18.11.2015 Views

Acquired Disease of the Aortic Valve

Acquired valvular heart disease อ.ศุภชัย

Acquired valvular heart disease อ.ศุภชัย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

4<br />

การส่งตรวจ chest X-ray พบว่า เงาหัวใจมักไม่ค่อยโต, อาจเห็น calcified aortic valve,<br />

dilated ascending aorta (post-stenotic dilation), อย่างไรก็ตามผู้ป่วยที่เป็นมานาน และหรือไม่ยอม<br />

รักษาก็อาจพบว่ามี severe left ventricular failure ตรวจ chest X-ray ก็จะพบว่ามีหัวใจโตได้ (left<br />

ventricular dilation) ซึ่งถือว่าเป็นระยะที่ผลการท านายของโรค (prognosis)ไม่ดี และความเสี่ยงจาก<br />

การผ่าตัดรักษาก็จะสูงขึ้นด้วย ในผู้ป่วย severe aortic stenosis บางรายที่มี heavily calcified aortic<br />

valve การส่งตรวจ chest X-ray อาจพบเห็นcalcium ที่ aortic valve โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้สังเกตใน<br />

ท่า lateral view ของ chest X-ray<br />

Diagnosis<br />

การส่งตรวจด้วย Doppler echocardiography จะให้ผลการวินิจฉัยที่แม่นย า สามารถบอก<br />

ถึง peak pressure gradient (across aortic valve), degree <strong>of</strong> stenosis, causes <strong>of</strong> stenosis, aortic<br />

regurgitation detection, associated o<strong>the</strong>r valve lesions และ ที่ส าคัญคือ ค่า left ventricular ejection<br />

fraction<br />

การส่งตรวจ cardiac ca<strong>the</strong>terization ส าหรับผู้ป่วยที่เป็น aortic stenosis แนะน าให้ตรวจ<br />

เป็นเฉพาะรายดังนี้<br />

- aortic stenosis ในผู้ป่วยอายุ > 40 ปี<br />

- ผู้ป่วยที่พบมีปัจจัยเสี่ยงต่อโรค coronary heart disease<br />

- borderline degree ของผู้ป่วย aortic stenosis ที่พบว่ามี impaired left ventricular<br />

function<br />

Natural history<br />

ผู้ป่วยที่เป็น mild aortic stenosis อาจยังไม่พบว่ามีอาการอยู่หลายปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่ายังอยู่<br />

ในช่วงที่มี compensatory left ventricular hypertrophy หรือไม่ และ progression ของโรคเองก็ไม่<br />

แน่นอน (variable) แต่เมื่อเป็น moderate to severe aortic stenosis ส่วนใหญ่ก็จะมาด้วยอาการ<br />

เหนื่อยง่าย (congestive heart failure) เจ็บอก (angina) หรือ เป็นลมหมดสติ (syncope)<br />

มีการศึกษาในเรื่องของ survival rate ในผู้ป่วย severe aortic stenosis หลังจากที่เริ่มมีอาการ<br />

และไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม พบว่า average survival ของผู้ป่วยกลุ่มอาการเจ็บอกเท่ากับ 3-5<br />

ปี average survival ของผู้ป่วยกลุ่มอาการเป็นลมหมดสติเท่ากับ 3 ปี และ average survival ของ<br />

ผู้ป่วยกลุ่มอาการเหนื่อยง่ายและมีภาวะหัวใจวายร่วมด้วยเท่ากับ 1.5-2 ปี โดยในกลุ่มหลังนี้พบว่า<br />

ผู้ป่วยจ านวนมากมีอุบัติการณ์ของการเกิด sudden death อันเนื่องมาจากภาวะ ventricular<br />

arrhythmia และที่ส าคัญพบว่า successful rate ของการท า CPR ในผู้ป่วยประเภทนี้ค่อนข้างต่ า

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!