13.07.2015 Views

Español

Español

Español

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ขอแนะนําหนึ่งสําหรับการออกนโยบายที่นาจะมีผลในทางปฏิบัติคือ การดูตัวอยางจากประเทศตะวันตกที่สามารถจัดการใหภาวะเจริญพันธุเพิ่มจนเขาใกลระดับทดแทน หรือรักษาภาวะเจริญพันธุไมใหตกลงและใหคงอยูใกลกับระดับทดแทน (Neyer andAndersson, 2007; McDonald, 2002) ตัวอยางประเภทแรกคือประเทศแถบสแกนดิเนเวียและฝรั่งเศส ตัวอยางของประเภทหลังคือ สหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ซึ่งประเทศเหลานี้มีความหลากหลายมากและยากที่จะหาองคประกอบรวมกันในนโยบายที่มีความหลากหลายที่จะนํามาปรับใชกับประเทศไทย ยกตัวอยางเชน นโยบายสวัสดิการครอบครัวอยางดี การมีสิทธิลาคลอดบุตรเปนเวลานาน จัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็ก และนโยบายสรางความเทาเทียมทางเพศในที่ทํางาน มีความสําคัญในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย สําหรับฝรั่งเศสไดจัดใหมีการลดภาษีและสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็กที่ดีเยี่ยมโดยไมเสียคาใชจาย 3 ในออสเตรเลียมีการใหเงินโบนัสแกพอแมที่มีบุตรเกิดใหม จํานวน 5,000 เหรียญออสเตรเลีย.จากที่กลาวมาแลวในบทที่ 1 ถานโยบายที่ใชในไตหวันและเกาหลีใตสงผลทางบวกจริงจะยังคงเร็วเกินไปที่จะชี้ใหเห็นวานโยบายเหลานี้มีผลกระทบตอภาวะเจริญพันธุ มากนอยเพียงใดเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2553 รัฐบาลเกาหลีไดประกาศแผน 5 ป ซึ่งเปนแผนที่ครอบคลุมมากกวาแผนที่ไดทบทวนในบทที่ 1 แผนนี้มีมูลคา 75.8 ลานลานวอน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากแผน 5 ป ฉบับกอน(2548-2553) ถึงรอยละ 79 สิทธิในการลาคลอดบุตรจะขยายจาก3 เดือนในปจจุบันไปเปน 1 ป โดยในเดือนที่ 4 ถึงเดือนที่ 12 จะไดรับเงินชดเชยรอยละ 40 ของเงินเดือน มีการจัดชั่วโมงทํางานที่ยืดหยุ นใหกับลูกจางหญิงที่มีลูก และมีการสงเสริมใหบริษัทจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็กในสถานที่ทํางาน การศึกษาของบุตรในระดับกอนประถมศึกษาจะไดรับการอุดหนุนและการศึกษาของบุตรคนที่ 2 จะไมเสียคาใชจายจนถึงระดับมัธยมศึกษา(Straits Times, 9/11/2010: “Baby incentive fails to exciteSouth Koreans”).สําหรับประเทศไทยถึงเวลาเแลวที่ภาครัฐจะประกาศเปลี่ยนแปลงนโยบาย ดวยการสนันสนุนการแตงงานและการมีบุตรในบริบทของนโยบายครอบครัว ในขณะที่นโยบายเหลานี้จําเปนตองพิจารณาอยางระมัดระวังโดยเฉพาะเรื่องงบประมาณและผลที่อาจจะเกิดตามมา ควรมีการเรียนรู จากประสบการณของประเทศอื่นที่มีนโยบายคลายๆ กัน ดังนโยบายที่จะกลาวถึงตอไปนี้3 เมื่อถามขอคิดเห็นของรัฐมนตรีดานครอบครัวของฝรั่งเศสวา ทําไมฝรั่งเศสถึงมีภาวะเจริญพันธุที่สูงกวาประเทศสวนใหญในยุโรป คําตอบคือ “พวกเราใชจายเงินมากที่สุดและมีการดูแลเด็กที่ดี ไมนาแปลกใจที่ผลเปนเชนนั้น”(New York Times, Saturday November 6, 2010: “French differencelives: women lag in equality”.)