22.02.2015 Views

Fusarium oxysporum F. - ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร

Fusarium oxysporum F. - ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร

Fusarium oxysporum F. - ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การพัฒนา SCAR primers สําหรับตรวจสอบเชื้อราสาเหตุโรคเหี่ยวเหลืองของ<br />

มะเขือเทศ (<strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici)<br />

Development of SCAR Primers for Detection of <strong>Fusarium</strong> Wilt Pathogen of<br />

Tomato (<strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici)<br />

มนัสวี สุริยวนากุล 1 2<br />

วีระศักดิ์ ศักดิ์ศิริรัตน1,3<br />

และ ปยะดา ธีระกุลพิศุทธิ์<br />

Manatsawee Suriyawanakul 1 , Weerasak Saksirirat 1,3 and Piyada Theerakulpisut 2<br />

1<br />

สาขาโรคพืชวิทยา ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน ขอนแกน 40002<br />

1<br />

Plant Pathology Section, Department of Plant Science and Agricultural Resources, Faculty of<br />

Agriculture, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002<br />

2<br />

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ขอนแกน 40002<br />

2<br />

Department of Biology, Faculty of Science, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002<br />

3<br />

ศูนยเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร และศูนยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร เพื่อเศรษฐกิจที่ยั่งยืน<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน ขอนแกน 40002<br />

3<br />

Center of Agricultural Biotechnology (AgBiotec-PERDO-CHE) and Agricultural Biotechnology<br />

Research Center for Sustainable Economy, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002<br />

ABSTRACT<br />

Fifteen isolates of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F. sp. lycopersici (Fol) were collected in<br />

Thailand, three isolates from the Netherlands and one isolate from the United States of America,<br />

were tested on pathogenicity using tomato seedlings (Sida variety). Fourteen isolates of Fol<br />

caused <strong>Fusarium</strong> wilt symptom on tomato plants but five isolates did not infect the host plant.<br />

DNA of nineteen isolates of Fol was studied on DNA finger print using randomly amplified<br />

polymorphic DNA polymerase chain reaction (RAPD-PCR) technique. DNA fingerprint of Fol was<br />

performed using Operon Kit C (OPC 20 primers) and (OPE 10 primers). The primer OPC-04 and<br />

OPE-09 generated DNA fragments about 500 bp and 800 bp, respectively. Moreover, those<br />

fragments were found only on isolates causing <strong>Fusarium</strong> wilt disease. The DNA fragments were<br />

subjected to design SCAR primers, which tested for Fol detection, compared to DNA pattern of<br />

other <strong>Fusarium</strong> spp. (F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. melonis, F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. cucumerinum, F.<br />

moniliforme, F. poae, F. solani and <strong>Fusarium</strong> spp.). Using SCAR primer from primer OPE-09<br />

provided a PCR product of 378 bp which occurred only on isolates causing <strong>Fusarium</strong> wilt<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9<br />

24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี


disease. This result suggests the development efficacy of this SCAR primer for PCR detection<br />

technique of Fol.<br />

Key words: <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici, <strong>Fusarium</strong> wilt, RAPD, SCAR primer<br />

บทคัดยอ<br />

เชื้อรา <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici (Fol) สาเหตุโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ<br />

จํานวน 15 ไอโซเลต ที่แยกไดในประเทศไทย 3 ไอโซเลต จากเนเธอรแลนด และ 1 ไอโซเลตจาก<br />

สหรัฐอเมริกา รวม 19 ไอโซเลต ไดนํามาทดสอบความสามารถในการเกิดโรคกับมะเขือเทศ (พันธุสีดา)<br />

พบวา 14 ไอโซเลต ทําใหมะเขือเทศเปนโรคเหี่ยวเหลือง 5 ไอโซเลต ไมทําใหมะเขือเทศเปนโรคเหี่ยว<br />

เหลือง นําเชื้อรา Fol ทั้งหมดจํานวน 19 ไอโซเลต นั้นมาศึกษารูปแบบลายพิมพดีเอ็นเอ (DNA<br />

fingerprint) ดวยเทคนิค random amplified polymorphic DNA (RAPD) โดยใชไพรเมอร Operon Kit C<br />

(OPC) จํานวน 20 ชุด และ OPE จํานวน 10 ชุด พบวาไดแถบ DNA ขนาดประมาณ 500 bp ที่ไดจาก<br />

