13.07.2015 Views

Español

Español

Español

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1. ความสําคัญของการแตงงานชาลงตออัตราการเกิดที่ลดลงปจจัยนี้เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหประเทศในเอเชียตะวันออกมีภาวะเจริญพันธุที่ตํ่า (Jones, 2007)2. ในหลายๆ ประเทศแถบเอเชีย องคประกอบที่สําคัญหนึ่งที่ภาวะเจริญพันธุ ตํ่ามากคืออัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผูหญิงเพิ่มขึ้น และความยากลําบากของผูหญิงที่ตองทํางานไปดวยเลี้ยงลูกไปดวย อัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผูหญิงคิดเปนสัดสวนที่สูงมาโดยตลอด (ดังตารางที่7.8) และไมเปลี่ยนแปลงมากนักในชวงเวลาที่อัตราเจริญพันธุ ในไทยลดลงดังนั้นดูเหมือนวาสําหรับประเทศไทยการลดลงของภาวะเจริญพันธุ จะไมไดมีความสัมพันธกับอัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผูหญิงดังเชนประเทศแถบเอเชียตะวันออก อยางไรก็ตามการลดลงของภาวะเจริญพันธุอาจมีความสัมพันธกับรูปแบบการจางงานสําหรับผูหญิงที่เปลี่ยนแปลงไป เชน การเปลี่ยนแปลงโครงสรางอาชีพ และการเพิ่มสัดสวนงานที่ทําใหผูหญิงอยูหางไกลจากบานมาก ซึ่งเห็นไดชัดในตารางที่ 7.8วาโครงสรางการจางงานของผูหญิงในประเทศไทยไดเปลี่ยนไปมากตั้งแตชวงป 2523-2533 สวนแบงการจางงานในภาคเกษตรลดลงเกือบครึ่งในขณะที่สัดสวนของอุตสาหกรรมเพิ่มมากกวาสองเทาและในภาคบริการเพิ่มเกือบสามเทา การจางงานของผูหญิงในภาคตลาดทางการเพิ่มมากขึ้นอยางชัดเจนแนวโนมเหลานี้นาจะมีผลตอการตัดสินใจมีบุตรของผูหญิงและพอแมโดยทั่วไป3. ในประเทศไทย ไมเหมือนกับประเทศในแถบเอเซียตะวันออกภาวะการเปนเมืองที่ตํ่ากวาหมายถึงวาการเพิ่มภาวะเจริญพันธุโดยรวมจะตองใหผูหญิงทั้งในเมืองและชนบทเพิ่มภาวะเจริญพันธุ ทั้งหมด นโยบายในประเทศแถบเอเซียตะวันออกไดพัฒนานโยบายที ่เนนเฉพาะคนเมือง ซึ่งอาจจะทําใหไมเหมาะกับกรณีประเทศไทย ในทางตรงกันขาม มีขอสังเกตวา อัตราความเปนเมืองที่แทจริงของประเทศไทยนั้นสูงกวาอัตราที่ทางการประกาศ ในชวงตั้งแตป2523 เมื่อสัดสวนการจางงานของผู หญิงในภาคเกษตรลดลงเกือบครึ่งนั้น สัดสวนของประชากรในเขตชนบทลดลงจากรอยละ 73.2 เปนรอยละ 66.0 จะเห็นวาอัตราความเปนเมืองและการจางงานในภาคเกษตรไมไดเปลี่ยนไปในทางที่สอดคลองกันนโยบายที่จะมีอิทธิพลตอรูปแบบการมีบุตรในบริบทเฉพาะของประเทศไทย ตามที่ไดกลาวขางตนดูเหมือนวามีความแตกตางระหวางบริบทในประเทศไทยและประเทศในเอเชียตะวันออกที่มีภาวะเจริญพันธุตํ่าอื่นๆ แตความแตกตางนั้นอาจจะไมมากมายนักเหมือนกับที่คาดการณในตอนแรกตารางที่ 7.8 การเปลี่ยนแปลงอัตราการเขารวมกําลังแรงงานของผู หญิง และโครงสรางการจางงานของประเทศไทยในป 2523-25532523 2528 2533 2538 2543 2548 2553การเปลี่ยนแปลงการเขารวมในกําลังแรงงานหญิงอายุ 40-64 84.4 82.1 84.4 81.1 77.9 78.9 78.3อายุ 20-39 80.4 76.0 78.5 73.6 72.8 75.0 76.3รวม ชวงอายุ 20-64 83.0 80.0 82.3 78.1 75.7 77.1 77.3รอยละ การจางงานแรงงานหญิง ในภาคการเกษตร 71.7 67.4 63.4 52.9 46.9 40.0 38.4ภาคอุตสาหกรรม 8.0 9.5 12.6 17.4 17.9 19.8 18.7ภาคการคา 10.7 11.2 11.4 14.3 16.1 14.9 16.0ภาคบริการ 9.5 11.9 12.6 15.4 19.0 25.2 26.9รอยละ ลูกจาง (หรือ ผูที่ไดรับคาจาง) ที่เปนหญิงภาคการเกษตร 47.6 46.9 45.0 48.1 45.0 44.2 43.5นอกภาคการเกษตร 31.6 35.0 39.0 39.4 43.8 45.8 45.8รวม 34.7 37.7 40.2 40.7 44.0 45.6 45.5*รวม การกอสราง, การขนสง, การไฟฟา กาซและการประปาแหลงขอมูล: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากร สํานักงานสถิติแหงชาติ132 การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!