สิทธิในการลาคลอดของแมการประชุมครั้งใหมของ ILO ระบุเงื่อนไขวา สิทธิประโยชนที่เปนตัวเงินในระหวางการลาคลอดจะตองจายในอัตรา 2 ใน 3 ของรายไดกอนคลอดหรือรายไดที่ไดรับการประกันจากการประกันตน โดยกําหนดระยะเวลาของการลาคลอดขั้นตํ่า 14 สัปดาห ในปจจุบันประเทศนอยกวาครึ่งของโลกที่ปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ (UnitedNations, 2010: 104) ในประเทศไทยสิทธิลาคลอดคือ 90 วันและผูลาไดรับเงินสิทธิประโยชนรอยละ 50 ของรายไดที่ไดรับการประกันจากการประกันสังคม ซึ่งเงินผลประโยชนนี้มาจากการสมทบของนายจาง ลูกจางและรัฐ ทั้งนี้ควรมีการใหประโยชนในการลาคลอดที่ดีกวานี้สิทธิในการลาคลอดของพอเปนการลาของผูชายระยะเวลาหนึ่งเพื่อดูแลบุตรที่เพิ่งเกิด เปาหมายเพื่อใหผูชายแสดงบทบาทที่มากขึ้นในการดูแลครอบครัวและความเปนผูปกครองของบุตรที่เกิดมาการมีชั่วโมงการทํางานที่ยืดหยุนชั่วโมงการทํางานที่ยืดหยุ นออกแบบมาเพื่อชวยพอแมใหสามารถใชเวลากับครอบครัวมากขึ้นตามที่ตองการ และสามารถหยุดงานเพื่อดูแลลูกไดเมื่อจําเปน ในประเทศไทยชั่วโมงการทํางานที่ยืดหยุนไมใชสิ่งปกติที่เห็นกันทั่วไปในขอตกลงการจางงานปรับปรุงและอุดหนุนการดูแลเด็กประเทศสวนใหญมีเปาหมายในการเพิ่มอัตราการเกิด รวมทั้งไดมีการขยายสิ่งอํานวยความสะดวกในการดูแลเด็กเขาไปเปนสวนสําคัญของโครงการ ถาหากไมสงเสริมใหเกิดสถานที่ดูแลเด็กเชนนี้ ผูหญิงมีแนวโนมที่จะพบความยากลําบากในการกลับเขาไปทํางานเต็มเวลาภายในชวงเวลาที่เหมาะสม ซึ่งมีผลกระทบตอความตอเนื่องในการทํางาน โอกาสความกาวหนา และการพัฒนาทางอาชีพ สิ่งเหลานี้เปนตัวขัดขวางใหผูหญิงตัดสินใจมีลูก หรือมีลูกเพิ่มขึ้นแรงจูงใจทางภาษี และ/หรือ โบนัสสําหรับการมีบุตรสิงคโปรมีการสนับสนุนทางการเงินจํานวนมากเพื่อเปนโบนัสสําหรับการมีบุตร ซึ่งเปนโครงการที่ไดรับการสนับสนุนโดยภาครัฐและตัวพอแมเอง ในหลายๆ ประเทศมีการลดภาษีสําหรับผู มีบุตรซึ่งบางครั้งลดภาษีใหคอนขางมาก หลักการพื้นฐานของโครงการเหลานี้คือ ผูใหกําเนิดและเลี้ยงดูเด็กเปนผูมีสวนชวยเหลือสังคมโดยรวม ดังนั้นจึงควรไดรับการชดเชยตนทุนที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงดูเด็กของพวกเขาการเปลี่ยนแปลงของนโยบายและแผนประชากร133

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!