ไพรเมอร OPC-04 และ 800 bp ที่ไดจากไพรเมอร OPE-09 ซึ่งเปนแถบ DNA ที่พบเฉพาะในเชื้อรา<br />

Fol ไอโซเลต ที่ทําใหเกิดโรคเหี่ยวเหลืองกับมะเขือเทศ แถบ DNA ดังกลาวไดนําไปออกแบบไพรเมอร<br />

(SCAR primer) ที่มีความจําเพาะเจาะจงกับเชื้อรา Fol ไอโซเลตที่เปนสาเหตุโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือ<br />

เทศ และเมื่อนํา SCAR primer นั้นมาทดสอบกับเชื้อรา Fol ทั้งหมด และเชื้อรา <strong>Fusarium</strong> ชนิดอื่น<br />

ไดแก F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. melonis, F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. cucumerinum, F. moniliforme, F. poae,<br />

F. solani และ <strong>Fusarium</strong> spp. พบวา SCAR primer ที่ไดจากไพรเมอร OPE-09 มีความจําเพาะเจาะจง<br />

กับเชื้อรา Fol ไอโซเลตที่ทําใหเกิดโรคกับมะเขือเทศ โดยจะพบแถบ DNA ขนาดประมาณ 378 bp ซึ่งจะ<br />

ปรากฏเฉพาะในเชื้อรา Fol ไอโซเลต ที่ทําใหเกิดโรคในมะเขือเทศเทานั้น การศึกษานี้ชี้ใหเห็นถึง<br />

ประสิทธิภาพของ SCAR primer ที่สามารถนําไปพัฒนาการตรวจสอบเชื้อรา Fol ที่แมนยําดวยเทคนิค<br />

PCR<br />

คําหลัก: <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici, โรคเหี่ยวเหลือง, RAPD, SCAR primer<br />

บทนํา<br />

มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum Mill.) เปนพืชที่นิยมปลูกและบริโภคกันอยาง<br />

แพรหลายทั่วโลก เนื่องจากมะเขือเทศมีคุณคาทางโภชนาการสูง เปนแหลงวิตามิน และแรธาตุที่จําเปน<br />

สําหรับมนุษย นอกจากนี้มะเขือเทศยังเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทยดวย เนื่องจากมี<br />

เกษตรกรผูผลิตเมล็ดพันธุมีมากถึงประมาณ 37,500 ครอบครัว รวมทั้งมีบริษัทเมล็ดพันธุที่ดําเนิน<br />

กิจการประมาณ 70 บริษัท ซึ่งปริมาณการใชเมล็ดพันธุภายในประเทศคาดวาจะมีมูลคามากกวา 20,000<br />

ลานบาท/ป และในป 2548 มีการสงออกเมล็ดพันธุเปนมูลคา 1,153.4 ลานบาท (วัชริน, 2548) ประเทศ<br />

ไทยโดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมแกการผลิตเมล็ดพันธุมะเขือเทศ<br />

เปนอยางมาก มีพื้นที่ปลูกมะเขือเทศมากในเขตจังหวัดหนองคาย สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ และ<br />

296 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


ขอนแกน โดยเปนแหลงผลิตมะเขือเทศผลสดสําหรับบริโภค สงโรงงานอุตสาหกรรม และเปนแหลงผลิต<br />

เมล็ดพันธุที่ใหญที่สุดในประเทศไทย (เกียรติเกษตร, 2541) ในกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุเพื่อการ<br />

สงออกนั้น จะตองมีใบรับรองปลอดโรคพืช (phytosanitary certificate) ที่ระบุการปลอดโรคบางชนิดทั้ง<br />

ในสภาพแปลงปลูกและโรคที่ติดไปกับเมล็ดพันธุ ซึ่งโรคเหี่ยวเหลือง (<strong>Fusarium</strong> wilt) ของมะเขือเทศที่<br />

เกิดจากเชื้อรา <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici (Fol) นั้นเปนโรคตองหามโรคหนึ่งที่มี<br />

ความสําคัญโดยเฉพาะเชื้อรา Fol race 3 มีความสําคัญตอการปลูกและการผลิตเมล็ดพันธุมะเขือเทศ<br />

เพื่อการสงออกเปนอยางมาก เพราะสามารถเขาทําลายมะเขือเทศไดรุนแรงและอาจถายทอดทางเมล็ด<br />

