับที่พัฒนานอยกวา ครูไทยในชนบทที่หางไกลไมมีความรูทางภาษา คณิตศาสตร และวิทยาศาสตรที่ดีเพียงพอ ปญหาเหลานี้ทั้งหมดควรที่จะถูกแกไขเพื่อพัฒนาคุณภาพแรงงานในอนาคตกําลังแรงงานที่นอยลงในอนาคตจําเปนตองพัฒนาตนเองใหเปนกําลังแรงงานที่มีผลิตภาพการผลิตสูง การพัฒนานี้มีนัยตองบประมาณดานการศึกษา การลดจํานวนลงของเด็กวัยเรียนไมไดหมายความวางบประมาณดานการศึกษาควรถูกตัดลง การลงทุนจําเปนตองเนนดานคุณภาพการศึกษาและจะทําใหคาใชจายตอหัวของนักเรียนสูงขึ้นอุปสรรคอีกประการหนึ่งคือ การเขาถึงการศึกษาที่สูงขึ้น พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. 2542 ขยายโอกาสทางการศึกษาจากเดิม128 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร


เรียนฟรี 12 ป เปนเรียนฟรี 15 ป ตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครัวเรือนที่มีรายไดตางกันมีโอกาสเทากันในการเขาถึงการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา(ถึงแมคุณภาพการศึกษาตางกัน) อยางไรก็ตาม โอกาสการเขาถึงการศึกษาในระดับที่สูงกวามัธยมศึกษามีความแตกตางกันอยางมาก ดังแสดงในแผนภูมิที่7.1 เงินชวยเหลือเพื่อการศึกษาแกเด็กยากจนและเงินกูยืมเพื่อการศึกษาแกนักเรียนในครอบครัวที่มีรายไดปานกลางควรมีตอไปทั้งนี้ เนื่องจากคาดวาจะทําใหการกระจายรายไดดีขึ้นนอกเหนือไปจากการเพิ่มขึ้นของทุนมนุษยแผนภูมิที่ 7.1 รอยละของครัวเรือนที่มีสมาชิกเรียนในระดับสูงกวามัธยมปลาย14%12%10%8%6%4%2%0%1 2 3 4 5 6 7 8 9 10ชวงการบริโภคทุกรอยละ25492552แหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ, การสํารวจทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนป 2549 และ 2552การเพิ่มการสะสมทุนทางกายภาพ เปนทางเลือกเชิงนโยบายหนึ่งที่จะรักษาการเศรษฐกิจเติบโตไดในอนาคต การสะสมทุนทางกายภาพสามารถนําไปสู การเพิ่มขึ้นอยางถาวรของการใชทุนเขมขน และทําใหสัดสวนทุนตอแรงงานสูงขึ้น ระดับการบริโภคจะตํ่าเกินไปถึงแมวาจะกาวเขาสูสังคมสูงอายุแลว ดังนั้น ภาครัฐจึงควรสนันสนุนใหประชาชนออมเพื่อการเกษียณอายุ การจัดบํานาญในลักษณะที่ไมมีการสะสมการออมหรือแบบ Pay-As-You-Go นั้นควรจะมีใหนอยนโยบายอยางเชนการพึ่งพาแรงงานตางดาวมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อทดแทนแรงงานทักษะตํ่าอาจจะเหมาะสมในระยะสั้นเทานั้นเนื่องจากมีกระทบดานลบตอรายไดตอหัว แรงงานทักษะตํ่ามักจะเปนแรงงานนอกระบบ อีกประมาณ 5-10 ปรอยละ 30 ของแรงงานไทยที่มีทักษะตํ่าที่ขณะนี้อายุมากกวาสามสิบปขึ้นไปอาจไมสามารถทํางานไดเนื่องจากพวกเขามีอายุเพิ่มขึ้นเปน 60ปหรือมากกวา หากประเทศไทยเลือกที่จะทดแทนแรงงานทักษะตํ่าดวยแรงงานตางดาว รายจายทางดานสังคมจะเพิ่มขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งรวมไปถึงรายจายทางดานการศึกษาสําหรับลูกของแรงงานตางดาว รายจายดานสาธารณสุขและดานสังคมอื่นๆที่เกี่ยวของ เชน ปญหาอันเนื่องมาจากการเลือกปฏิบัติหรือการเอารัดเอาเปรียบแรงงานและบังคับใชกฎหมายในตลาดแรงงานจะเห็นวาการทดแทนแรงงานทักษะตํ่าดวยแรงงานตางดาวมีทั้งตนทุนและประโยชน ดั้งนั้นควรมีประเมินผลผลไดผลเสียจากนโยบายดังกลาวอยางเปดเผยดวยเหตุที่วาคาใชจายทางสังคมจะเพิ่มขึ้นในอนาคต รัฐบาลไทยจึงควรเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บรายไดจากภาษี ในชวง20 ปที่ผานมารายไดจากภาษีคิดเปนเพียงรอยละ 16-18 ของGDP ประมาณรอยละ 55 ของรายไดภาษีเปนรายไดจากภาษีทางออม (ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต อากรนําเขา และภาษีการขายอื่นๆ) และประมาณรอยละ 45 เปนรายไดจากภาษีทางตรง ไทยมีฐานภาษีรายไดที่แคบซึ่งครอบคลุมคนเพียงหนึ่งในสี่ของกําลังแรงงานทั้งหมด ประมาณรอยละ 44 ของคนที่ยื่นแบบการเสียภาษีรายไดบุคคลธรรมดามีรายไดตํ่ากวาระดับที่จะตองเสียภาษี รัฐสามารถเพิ่มรายไดจากภาษีดวยการนําภาษีทรัพยสิน (จากที่ดินและอสังหาริมทรัพย) มาใช หรือยกเลิกการยกเวนภาษีแกบริษัทขนาดใหญที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (หรือบีโอไอ) หรือการปรับการลดหยอนรายการตางๆ สําหรับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา หรือการขึ้นอัตราภาษีแกบางชั้นรายได (สมชัย จิตสุชน, 2553; ชัยสิทธิ์อนุชิตวรวงศ, 2553; วรวรรณ ชาญดวยวิทย, 2553)ความเปนเมือง การยายถิ่น การลดลงของประชากรในระดับภาคการประเมินการเจริญเติบโตและการกระจายตัวของประชากรในประเทศไทย ควรทําดวยความระมัดระวัง เนื่องจาก การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรขณะนี้เปนไปอยางชาๆ อยูระหวาง 1 ลานและ 1.5 ลานคน (คาดประมาณระดับตํ่า) และมากกวา 6 ลานคน(คาดประมาณระดับกลาง) กอนที่อัตราจํานวนประชากรจะลดลงในที่สุด เนื่องจากอัตราความเปนเมืองในปจจุบันคอนขางตํ่า คาดวาสัดสวนความเปนเมืองจะเพิ่มสูงขึ้นอยางมากในอนาคต ดังนั้นการวางแผนปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชากรในเมืองที่กําลังเติบโตจึงสําคัญมากการวางแผนตองคํานึงวาประชากรเมืองที่กําลังเติบโตจะอยูที่ใดบาง ทั้งนี้มีแนวโนมวาสัดสวนคนเมืองที่กระจุกตัวอยู ในกรุงเทพตอประชากรเมืองทั้งหมดลดลงเรื่อยๆ (จากการสังเกตในชวงป2533-2543 ดูใน Jones and Douglass 2551 ตารางที่ 3.4) ซึ่งบอกเปนนัยไดวาเมืองที่มีขนาดเล็กตามภูมิภาคตางๆ จะเติบโตอยางรวดเร็ว การวางแผนสําหรับความเปนอยูของคนเมืองทั้งดานกายภาพ สังคม และสิ่งแวดลอม ในเมืองเหลานี้ควรที่จะไดรับความสนใจเปนอันดับแรกๆ ในขณะเดียวกัน การเติบโตของในเขตปริมณฑลรอบๆ กรุงเทพมหานครจะกลายเปนประเด็นในการวางแผนที่ซับซอนเชนกันการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร129


ตารางที่ 7.6 รอยละของลักษณะการอยูอาศัยในครอบครัวเดียวกันของเด็กครัวเรือนที่มี 2549 2550 2551 2552ทั้งพอและแม 64.5 63.0 62.0 61.9มีพอเพียงคนเดียว 2.4 2.3 2.6 3.1มีแมเพียงคนเดียว 13.7 12.8 13.6 13.8ไมมีพอ แม แตมีญาติ 18.9 21.7 21.4 21.0ไมมีพอ แม และไมมีญาติ 0.5 0.3 0.4 0.3รวม 100 100 100 100แหลงขอมูล: การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแหงชาติดูเหมือนวาบางพื้นที่จะมีประชากรนอยลง เพราะวาการเจริญเติบโตของเมืองในแตละภาคจะไมสามารถชดเชยกับจํานวนประชากรที่ลดลงในเขตชนบท ผลลัพธจากการที่ประชากรลดลงในบางพื้นที่อาจจะถึงขั้นเปนปญหาได ยกตัวอยางเชน การตัดสินใจที่ยากลําบากในการยุบหรือปดกิจการของโรงเรียนบางแหงและจัดใหมีรถโรงเรียนรับนักเรียนจากรอบนอกไปสงในโรงเรียนนอกพื้นที่ที่มีคุณภาพการศึกษาดีกวา ทั้งนี้อาจประสบปญหาในการบํารุงรักษาโครงสรางพื้นฐาน ที่ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับประชากรที่มีขนาดใหญชีวิตความเปนอยูของผูยายถิ่นจําเปนตองมีการวางแผน ทั้งในสวนผูยายถิ่นในประเทศ เชนการยายถิ่นจากชนบทตามฤดูกาลหรือถาวร และผูยายถิ่นระหวางประเทศ จากประเทศเพื่อนบานเชน พมา ลาว และกัมพูชา ซึ่งคนเหลานี้สวนใหญลวนมีรากฐานดั้งเดิมมาจากชนบทเหมือนกันภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการเปลี่ยนแปลงประชากร ไมเพียงแตมีผลกระทบตอรูปแบบการอยูอาศัยรวมกันของลูกและผูสูงอายุ แตยังมีผลตอเด็กดวย คนวัยทํางานจํานวนมากยายออกจากบานเกิดเพื่อไปทํางานในเมืองหรือจังหวัดที่อยูหางไกล ซึ่งคนกลุมนี้สวนใหญอยูในวัยเจริญพันธุ เมื่อมีบุตรและตองพบกับความยากลําบากจากการทํางานไปดวยและเลี้ยงบุตรไปดวย ทําใหเด็กจํานวนมากตองอยู ในครัวเรือนที ่ไมมีพอหรือแมอยู พรอมหนากันในครัวเรือนการสํารวจทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนป พ.ศ 2549 และ2552 แสดงใหวาเด็กที่ไดอยูกับพอและแมมีสัดสวนลดลง โดยในชวง 4 ปที่ผานมาสัดสวนลดลงจากรอยละ 64.5 ไปเปนรอยละ61.9 สวนเด็กไมไดอยูกับทั้งพอและแมเพิ่มขึ้นจากรอยละ 19.4ไปเปนรอยละ 21.3 ทั้งนี้พบวาเด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนการไดอยูกับพอและแมนอยที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่น(คิดเปนประมาณรอยละ 55) ในขณะที่กรุงเทพมีสัดสวนสูงสุด(คิดเปนประมาณรอยละ 76) โดยการยายถิ่นคือเหตุผลหลักที่เด็กไมไดอยูกับพอและ/หรือแม เหตุผลรองมาคือ พอแมแยกทางกันทั้งนี้พบวาเด็กที่ไมไดอยูกับพอแม อาจจะเผชิญกับความเสี่ยงหลายๆ ดาน 2 ถาหากวาโครงสรางพื้นฐานสําหรับเด็ก เชน ศูนยรับดูแลเด็กเล็ก มีอยางเพียงพอ ครึ่งหนึ่งของเด็กเหลานี้สามารถอยู กับพอแมในเมืองที่พอแมทํางานอยู การชวยเหลือใหครอบครัวสามารถทํางานและเลี้ยงดูลูกไปดวยกันเปนสิ่งจําเปน ในขณะเดียวกัน การที่เด็กยายจากการอยูกับปูยาตายายในชนบทมาอยูกับพอแมในเมืองอาจไมใชสิ่งที่ดีที่สุดเสมอไป เนื่องจากสภาพแวดลอมในเมืองที่อาจเปนอุปสรรคตอการเลี้ยงดูเด็กมากกวาการอยูอาศัยในชนบทนโยบายที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของประชากรภาวะการตายเปนที่เห็นพองตองกันวาการตอสูกับความเจ็บปวยและการลดลงของการตายเปนสิ่งพึงปรารถนา เพราะฉะนั้นนโยบายที่ตองการมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงประชากรดวยการเพิ่มอายุขัยของประชากรใหยาวนานขึ้นเปนเปาหมายที่สําคัญ จากมุมมองทางเชิงนโยบายสิ่งที่ตองตัดสิน (ซึ่งนําไปสูประเด็นถกเถียง) คือการจัดสรรทรัพยากรภาครัฐเพื่อเปาหมายนี้ โดยตองแขงกับการใชทรัพยากรของรัฐเพื่อวัตถุประสงคอื่นๆ อยางไรก็ตาม ในที่นี้จะไมเนนในประเด็นนี้ นโยบายอยางเชน การใชทรัพยากรในดานสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นในภาวะที่เกิดการเปลี่ยนแปลงดานภาระการติดเชื้อ เปนตน ซึ่งไดใหรายละเอียดในเบื้องตนไวแลว2 การศึกษาของสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ พบวาเด็กจะมีความเสี่ยงในการหยุดเรียนกลางคันมีพฤติกรรมกาวราว ติดยาเสพติด มีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร เปนตน(อางจาก สํานักเลขาธิการสภาการศึกษา www.onec.go.th/cms/new_highlightview.php?ID=332)130 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร


ตารางที่ 7.7 รอยละของสาเหตุที่เด็กไมไดอยูในครัวเรือนเดียวกันกับพอแม ป 2552การอยูอาศัยของเด็กพอและ/หรือแมเสียชีวิตพอแมแยกทางกันพอและ/หรือแมทํางานคนละจังหวัดพอและ/หรือแมทํางานอยูตางประเทศเด็กตองเขาโรงเรียนอื่นๆ รวมอยูกับพอเพียงคนเดียว 10 64 23 1 1 2 100อยูกับแมเพียงคนเดียว 12 36 38 10 0 4 100อยูกับญาติ 6 25 61 2 2 5 100อยูกับคนอื่น 17 28 19 9 0 27 100รวม 8 32 49 5 1 5 100แหลงขอมูล: การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สํานักงานสถิติแหงชาติภาวะเจริญพันธุภาวะเจริญพันธุ ของไทยตํ่ากวาระดับทดแทนคอนขางมาก และยังคงลดลงอยู เรื่อยๆ โดยไมมีทีทาวาจะเพิ่มขึ้น ภาวะเจริญพันธุ อาจจะตํ่ากวาระดับ 1.5 ซึ่งหลายๆ คนมองวาเปนจุดวิกฤติดวยเหตุผล2 ประการ คือหนึ่งภาวะเจริญพันธุที่ตํ่าระดับนี้เปนเวลานานหรือตํ่ากวานี้อีกจะนําไปสูการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของประชากรสูงอายุ และจํานวนประชากรในแตละรุ นจะลดลงประมาณรอยละ 30เมื่อเปรียบเทียบกับคนรุ นกอน ซึ่งนําไปสู การหดตัวของประชากรที่ชัดเจนซึ่งยากที่จะกลับคืน เนื่องจากแรงเหวี่ยงทางประชากร(population momentum) ในดานลบที่ทําใหประชากรมีแนวโนมลดลงมากขึ้นแมวาภาวะเจริญพันธุเพิ่มขึ้นก็ตาม เนื่องจากประชากรในวัยเจริญพันธุมีขนาดเล็กลง สองเมื่อภาวะเจริญพันธุตํ่ากวาระดับนี้แลว มีโอกาสนอยมากที่อัตราเจริญพันธุ จะสามารถกลับไปที่ระดับทดแทนไดอีก นี้คือความจริงเชิงประจักษแตไมไดหมายความวาจะทําไมไดจากขอสังเกตในบทที่ 1 ประเทศในทวีปเอเชียสวนใหญเปลี่ยนแปลงนโยบายประชากรชามากเมื่อประเทศอยูในภาวะที่ภาวะเจริญพันธุตํ่ากวาระดับทดแทน ประเทศไทยพบกับสถานะการณเดียวกันกับ ญี่ปุ น สิงคโปร เกาหลีใต และไตหวันซึ่งไดผานสถานการณเชนนี้ไปแลว ประเทศเหลานี้รอประมาณ 15 ปหรือมากกวานั้น หลังจากที่ภาวะเจริญพันธุ ลดลงตํ่ากวาระดับทดแทนกอนจะประกาศนโยบายสนันสนุนเพิ่มอัตราการเกิดอยางเปนรูปธรรม จึงนาจะถึงเวลาแลวที่รัฐบาลไทยจะดําเนินการที่ชัดเจนในการสนันสนุนการเพิ่มภาวะเจริญพันธุถาเห็นพองวามาตรการที่สนับสนุนการเกิดใหสูงขึ้นเหมาะสมกับชวงเวลานี้ ประเด็นสําคัญคือควรจะใชมาตรการอะไรที่เห็นผลอยางชัดเจน ในขณะเดียวกันพึงควรที่จะหลีกเลี่ยงผลกระทบในเชิงลบดวย ประเด็นนี้สําคัญเพราะเชื่อกันโดยทั่วไปวานโยบายสนับสนุนใหอัตราการเกิดเพิ่มขึ้นในเอเชียตะวันออกไมไดเกิดผลตามที่ตองการมากนักทัศนะที่วานโยบายของประเทศแถบเอเชียตะวันออกไมคอยมีผลมากนักจําเปนตองมีการประเมินอยางระมัดระวัง อาจมีขอโตแยงวาในความเปนจริงแลวประเทศแถบเอเชียตะวันออกไมไดใชนโยบายที่เปนไปไดอยางจริงจังนัก (ในที่นี่หมายถึงประเทศในเอเชียที่มีภาวะเจริญพันธุตํ่าทั้งหมด) และ/หรือมีการประกาศใชนโยบายเมื่อไมนานมานี้ ผลกระทบของนโยบายจึงยังไมปรากฎเห็นไดชัด อยางเชน ในเกาหลีใตและไตหวัน เพราะฉะนั้นมีความเปนไปไดที่นโยบายที่ดีจะสามารถเพิ่มภาวะเจริญพันธุไดการมีลูก 2 คน เปนคาเฉลี่ยที่พึงปรารถนาในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค การที่ครอบครัวไมมีลูกตามคาเฉลี่ยนี้อาจมาจากอุปสรรคเชิงโครงสราง นโยบายรัฐจึงควรพยายามขจัดอุปสรรคเหลานั้นใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดประเด็นที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่จําเปนตองดําเนินการคือ การออกแบบนโยบายเชิงบูรณาการ แทนที่จะมองผู หญิงวาเปนเครื่องมือของนโยบายประชากร ดังเชนที่ถูกวิจารณในกรณีของนโยบายที่พยายามลดอัตราการเกิดในอดีตที่ผานมา ทั้งนี้ควรใหทั้งผู หญิงและผู ชายมีทางเลือกที่ดีที่สุดในการตัดสินใจแตงงาน มีบุตร และสามารถทํางานและเลี้ยงดูบุตรไดพรอมๆ กัน เปาหมายคือการสรางนโยบายครอบครัวที่เปดทางเลือกใหกวางแกผูที่จะเปนพอแมหรือกําลังจะเปนพอแมใหสามารถตัดสินใจมีบุตรมากขึ้นประเด็นเฉพาะที่จําเปนตองตระหนักในการพิจารณานโยบายครอบครัว และนโยบายเจริญพันธุ สําหรับสถานการณในประเทศไทยการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร131


1. ความสําคัญของการแตงงานชาลงตออัตราการเกิดที่ลดลงปจจัยนี้เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหประเทศในเอเชียตะวันออกมีภาวะเจริญพันธุที่ตํ่า (Jones, 2007)2. ในหลายๆ ประเทศแถบเอเชีย องคประกอบที่สําคัญหนึ่งที่ภาวะเจริญพันธุ ตํ่ามากคืออัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผูหญิงเพิ่มขึ้น และความยากลําบากของผูหญิงที่ตองทํางานไปดวยเลี้ยงลูกไปดวย อัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผูหญิงคิดเปนสัดสวนที่สูงมาโดยตลอด (ดังตารางที่7.8) และไมเปลี่ยนแปลงมากนักในชวงเวลาที่อัตราเจริญพันธุ ในไทยลดลงดังนั้นดูเหมือนวาสําหรับประเทศไทยการลดลงของภาวะเจริญพันธุ จะไมไดมีความสัมพันธกับอัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผูหญิงดังเชนประเทศแถบเอเชียตะวันออก อยางไรก็ตามการลดลงของภาวะเจริญพันธุอาจมีความสัมพันธกับรูปแบบการจางงานสําหรับผูหญิงที่เปลี่ยนแปลงไป เชน การเปลี่ยนแปลงโครงสรางอาชีพ และการเพิ่มสัดสวนงานที่ทําใหผูหญิงอยูหางไกลจากบานมาก ซึ่งเห็นไดชัดในตารางที่ 7.8วาโครงสรางการจางงานของผูหญิงในประเทศไทยไดเปลี่ยนไปมากตั้งแตชวงป 2523-2533 สวนแบงการจางงานในภาคเกษตรลดลงเกือบครึ่งในขณะที่สัดสวนของอุตสาหกรรมเพิ่มมากกวาสองเทาและในภาคบริการเพิ่มเกือบสามเทา การจางงานของผูหญิงในภาคตลาดทางการเพิ่มมากขึ้นอยางชัดเจนแนวโนมเหลานี้นาจะมีผลตอการตัดสินใจมีบุตรของผูหญิงและพอแมโดยทั่วไป3. ในประเทศไทย ไมเหมือนกับประเทศในแถบเอเซียตะวันออกภาวะการเปนเมืองที่ตํ่ากวาหมายถึงวาการเพิ่มภาวะเจริญพันธุโดยรวมจะตองใหผูหญิงทั้งในเมืองและชนบทเพิ่มภาวะเจริญพันธุ ทั้งหมด นโยบายในประเทศแถบเอเซียตะวันออกไดพัฒนานโยบายที ่เนนเฉพาะคนเมือง ซึ่งอาจจะทําใหไมเหมาะกับกรณีประเทศไทย ในทางตรงกันขาม มีขอสังเกตวา อัตราความเปนเมืองที่แทจริงของประเทศไทยนั้นสูงกวาอัตราที่ทางการประกาศ ในชวงตั้งแตป2523 เมื่อสัดสวนการจางงานของผู หญิงในภาคเกษตรลดลงเกือบครึ่งนั้น สัดสวนของประชากรในเขตชนบทลดลงจากรอยละ 73.2 เปนรอยละ 66.0 จะเห็นวาอัตราความเปนเมืองและการจางงานในภาคเกษตรไมไดเปลี่ยนไปในทางที่สอดคลองกันนโยบายที่จะมีอิทธิพลตอรูปแบบการมีบุตรในบริบทเฉพาะของประเทศไทย ตามที่ไดกลาวขางตนดูเหมือนวามีความแตกตางระหวางบริบทในประเทศไทยและประเทศในเอเชียตะวันออกที่มีภาวะเจริญพันธุตํ่าอื่นๆ แตความแตกตางนั้นอาจจะไมมากมายนักเหมือนกับที่คาดการณในตอนแรกตารางที่ 7.8 การเปลี่ยนแปลงอัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผู หญิง และโครงสรางการจางงานของประเทศไทยในป 2523-25532523 2528 2533 2538 2543 2548 2553การเปลี่ยนแปลงการเขารวมในกําลังแรงงานหญิงอายุ 40-64 84.4 82.1 84.4 81.1 77.9 78.9 78.3อายุ 20-39 80.4 76.0 78.5 73.6 72.8 75.0 76.3รวม ชวงอายุ 20-64 83.0 80.0 82.3 78.1 75.7 77.1 77.3รอยละ การจางงานแรงงานหญิง ในภาคการเกษตร 71.7 67.4 63.4 52.9 46.9 40.0 38.4ภาคอุตสาหกรรม 8.0 9.5 12.6 17.4 17.9 19.8 18.7ภาคการคา 10.7 11.2 11.4 14.3 16.1 14.9 16.0ภาคบริการ 9.5 11.9 12.6 15.4 19.0 25.2 26.9รอยละ ลูกจาง (หรือ ผูที่ไดรับคาจาง) ที่เปนหญิงภาคการเกษตร 47.6 46.9 45.0 48.1 45.0 44.2 43.5นอกภาคการเกษตร 31.6 35.0 39.0 39.4 43.8 45.8 45.8รวม 34.7 37.7 40.2 40.7 44.0 45.6 45.5*รวม การกอสราง, การขนสง, การไฟฟา กาซและการประปาแหลงขอมูล: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากร สํานักงานสถิติแหงชาติ132 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร


ขอแนะนําหนึ่งสําหรับการออกนโยบายที่นาจะมีผลในทางปฏิบัติคือ การดูตัวอยางจากประเทศตะวันตกที่สามารถจัดการใหภาวะเจริญพันธุเพิ่มจนเขาใกลระดับทดแทน หรือรักษาภาวะเจริญพันธุไมใหตกลงและใหคงอยูใกลกับระดับทดแทน (Neyer andAndersson, 2007; McDonald, 2002) ตัวอยางประเภทแรกคือประเทศแถบสแกนดิเนเวียและฝรั่งเศส ตัวอยางของประเภทหลังคือ สหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ซึ่งประเทศเหลานี้มีความหลากหลายมากและยากที่จะหาองคประกอบรวมกันในนโยบายที่มีความหลากหลายที่จะนํามาปรับใชกับประเทศไทย ยกตัวอยางเชน นโยบายสวัสดิการครอบครัวอยางดี การมีสิทธิลาคลอดบุตรเปนเวลานาน จัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็ก และนโยบายสรางความเทาเทียมทางเพศในที่ทํางาน มีความสําคัญในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย สําหรับฝรั่งเศสไดจัดใหมีการลดภาษีและสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็กที่ดีเยี่ยมโดยไมเสียคาใชจาย 3 ในออสเตรเลียมีการใหเงินโบนัสแกพอแมที่มีบุตรเกิดใหม จํานวน 5,000 เหรียญออสเตรเลีย.จากที่กลาวมาแลวในบทที่ 1 ถานโยบายที่ใชในไตหวันและเกาหลีใตสงผลทางบวกจริงจะยังคงเร็วเกินไปที่จะชี้ใหเห็นวานโยบายเหลานี้มีผลกระทบตอภาวะเจริญพันธุ มากนอยเพียงใดเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2553 รัฐบาลเกาหลีไดประกาศแผน 5 ป ซึ่งเปนแผนที่ครอบคลุมมากกวาแผนที่ไดทบทวนในบทที่ 1 แผนนี้มีมูลคา 75.8 ลานลานวอน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากแผน 5 ป ฉบับกอน(2548-2553) ถึงรอยละ 79 สิทธิในการลาคลอดบุตรจะขยายจาก3 เดือนในปจจุบันไปเปน 1 ป โดยในเดือนที่ 4 ถึงเดือนที่ 12 จะไดรับเงินชดเชยรอยละ 40 ของเงินเดือน มีการจัดชั่วโมงทํางานที่ยืดหยุ นใหกับลูกจางหญิงที่มีลูก และมีการสงเสริมใหบริษัทจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็กในสถานที่ทํางาน การศึกษาของบุตรในระดับกอนประถมศึกษาจะไดรับการอุดหนุนและการศึกษาของบุตรคนที่ 2 จะไมเสียคาใชจายจนถึงระดับมัธยมศึกษา(Straits Times, 9/11/2010: “Baby incentive fails to exciteSouth Koreans”).สําหรับประเทศไทยถึงเวลาเแลวที่ภาครัฐจะประกาศเปลี่ยนแปลงนโยบาย ดวยการสนันสนุนการแตงงานและการมีบุตรในบริบทของนโยบายครอบครัว ในขณะที่นโยบายเหลานี้จําเปนตองพิจารณาอยางระมัดระวังโดยเฉพาะเรื่องงบประมาณและผลที่อาจจะเกิดตามมา ควรมีการเรียนรู จากประสบการณของประเทศอื่นที่มีนโยบายคลายๆ กัน ดังนโยบายที่จะกลาวถึงตอไปนี้3 เมื่อถามขอคิดเห็นของรัฐมนตรีดานครอบครัวของฝรั่งเศสวา ทําไมฝรั่งเศสถึงมีภาวะเจริญพันธุที่สูงกวาประเทศสวนใหญในยุโรป คําตอบคือ “พวกเราใชจายเงินมากที่สุดและมีการดูแลเด็กที่ดี ไมนาแปลกใจที่ผลเปนเชนนั้น”(New York Times, Saturday November 6, 2010: “French differencelives: women lag in equality”.)สิทธิในการลาคลอดของแมการประชุมครั้งใหมของ ILO ระบุเงื่อนไขวา สิทธิประโยชนที่เปนตัวเงินในระหวางการลาคลอดจะตองจายในอัตรา 2 ใน 3 ของรายไดกอนคลอดหรือรายไดที่ไดรับการประกันจากการประกันตน โดยกําหนดระยะเวลาของการลาคลอดขั้นตํ่า 14 สัปดาห ในปจจุบันประเทศนอยกวาครึ่งของโลกที่ปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ (UnitedNations, 2010: 104) ในประเทศไทยสิทธิลาคลอดคือ 90 วันและผูลาไดรับเงินสิทธิประโยชนรอยละ 50 ของรายไดที่ไดรับการประกันจากการประกันสังคม ซึ่งเงินผลประโยชนนี้มาจากการสมทบของนายจาง ลูกจางและรัฐ ทั้งนี้ควรมีการใหประโยชนในการลาคลอดที่ดีกวานี้สิทธิในการลาคลอดของพอเปนการลาของผูชายระยะเวลาหนึ่งเพื่อดูแลบุตรที่เพิ่งเกิด เปาหมายเพื่อใหผูชายแสดงบทบาทที่มากขึ้นในการดูแลครอบครัวและความเปนผูปกครองของบุตรที่เกิดมาการมีชั่วโมงการทํางานที่ยืดหยุนชั่วโมงการทํางานที่ยืดหยุ นออกแบบมาเพื่อชวยพอแมใหสามารถใชเวลากับครอบครัวมากขึ้นตามที่ตองการ และสามารถหยุดงานเพื่อดูแลลูกไดเมื่อจําเปน ในประเทศไทยชั่วโมงการทํางานที่ยืดหยุนไมใชสิ่งปกติที่เห็นกันทั่วไปในขอตกลงการจางงานปรับปรุงและอุดหนุนการดูแลเด็กประเทศสวนใหญมีเปาหมายในการเพิ่มอัตราการเกิด รวมทั้งไดมีการขยายสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็กเขาไปเปนสวนสําคัญของโครงการ ถาหากไมสงเสริมใหเกิดสถานที่ดูแลเด็กเชนนี้ ผูหญิงมีแนวโนมที่จะพบความยากลําบากในการกลับเขาไปทํางานเต็มเวลาภายในชวงเวลาที่เหมาะสม ซึ่งมีผลกระทบตอความตอเนื่องในการทํางาน โอกาสความกาวหนา และการพัฒนาทางอาชีพ สิ่งเหลานี้เปนตัวขัดขวางใหผูหญิงตัดสินใจมีลูก หรือมีลูกเพิ่มขึ้นแรงจูงใจทางภาษี และ/หรือ โบนัสสําหรับการมีบุตรสิงคโปรมีการสนับสนุนทางการเงินจํานวนมากเพื่อเปนโบนัสสําหรับการมีบุตร ซึ่งเปนโครงการที่ไดรับการสนับสนุนโดยภาครัฐและตัวพอแมเอง ในหลายๆ ประเทศมีการลดภาษีสําหรับผู มีบุตรซึ่งบางครั้งลดภาษีใหคอนขางมาก หลักการพื้นฐานของโครงการเหลานี้คือ ผูใหกําเนิดและเลี้ยงดูเด็กเปนผูมีสวนชวยเหลือสังคมโดยรวม ดังนั้นจึงควรไดรับการชดเชยตนทุนที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงดูเด็กของพวกเขาการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร133


เปาหมายที่พึงปรารถนาคือ การพัฒนาชุดของนโยบายที่ทําใหสรางความสัมพันธและสรางความเขมแข็งใหกับชีวิตความเปนอยูในครอบครัวและสามารถเพิ่มอัตราเจริญพันธุไดในเวลาเดียวกันสิ่งนี้ควรเปนเปาหมายของนโยบายครอบครัวและนโยบายเจริญพันธุของประเทศไทยในขณะเดียวกันโครงการอนามัยเจริญพันธุ ควรจะดําเนินการตอไปเพื่อสนับสนุนเปาหมายตางๆ ถึงแมวาการเพิ่มอัตราเจริญพันธอยูในความสนใจระดับชาติ ในดานชีวิตความเปนอยูก็เปนสิ่งสําคัญเพื่อหลีกเลี่ยงการตั้งครรภที่ไมพึงประสงค ซึ่งควรเปาหมายที่สําคัญอีกประการหนึ่ง และควรมีการใหคําปรึกษาและบริการวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม อัตราเจริญพันธในกลุมคนบางกลุมยังคงสูงอยู เชน กลุมชาติพันธุมง ชาวมุสลิมในภาคใตในพื่นที่ที่หางไกล และกลุ มที่เปนแรงงานขามชาติบางกลุม โครงการอนามัยเจริญพันธุที่มีเปาหมายเพื่อตอบสนองความจําเปนพื้นฐานของกลุ มคนเหลานี ้ ควรดําเนินการเปนตอไปและควรใหความสําคัญเปนอันดับแรกๆในชวงป 2503 - 2513 ผูวางแผนนโยบายในประเทศไทยไดนํานโยบายควบคุมการเกิดมาใช ไดมีการจัดสัมมนาประชากรระดับชาติหลายครั้งและมีการถกกันในเชิงลึกในประเด็นดานประชากรในสถานการณปจจุบันซึ่งเปนชวงที่จําเปนตองนํานโยบายสนันสนุนการเกิดมาใช และดูเหมือนวาจําเปนจะตองใชวิธีที่เคยทํามาแลวอีกครั้งในการศึกษาการกําหนดนโยบายและการสนับสนุนเพื่อใหเกิดผลเชิงนโยบาย แตเทาที่ผานมาจะเห็นวา การอภิปรายในประเด็นนี้มีเพียงเล็กนอยทั้งในระดับผูกําหนดนโยบายและในหมูประชาชนทั่วไปการตั้งครรภในวัยรุนและการตั้งครรภโดยไมตองการตามการอภิปรายในบทที่ 2 พบวาการมีเพศสัมพันธของวัยรุนที่ยังไมแตงงานกําลังเพิ่มขึ้น (และเปนที่ยอมรับมากขึ้น) วัยรุนที่ตั้งครรภในประเทศไทยมีจํานวนมาก ซึ่งมักเปนการตั้งครรภที่ไมพึงประสงค การตั้งครรภของวัยรุนมี 2 ประเภท คือวัยรุนอายุนอยที่แตงงานแลว และที่ยังไมไดแตงงาน ซึ่งวัยรุนที่ตั้งครรภสวนใหญเปนวัยรุนที่ยังไมแตงงานซึ่งเปนการตั้งครรภที่ไมพึงประสงค และวัยรุนอายุนอยที่แตงงานแลวจํานวนมาก็ตั้งครรภโดยไมพึงประสงคเชนกัน โดยเฉพาะในกรณีที่เปนการแตงงานเพื่อรับผิดชอบหลังเกิดการตั้งครรภที่ไมคาดคิดการตั้งครรภโดยที่ยังไมพรอมของวัยรุนถือเปนประเด็นรายแรงในประเทศไทย เนื่องจากมีความเสี่ยงที่มากขึ้นตอเด็กและตัวของแมที่อายุนอย เมื่อผูหญิงที่อายุนอยมากใหกําเนิดลูก เพราะวามีการศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวกับคุณภาพการเลี้ยงดูเด็กในกรณีที่เด็กเกิดจากการตั้งครรภโดยไมพรอม และเนื่องจากการทําแทงที่มากขึ้นของวัยรุนที่ยังไมไดแตงงาน ซึ่งประเด็นนี้เกี่ยวของเกี่ยวของกับการมีเพศสัมพันธในวัยรุนที่เพิ่มขึ้น และความเสี่ยงจากการติดเชื้อจากโรคติดตอทางเพศสัมพันธ รวมถึงเชื้อ HIVการแทรกแซงนโยบายที่เปนไปไดเพิ่มประเด็นในการโตแยงมากขึ้น แตความจําเปนในการแทรกแซงไมสามารถถูกเพิกเฉยได จากการเพิ่มขึ้นของจํานวนการตั้งครรภในวัยรุ นควรมีการใหการศึกษาในเรื่องเพศศึกษาอยางเหมาะสม และสอนใหวัยรุ นใหความสนใจที่เพียงพอตอความรับผิดชอบของเพศชาย ใหรู ถึงผลที่จะตามมาจากการมีเพศสัมพันธ วัยรุนที่ยังไมแตงงานเหลานั้น (รวมถึงคนที่อายุมากกวาวัยรุน) ที่เลือกวาจะมีเพศสัมพันธจําเปนตองเขาถึงการคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพ ควรมีการพิจารณาการเขาถึงการทําแทงที่ปลอดภัยสําหรับผูที่มีการตั้งครรภที่ไมพึงประสงคโดยใหสอดคลองกับนโยบายที่มีอยู และควรยกเลิกการปฏิบัติของโรงเรียนที่ใหเด็กที่ตั้งทองออกจากโรงเรียน เพื่อใหแมวัยใสมีอนาคตที่ดีขึ้นไดความเปนเมือง การยายถิ่น การลดลงของประชากรในระดับภาคภาครัฐมักจะมีนโยบายที่ตองการใหมีอิทธิพลตอการกระจายตัวของประชากร นับเปนเวลาที่นานมากที่ประเทศสวนใหญในเอเชียมีทัศนคติดานลบตอการเติบโตของเมืองใหญ และมักจะมีนโยบายเฉพาะเพื่อจํากัดการยายถิ่นจากชนบทไปสูเมือง และสนันสนุนการเจริญเติบโตของเมืองเล็ก โดยใหแรงจูงใจสําหรับอุตสาหกรรมที่ตั้งในเมืองหางไกลและมีนโยบายในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เปนตน อยางไรก็ตามขอโตแยงที่ตอตานการขยายตัวของกลุมเมืองใหญไมไดเปนไปตามวัตถุประสงคแทจริงในการศึกษาเมื่อไมนานมานี้ของ World Bank (2552) ไดเตือนถึงความพยายามในการการรักษาหรือเพิ่มระดับประชากรในพื้นที่ที่เสียเปรียบและการจํากัดการเติบโตในเมืองใหญ ในรายงานนี้แยงวาการกระจุกตัวเชิงพื้นที่ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพิ่มขึ้นตามการพัฒนา และภาครัฐไมควรที่จะหยุดมันดวยการสงเสริมการลงทุนและใหความสําคัญเชิงนโยบายมากเกินไปกับพื้นที่ที่ลาหลังของประเทศ ในทางกลับกัน ควรมีนโยบายที่เปนกลางตอที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ชวยในการพัฒนาประเทศ แตรัฐควรตองสรางการลงทุนในดานคมนาคมขนสงและการสื่อสารอยางรอบคอบเพื่อใหพื้นที่เสียเปรียบสามารถเชื่อมตอกับศูนยกลางของความเจริญเติบโตได ความทาทายของรัฐคือการปลอย (หรือสงเสริม) ใหมีการเจริญเติบโตที่ไมสมดุล แตตองแนใจวาสามารถรวมพื้นที่หางไกลเขาสูการพัฒนาดวย โดยผานการจัดการที่ดีทั้งของ สถาบัน โครงสรางพื้นฐาน และการแทรกแซงของภาครัฐ134 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร


Montgomery (2552) ไดทบทวนงานศึกษาของธนาคารโลก และใหขอคิดเห็นวารายงานของธนาคารโลกอาจมองโลกในแงดีเกินไปเกี่ยวกับประโยชนที่เกิดจากการกระจุกตัวเชิงพื้นที่ เขาแยงวาในประเทศยากจนที่มีการบริหารจัดการไมดีและไมมีธรรมาภิบาลอาจจะเปนอุปสรรคตอผู ประกอบการในการฉกฉวยประโยชนอยางเต็มที่ในการอยูในเมือง เมื่อภาครัฐไมสามารถจัดหาบริการไฟฟาและนํ้าประปาไดอยางเพียงพอและนาเชื่อถือ และเมื่อระบบคมนาคมขนสงของเมืองมีการจัดการที่แย การจราจรติดขัด ก็จะนําไปสูความยุงเหยิงได ขอคิดเห็นของเขานําไปใชไดกับประเทศที่ยากจนที่สุดมากกวาประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียตะวันออก รวมทั้งประเทศไทยดวย ซึ่งมีการการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วและยั่งยืน ประเทศเกาหลีใต จีน มาเลเซียไทย และอินโดนีเซีย เปนตัวอยางที่ดีที่แสดงใหเห็นถึงบทบาทของการกระจุกตัวเชิงพื้นที่ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจตอการเติบโตทางเศรษฐกิจของชาติที่รวดเร็ว บทบาทของกรุงเทพในการเปนกลจักรสําคัญตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเปนสิ่งที่เห็นไดอยางชัดเจนโดยทัศนะเชิงทางดานนโยบาย การกระจายตัวและการเติบโตของประชากรในไทยจําเปนตองมีการประเมินอยางระมัดระวัง จากที่กลาวมาขางตนวาประชากรไทยเติบโตอยางชาๆ โดยคาดวาจะเติบโตขึ้นอีกระหวาง 1.5 -6 ลานคน กอนที่จะลดจํานวนลง ในขณะที่ระดับความเปนเมืองอยูในระดับตํ่า สัดสวนประชากรเมืองคาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ และจํานวนประชากรในชนบทจะลดลง มีแนวโนมวาภาครัฐอยากเขามาแทรกแซงวาประชากรในเมืองที่กําลังโตขึ้นนั้นควรที่จะอยู ที่ไหน และหาแนวทางจํากัดการลดลงของประชากรในชนบท อยางไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงนโยบายที่ควบคุมการเติบโตของประชากรในมหานครกรุงเทพ และนโยบายที่จะสนันสนุนการเติบโตของเมืองเล็กควรทําดวยความระมัดระวังและทําในบริบทของการพัฒนาระดับภูมิภาคมากกวาไมมีความจําเปนที่จะตองพยายามทําใหการเจริญเติบโตในกรุงเทพชาลง แตก็ไมสนับสนุนใหอุตสาหกรรมหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจตั้งอยู ในเขตกรุงเทพมากเกินพอดี หรือไมเพิ่มแรงจูงใจราคาแพงสําหรับการเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่ลาหลังมีแนวโนมวาบางภูมิภาคจะมีประชากรลดลง เพราะวาการลดลงของประชากรในชนบทนั้นมากกวาการเพิ่มขึ้นของประชากรเมืองในภูมิภาค การวางแผนเพื่อเผชิญกับการลดลงของประชากรเปนสิ่งสําคัญ หลายๆ ประเทศในโลกก็ไดเคยเผชิญมาแลว เห็นไดจากยุโรปและเอเชียตะวันออก บทเรียนของประเทศเหลานี้ในการจัดการกับการลดลงของประชากรในพื้นที่ชนบทจําเปนตองมีการศึกษาอยางละเอียดรอบครอบประเทศไทยยังตองเผชิญกับความหนาแนนทางประชากรตามฤดูกาล ที่มาจากการอพยพในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งในประเทศและนอกประเทศ เนื่องจากกําลังแรงงาน (Labour force) ของประเทศไทย เพิ่มในอัตราการที่ชา ผนวกกับคาจางที่แตกตางกันอยางมากระหวางประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน ลวนเปนสิ่งยืนยันไดอยางดีวา การอพยพระหวางประเทศ จะคงมีตอไปในประเทศไทย ซึ่งอาจมีมากขึ้นไปอีกหากเกิดความไมแนนอนทางการเมืองจากประเทศนั้นๆ แมแรงงานอพยพเหลานี้เปนแรงงานที่ยืดหยุนสูง ซึ่งจําเปนตอตลาดแรงงาน แตควรมีนโยบายที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับความตองการทางดานสังคมโดยเฉพาะเรื่องการศึกษา และสุขภาพ ของแรงงานอพยพกลุ มนี้ และเพื่อลดความเสี่ยงจากการอพยพ รวมทั้ง ความอดอยาก, สภาพแวดลอมที่อาศัยที่ไมถูกหลักสุขอนามัย, ความยกจน, การไมรูหนังสือ, ความเสี่ยงตอการคุกคามทางเพศกับการคาประเวณี และภัยอันตรายจากการประกอบอาชีพ ( Sciortino และ Punpuing,2552) ขอมูลควรไดรับการบริหารจัดการใหดีขึ้นเพื่อทําใหสามารถเก็บขอมูลในเรื่องจํานวนประชากรและความตองการของแรงงานตางดาวไดดีขึ้น และเพื่อใหไดขอมูลของแรงงานตางดาวราว 2ลานคน ผู มาจากภูมิภาคลุ มแมนํ้าโขง ที่กําลังอยู อาศัยและทํางานในประเทศไทยที่ดีขึ้นดวย (กระทรวงสาธารณสุข., 2553: 17-21)สรุปแนวโนมทางประชากรของประเทศไทย กําลังเปลี่ยนแปลงไปและควรมีนโยบายใหมๆ ที่สรางสรรคออกมารองรับ มีนโยบายออกมามากมายเพื่อที่จะปรับใหเขากับแนวโนมประชากร และเพื่อที่จะเปลี่ยนแนวโนมประชากรใหไปอยูในทิศทางที่ตองการ ขนาดของประชากรในประเทศไทยไมวาจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงเล็กนอยก็ดูจะไมไดสรางปญหาใหกับทรัพยากรและสิ่งแวดลอมพื ้นฐานในประเทศเทาไร ไมเหมือนกับประเทศอื่นในเอเชียที่เปนปญหา สวนแนวโนมในดานโครงสรางอายุกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุมากขึ้นแตสถานการณเชนนี้สามารถจัดการใหเหมาะสมไดหากรูจักผสมผสานนโยบายตางๆ ใหดี แตสิ่งหนึ่งที่ควรหลีกเลี่ยงคือ นโยบายลดอัตราการเกิดของประชากรของประเทศใหอยู ในระดับที่ตํ่ามากจนเกินพอดี ซึ่งจะทําใหจํานวนประชากรลดลงอยางรุนแรงในระยะยาว และทําใหสัดสวนประชากรสูงอายุสูงขึ้นอยางมากนโยบายที่นําเสนอในบทนี้ตองมีการศึกษาอยางตอเนื่อง ตองมีงานวิจัยที่ดีเพื่อแนะแนวทางใหกับนโยบายได ยกตัวอยางเชนงานวิจัยเกี่ยวกับแบบแผนภาพทัศนทางประชากร (PopulationScenarios) ที่ใชสมมุติฐานอื่นนอกเหนือจากสามสมมติฐานของสหประชาชาติ และควรใชขอบเขตสมมติฐานในเรื่องการยายถิ่นรวมดวย สิ่งหนึ่งที่ควรระวังเกี่ยวกับการอพยพยายถิ่นในอนาคตคือควรหลีกเลี่ยง ไมใหทุนมนุษยของประเทศไทยลดลงเนื่องจากความไมสมดุลกันระหวางแรงงานไรฝมือที่เขามาในประเทศกับแรงงานที่มีฝมือที่ออกไปนอกประเทศ ควรเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันการวิจัยในประเทศไทยสามารถผลิตงานวิจัยที่เกี่ยวของกับนโยบายในเรื่องตางๆ ไดการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร135


ภาคผนวก กการสํารวจภาวะการทํางานรอบไตรมาสแรกของป พ.ศ. 2553ซึ่งดําเนินการโดยสํานักงานสถิติแหงชาติ มีคําถามเกี่ยวกับการศึกษา 2 ขอที่ถามสมาชิกในครัวเรือนทุกคนที่อายุตั้งแต15 ป ขึ้นไป คําถามแรกใหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพการศึกษาในปจจุบันของบุคคลนั้นวายังเรียนหนังสืออยูหรือไม ถายังเรียนหนังสืออยู เรียนอยูในระดับใด คําถามขอที่สอง ถามถึงระดับการศึกษาสูงสุดที่เรียนจบ พบวา รอยละ 19 ของกลุมอายุ 20-24 ปยังเรียนหนังสือ แตลดลงเหลือเพียงรอยละ 3 ในกลุมอายุ 25-29ป และรอยละ 1 ในกลุมอายุ 30-34 ปพึงสังเกตวาเมื่อถึงป พ.ศ. 2593 ผูที่อายุ 60 ป คือ ผูที่อายุ 20 ปในป พ.ศ. 2553 ดังนั้นเพื่อจะทําการคาดประมาณระดับการศึกษาของผูที่อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไปจนถึงป พ.ศ. 2593 จะตองกําหนดหรือทราบระดับการศึกษาที่จบของผูที่อายุตั้งแต 20 ปขึ้นไปในป พ.ศ. 2553 เพื่อทําการคาดประมาณนี้ จึงตั้งขอสมมติฐานวาระดับการศึกษาที่จบของผู ที่อายุตั้งแต20 ปขึ้นไปในป พ.ศ. 2553ที่ไมไดเรียนหนังสือแลว คือระดับการศึกษาสูงสุดที่จบ สําหรับผูที่ยังเรียนหนังสืออยู ระดับการศึกษาสูงสุดที่จบ คือระดับที่กําลังเรียนอยู จริงๆแลวคนเหลานี้บางคนอาจเรียนตอระดับสูงขึ้นกวาที่กําลังเรียนอยู อยางไรก็ตาม จากการที่หมวดการศึกษาสูงสุดที่ใชในการคาดประมาณ คือระดับมัธยมศึกษาหรือสูงกวา การใหระดับการศึกษาที่กําลังเรียนอยู เปนระดับการศึกษาสูงสุดที่จบสําหรับผูที่กําลังเรียน เชื่อวาเปนการจัดคนเหลานั้นลงในหมวดการศึกษาที่ถูกตอง แมวาในที่สุดแลวคนพวกนี้จะเรียนจบระดับการศึกษาที่สูงกวานั้นก็ตาม เหตุผล คือ ผูที่อายุตั้งแต 20 ปขึ้นไปที่กําลังเรียนหนังสืออยู เกือบทั้งหมดหรือสวนใหญจะเรียนอยูในระดับมัธยมศึกษาแลวขอพึงสังเกตหรือคํานึงอีกประการหนึ่งสําหรับการคาดประมาณนี้คือ การมีขอสมมติฐานวาผูที่มีการศึกษาตางระดับกันไมไดมีการยายถิ่นหรือการตายที่แตกตางกัน ดังนั ้น ระดับการศึกษาในปจจุบันจึงคงที่ตลอดไปในอนาคตสําหรับคนในแตละรุนอายุ136 ภาคผนวก ก


ภาคผนวก ขวิธีการประเมินการปนผลทางประชากรแรกวิธีการประเมินการปนผลทางประชากรมีการทำใหเปนระเบียบแบบแผนอยางครอบคลุมตามการศึกษาของ Mason (2005)โดยมีการนิยามสัดสวนผูบริโภค (N) และ สัดสวนผูผลิต (L)ดังนี้โดยที่ α(a) และ γ(a) คือ กลุมอายุของการบริโภคและรายไดจากแรงงาน P(a,t) คือ ประชากร โดยใชการสรางสมการทางคณิตศาสตร สวนรายไดตอผูบริโภค (Y/N) ประกอบดวยรายไดตอแรงงาน (Y/L) และ อัตราสวนระหวางแรงงานและผูบริโภค (L/N) หรือเรียกวา สัดสวนการสนับสนุน ดังนี้เพื่อที่จะระบุชวงเวลาและความยาวของการปนผล รายไดตอแรงงานและสัดสวนการสนับสนุนสามารถแปลงจากระดับของอัตราการเติบโต โดยการใสลอการึทึมธรรมชาติทั้งสองขางและคำนวณการตอบสนองตอเวลา ดังนี้วิธีการคำนวนการปนผลทางประชากรที่สองตามงานวิจัยของ Mason (2005) กำหนดใหทุนถือครองโดยผูมีอายุ50 ป ขึ้นไป เพื่อใชประมาณผลของประชากรตอวงจรชีวิตทุนและการปนผลทางประชากรครั้งที่สอง ความตองการวงจรชีวิตทุนสามารถคำนวณไดจากผลตางระหวางมูลคาปจจุบันของการบริโภค (Lifetime Consumption) และมูลคาปจจุบันของการผลิต(Lifetime Production)ของผูใหญมูลคาปจจุบันของการการบริโภคในอนาคต (future lifetimeconsumption) ของกลุมเกิดใหมในป b = t - aหรือกอนหนาเปนดังนี้() ( < ,) =w−a( gc−r)x() ∑ ( ≤ , + )x=0ctPVN bt ct e N bt xโดยที ่ N(≤b,t+x) คือ จำนวนผู บริโภคที ่เกิดในป b หรือ กอนหนาและเปนผูที่มีชีวิตอยูในป t+x , g c คือ อัตราการเติบโตของอายุตอหัวของการบริโภค r คือ อัตราดอกเบี้ย และ c(t)คือ การบริโภคตอสัดสวนผูบริโภค (consumption per effectiveconsumer) ในปที่ tเชนเดียวกับการบริโภค หากรูปแบบของการผลิตตอหัวในแตละกลุมอายุเหมือนเดิมและเพิ่มขึ้นไปที่อัตราของ g yมูลคาปจจุบันของการผลิตในอนาคต (future lifetime production)ของกลุมคนที่เกิดในป b = t - a หรือกอนหนาเปนดังนี้อัตราการเติบโตของรายไดตอผูบริโภคสามารถคำนวณใหเปนผลรวมของอัตราการเติบโตของประสิทธิภาพในการผลิต และอัตราการเติบโตของสัดสวนการสนับสนุน การปนผลทางประชากรครั้งแรกนิยามวาเปนอัตราการเติบโตของสัดสวนการสนับสนุนทางเศรษฐกิจ การปนผลทางประชากรครั้งที่สองจะอธิบายในตอนถัดไป ซึ่งกระทบโดยประสิทธิภาพการผลิตที่เพิ่มขึ้นที่เกิดจากการสะสมของทุนโดยที่ L(≤b,t+x) คือ จำนวนผูผลิตเกิดในป b หรือกอนหนาและเปนผูที่มีชีวิตอยูในป t+x และ y 1 (t) คือ ผลผลิตตอสัดสวนผูผลิต(production per effective producer) ในปที่ tหากไมคำนึงถึงเรื่องมรดกแลวผลที่ได พบวางบบัญชีของคนที่มีชีวิต (lifetime budget constraint) จะรับรองวาทุนในปที่t ของเด็กเกิดใหมในปที่ b หรือกอนหนา สามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้ภาคผนวก ข137


