13.07.2015 Views

Español

Español

Español

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Montgomery (2552) ไดทบทวนงานศึกษาของธนาคารโลก และใหขอคิดเห็นวารายงานของธนาคารโลกอาจมองโลกในแงดีเกินไปเกี่ยวกับประโยชนที่เกิดจากการกระจุกตัวเชิงพื้นที่ เขาแยงวาในประเทศยากจนที่มีการบริหารจัดการไมดีและไมมีธรรมาภิบาลอาจจะเปนอุปสรรคตอผู ประกอบการในการฉกฉวยประโยชนอยางเต็มที่ในการอยูในเมือง เมื่อภาครัฐไมสามารถจัดหาบริการไฟฟาและนํ้าประปาไดอยางเพียงพอและนาเชื่อถือ และเมื่อระบบคมนาคมขนสงของเมืองมีการจัดการที่แย การจราจรติดขัด ก็จะนําไปสูความยุงเหยิงได ขอคิดเห็นของเขานําไปใชไดกับประเทศที่ยากจนที่สุดมากกวาประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียตะวันออก รวมทั้งประเทศไทยดวย ซึ่งมีการการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วและยั่งยืน ประเทศเกาหลีใต จีน มาเลเซียไทย และอินโดนีเซีย เปนตัวอยางที่ดีที่แสดงใหเห็นถึงบทบาทของการกระจุกตัวเชิงพื้นที่ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจตอการเติบโตทางเศรษฐกิจของชาติที่รวดเร็ว บทบาทของกรุงเทพในการเปนกลจักรสําคัญตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเปนสิ่งที่เห็นไดอยางชัดเจนโดยทัศนะเชิงทางดานนโยบาย การกระจายตัวและการเติบโตของประชากรในไทยจําเปนตองมีการประเมินอยางระมัดระวัง จากที่กลาวมาขางตนวาประชากรไทยเติบโตอยางชาๆ โดยคาดวาจะเติบโตขึ้นอีกระหวาง 1.5 -6 ลานคน กอนที่จะลดจํานวนลง ในขณะที่ระดับความเปนเมืองอยูในระดับตํ่า สัดสวนประชากรเมืองคาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ และจํานวนประชากรในชนบทจะลดลง มีแนวโนมวาภาครัฐอยากเขามาแทรกแซงวาประชากรในเมืองที่กําลังโตขึ้นนั้นควรที่จะอยู ที่ไหน และหาแนวทางจํากัดการลดลงของประชากรในชนบท อยางไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงนโยบายที่ควบคุมการเติบโตของประชากรในมหานครกรุงเทพ และนโยบายที่จะสนันสนุนการเติบโตของเมืองเล็กควรทําดวยความระมัดระวังและทําในบริบทของการพัฒนาระดับภูมิภาคมากกวาไมมีความจําเปนที่จะตองพยายามทําใหการเจริญเติบโตในกรุงเทพชาลง แตก็ไมสนับสนุนใหอุตสาหกรรมหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจตั้งอยู ในเขตกรุงเทพมากเกินพอดี หรือไมเพิ่มแรงจูงใจราคาแพงสําหรับการเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่ลาหลังมีแนวโนมวาบางภูมิภาคจะมีประชากรลดลง เพราะวาการลดลงของประชากรในชนบทนั้นมากกวาการเพิ่มขึ้นของประชากรเมืองในภูมิภาค การวางแผนเพื่อเผชิญกับการลดลงของประชากรเปนสิ่งสําคัญ หลายๆ ประเทศในโลกก็ไดเคยเผชิญมาแลว เห็นไดจากยุโรปและเอเชียตะวันออก บทเรียนของประเทศเหลานี้ในการจัดการกับการลดลงของประชากรในพื้นที่ชนบทจําเปนตองมีการศึกษาอยางละเอียดรอบครอบประเทศไทยยังตองเผชิญกับความหนาแนนทางประชากรตามฤดูกาล ที่มาจากการอพยพในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งในประเทศและนอกประเทศ เนื่องจากกําลังแรงงาน (Labour force) ของประเทศไทย เพิ่มในอัตราการที่ชา ผนวกกับคาจางที่แตกตางกันอยางมากระหวางประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน ลวนเปนสิ่งยืนยันไดอยางดีวา การอพยพระหวางประเทศ จะคงมีตอไปในประเทศไทย ซึ่งอาจมีมากขึ้นไปอีกหากเกิดความไมแนนอนทางการเมืองจากประเทศนั้นๆ แมแรงงานอพยพเหลานี้เปนแรงงานที่ยืดหยุนสูง ซึ่งจําเปนตอตลาดแรงงาน แตควรมีนโยบายที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับความตองการทางดานสังคมโดยเฉพาะเรื่องการศึกษา และสุขภาพ ของแรงงานอพยพกลุ มนี้ และเพื่อลดความเสี่ยงจากการอพยพ รวมทั้ง ความอดอยาก, สภาพแวดลอมที่อาศัยที่ไมถูกหลักสุขอนามัย, ความยกจน, การไมรูหนังสือ, ความเสี่ยงตอการคุกคามทางเพศกับการคาประเวณี และภัยอันตรายจากการประกอบอาชีพ ( Sciortino และ Punpuing,2552) ขอมูลควรไดรับการบริหารจัดการใหดีขึ้นเพื่อทําใหสามารถเก็บขอมูลในเรื่องจํานวนประชากรและความตองการของแรงงานตางดาวไดดีขึ้น และเพื่อใหไดขอมูลของแรงงานตางดาวราว 2ลานคน ผู มาจากภูมิภาคลุ มแมนํ้าโขง ที่กําลังอยู อาศัยและทํางานในประเทศไทยที่ดีขึ้นดวย (กระทรวงสาธารณสุข., 2553: 17-21)สรุปแนวโนมทางประชากรของประเทศไทย กําลังเปลี่ยนแปลงไปและควรมีนโยบายใหมๆ ที่สรางสรรคออกมารองรับ มีนโยบายออกมามากมายเพื่อที่จะปรับใหเขากับแนวโนมประชากร และเพื่อที่จะเปลี่ยนแนวโนมประชากรใหไปอยูในทิศทางที่ตองการ ขนาดของประชากรในประเทศไทยไมวาจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงเล็กนอยก็ดูจะไมไดสรางปญหาใหกับทรัพยากรและสิ่งแวดลอมพื ้นฐานในประเทศเทาไร ไมเหมือนกับประเทศอื่นในเอเชียที่เปนปญหา สวนแนวโนมในดานโครงสรางอายุกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุมากขึ้นแตสถานการณเชนนี้สามารถจัดการใหเหมาะสมไดหากรูจักผสมผสานนโยบายตางๆ ใหดี แตสิ่งหนึ่งที่ควรหลีกเลี่ยงคือ นโยบายลดอัตราการเกิดของประชากรของประเทศใหอยู ในระดับที่ตํ่ามากจนเกินพอดี ซึ่งจะทําใหจํานวนประชากรลดลงอยางรุนแรงในระยะยาว และทําใหสัดสวนประชากรสูงอายุสูงขึ้นอยางมากนโยบายที่นําเสนอในบทนี้ตองมีการศึกษาอยางตอเนื่อง ตองมีงานวิจัยที่ดีเพื่อแนะแนวทางใหกับนโยบายได ยกตัวอยางเชนงานวิจัยเกี่ยวกับแบบแผนภาพทัศนทางประชากร (PopulationScenarios) ที่ใชสมมุติฐานอื่นนอกเหนือจากสามสมมติฐานของสหประชาชาติ และควรใชขอบเขตสมมติฐานในเรื่องการยายถิ่นรวมดวย สิ่งหนึ่งที่ควรระวังเกี่ยวกับการอพยพยายถิ่นในอนาคตคือควรหลีกเลี่ยง ไมใหทุนมนุษยของประเทศไทยลดลงเนื่องจากความไมสมดุลกันระหวางแรงงานไรฝมือที่เขามาในประเทศกับแรงงานที่มีฝมือที่ออกไปนอกประเทศ ควรเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันการวิจัยในประเทศไทยสามารถผลิตงานวิจัยที่เกี่ยวของกับนโยบายในเรื่องตางๆ ไดการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร135

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!