พันธุได ทําใหประเทศผูนําเขาเมล็ดพันธุมะเขือเทศหลายประเทศ ระบุการปลอดเชื้อรา Fol race 3 จาก<br />

ประเทศผูผลิตเมล็ดพันธุตนทาง<br />

เชื้อรา Fol เปนสาเหตุของโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ ซึ่งเปนโรคที่ทําความเสียหายอยาง<br />

มากตอมะเขือเทศทั่วโลก เชื้อราชนิดนี้มีแหลงอาศัยทั่วไปในดิน สามารถเขาทําลายตนมะเขือเทศได<br />

ตั้งแตระยะตนกลาจนถึงระยะใหผลผลิต เนื่องจากเชื้อรา Fol เปนเชื้อราที่อาศัยอยูในดิน อีกทั้งยัง<br />

สามารถสรางสปอรแบบไมอาศัยเพศเพื่อใชในการแพรกระจายไดถึง 3 แบบ ไดแก microconidia,<br />

macroconidia และ chlamydospores (Agrios, 2005) จึงทําใหเกิดการแพรระบาดไดดีและยากในการ<br />

ปองกันกําจัด อุณหภูมิในดินที่เหมาะสมในการแพรกระจายของเชื้อคือ อุณหภูมิระหวาง 20-34 ° ซ ซึ่ง<br />

ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนชื้น จึงมักพบการระบาดของเชื้อรา Fol อยูเสมอ ในตางประเทศมีรายงาน<br />

วาพบเชื้อรา Fol จํานวน 3 race ดวยกันคือ race 1, race 2 และ race 3 เชื้อรา Fol race 1 พบครั้งแรก<br />

เมื่อ ป ค.ศ. 1886 ในรัฐ Arkansas ประเทศสหรัฐอเมริกา (Booth, 1971; Marlatt et al., 1996) สําหรับ<br />

Fol race 2 พบครั้งแรกเมื่อป ค.ศ. 1945 ในรัฐ Ohio ประเทศสหรัฐอเมริกา (Alexander and Tucker,<br />

1945) สวน Fol race 3 พบครั้งแรกเมื่อป ค.ศ. 1978 ในประเทศออสเตรเลีย (Grattidge and O’Brien,<br />

1982) ภายหลังพบวามีรายงานการแพรระบาดของเชื้อรา Fol race 3 อยางกวางขวางเชน ที่ Florida<br />

(Volin and Jones.,1982), California (Davis et al., 1988; Cai et al., 2003), Georgia (Chellemi et al.,<br />

1992), Arkansas, North Carolina (Marlatt et al., 1996), ประเทศเม็กซิโก (Valenzuela-Ureta et al.,<br />

1996), Tennessee (Bost, 2001) ตอมาไดรายงานวาพบเชื้อรา Fol race 3 ในประเทศบราซิล (Reis et<br />

al., 2005) ซึ่งการเกิด race ตางๆ ของเชื้อรา Fol อาจเปนผลมาจากความผันแปรทางพันธุกรรม<br />

(genetic variation) ทําใหเกิดสายพันธุใหมๆ สงผลใหการศึกษาเกี่ยวกับเชื้อรา Fol มีความสําคัญมากใน<br />

ปจจุบัน<br />

การตรวจวินิจฉัยเชื้อสาเหตุเชื้อรา Fol ที่ผานมาใชวิธีตรวจสอบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ<br />

โคนิเดีย (conidia) คลามิโดสปอร (chlamydospore) และความสามารถในการทําใหเกิดโรคในมะเขือเทศ<br />

(pathogenicity) เปนตน ปจจุบันเทคนิคดานเทคโนโลยีชีวภาพเชน การเพิ่มปริมาณชิ้นสวน DNA ใน<br />

หลอดทดลอง (polymerase chain reaction, PCR) มีความกาวหนามากขึ้น และไดนํามาใชในการ<br />

ตรวจสอบเชื้อรา <strong>Fusarium</strong> spp. หลายชนิด เชน F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. melonis, F. <strong>oxysporum</strong> F.sp.<br />

cucumerinum, F. moniliforme, F. poae, F. solani รวมถึงเชื้อรา Fol นอกจากนี้ มนัสวี และคณะ<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 297


(2548) Bunyatratchata et al. (2005) ไดศึกษาการใชเทคนิค PCR ตรวจสอบ race ของเชื้อรา Fol แต<br />