ดวยการจัดการทางพีชคณิต อัตราสวนของทุนตอรายไดจากแรงงานรวม w(


เอกสารอางอิงภาษาไทยกรมการปกครอง, กระทรวงมหาดไทย. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปพ.ศ. 2552-2555. กรุงเทพ: สามเจริญพาณิชย.กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข. 2010. แผนปฏิบัติราชการ 4ป พ.ศ. 2553-2556.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย.2553. บริการสําหรับชาวเขา. http://www.m-society.go.th/msoservice_detail.php?pageid=216 (สืบคนเมื่อ 1 สิงหาคม2553).กระทรวงแรงงาน, ทิศทางการทํางานของกระทรวงแรงงานป2553 เกี่ยวกับผูสูงอายุ. เขาถึงไดจากhttp://www.mol.go.th/anonymouse/policy_vision_missionกฤตยา อาชวนิจกุล. 2554 (กําลังพิมพ). ขอเท็จจริงและตัวเลขแรงงานขามชาติและผูมีปญหาสถานะบุคคลในประเทศไทย.นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.กองนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศ กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ. 2553. การศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย. มกราคม 2553. เขาถึงไดจาก http://www.mfa.go.th/web/2993.php?id=3880#เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. 2550. ผลกระทบตอสถาบันการศึกษาจากอัตราการเกิดที่ลดลง. เขาถึงไดจาก http://www.vcharkarn.com/varticle/33613ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ, 2553. “การกระจายของภาระภาษีทางออม” ใน การปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อเพื่อความเปนธรรมทางสังคม,รายงานแกสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.ชาย โพธิสิตา, อัญชลี วรางครัตน, รศรินทร เกรย, ปทมา วาพัฒนวงศ, และ ศุทธิดา ชวนวัน. 2552. “การเปลี่ยนแปลงภาวะสมรสในประเทศไทย พ.ศ. 2503-2543: นัยตอภาวะเจริญพันธุในอนาคต”. วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 15(5): 703-722.ธนะพงษ โพธิปติ. 2553. แรงงานตางดาวไรฝมือและปญหาผูสูงอายุไทย. รายงานกอนตีพิมพที่เตรียมเสนอตอ สํานักกองทุนสนับสนุนการวิจัย.ปราโมทย ประสาทกุล และปทมา วาพัฒนวงศ. 2548.“สถานการณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548.” หนา 14-31ใน ประชากรและสังคม 2548: ประชากรของประเทศไทย ณ พ.ศ.2548, บรรณาธิการ กฤตยา อาชวนิชกุล และปราโมทย ประสาทกุล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, มหาวิทยาลัยมหิดล.ปราโมทย ประสาทกุล และปทมา วาพัฒนวงศ. 2552. “มิติประชากรและครอบครัวของคนสองรุ น.” หนา 18-27 ใน ประชากรและสังคม 2552: ครอบครัวไทย ในสถานการณเปลี่ยนผานทางสังคมและประชากร, บรรณาธิการ ชาย โพธิสิตา และสุชาดาทวีสิทธิ์. นครปฐม: สํานักพิมพประชากรและสังคม.พินสุดา สิริธรังศรี. 2552. รายงานการวิจัยภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10-20 ป.เสนอตอสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: พิมพดีการพิมพ จํากัด.พิมลพรรณ อิศรภักดี และ สุกัญญา จงถาวรสถิตย. 2547. “ภาวะเจริญพันธุของผูยายถิ่นสตรีชาวพมาในจังหวัดระนอง”. หนา 35- 52 ใน การประชุมวิชาการประชากรศาสตรแหงชาติ 2547.กรุงเทพมหานคร: สมาคมนักประชากรไทย.ภิญญพันธุ พจนะลาวัณย. 2552. วันแมในทศวรรษ 2480: เซ็กสความรักกับความเปน “แมพันธุ” แหงชาติ. เขาถึงไดจาก www.artgazine.com/shoutouts/viewopic.php?t=9180มีชัย วีระไวทยะ. 2522. อันตราย! ถามีลูกถี่ หรือมีมากเกินไป.นิตยสารหมอชาวบาน. เลม 7 (พฤศจิกายน).หนา 19.เยาวรัตน ปรปกษขาม และ พรพันธุ บุณยรัตพันธุ (บรรณาธิการ).2549. การสํารวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย โดยการตรวจรางกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547. กรุงเทพมหานคร:สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปถัมภ.วรชัย ทองไทย. 2544. “อายุมีบุตรคนแรก: ตัวกําหนดภาวะเจริญพันธุที่สําคัญในสภาวะเจริญพันธุตํ่า.” หนา 177-190 ในการประชุมวิชาการประชากรศาสตรแหงชาติ 2544. สมาคมนักประชากรไทย.วรวรรณ ชาญดวยวิทย, 2553. “Marginal cost of public fundsและการปฏิรูปภาษีรายได” ใน การปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อเพื่อความเอกสารอางอิงภาษาไทย139


เปนธรรมทางสังคม, รายงานแกสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.วิชัย เอกพลากร (บรรณาธิการ). 2553. รายงานการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรางกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2.นนทบุรี: สํานักงานสํารวจสุขภาพประชาชนไทย.วิทยากร เชียงกูร. 2552. สภาวะการศึกษาไทย ป 2550/2551ปญหาความเสมอภาค และคุณภาพของการศึกษาไทย. สํานักวิจัยและพัฒนาการศึกษาสํานักเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพ : หางหุ นสวนจํากัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.วิพรรณ ประจวบเหมาะ นภาพร ชโยวรรณ มาลินี วงษสิทธิ์ ศิริวรรณ ศิริบุญ บุศริน บางแกว และ ชเนตตี มิลินทางกูร 2551รายงานการศึกษาโครงการสรางระบบการติดตามและประเมินผลแผนผูสูงอายุแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) กรุงเทพ:ธันวาพริ๊นติ้งศุภกิจ ศิริลักษณ, 2552.การเตรียมความพรอมสําหรับการใหบริการดานสุขภาพของคนไทย. วารสารนโยบายและแผนสาธารณสุข.เลม 10 (มกราคม-ธันวาคม). หนา1-2.ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักปลัดฯ กระทรวงศึกษาธิการ. ขอมูลสถิติพื้นฐานการศึกษา ป 2551. http://www.moe.go.th/data_stat/Download_Excel /BriefStat/2009-09-04_statistics2551.xlsศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2551). ตลาดแรงงานสําหรับสังคมผูสุงอายุ.(สําเนา).ศูนยปฏิบัติการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.2553. สารสนเทศทางการศึกษา. http://doc.obec.go.th/doc/web_doc/#h4 (สืบคนเมื่อ 15 กันยายน 2553).สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 2552. โครงการศึกษาวิจัยการลงทุนดานสังคมภายใตเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และการปรับตัวสูสังคม-เศรษฐกิจฐานความรู: ทุนทางสังคม. เสนอตอสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.สมชัย จิตสุชน, 2553. “มาตรการทางการคลังเพื่อความเปนธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม: การขยายฐานภาษี” ใน การปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อเพื่อความเปนธรรมทางสังคม, รายงานแกสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.สมประวิณ มันประเสริฐ และคณะ 2553. การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรกับผลกระทบตอเศรษฐกิจมหภาค. . สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) . ศักดิโสภาการพิมพสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.2550. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565).สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องคการมหาชน). 2551. รายงานประจําป 2551 ( ๑ ตุลาคม๒๕๕๐ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๑).สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.2552. วิสัยทัศนของประเทศไทย ป2570. จากรายงานการประชุมประจําป 2552.สํานักงานบริหารแรงงานตางดาว. 2553. รายงานสถิติรายเดือนมีนาคม 2553. http://wp.doe.go.th/sites/default/files/statistic/7/sm03-53.pdf (สืบคนเมื่อ 1 สิงหาคม 2553).สํานักงานประเมินผลการจัดการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.2551. การรายงานการสังเคราะหสภาวการณและปจจัยที่สงผลตอคุณภาพการศึกษาไทย.กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด วี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.สํานักงานปลัดกระทรวง, กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย. แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (2551-2554).สํานักงานสถิติแหงชาติ. 2536. รายงานการสํารวจทัศนคติเกี่ยวกับบุตร พ.ศ. 2536. กรุงเทพมหานคร: กองคลังขอมูลและสนเทศสถิติ สํานักงานสถิติแหงชาติ.สํานักงานสถิติแหงชาติ. 2549. รายงานการสํารวจอนามัยการเจริญพันธุ พ.ศ. 2549. กรุงเทพมหานคร: สํานักสถิติพยากรณสํานักงานสถิติแหงชาติ.สํานักงานสถิติแหงชาติ. 2553. รายงานการสํารวจอนามัยการเจริญพันธุ พ.ศ. 2552. กรุงเทพมหานคร: สํานักสถิติพยากรณสํานักงานสถิติแหงชาติ.สํานักนโยบายและยุทธศาสตร, สํานักงานปลัด, กระทรวงสาธารณสุข. 2553. แผนกลยุทธสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2552-2555). กรุงเทพ: สามเจริญพาณิชย.สํานักนายกรัฐมนตรี, แผนผู สูงอายุแหงชาติ ฉบับที่2 (2545-2564)สํานักเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. สถิติการศึกษาของประเทศไทย ปการศึกษา 2551. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟก จํากัด.อภิชาติ จํารัสฤทธิรงค, ปราโมทย ประสาทกุล, วรชัย ทองไทยและฟลิป เกสต. 2540. การสํารวจภาวะคุมกําเนิดในประเทศไทยพ. ศ. 2539. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, มหาวิทยาลัยมหิดล.140 เอกสารอางอิงภาษาไทย


เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษAnuchitworawon, Chaiyasit, 2010, “indirect tax incidence”in Economic reform for social justice, a research reportedto Thailand Research Fund. (in Thai).Aphichat Chamratrithirong, Pramote Prasartkul, VarachaiThongthai and Philip Guest. 1997. National ContraceptivePrevalence Survey 1996. Nakhonpathom: Institute forPopulation and Social Research, Mahidol University. (in Thai)Archavanitkul, K., Punpuing, S., Prohmmo, A., and Bryant, J.2009. Lessons learned from pilot census in areas where thereare concentration of migrants in Thailand. Paper presentedat the Regional Workshop on Lessons Learned from PilotCensus in Areas Where There Are Concentration of Migrantsin Thailand, Pattaya.Asia Pacific Migration Research Network (APMRN). n.d.Migration issues in the Asia-Pacific. Accessed 12/09/2010at http://www.unesco.org/most/apmrnw14.htm.Bangkok Post. 2010. National retirement scheme set for2011 launch. Business section 13/04/2010. Bangkok:Bangkok Post.Becker G. and HG Lewis (1973).On the interaction betweenthe quantity and quality of children.Journal of PoliticalEconomy 84(2): S279-S288.Bhassorn Limanonda. 1983. Marriage Pattern in Thailand:Rural-Urban Differentials, Paper No. 44. Bangkok: Instituteof Population Studies, Chulalongkorn University.Bloom, David, David Canning & Guenther fink. 2009. Thegraying of the global population and its macroeconomicconsequences. Working Paper 47, Program on GlobalDemography of Aging. Harvard School of public Health.Bongaarts, John. 1982. “The fertility-inhibiting effects of theintermediate fertility variables.” Studies in Family Planning13(6/7):179-189.Bongaarts, John. 1983. “The proximate determinants ofnatural marital fertility.” Pp. 103-138 in Determinants ofFertility in Developing Countries. Volume 1: Supply andDemand for Children. edited by Rodolfo A. Bulatao andRonald D. Lee. New York: Academic Press.Boonpratuang, Chet, Gavin W. Jones and Chanpen Taesrikul,1996, “Dispelling some myths about urbanization in Thailand”,Journal of Demography (Chulalongkorn University, 12(1):21-36.Boonyamanond, S. and Punpuing, S. 2010. The globalfinancial crisis: impact on internal migration in Thailand.UNDP Discussion Paper.Booth, Anne, 2003, “Education and economic developmentin Southeast Asia: myths and realities”, in Jomo K.S. (ed),Southeast Asian Paper Tigers? From Miracle to Debacle andBeyond, London: Routledge Curzon.Bureau of Policy and Strategy, Permanent Secretary Office,Ministry of Public Health. 2010. Ministry of Public Health ‘sstrategic plan (2009-2012). Bangkok: Sam Charoen Panich(in Thai).Caldwell, John. 1982. Theory of Fertility Decline. New York:Academic Press.Cassels, S. 2006. When are Migrants “Good” or “Bad” for theEnvironment? Panel Contribution to the PERN Cyberseminaron Rural Household Micro-Demographics, Livelihoods,and the Environment, April 2006. Accessed at http://www.populationenvironmentresearch.org/seminars042006.jsp30-Aug-10.เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ141


