13.07.2015 Views

Español

Español

Español

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บทที่การเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร7เนื้อหาบทนี้ จะเปนการแสดงวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงประชากรในประเทศไทย และวิเคราะหถึงผลกระทบและนัยตอนโยบาย บทนี้จะใหภาพรวมของขอคิดเห็นในบทตางๆ และใหความสําคัญกับนโยบายที่มีผลตอแนวโนมประชากรของประเทศไทย ดังที่ไดกลาวแลวในบทที่ 1 วาประเทศไทยมีคุณลักษณะพิเศษเฉพาะตัว และยังดูเหมือนวานโยบายประชากรที่เคยใชไดในประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคหรือประเทศอื่นๆ ในโลกที่มีลักษณะที่คลายกัน จะไมสามารถนํามาใชกับประเทศไทยหากไมนํามาปรับเปลี่ยนใหเหมาะกับบริบทของประเทศเสียกอนลักษณะเฉพาะของประเทศไทยยอมตองมีนโยบายที่เฉพาะเหมาะสมกับประเทศไทยดวย อยางไรก็ตาม บทเรียนจากประเทศอื่นๆ ยอมสามารถเปนประโยชนในการเรียนรูสําหรับประเทศไทยไดอยางแนนอนนโยบายที่ตอบสนองและนโยบายที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของประชากรจุดประสงคหลักของรายงานฉบับนี้คือเพื่อทําความเขาใจถึง การเปลี่ยนแปลงของประชากรที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของปจจัยดานประชากรที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและคาดการณถึงผลกระทบดานตางๆ ที่มีตอชีวิตและความเปนอยูของคนคนในประเทศไทย นโยบายที่คํานึงถึง ผลกระทบของแนวโนมการเปลี่ยนแปลงประชากร ซึ่งชวยสรางใหเกิดผลในเชิงบวกและชวยลดการเกิดผลลัพธในเชิงลบจะถูกจัดไปรวมอยูในกลุ ม “นโยบายที่ตอบสนอง”(Population-responsive policies)ตอการเปลี่ยนแปลงของประชากร ซึ่งอาจโตแยงวานโยบายแทบทุกนโยบายลวนไดรับผลกระทบมาจากการเปลี่ยนแปลงของประชากรแทบทั้งสิ้น และยังรวมเขาวาเปนนโยบายที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของประชากร ซึ่งพึงควรระวังวาการศึกษาที่ออกแบบเพื่อการตอบสนองเชิงนโยบายที่เปนผลมาจากแนวโนมของโครงสรางประชากรที่เปลี่ยนแปลงนั้น อาจกลับกลายเปนเพียงการศึกษาเพื่อนโยบายการพัฒนาทั่วๆ ไปซึ่งเปนสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง ทั้งนี้คงไมเปนการเหมาะสมที่จะเหมารวมวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางประชากรจะเกี่ยวของกับการพัฒนาในทุกๆ ดาน แตสิ่งสําคัญที่ควรคํานึงถึงคือประเด็นสําคัญดานการพัฒนาตางๆ ที่แนวโนมทางประชากรจะเปนหัวใจสําคัญของแผนการพัฒนานโยบายที่พยายามที่จะทําใหการคาดประมาณทางประชากรไดรับการปรับเปลี่ยน โดยจะหลีกเลี่ยงผลผลัพธทางลบเรียกวาเปนนโยบายที่ “มีอิทธิพลตอประชากร” (Population-influencingpolicies) ตลอดระยะเวลาที่ผานมานโยบายทางประชากรของประเทศไทยเปนนโยบายที่ตองการลดอัตราเจริญพันธุของประเทศที่คิดวาสูงเกินไป ดังที่ไดกลาวไวในบทที่ 1 แลววาเปาหมายนี้ถูกยกเลิกไปในแผนฯ ฉบับที่ 8 ซึ่งเปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ5 ป สวนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติสองฉบับลาสุด (คือ ฉบับที่9 และ 10 ซึ่งครอบคลุมป 2545-2549 และ 2550-2554 ตามลําดับ) ไดเนนถึงความจําเปนที่จะรักษาอัตราเจริญพันธุ ใหอยู ในระดับที่สามารถทดแทนประชากรได แตอัตราเจริญพันธของประเทศไดลดลงตํ่ากวาระดับทดแทนตั้งแตชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทั้งสองฉบับนี้แลว เมื่อทราบวาเจริญพันธุนั้นอยูในระดับที่ตํ่า สถานการณจึงคอยๆเปลี่ยนไป ทําใหประเด็นหลักสําหรับประเทศไทยในปจจุบันนาจะพิจารณาใหมีมาตรการสนับสนุนการเกิดโดยชะลอการเปนสังคมผูสูงอายุอยางรวดเร็ว การลดลงของกําลังแรงงาน ซึ่งในที่สุดอาจจะนําไปสูการลดลงของจํานวนประชากรโดยรวมวิวัฒนาการของนโยบายประชากรในประเทศไทยนโยบายประชากรของไทยระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบัน สามารถแบงไดเปน 3 ชวงที่ชัดเจน คือ หนึ่ง ชวงของนโยบายสนันสนุนการเกิด (อยูระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1) สอง ชวงของนโยบายควบคุมการเกิด (อยู ระวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ 1-9) สาม ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่10 จนถึงปจจุบัน ทั้งนี้รัฐบาลไทยมีนโยบายที่แตกตางกันอยางชัดเจนสําหรับแตละชวงเวลาดังกลาวการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร121

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!