ยังไมไดพัฒนาถึงการตรวจสอบเชื้อรา Fol ในทุก race จุดประสงคของการศึกษานี้เพื่อหาไพรเมอรที่<br />

เหมาะสมในการบงชี้เชื้อรา Fol ที่มีความสามารถในการทําใหเกิดโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ ออก<br />

จากเชื้อรา Fol ที่ไมสามารถทําใหเกิดโรค และจําแนกความแตกตางของเชื้อรา Fol จากเชื้อ <strong>Fusarium</strong><br />

ชนิดอื่นๆ เพื่อใชเปนไพรเมอรในการตรวจสอบยืนยันเชื้อรา Fol กอนที่จะใชไพรเมอรในการจําแนก<br />

race ตอไป<br />

วิธีการวิจัย<br />

1. เชื้อรา <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici (Fol) จํานวน 19 ไอโซเลต และเชื้อ<br />

<strong>Fusarium</strong> spp. อื่นที่นํามาศึกษาจํานวน 9 ไอโซเลต ไดมาจากแหลงตางๆ ดังแสดงในTable 1<br />

Table 1 Isolates of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici and <strong>Fusarium</strong> spp. Used in this study<br />

<strong>Fusarium</strong> Isolates Origin<br />

Fol 1, Fol 2, Fol 3N<br />

Fol 3A<br />

KK1, KK2, KK3, KK4, KK5,<br />

KK6<br />

KS<br />

CM1, CM2, CM3<br />

PP1<br />

NK1, NK2<br />

SN1, SN2<br />

Fom<br />

Foc<br />

F. monoliforme<br />

F. poae<br />

F. solani<br />

Fu1<br />

Fu5<br />

Fu6<br />

Fu13<br />

<strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F. sp.<br />

lycopersici<br />

F.<strong>oxysporum</strong> F.sp. melonis<br />

F.<strong>oxysporum</strong> F.sp. cucumerinum<br />

F.moniliforme<br />

F.poae<br />

F.solani<br />

<strong>Fusarium</strong> spp.<br />

The Netherlands<br />

The United tates of America<br />

Khon Kaen University<br />

Kalasin<br />

Chiang Mai University<br />

Department of Agriculture<br />

Nong Khai<br />

Sakonnakhon<br />

Kanchanaburi<br />

Thailand Institute of Scientific and<br />

Technological Research (TISTR)<br />

Mukdahan<br />

Mahasarakham<br />

Khon Kaen<br />

Sakonnakhon<br />

2. การทดสอบความสามารถในการทําใหพืชเกิดโรคของเชื้อรา Fol<br />

นําเชื้อรา Fol จํานวน 19 ไอโซเลต ไดแก Fol 1, Fol 2, Fol 3N, Fol 3A, KK1, KK2, KK3,<br />

KK4, KK5, KK6, CM1, CM2, CM3, KS, PP1 NK1, NK2, SN1 และ SN2 ไปเพาะเลี้ยงบนอาหาร<br />

potato dextrose agar (PDA) ที่อุณหภูมิหอง (30 ± 4 o ซ) เปนเวลา 7 วัน เตรียมสารแขวนลอยสปอร<br />

(spore suspension) ใหมีปริมาณสปอรเทากับ 10 6 สปอร/มล. นําไปปลูกเชื้อกับตนกลามะเขือเทศพันธุสี<br />

ดา อายุ 20 วัน โดยวิธีการตัดรากตนกลามะเขือเทศออกประมาณ 1 ซม. จากปลายราก แลวจุมลงในสาร<br />

298 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


แขวนลอยสปอร (root dip) เปนเวลา 20 นาที โดยประยุกตตามวิธีการของ Marlatt et al. (1996) และ<br />

Bunyatratchata, et al. (2005) จากนั้นนําตนกลามะเขือเทศไปปลูกในดินปลูกผสมวัสดุปลูก (พีทมอส)<br />

ที่ผานการนึ่งฆาเชื้อแลว อัตราสวนดินปลูกตอพีทมอสเทากับ 5:2 ในกระถางขนาดเสนผานศูนยกลาง<br />

12 ซม. จํานวน 1 ตน/กระถาง ไอโซเลตละ 12 กระถาง ตรวจสอบอาการของตนกลามะเขือเทศทุกวัน<br />

เปนเวลา 20 วันหลังจากปลูกเชื้อ<br />

3.การพัฒนา SCAR primers สําหรับตรวจสอบเชื้อราสาเหตุโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ<br />

