13.07.2015 Views

Español

Español

Español

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ตารางที่ 6.6 แรงงานขามชาติจากประเทศพมา ลาว และกัมพูชาที่ไมมีเอกสารเขาเมืองที่ไดรับใบอนุญาตทํางานจําแนกตามประเภทธุรกิจ ณ เดือนธันวาคม 2552แรงงานขามชาติทั้งหมด แรงงานพมา แรงงานลาว แรงงานกัมพูชารวมทุกภาคอุตสาหกรรม (จํานวนคน) 1,314,382 1,078,767 110,854 124,761รอยละจําแนกตามประเภทธุรกิจภาคบริการ 18.2 19.8 11.8 10.1ภาคการเกษตร 16.9 16.6 16.3 19.3การกอสราง 16.7 16.2 11.4 26.1การแปรรูปอาหารทะเล/ ประมง 14.7 15.7 2.7 16.7งานรับใชในบาน 9.9 9.5 19.2 5.3อื่นๆ 23.6 22.2 38.6 22.5รวม 100.0 100.0 100.0 100.0แหลงขอมูล: กระทรวงแรงงาน รายงานสถานการณแรงงาน, 2553ความเหลื่อมลํ้าทางดานรายไดถึงแมวาจะมีการใหความสําคัญตอปญหาความไมเทาเทียมกันในประเทศไทยในชวงหลายปที่ผานมา แตองคการสหประชาชาติยังคงจัดอันดับสัมประสิทธิ์จินีหรือสัมประสิทธิ์การกระจายรายได(Gini Coefficient) ของประเทศไทยใหอยู ในระดับกลางเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ โดยในป 2553 ประเทศไทยมีคาสัมประสิทธิ์การกระจายรายได อยูที่ระดับ 42.5 เมื่อเปรียบเทียบกับระดับ 37.8 ของประเทศเวียดนาม 44.0 ในประเทศฟลิปปนส และ 51.6 ในประเทศมาเลเซีย (ดู United Nations,2010) แผนภูมิที่ 6.12 แสดงความแตกตางของรายไดเฉลี่ยตอครัวเรือนจําแนกตามสภาพความเปนเมือง 4 ในชวงหลายปที่ผานมา ความแตกตางของรายไดระหวางครัวเรือนในชนบท ในกรุงเทพมหานคร และในเขตเมืองอื่นๆ ยังคงเดิมโดยความแตกตางลดลงเพียงเล็กนอยในขณะที่ครัวเรือนในเขตเมืองอื่นๆ และในกรุงเทพมหานคร มีความแตกตางของรายไดมากขึ้น จากขอมูลในแผนภูมิจะเห็นวาครัวเรือนในชนบทมีรายไดเพียงรอยละ 39ของรายไดครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร ในขณะที่ครัวเรือนในเขตเมืองอื่นๆ มีรายไดประมาณรอยละ 65 ของรายไดครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร4 ขอมูลรายไดครัวเรือนที่ใชนี้เปนขอมูลที่ปรับคาตามอัตราเงินเฟอแลวโดยใชการปรับเปลี่ยนคาตามสมมูลยหรือเครื่องชั่งสมดุลของ OECD (OECDequivalence scale) ซึ่งทําใหการวัดมีความถูกตองแมนยํามากกวาการใชขอมูลรายไดตอหัวประชากร ซึ่งคาสมมูล (Equivalence scale) ของOECD ไดกําหนดการถวงนํ้าหนักไวที่ 1.0 สําหรับหัวหนาครัวเรือน 0.5 ตอสมาชิกครัวเรือนวัยผูใหญแตละคน และ 0.3 สําหรับสมาชิกครัวเรือนวัยเด็กแตละคน ในขณะที่ปกติการวัดรายไดตอหัวประชากรจะใชวิธีแบงหารรายไดของครัวเรือนดวยจํานวนสมาชิกทั้งหมดในครัวเรือน (OECD, ไมปรากฏปที่พิมพ.)แผนภูมิที่ 6.12 รายไดครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือนที่ปรับโดยใชคาสมมูลยของ OECD สําหรับครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร เมืองอื่นๆ และในชนบทระหวางป 2539-2552 (บาทในป 2550) 5รายไดครัวเรือนเฉลี่ยตอเดือน25,00020,00015,00010,0005,000014,82210,3585,05517,01010,4195,57017,01011,9486,92917,01012,7607,7202539 2545 2549 2552ปพศกรุงเทพมหานครเมืองอื่นๆชนบทแหลงขอมูล: สํานักงานสถิติแหงชาติ การสํารวจเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน, พ .ศ.2539, 2545, 2549 และ 2552ขอมูลเกี่ยวกับคาใชจายจากการสํารวจเศรษฐกิจในครัวเรือนมีแนวโนมที่จะมีความถูกตองมากกวาขอมูลดานรายได ซึ่งมักจะไมคอยมีการรายงานหรือยากที่จะคํานวณ แผนภูมิที่6.13 แสดงใหเห็นวาแมครัวเรือนในเขตชนบทจะมีคาใชจายในระดับที่ตํ่ากวาครัวเรือนในเขตกรุงเทพมหานคร อยูมากแตคาใชจายครัวเรือนระหวางชนบทและกรุงเทพมหานคร ยังมีความแตกตางเพิ่มขึ้นมาตลอดจนถึงปจจุบันซึ่งการคนพบนี้ชี้ใหเห็นวาความไมเทาเทียมดานรายไดระหวางเขตชนบทและเขตเมืองมีแนวโนมที่จะเพิ่มสูงขึ้นอีก5 ดูอัตราเงินเฟอจากธนาคารแหงประเทศไทยไดที่ http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=409&language=eng116 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!