13.07.2015 Views

Español

Español

Español

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ซึ่งกระแสการยายถิ่นเขาสูกรุงเทพมหานคร ในชวงระยะเวลานี้สามารถเชื่อมโยงไดโดยตรงกับความตองการอยางมากตอการใชที่ดินเพื่อการเกษตรผนวกกับวัฏจักรของภัยแลงในภูมิภาคนี้การตัดไมเชิงพาณิชยเปนปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งที่ทําใหเกิดการทําลายผืนปาในประเทศไทย การขาดแคลนที่ดินผืนใหมสําหรับทําการเกษตรและความไมแนนอนของแหลงนํ้าก็มีสวนทําใหคนจํานวนมากเปนผูที่ไมมีที่ดินทํากินเปนของตนเองซึ่งคนกลุมนี้อาจยายถิ่นไปเปนแรงงานรายวันหรือทํางานในภาคอุตสาหกรรม (ดู Yoddumnern - Attig et al., 2004) การศึกษาระยะยาว โครงการ “นางรอง” พบวานอกจากการไมมีที่ดินทํากินแลวการลดลงของขนาดการถือครองที่ดินในชวงระหวางป2527-2537 นั้นยังมีความสัมพันธกับการยายถิ่นของประชากรอีกดวย(ดู Rattanawarang & Punpuing, 2003)จากการศึกษาลาสุดอื่นๆ เกี่ยวกับผลกระทบของการพัฒนาความเปนเมืองโดยเฉพาะในกรุงเทพกรุงเทพมหานคร ตอปจจัยดานสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของประชาชนพบวา Chamratrithironget al. (1999) ไดเชื่อมโยงระดับความหนาแนนของประชากรและระดับการบริโภคที่สูงมากในเขตกรุงเทพมหานคร กับการเกิดปญหามลพิษทางอากาศ นํ้า และขยะมูลฝอยที่เปนอันตราย โดยผลการวิจัยชี้ใหเห็นวามลพิษทางอากาศเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในชวงป 2533 - 2543 และประมาณรอยละ 60-70 ของมลพิษเกิดจากการเพิ่มขึ้นของยวดยานพาหนะที่ใชในการสัญจร และที่เหลือเกิดจากการอุปโภคบริโภคในครัวเรือนและจากการอุตสาหกรรมรวมทั้งการเปลี่ยนไปใชเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ทันสมัยมากขึ้น ราคาที่ดินในใจกลางกรุงเทพมหานคร ที่สูงขึ้นมากนั้นนอกจากจะกอใหเกิดการขยายตัวของความเปนเมืองไปยังพื้นที่ในจังหวัดรอบนอกซึ่งทําใหประชาชนมีความจําเปนที่จะตองเดินทางเขาเมืองเพื่อการทํางานมากขึ้นและนําไปสู ปญหามลพิษทางอากาศในที่สุดแลว ยังผลักดันใหผู ที่อยู ในชุมชนแออัดและผู ที่เปนผู อาศัยอยู เดิมของพื้นที่รอบกรุงเทพมหานคร ตองเผชิญกับความหนาแนนของประชากรและพื้นที่ที่มีมลภาวะมากขึ้น อยางไรก็ตามจํานวนผู ยายถิ่นที่อาศัยอยู ในพื้นที่รอบนอกก็เพิ่มขึ้นดวยเนื่องจากพื้นที่เหลานี้ไดกลายเปนเขตอุตสาหกรรมเชนกัน (ดู Storey, 2005) อยางไรก็ตามไมพบวามีความแตกตางในดานการใชนํ ้ามันเชื้อเพลิงในกลุมผูยายถิ่นและผูที่ไมไดยายถิ่น Poungsomlee and Ross(1992) ไดทําการศึกษาความเชื่อมโยงระหวางภาวะการพัฒนาความทันสมัยและการพัฒนาความเปนเมืองกับประโยชนหรือขอดีของความทันสมัยตอกลุ มชนชั้นสูงในขณะที่ปญหาเหลานี้มีผลกระทบตอผูมีรายไดนอยและกลับจะยิ่งเพิ่มความไมเทาเทียมกันในสังคมใหมากขึ้น และ Storey (2005) ไดชี้ใหเห็นวาสถาบันตางๆไดใหความสําคัญกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวาปญหาสิ่งแวดลอมและดวยเหตุนี้การดําเนินมาตรการดานสิ่งแวดลอมของรัฐบาลไทยจึงเปนไปอยางลาชาสรุปการยายถิ่นภายในประเทศไทยในอัตราที่สูงเปนการยายถิ่นในระยะยาวซึ่งมีแรงขับเคลื่อนมาจากปจจัยตางๆ เชนวัฏจักรของฤดูกาลของการเพาะปลูกขาว ความกดดันดานประชากร และการพัฒนาอุตสาหกรรม การยายถิ่นระยะยาวถือเปนเรื่องปกติและการเติบโตของความเปนเมืองไดเกิดขึ้นพรอมๆ กับการพัฒนาเปนเมืองอุตสาหกรรมและการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการเกษตร เชน การกอสราง และการบริการ อยางไรก็ตามมีหลักฐานจากการศึกษาวิจัยที่ยืนยันวาการยายถิ่นเปนปฏิกิริยาปกติที่ตอบสนองตอวิกฤตทางเศรษฐกิจทั้งวิกฤตในชวงป 2540และการถดถอยของเศรษฐกิจในป 2551 ที่ผานมาซึ่งปรากฏวามีอัตราการยายถิ่นกลับสู ภูมิลําเนาในชนบทที่เพิ่มสูงขึ้น จากความจริงที่วาแรงงานยายถิ่นมักจะกระจุกตัวอยู ในภาคการผลิตและงานที่ตองอาศัยกําลังแรงงานของมนุษยทําใหแรงงานเหลานี้ยิ่งตกอยูในภาวะที่เปราะบางเมื่อมีการหดตัวในภาคการผลิตและการกอสรางในชวงเวลาที่เศรษฐกิจถดถอย และเนื่องจากสัดสวนของการทํางานในภาคการเกษตรลดลงจึงเปนไปไดที่ศักยภาพของครัวเรือนในชนบทในการรองรับแรงงานยายถิ่นที่ตองกลับสู ชนบทจะลดลงดวย ดังนั้นสมดุลทางเศรษฐกิจที่ครัวเรือนไดรับผานทางการยายถิ่นในรูปของเงินออมที่แรงงานสงกลับภูมิลําเนาเพื่อชวยเพิ่มรายไดของครัวเรือนที่ไมไดถือครองที่ดินหรือมีทรัพยสินอื่นๆจึงยังเปนประเด็นคําถามใหตองขบคิดตอไปขอมูลจากการสํารวจสํามะโนประชากรและการสํารวจอื่นๆ ในชวงระยะ 15 ปที่ผานมาไดแสดงใหเห็นวาอัตราการยายถิ่นลดลงอยางตอเนื่อง ยิ่งไปกวานั้นยังพบวาการลดลงของการยายถิ่นนั้นสวนใหญเกี่ยวของกับการที่กลุมประชากรวัยทํางานที่อยูในวัยหนุมสาวมีการยายถิ่นนอยลง ในขณะที่ขอมูลการยายถิ่นตามฤดูกาลและการยายถิ่นระยะสั้นมีแนวโนมวานาจะตํ่ากวาความเปนจริงแตก็ปรากฏวากลุมแรงงานวัยหนุมสาวนี้มีการยายถิ่นนอยกวาในอดีต ซึ่งคนกลุมนี้เปนกลุมประชากรรุนแรกของประเทศที่ไดรับประโยชนจากการขยายการศึกษาภาคบังคับไปดึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนซึ่งอาจทําใหประชากรกลุมนี้มีโอกาสไดงานที่มั่นคงถาวรมากกวากลุมประชากรที่มีอายุสูงกวาในบางครั้งแรงงานขามชาติจะถูกมองวาเขามาแยงงานคนไทยโดยเฉพาะงานที่ใชทักษะตํ่าในภาคเกษตรกรรมและงานประเภท 3D หรืองานหนัก (Difficult) สกปรก (Dirty) และอันตราย(Dangerous) อยางไรก็ตาม เมื่อไมนานมานี้ไดมีงานวิจัยเพื่อศึกษาวาแรงงานขามชาติซึ่งเปนแหลงแรงงานทดแทนจะสามารถลดการสูญเสียกําลังแรงงานไทยที่มีอายุเพิ่มขึ้นไดหรือไมโดยการใชเทคนิคการสรางแบบจําลองตางๆ เพื่อตรวจสอบสมมุติฐานนี้ จากผลการศึกษาพบวาแรงงานขามชาติหนึ่งคนจะมีกําลังการผลิตเทากับแรงงานไทยเพียง 0.58 คนเทานั้น นอกจากนี้ยังพบวาแรงงานขามชาติไมสามารถบรรเทาความสูญเสียของ118 ความเปนเมืองและผลกระทบจากการยายถิ่น

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!