Chai Podhisita, AnchaleeVarangrat, Rossarin Gray,PatamaVapattanawong, and Sootthida Chuanvan. 2009."Nuptiality Change in Thailand, 1960-2000: Implication forFuture Fertility". Songklanakarin Journal of Social Sciencesand Humanities 15(5):703-722. (in Thai)Chalamwong, Y. 2000. Thailand: the economic contraction,the labour market and migration. Pp. 217-242 in LabourMigration and the Recent Financial Crisis in Asia.Organization for Economic Cooperation and Development(OECD).Chamratrithirong, A. 2007. Research on internal migrationin Thailand: the state of knowledge. Journal of Populationand Social Research 16(1):1-20.Chamratrithirong, A., Archavanitkul, K., Richter, K., Guest,P., Boonchalaksi, W., Piriyathamwong, N. and Vong-Ek, P.1995. The National Migration Survey of Thailand. MahidolUniversity. Institute for Population and Social Research;no. 188.Chamratrithirong, Apichat, Sirinan Kittisuksathit, ChaiPodhisita, Pimonpan Isarabhakdi, and Malee Sabaiying.2007. National Sexual Behavior Survey of Thailand 2006.Nakhonpathom: Institute for Population and Social Research,Mahidol University.Chamratrithirong, Apichat. 1980. Nuptiality in Thailand: ACross-sectional Analysis of the 1970 Census, Paper of theEast-West Population Institute; No. 69. Hanolulu: East-West Center.Chandoevwit, Worawan, 2010, “Marginal cost of public fundsand income tax reform” in Economic reform for social justice,a research reported to Thailand Research Fund. (in Thai).Charasdamrong, Prasong. 1992. "The Misery of Those LeftBehind," Bangkok Post, 10 May 1992.Charatrithirong, A., Prasartkul, P., Punpuing, S., Boonchalaksi,W., and Santiphop, T. 1999. The study of populationconsumption-environmentlink: the case of air pollution inBangkok. Institute for Population and Social Research No.224.Chareonwongsak, Kriengsak. (2007).The Impact oneducational institutions from the lower birth rate.AvailableURL: http://www.vcharkarn.com/varticle/33613 (in Thai).Chawla, A. (2008). Macroeconomic Aspects of DemographicChanges andIntergenerational Transfers in Thailand.Ph.D.dissertation submitted to the University of Hawaii at Manoa.Chen, Ya-Mei & Elaine Adams Thompson. 2010.Understanding Factors That Influence Success of HomeandCommunity-Based Services in Keeping Older Adultsin Community Settings. Journal of Aging and Health, 22(3): 267-291.Chiangkul, Wittayakorn. (2009). Thailand's educationsituation 2007/2008, The problem ofEqualityand Quality.Bangkok:V.T.C Communication. (in Thai).Chubb, E. 1998. Bangkok: A primate city. Geofactsheet No.53. Birmingham: Curriculum Press.Chula Unisearch, Chulalongkorn University (2008). Labormarket for aging society. (mimeo) (in Thai).Commission on Higher education, Ministry of Education.(2007).Framework of the second 15-year long range plan onhigher education of Thailand (2008-2022). (in Thai)Community Organization Development Institute (CODI).2006. Urban development towards sustainable cities andhousing for the urban poor in Thailand. Accessed at http://www.codi.or.th/downloads/english/Paper/Urban_Poor_in_Thailand_062006.pdf 25-August-2010.de Sherbinin,, A., Carr,I.D., Cassels, S., and Jiang, L. 2007.Population and Environment. Annu.al Review of Environmentand Resources. 32:345-73.Department of Health, Ministry of Public Health. 2010. Fouryears action plan (2010-2013) (in Thai).Department of Internationl Economic Affairs, Ministry ofForeign Affairs, Kingdom of Thailand. (2010). The studyof Thailand competitivenessability development. AvailableURL:http://www.mfa.go.th/web/2993.php?id=3880# (in Thai).142 เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ


Department of Local Administration, Ministry of Interior. Fouryears action plan (2009-2012). Bangkok: Department of LocalAdministration (in Thai).Duflo, Esther (2003). Grandmothers and Granddaughters:Old-age pension and intra-household allocation in SouthAfrica. World Bank Economic Review 17(1): 1-25.Easterlin, Richard. 1975. “An economic framework for fertilityanalysis”. Studies in Family Planning 6(3):54-63.East-West Center. 2002. The Future of Population in Asia.Honolulu: East-West Center.Ekpalakorn W et al. (2010) The 4th National HealthExamination Survey (2008-09). Nonthaburi: Health SystemResearch Institute.Entwisle, B., Walsh S.J., Rindfuss, R. R. and Chamratrithirong,A. 1998. Land use/ land cover and population dynamics, NangRong, Thailand. Pp. 121-144 in People and pixels: linkingremote sensing and social science. National ResearchCouncil.Examination Survey III, Thailand." Singapore Med J 49(11):868-73.Feng, Junxin and David D. Li, 2006, “Stages of urbanization:is China’s urbanization poised to take off?” unpublished draft.Frejka, Tomas, Gavin W. Jones and Jean-Paul Sardon, 2010,“East Asian childbearing patterns and policy developments”,Population and Development Review, 36(3): 579-606.Fujioka, Rika & Sopon Thangphet. 2009. Decent work forolder persons in Thailand. (ILO Asia working paper series).Bangkok: ILO Regional Office for Asia and Pacific.Garip, Filiz, and Sara Curran. 2009. Increasing migration,diverging communities: Changing character of migrantstreams in rural Thailand. Population Research and PolicyReview 29:659-685.Glassman, J. and Sneddon, C. 2003, Chiang Mai and KhonKaen as growth poles: regional industrial development inThailand and its implications for urban sustainability. Annalsof the American Academy AAPSS 590:93-115.Gleditsch, N.P., Nordås, R. and Salehyan, I. 2007. ClimateChange and Conflict: The Migration Link. International PeaceAcademy: Coping with Crisis Working Paper Series.Goldstein, Joshua R., Tomas Sobotka and Aiva Jasilioniene,2009, “The end of “lowest-low” fertility?” Population andDevelopment Review, 35(4): 663-699.Goldstein, S. and Goldstein, A. 1986. Migration in Thailand:A Twenty-five Year Review. Papers of the East-WestPopulation Institute No. 100.Goldstein, Sidney and Alice Goldstein, 1986, “Migration inThailand: a twenty-five year review”, Papers of the East-West Population Institute No. 100, Honolulu, Hawaii.Gray, Rossarin, Chai Podhisita, PatamaVapattanawong andAnchaleeVarangrat. 2004. "Fertility decline among the Karenand the Hmong, hill tribe minorities in northern Thailand". Pp.53-75 in The 2004 Thai National Symposium on PopulationStudies. Bangkok: Thai Population Association.Greenspan A. (1994) After the demographic transition: policyresponses to low fertility in four Asian countries. Asia PacPop Policy. Sep(30):1-4.Guest, P. and Jones, G. 1996. Policy options when populationgrowth slows: The case of Thailand. Population Researchand Policy Review 15:109-130.Guest, Philip and Jooean Tan. 1994. Transformation ofMarriage Patterns in Thailand. IPSR Publication No. 176.Bangkok: Institute for Population and Social Research,Mahidol University.Guest, Philip. 1995. “Declining of fertility in Thailand:determinants and consequences.” Pp. 17-95 in The TurningPoint of Population Policy in Thailand, edited by KusolSoonthornthada. Bangkok: Thai Research Fund.Guest, Philip. 1998. Assessing the consequences of internalmigration: methodological issues and a case study onThailand based on longitudinal household survey data. Pp.275-218 in R. Bilsborrow (ed.), Migration, Urbanization andDevelopment: New Directions and Issues. Norwell MA: UnitedNations Population Fund and Kluwer Academic Publishers.เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ143


Havanon, Napaporn, John Knodel & Werasit Sittitrai. 1992.The Impact of Family Size on Wealth Accumulation in RuralThailand. Population Studies 46(1):37-51.Hermalin, Albert I., Mary B. Ofstedal & Rebecca Tesfai.2007. Future characteristics of the elderly in developingcountries & their implications for policy. Asian PopulationStudies 3(1):5-36.Hollingsworth, David Anthony, 2007, The Rise, the Fall, andthe Recovery of Southeast Asia’s Minidragons, LexingtonBooks, Lanham Md.Hugo, G. 2005. Migration in the Asia-Pacific region. GlobalCommission on International Migration (GCIM). Accessedat http://www.gcim.org/mm/File/Regional%20Study%202.pdf 20-Jul-10.Huguet, J.W. and Punpuing, S. 2005. International Migrationin Thailand. International Organization for Migration, RegionalOffice. Bangkok, Thailand.Hunter, L.M. 2004. Migration and Environmental Hazards.University of Colorado at Boulder: Institute of BehavioralScience Research Program on Environment and BehaviorWorking Paper EB2004-0002.Hunter, Lori M., 2000, Environmental Implications ofPopulation Dynamics, Santa Monica: RAND.Institute for Population and Social Research (IPSR). 2002.Report of the baseline survey Round 1 (Kanchanaburi).Knowles, J.C., Pernia, E.M. and Racelis, M. 1999.Social consequences of the financial crisis in Asia. AsianDevelopment Bank Economic Staff Paper No. 60.International Institute for Management Development (2009).IMD world competitiveness yearbook 2009.International Institute for Management Development (2010).IMD world competitiveness yearbook 2010.IPCC - Intergovernmental Panel on Climate Change,Climate Change 2007. Impacts, Adaptation and Vulnerability,Contribution of Working Group II to the Fourth AssessmentReport of the IPCC. Cambridge: Cambridge University Press.James, William E., Seiji Naya and Gerald M. Meier, 1987,Asian Development: Economic Success and Policy Lessons,Madison: University of Wisconsin Press.Jenchitr, Wataneee & Chalao Pongprayoon. 2003. Thenational program for the prevention of blindness and eyehealth promotion and Thailand. The Journal of Public HealthOphthalmology 17(1): 6-19.Jitapunkul, Suttichai, Jiraporn Kespichayawattana, NapapornChayovan & Sasipat Yodpet. 2008. Age Profile - HealthSystem and Long-tem Care in Thailand. Bangkok: Ministryof Social development and Human Security.Jitsuchon, Somchai, 2010, “Fiscal measures for economicand social justice: expanding tax base” in Economic reformfor social justice, A research reported to Thailand ResearchFund. (in Thai).Jones, Gavin W. 2008. Fertility decline in Asia: The roleof marriage change. Asia-Pacific Population Journal22(2):13-32.Jones, Gavin W. 2004. ‘Not “when to marry” but “whetherto marry”: the changing context of marriage decisions inEast and Southeast Asia’. Pp 3-58 in (Un)tying the Knot:Ideal and Reality in Asian Marriage, edited by Gavin W.Jones & Kamalini Ramdas. Asia Research Institute, NationalUniversity of Singapore, Singapore.Jones, Gavin W. and Bina Gubhaju, 2009, “”Factorsinfluencing mean age at first and proportions never marryingin the low-fertility countries of East and Southeast Asia”,Asian Population Studies, 5(3): 237-266.Jones, Gavin W. and Mike Douglass (eds), 2008, Mega-Urban Regions in Pacific Asia: Urban Dynamics in a GlobalEra, Singapore: NUS Press.Jones, Gavin W. and Mike Douglass, 2008, Mega-UrbanRegions in Pacific Asia: Urban Dynamics in a Global Era,Singapore: NUS Press.Jones, Gavin W., 1990, “Population dynamics andeducational and health planning”, Paper No. 8, Training inPopulation, Human Resources and Development Planning,ILO, Geneva.144 เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ


Jones, Gavin W., 2004, “Urbanization trends in Asia: theconceptual and definitional challenges”, in Tony Championand Graeme Hugo (eds), New Forms of Urbanization: Beyondthe Urban-Rural Dichotomy, Aldershot: Ashgate.Jones, Gavin W., 2005, “Policy synthesis on demographicchange and the demographic dividend in Asia: the utility ofeducation in Thailand and Indonesia”, in Kua Wongboonsinand Philip Guest (eds), The Demographic Dividend: PolicyOptions for Asia, Bangkok: College of Population Studies,Chulalongkorn University.Jones, Gavin W., 2007, “Fertility decline in Asia: the role ofmarriage change”, Asia Pacific Population Journal, 22(2):13-32.Jones, Gavin, Paulin Tay Straughan and Angelique Chan,2009, Ultra-low Fertility in Pacific Asia: Trends, Causes andPolicy Issues, London: Routledge.Jylha, Marja. 2009. What is self-rated health and why doesit predict mortality? Towards a unified conceptual model.Social Science & Medicine 69:307-316.Kamnuansilpa, Peerasit and Apichat Chamratrithirong.1985. Contraceptive Use and Fertility in Thailand: Resultsfrom the 1984 Contraceptive Prevalence Survey. Bangkok:NIDA and IPSR.Katz, S., L. G. Branch, et al. (1983). Active life expectancy.N Engl J Med 309(20): 1218-24.Khoman, Sirilaksana, 1993, “Education policy”, in Peter G.Warr (ed), The Thai Economy in Transition, Cambridge:Cambridge University Press.Knodel J & Chayovan N. (2008) Population Ageing and theWell-being of Older Persons in Thailand. Population StudiesCenter Research Report 08-659, University of Michigan:Population Studies Center, October 2008.Knodel, J., Kespichayawattana, J., Wiwatwanich, S. andSaengtienchai, C. 2007. Migration and IntergenerationalSolidarity: Evidence from Rural Thailand. Bangkok: UNFPA.Knodel, John & Chanpen Saengtienchai. 2007. Rural Parentswith Urban Children: Social and Economic Implications ofMigration on the Rural Elderly in Thailand. Population, Spaceand Place 13(3):193-210.Knodel, John & Napaporn Chayovan. 2008. PopulationAgeing and the Well-Being of Older Persons in Thailand:Past trends, current situation and future challenges. Papersin Population Ageing No. 5. Bangkok: UNFPA.Knodel, John and Malinee Wongsith, 1989, “monitoringthe education gap in Thailand: trends and differentials inlower and upper secondary schooling”, Asian and PacificPopulation Forum, 3(4): 25-35.Knodel, John, Aphichat Chamratrithirong and NibhonDebavalya. 1987. Thailand's Reproductive Revolution: RapidFertility Decline in a Third World Setting. Madison: Universityof Wisconsin Press.Knodel, John, Aphichat Chamratrithirong, NapapornChayovan and Nibhon Debavalya. 1982. Fertility inThailand: Trends, Differentials, and Proximate Determinants.Washington, D.C.: National Academy of Sciences.Knodel, John, Jiraporn Kespichayawattana, SuvineeWiwatwanich and Chanpen Saengtienchai. 2007. Migrationand Inter-generational Solidarity: Evidence from RuralThailand. In UNFPA Country Technical Services Team forEast and Southeast Asia, Papers in Population Ageing Series,Number 2. Bangkok: UNFPA.Knodel, John. 1997. "The Closing of the Gender Gap inSchooling: The Case of Thailand," Comparative Education33(1): 61-86,Kojima, Reeitsu, 1995, “Urbanization in China”, TheDeveloping Economies, XXX111-2: 121-154.Kritaya Archavanitkul and Pramote Prasartkul. Nakhonpathom:Population and Social Printing. (in Thai)Kritaya Archavanitkul. 2011 (forthcoming). Facts and Figuresof Cross-border Migrants and People with Personal LegalStatus Problems in Thailand. Nakhonpathom: Institute forPopulation and Social Research, Mahidol University. (in Thai)Lam, T.Q., Bryant, J.R., Chamratrithirong, A. and Savangdee,Y. 2007. Labor migration in Kanchanaburi Demographicเอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ145


Surveillance System: characteristics and determinants.Journal of Population and Social Studies 16:117-144.Lee, R. and A. Mason (2010).“Fertility, human capital, andeconomic growth over the demographic transition” EuropeanJournal of Population. 26(2): 159-182.Leoprapai, Boonlert and VarachaiThongthai. 1989.Contraceptive Practice of Thai Women 1987: Results of theStudy on Determinants and Consequences of ContraceptiveUse Patterns in Thailand. Nakhonpathom: Institute forPopulation and Social Research, Mahidol University. IPSRPublication No.138.Lightfoot, P. and Fuller, T. 1983. Circular rural-urbanmovement and development planning in Thailand. Geoforum14(3):277-287.Litwak, Eugene & S Kulis. 1987. Technology, Proximity,and Measures of Kin Support. Journal of Marriage and theFamily 49(3):649-61Lutz, W., A. Prskawetz, and W.C. Sanderson, Eds.2002. Population and Environment. Methods of Analysis.Supplement to Population and Development Review, Vol.28, 2002. New York: The Population Council.Martin, P. 2009. Migration in the Asia-Pacific Region: Trends,factors, impacts. UNDP: Human Development ResearchPaper 2009/32.Mason, A. (2005). Demographic transition and demographicdividends in developed and developing countries. UnitedNations Expert Group Meeting on Social and EconomicImplications of Changing Population Age Structures, MexicoCity, August 31 - September 2, 2005Mason, A., R. Lee, A.C Tung, M. Lai, and T. Miller (2009).“Population aging and intergenerational transfers: introducingage into national accounts, developments in the economics ofaging”, edited by David Wise. (National Bureau of EconomicResearch: University of Chicago Press). pp. 89-122.McDonald, Peter, 2002, “Sustaining fertility through publicpolicy: The range of options”, Population (English Edition),Vol. 57, no. 3McDonald, Peter, 2002, “Sustaining fertility through publicpolicy: the range of options”, Population (English Edition),57(3): 417-446.Mckinsey&Company (2007). How the world’s best-performingschool systems come out on top, September.McMichael AJ, Woodruff R & Hales S. 2006, Climate changeand human health: Present and future risks. The Lancet;367: 859-69.Ministry of Commerce- Department of Export Promotion(2008). Statistics of foreign patients. (unpublished).Ministry of Education. 2008. Synthesis report of conditions andfactors affecting Thailand education quality. Bangkok:V.T.CCommunication.(in Thai).Ministry of Labor. Ministry of Labor’s implementation plan in2010 relating to elderly. http://www.mol.go.th/anonymouse/policy_vision_missionMinistry of Public Health (MOPH) (1997). National HealthExamination Survey (1996-7). Nonthaburi, Ministry of PublicHealth.Ministry of Public Health (MOPH) (2004). National HealthExamination Survey (2003-4). Nonthaburi, Ministry of PublicHealth.Ministry of Public Health, Personnel Administration Division.(2008). Administrative Registration database.Ministry of Public Health, Personnel Administration Division.(2010). Administrative Registration database.Ministry of Public Health, with support from the UnitedNations Population Fund (UNFPA), 2010, ICPD at 15 Report:Progress and Challenges in Implementing the Programmeof Action in Thailand, Nonthaburi: Ministry of Public Healthof Thailand.Ministry of Social Development and Human Security.2010. Survices for Hill Tribes. http://www.m-society.go.th/msoservice_detail.php?pageid=216 . (accessed 1st August2010).146 เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ


Montgomery, Mark R., review of World Bank, WorldDevelopment Report 2009, in Population and DevelopmentReview, 35(1): 197-199.Myers, Charles and Chalongphob Sussangkarn, 1992,Educational Options for the Future of Thailand, Bangkok:Thai Development Research Institute.National Economic and Social Development Board ofThailand (NESDB). 1999. Poverty and inequality during theeconomic crisis in Thailand. Indicators of well-being andpolicy analysis, a newsletter of the NESDB 3(1).National Economic and Social Development Board. 2009.Thailand millennium development goals report 2009.Bangkok: NESDB. (in Thai)National Economic and Social Development Board. 2009.Thailand’s vision in 2027. A report from annual conferencein 2009 (in Thai).National Economic and Social Development Board. 2009.Thailand’s vision in 2027. A report from annual conferencein 2009 (in Thai).National Statistical Office (NSO) (1986). Health and WelfareSurvey. Bangkok, National Statistical Office.National Statistical Office (NSO) (1994). Report of the 1994Survey of Elderly in Thailand. Bangkok, National StatisticalOffice.National Statistical Office (NSO) (2002). Disability Survey.Bangkok, National Statistic Office.National Statistical Office (NSO) (2002). Report of the 2002Elderly in Thailand Survey. Bangkok, National StatisticalOffice.National Statistical Office (NSO) (2003). Health and WelfareSurvey. Bangkok, National Statistic Office.National Statistical Office (NSO) (2006). Health and WelfareSurvey. Bangkok, National Statistical Office.National Statistical Office (NSO) (2007). Disability Survey.Bangkok, National Statistic Office.National Statistical Office (NSO) (2007). Health and WelfareSurvey. Bangkok, National Statistical Office.National Statistical Office (NSO) (2007). Report of the 2007Older Person in Thailand. Bangkok, National Statistic Office.National Statistical Office (NSO). n.d. Analysis Report No.1:Migration. Bangkok: National Statistical Office, Office of thePrime Minister.National Statistical Office. 1993. Report the Social AttitudeTowards Children Survey 1993. Bangkok: Statistical DataBank and Information Dissemination, National StatisticalOffice. (in Thai)National Statistical Office. 2006. Report of 2006 ReproductiveHealth Survey. Bangkok: Statistical Forecasting bureau,National Statistical Office. (in Thai)National Statistical Office. 2007. Report on the 2005-2006 Survey of Population Change. Bangkok: StatisticalForecasting Bureau, National Statistical Office.National Statistical Office. 2010. Report of 2009 ReproductiveHealth Survey. Bangkok: Statistical Forecasting bureau,National Statistical Office. (in Thai)Neyer, Gerda and Gunnar Andersson, 2007, “Consequencesof family policies on childbearing behaviour: effects orartifacts?” MPIDR Working Paper WP 2007-021, Max PlanckInstitute for Demographic Research, Rostock, Germany.Noree T (2010). Doctor income. (unpublished).Nursing Council (2010) Nursing Production Plan.(unpublished).O’Neil, BC, Lutz, W, Mackellar, L 2005. Population andClimate Change. Cambridge University Press. Cambridge.Office of Foreign Workers Administration. 2010. MonthlyStatistics, March 2010. http://wp.doe.go.th/sites/default/files/statistic/7/sm03-53.pdf . (accessed 1st August 2010).Office of Permanent Secretary, Ministry of Social Developmentand Human Security. Four years Ministry’s action plan (2008-2011) (in Thai).เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ147


Office of the Basic Education Commission. 2010.EducationInformation. http://doc.obec.go.th/doc/web_doc/#h4.(accessed 15th September 2010).Office of the Education Council, Ministry of Education.2009. Education statistics in Thailand academic year 2008.Bangkok:Prikwan Graphic. (in Thai).Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education.2008. Geographical, economic, political and social data.Available URL:http://www.moe.go.th/data_stat/Download_Excel/BriefStat/2009-09-04_statistics2551.xls (in Thai).Office of the Prime Minister, National Elderly Plan Vol. 2(2002-2021). Bangkok (in Thai).Ogawa, N., A. Chawla and R. Matsukura (2009).Some newinsights into the demographic transition and changing agestructures in the ESCAP region.Asia-Pacific PopulationJournal 24(1): 87-116.Ogawa, N., A. Mason, A. Chawla, R. Matsukura and A. Tung.(2009).Declining fertility and the rising cost of children, Whatcan NTA say about low fertility in Japan and other Asiancountries? Asian Population Studies 5(3): 289-307.Ogawa, N., A. Mason, A. Chawla, R. Matsukura. (2010).Japan’s unprecedented aging and changing intergenerationaltransfers, in The economic consequences of demographicchange in East Asia edited by Takatoshi Ito and Andrew Rose,NBER-EASE Voumen 19, pp. 131-160, National Bureau ofEconomic Research, Inc.Organisation for Economic Co-operation andDevelopment (OECD). n.d. What are equivalence scales?OECD Project on Income Distribution and Poverty.Accessed at http://www.oecd.org/LongAbstract/0,3425,en_2649_33933_35411112_1_1_1_1,00.htmlOuyyanont, P. 1998. Bangkok as a magnet for rural labour:changing conditions, 1900-1970. Southeast Asian Studies36(1):78-108.Pachanee C, Wibulpolprasert S (2006) Incoherent policieson universal coverage of health insurance and promotionof international trade in health services in Thailand. HealthPolicy Plan. 21:310-318.Pagaiya N (2008) Health workforce requirement for agedcare. Available at : http://www.thainhf.org/document/media/media_677.pdf (July 16th, 2010).Patcharanarumol W, Tangcharoensathien V, LimwattananonS, Panichkriangkrai W, Patchanee K (2010). Why and howThailand achieved Good Health at Low Cost? Nonthaburi,Ministry of Public Health, International Health Policy Program.20 August 2010Phananiramai, Mathana. 1997. Population changes andeconomic developments in Thailand: their implication onwomen’s status. TDRI Quarterly Review, Vol. 12(3):15-26.Phélinas, P.M. 2001. Sustainability of rice production inThailand. Hauppauge, New York: Nova Science Publishers,Inc.Pimonpan Isarabhakdi and Sukanya Chongthawonsatid.2004. "Fertility of migrants from Myanmar in RanongProvince". Pp 35-52 in The 2004 Thai National Symposiumon Population Studies. Bangkok: Thai Population Association.(in Thai)Podhisita, Chai and Peter Xenos, 2008, Survey Comparisonsof the Sexual Risk Behavior of Young Adults in Thailand,Vietnam and the Philippines, IPSRPodjanalawan, Pinyapun. 2009. The National Mother Day in1937: Sex, Love and National Female Breeder. PrachathaiOn-line Newspaper. www.artgazine.com/shoutouts /viewopic.php?t=9180 (in Thai).Pongpaichit, Pasuk and Chris Baker, 1998, Thailand’s Boomand Bust, Chiang Mai: Silkworm Books.Population Division of the Department of Economic andSocial Affairs of the United NationsPorapakkham, Y., J. Pattaraarchachai, et al. (2008)."Prevalence, awareness, treatment and control ofhypertension and diabetes mellitus among the elderly: the2004 National HealthPotipiti, T. 2010. Unskilled migrant workers and Thai agingproblems. Working paper prepared for the Thailand ResearchFund.148 เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ


Potipiti, Tanapong. 2010. The number of unskilled migrantworkers from Mynmar, Lao, and Cambodia in the future andthe demand for migrant workers in aging society. ThailandResearch Fund. (in Thai)Poungsomlee, A. and Ross, H. 1992. Impacts of modernizationand urbanization in Bangkok: an integrative ecological andbiosocial study. Institute for Population and Social ResearchNo. 164.Prachuabmoh, Vipan 2009. “Preparation for Old Age andSocial Participation of Present and Future Older Personsin Thailand: Gender Difference”, Paper presented at theConference on ‘Workshop on Gender and Ageing inSoutheast Asia: Contexts, Concerns and Contradictions,February 10-11, 2009, organized by Asia Research Institute,National University of Singapore.Prachuabmoh, Vipan , Napaporn Chayovan, MalineeWongsit, Siriwan Siriboon, Busarin Bangkaew, and ChanetteMilingtangul. 2008. The Project on Setting-Up the Systemfor Monitoring and Evaluation of the Second National Planfor Older Persons (2002-2021). Bangkok: Thanwa Printing.Prachuabmoh, Vipan and Preeya Mithranon, 2003, “Belowreplacement fertility in Thailand and its policy implications”,Journal of Population Research, 20(1): 35-50.Prachuabmoh, Vipan and Preeya Mithranon, 2003, “Belowreplacement fertility in Thailand and its policy implications”,Journal of Population Research, 20(1): 35-50. (in Thai)Pramote Prasartkul and PatamaVapattanawong. 2008.“Population Dimension and Families of the Two Generations.”Pp 18-27 in 2008 Population and Social: Thai Families in theSocial and Demographic Transitions, edited by Chai Podhisitaand SuchadaThaweesit. Nakhonpathom: Population andSocial Printing. (in Thai)Pramote Prasartkul and PatamaVapattanawong. 2005.“Population Situation of Thailand, B.E. 2548.” Pp 14-31in 2005 Population and Social:Population of Thailand on2005, edited byPunpuing, S. 1999. Bangkok and its environment as thecontext of commuting. Journal of Population and SocialStudies 7(2): 33-69.Rattanawarang, W. 2009. Migration and land use change:a case study in Nang Rong, Buriram Province. PhDDissertation, Institute for Population and Social Research,Mahidol University.Rattanawarang, W. and Punpuing, S. 2003. Migration andland size change: a case study in Nang Rong, Buriram,Thailand. Journal of Population and Social Studies, 11(2):95-119.Richter, K., Benjamin A.E. and Punpuing, S. 2009. Populationand Environment in Asia and the Pacific: Trends, Implicationsand Prospects for Sustainable Development. Asia and PacificPopulation Journal 24(1):35-64.Richter, K., Guest, P., Boonchalaksi, W., Piriyathamwong,N. and Ogena, N. 1997. Migration and the Rural Family:Sources of Support and Strain in a Mobile Society. Reportof the Northeastern Follow-up to the National MigrationSurvey. Mahidol University. Institute for Population andSocial Research.Rindfuss, R., Prasartkul, P., Walsh, S.J., Entwisle, B.,Sawangdee, Y. and Vogler, J.B. 2003. Household-parcellinkages in Nang Rong, Thailand: challenges of largesamples. Pp. 131-172 in Fox, J., Rindfuss, R., Walsh, S.J.and Mishra, V. (eds.), People and the Environment. KluwerAcademic Publishers.Robinson, Warren C. and John A. Ross (eds), 2007, TheGlobal Family Planning Revolution: Three Decades ofPopulation Policies and Programs, Washington D.C.: TheWorld Bank.Robinson, Warren C. and Yawalaksana Rachapaetayakom,1993, “The role of government planning in Thailand’sfertility decline”, in Richard Leete and Iqbal Alam (eds),The Revolution in Asian Fertility: Dimensions, Causes andImplications, Oxford: Clarendon Press.Robinson, Warren C. and Yawalaksana Rachapaetayakom,1993, “The role of government planning in Thailand’sfertility decline”, in Richard Leete and Iqbal Alam (eds),The Revolution in Asian Fertility: Dimensions, Causes andImplications, Oxford: Clarendon Press.เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ149


Rosenfield, Allan G. and Caroline J. Min, 2007, “Theemergence of Thailand’s National Family Planning Program”,in Warren C. Robinson and John A. Ross (eds), The GlobalFamily Planning Revolution: Three Decades of PopulationPolicies and Programs, Washington D.C.: The World Bank.Rosenfield, Allan, Anthony Bennett, Somsak Varakamin andDonald Lauro, 1982, “Thailand’s family planning program:an Asian success story”, International Family PlanningPerspectives, 8(2): 43-51.Rumakom, Patchara, PramotePrasartkul, Philip Guest,VorachaiThongthat and SureepongPunpuing. (2002).Change to the epidemiological transition in Thailand due toHIV/AIDS: Implications for population and health policies.Paper presented at the 2002 IUSSP Regional PopulationConference, Bangkok, 10-12 June 2002. http://www.iussp.org/Bangkok2002/S07Rumakom.pdfSakunpanich T. et al (2009). Trend of cost and service inThai health delivery systems. Preliminary reportSchwab, Klaus (editor) (2009). The global competitivenessreport 2009-2010.World Economic Forum.Sciortino, R. and Punpuing, S. 2009. International Migrationin Thailand 2009. International Organization for Migration,Regional Office. Bangkok, Thailand.Siamwalla, Amar, Suthad Setboonsarng and DirekPatemasiriwat, 1993, “Agriculture”, in Peter G. Warr (ed),The Thai Economy in Transition, Cambridge: CambridgeUniversity Press.Sirirak, Supakit. 2009. “Preparation for elderly healthcareservices in Thailand”, Journal of Public Health Policy andPlanning, 10 (January-December): 1-2 (in Thai).Siritrangsri, Pinsuda (2008).Research of the future: researchon scenario of Thai education in the next 10-20 Years.Proposed to Office of the Education Council,Ministry ofEducation. Bangkok:Pimdee Printing.(in Thai).Skeldon, R. 1999. Migration in Asia after the economic crisis:patterns and issues. Asia and Pacific Population Journal14(3):3-24.Smith RD, Chanda R, Tangcharoensathien V. (2009) Tradein health-related services. The Lancet; 373: 593-601.Soe, Khaing Khaing. Factors affecting the timing of firstmigration: a case study of Kanchanaburi DSS areas. PhDDissertation, Institute for Population and Social Research,Mahidol University.Storey, D. 2005. Urban water pollution, communities and theState in Southeast Asia. Paper presented to the workshop onWater in Mainland Southeast Asia, Siem Reap, 30 Novemberto 2 December 2005.Suhrke, A. 1993. Pressure points: environmental degradation,migration and conflict. Cambridge: American Academy of Artand Science. Accessed at http://www.cmi.no/publications/publication/?1374=pressure-points-environmentaldegradation11-Jul-10.Sussangkarn, C. 1990. Labour market in an era of adjustment:a study of Thailand. Paper prepared for the workshop on“Labour market in an era of adjustment”, Warwick University.Accessed at http://www.ftadigest.com/reports/published/h40.pdf 28-Aug-10.Sussangkarn, C. and Chalamwong, W. 1996. Thailand:development strategies and their impacts on labor marketsand migration. Pp. 91-126 in O’Connor, D. and Farsakh, L.,Development Strategy, Employment and Migration: CountryExperiences. Organization for Economic Cooperation andDevelopment (OECD).Sussangkarn, Chalongphob, 1988, “Production structures,labor markets and human capital investments: issues ofbalance for Thailand”, NUPRI Research Paper Series No.46, Nihon University Population Research Institute.Tangcharoensathien V., Prakongsai P., Limwattananon S.,Patcharanarumol W., and Jongudomsuk P. (2009) Fromtargeting to Universality : lessons from the health system inThailand(Chapter 16). In Peter Townsend, editor. Buildingdecent societies : rethinking the role of social security indevelopment, 310-322. Houndmills, Basingstoke, Hampshire: Palgrave Macmillan.Tantivess, S. and G. Walt (2008). "The role of state andnon-state actors in the policy process: the contribution of150 เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ


policy networks to the scale-up of antiretroviral therapy inThailand." Health Policy Plan 23(5): 328-38.Taub, Eric. 2010. The Technology for Monitoring Elderly.New York Times (July 28, 2010)Thai Health Research Institute (1992). National HealthExamination Survey (1991-2). Nonthaburi, Health SystemResearch Institute.Thailand Development Research Institute. 2009. Strategic forcountry’s development in service sector. A research projectsubmitted to the Office of the National Social and EconomicDevelopment Board. (in Thai).The Office for National Standards and Quality Assessment(2008).Annual report 2008 (October1, 2007 - September30, 2008). (in Thai).The Thai Working Group on Burden of Disease. (2008)Burden of Disease and Injury in Thailand. Nonthaburi:International Health Policy Program, Ministry of Public Health.The Thai Working Group on National Health Account. (2010)National Health Expenditure 1994 to 2008. Nonthaburi,International Health Policy Program, Ministry of Public Healthhttp://ihppthaigov.net/index.php?option=com_content&task=view&id=117&Itemid=124 [access 18 April 2010]Toyota, Mika, 2006, “Ageing and transnational householding: Japanese retirees in Southeast Asia”, InternationalDevelopment Planning Review, 28(4): 515-531Tsay, C. 2002. Labour migration and regional changes in EastAsia: outflows of Thai workers to Taiwan. Paper presentedat the IUSSP Conference on “Southeast Asia’s Populationin a Changing Asian Context”, Bangkok, Thailand.UNFPA, 2009, State of World Population 2009. Facing aChanging World: Women, Population and Climate, NewYork: UNFPA.UNFPA. 2005. Reproductive Health of Women in Thailand:Progress and Challenges Towards Attainment of InternationalDevelopment Goals. UNFPA Country Technical ServicesTeam for East and South-East Asia, Bangkok, Thailand.UNFPA. 2010. ICPD at 15 Report: Progress and Challengesin Implementing the Programme of Action in Thailand. UNFPAand Department of Health, Ministry of Public Health.United Nations (UN). 1956. The Ageing of Populations & ItsEconomic & Social Implications. New York, United Nations.United Nations Department of Economic and Social Affairs,Population Division. 2010. World urbanization prospects:the 2009 revision database. Accessed at http://esa.un.org/wup2009/unup/ 14-Jul-10.United Nations Population Division, 2009, World PopulationProspects: the 2008 Revision, New York: United Nations.United Nations Population Fund (UNFPA). 2007. State ofthe World’s Population 2007: Unleashing the Potential ofUrban Growth.United Nations, 2010, The World’s Women 2010, New York:United Nations Department of Economic and Social Affairs.United Nations. 2002. Report of the Second World Assemblyon Ageing: Madrid, 8-12 April 2002. United Nations: NewYork.United Nations. 2010. Human Development Report.Accessed at http://hdr.undp.org/en/media/HDR_2010_EN_Tables_reprint.pdf 21-December-2010.Van Landingham M, Hirschman C. (2001) Populationpressure and fertility in pre-transition Thailand. Popul Stud(Camb); 55:233-48.VanWey, L.K. 2003. Land ownership as a determinant oftemporary migration in Nang Rong, Thailand. EuropeanJournal of Population 19: 121-145.Varachai Thongthai. 2001. “Age at first birth: an importantdeterminant of low fertility.” Pp 177-190 in The 2001 ThaiNational Symposium on Population Studies. Bangkok: ThaiPopulation Association. (in Thai)Vine, D. 2005. The Other Migrants: Cause and Prevention inInvoluntary Displacement and the Question of “EnvironmentalRefugees”. Pp. 141-153 in International Migration and theMillennium Development Goals: Selected Papers Of Theเอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ151


UNFPA Expert Group Meeting Marrakech, Morocco 11-12May 2005.Viravaidya, Mechai. 1979, “Caution! frequent child bearing ortoo many children”. Journal of Rural Doctor, 7 (November):19. (in Thai).Walsh S.J., Rindfuss, R. R. , Prasartkul, P., Entwisle, B.,and Chamratrithirong, A. 2005. Population Change and LandUse Dyanmics. Pp. 135-159 in Entwisle, B. and. Stern, P.C.Population, land use, and environment: research directions.National Academy of Sciences.Walsh, S.J., Evans, T.P., Welsh, W.F., Entwisle, B. andRindfuss, R. 1999. Scale-dependent relationships betweenpopulation and environment in Northeastern Thailand.Photogrammetric Engineering & Remote Sensing, 65:97-105.Warakamin, Suwanna, Nongluk Boonthai and VirojTangcharoensathien. 2004. “Induced abortion in Thailand:Current situation in public hospitals and legal perspectives.”Reproductive Health Matters 12(Supplement 24):147-156.Watcharaseranee, Nahathai, Pitcha Pinchantra and SomkidPiyaman. 2006. “The incidence and complications of teenagepregnancy at Chonburi hospital.” Journal of the MedicalAssociation of Thailand 89(Supplement 4):S118-S123.Wibulpolprasert S Ed (2008) Thailand Health Profile 2001-2004. Bangkok, Thailand: Bangkok: Express TransportationOrganization.Wibulpolprasert S, Pengpaiboon P (2003) Integratedstrategies to tackle the inequitable distribution of doctors inThailand: four decades of experience. Human Resourcesfor Health; 1:12.Wichai Aekplakorn (editor). 2010. National HealthExamination Survey IV, 2008-2009. Nonthaburi: NationalHealth Examination Survey Office. (in Thai)World Health Organisation (WHO) (1999).The World HealthReport 1999: making a difference. Geneva, World HealthOrganisation.World Health Organisation (WHO) (2006) The World HealthReport 2006. Working together for health. Geneva: WorldHealth Organization.Yawarat Porapakkham and Porapan Punyaratabandhu(editors). 2006. National Health Examination Survey III,2003-2004. Nonthaburi: Health System Research Instituteand Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health.(in Thai)Yoddumnern-Attig, B., Attig, G.A., Santiphop, T.,Rojnkureesstlen, K., and Vorasiriamorn, Y. 2004. Populationdynamcs and community forestry in Thailand: Understandingand incorporating population issues into forestry developmentplans and programs. Institute for Population and SocialResearch, Mahidol University.Zimmer, Zachary and John Knodel. 2010. Return Migrationand the Health of Older Aged Parents: Evidence from RuralThailand. Journal of Aging and Health 21 (forthcoming in2010).152 เอกสารอางอิงภาษาอังกฤษ


Office of the National Economicand Social Development BoardGOINGGREENISBN: 978-974-680-287-1Printed on recycled paperUnited Nations Population Fund

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!