22.02.2015 Views

12 Ag-Bio Vol.4 No.1-4 January - December 2012 - ศูนย์เทคโนโลยี ...

12 Ag-Bio Vol.4 No.1-4 January - December 2012 - ศูนย์เทคโนโลยี ...

12 Ag-Bio Vol.4 No.1-4 January - December 2012 - ศูนย์เทคโนโลยี ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2. แกสชีวภาพ<br />

กากสบูดําที่เหลือจากการหีบนํ้ามันเมื่อนํามาหมักรวมกับ<br />

เปลือกและใบในสภาพไรอากาศจะไดแกสมีเทนประมาณ 70%<br />

สามารถนํามาใชในการหุงตม หรือเปนเชื้อเพลิงป นไฟฟาในครัวเรือนได<br />

3. การใชประโยชนจากสบูดําดานอื่นๆ<br />

3.1 สิ่งแวดลอม<br />

การปลูกสบูดําแบบสวนปา สามารถเปนแหลงผลิตแกส<br />

ออกซิเจนและดูดซับคารบอนไดออกไซดใหกับโลก หรือปลูกเปนแนว<br />

รอบสระหรือบอนํ้าเพื่อกันลมรอนและลดการระเหยของนํ้า ทั้งยัง<br />

ชวยลดการพังทะลายของหนาดิน การปลูกสบูดํากอใหเกิดระบบ<br />

นิเวศนที่ดี โดยพบวา มีแมลงหลายชนิดและนกเขามาอาศัยในสวน<br />

สบูดํา<br />

3.2 การเกษตร<br />

เปลือกและกากของสบูดํามีไนโตรเจนและโปตัสเซียมสูง<br />

สามารถนํามาผลิตเปนปุยอินทรียที่มีคุณภาพ และมีรายงานวา<br />

นํ้าสกัดจากเปลือกผลสบูดําเปนสารชีวภาพกําจัดโรคพืช สามารถ<br />

ยับยั้งการเจริญเสนใยของเชื้อรา Phytopththora palmivora<br />

สาเหตุโรครากเนาโคนเนาของทุเรียน และเชื้อรา Colletotrichum<br />

gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรกโนสในมะมวงได 100%<br />

ในสวนสบูดํายังสามารถเลี้ยงผึ้งเพื่อผลิตนํ้าผึ้งและผสมเกสรสบูดํา<br />

อันเปนการเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกรอีกดวย<br />

3.3 ยารักษาโรค<br />

แตเดิมสบู ดําเปนพืชสมุนไพรรักษาโรคในหลายประเทศ สารสกัด<br />

จากใบใชเปนยาฆาเชื้อ สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียกลุม<br />

Staphylococcus, Bacillus และ Micrococcus ไดดี ยางสบูดําที่มี<br />

ความเขมขน 100% และ 50% สามารถฆาไขพยาธิไสเดือนและ<br />

พยาธิปากขอได สารสกัดจากกิ่งสบู ดํามีฤทธิ์ยับยั้งการเปลี่ยนแปลง<br />

ของเซลลเชื้อ HIV และยังพบวาสาร curcusone C บริสุทธิ์ที่สกัด<br />

จากรากสบู ดํา สามารถยับยั้งการเจริญของมะเร็งเตานมไดเปนอยางดี<br />

ในอนาคตอาจพัฒนาเปนยาตานมะเร็งได<br />

3.4 ไมประดับ<br />

ประโยชนของสบูดํานอกจากที่กลาวมาขางตนแลว สบูดํายังเปน<br />

ไมประดับที่สวยงาม มีความแปลกใหม เชน สบู ดําดาง (variegated<br />

jatropha) เกิดไคเมียรา (chimera) จากการกลายพันธุ ตามธรรมชาติ<br />

หรือชักนําใหกลายพันธุ โดยการฉายรังสี ลูกผสมขามชนิด (interspecific<br />

hybrid) ระหวางสบูดํากับเข็มปตตาเวียแคระ มีสีดอกหลากหลาย<br />

เหมาะแกการปลูกประดับแปลงหรือทําเปนไมกระถาง มีลักษณะ<br />

สวยงามแปลกตา เชน สบู ดําประดับพันธุ กําแพงแสน 1 กําแพงแสน 2<br />

และกําแพงแสน 3 (ภาพที่ 4)<br />

ภาพที่ 4<br />

1. สบูดําประดับพันธุ กําแพงแสน 1<br />

2. สบูดําประดับพันธุ กําแพงแสน 2<br />

3. สบูดําประดับพันธุ กําแพงแสน 3<br />

1<br />

3<br />

สายพันธุสบูดําในปจจุบัน<br />

สามารถจําแนกกลุมของสายพันธุสบูดําตามลักษณะทาง<br />

สัณฐานวิทยา ถิ่นกําเนิด และลูกผสมระหวางสายพันธุ ไดดังนี้<br />

1. สายพันธุ กลุ มเอเชีย ประกอบดวยสายพันธุ จากไทย สหภาพ<br />

พมา อินเดีย เวียดนาม และมาเลเซีย ในประเทศไทยมีสายพันธุ ที่เก็บ<br />

รวบรวมจากจังหวัดตางๆ เชน ชัยนาท แพร นครราชสีมา สตูล พันธุ<br />

เหลานี้ใหผลผลิตประมาณ 200-300 กก./ไร/ป มีปริมาณนํ้ามันใน<br />

เมล็ดตํ่าถึงปานกลาง (18%-25%) ทั้งหมดเปนพันธุ ที่มีปริมาณสาร<br />

phorbol esters สูง (1-5 มล./ก.)<br />

2. สายพันธุกลุมเม็กซิโก เปนพันธุที่นําเขามาจากเขตพื ้นที่<br />

ตางๆ ของประเทศเม็กซิโก เมื่อนํามาปลูกทดสอบในประเทศไทย<br />

พบวา มีทรงพุมสูงใหญ ใบมีขนาดใหญกวาพันธุเอเชีย ใหผลผลิต<br />

ประมาณ 300-400 กก./ไร/ป มีปริมาณนํ้ามันในเมล็ดปานกลางถึงสูง<br />

ประมาณ 25-35% ทั้งหมดเปนพันธุที่มีสาร phorbol esters<br />

ตํ่ามาก (ตํ่ากวา 0.1 มล./ก.)<br />

3. สายพันธุลูกผสม ที่เกิดจากการผสมพันธุระหวางกลุมพันธุ<br />

เอเชียกับกลุมพันธุเม็กซิโก มีลักษณะตนสูงแข็งแรง จํานวนผลตอ<br />

ชอเพิ่มขึ้น และผลผลิตสูงกวาสองกลุมพันธุที่กลาวมา เนื่องจาก<br />

เกิดความดีเดนของลูกผสมที่เหนือกวาแมพอ (heterosis) โดยให<br />

ผลผลิตประมาณ 500-600 กก./ไร/ป<br />

2<br />

36 <strong>Ag</strong>-<strong>Bio</strong> <strong>Vol.4</strong> <strong>No.1</strong>-4 <strong>January</strong> - <strong>December</strong> 20<strong>12</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!