(<strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici)<br />

3.1 การศึกษารูปแบบลายพิมพ DNA ของเชื้อรา ดวยเทคนิค RAPD-PCR<br />

การเตรียม Genomic DNA<br />

สกัด DNA ของเชื้อราทั้งหมด 28 ไอโซเลต ที่นํามาศึกษา ไดดัดแปลงมาจากวิธีการของ<br />

Doyle and Doyle (1987) โดยเลี้ยงเชื้อรา ในอาหารเลี้ยงเชื้อ potato dextrose broth (PDB) เขยาที่<br />

ความเร็วรอบ 125 รอบ/นาที ที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 7 วัน กรองเอาสวนที่เปนเสนปใยลางเสนใยดวย<br />

น้ํากลั่นนึ่งฆาเชื้อ นําเสนใยประมาณ 0.5-1.0 กรัม มาบดในไนโตรเจนเหลวใหละเอียด แลวเติม<br />

สารละลาย extraction buffer [2% CTAB (hexadecylammonium bromide), 100 mM Tris-base, 20<br />

mM EDTA, 1.42 mM NaCl, 1% PVP-40, pH 8.0] ปริมาตร 700 µl และ 2-mercaptonethanol จํานวน<br />

3 µl ดูดใสในหลอด microcentrifuge ขนาด 1.5 มล. บมที่อุณหภูมิ 60 ๐ ซ เปนเวลา 60 นาที โดยพลิก<br />

หลอดกลับไปมาเปนครั้งคราว เติมสารละลาย chloroform : isoamyl alcohol, (24:1, v/v) ปริมาตร 500<br />

µl พลิกหลอดกลับไปมาเบาๆ จากนั้นนําไปปนเหวี่ยงที่ความเร็ว 13,000 รอบตอนาที ที่อุณหภูมิ 10 ๐ ซ<br />

เปนเวลา 10 นาที ดูดสารละลายสวนบน (supernatant) ไปใสในหลอด microcentrifuge หลอดใหม เติม<br />

ไอโซโพรพานอล (isopropanol) ที่เย็นจัด ปริมาตร 0.7 เทา พลิกหลอดกลับไปมาเบาๆ เพื่อให DNA<br />

ตกตะกอน ทิ้งไวที่อุณหภูมิ –20 ๐ ซ เปนเวลา 20 นาที นําไปปนเหวี่ยงที่ความเร็วรอบ 13,000 รอบ/นาที<br />

ที่อุณหภูมิ 10 ๐ ซ เปนเวลา 10 นาที เพื่อให DNA ตกตะกอนสูกนหลอด เทสวนใสที่เปนสารละลายทิ้ง<br />

ลางตะกอน DNA ดวยสวนผสมระหวางเอธานอล ความเขมขน 76% และแอมโมเนียมอะซิเตต ความ<br />

เขมขน 10 mM [76% ethanol:10 mM ammonium acetate, 1:1] ปริมาตร 500 µl พลิกหลอดกลับไปมา<br />

เบาๆ เทสวนใสที่เปนสารละลายทิ้งใหเหลือแตเฉพาะตะกอน DNA ที่กนหลอด ทิ้งไวใหแหงที่อุณหภูมิ<br />

ประมาณ 30-60 นาที ละลายตะกอน DNA ดวยสารละลาย TE buffer [10 mM Tris-base pH 8.0, 1 mM<br />

EDTA] ปริมาตร 40 µl และกําจัด RNA ดวยเอนไซม RNase A ความเขมขน 10 มิลลิกรัมตอมล.<br />

(mg/ml) บมที่อุณหภูมิหอง เปนเวลา 30 นาที เก็บสารละลายดีเอ็นเอไวที่อุณหภูมิ –20 ๐ ซ จนกวาจะ<br />

นําไปใช<br />

การเพิ่มปริมาณ DNA ดวยเทคนิค PCR<br />

นําเอา genomic DNA เชื้อรา 15 ไอโซเลต (Fol 1, Fol 2, Fol 3N, Fol 3A, KK1, KK2, KK3,<br />

KK4, KK5, KK6, CM1, CM2, CM3, KS, PP1) มาเพิ่มปริมาณ DNA ดวยเทคนิค RAPD ตามวิธีการ<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 299


ของ มนัสวี และคณะ (2548) โดยใชไพรเมอร Operon Kit C (OPC) จํานวน 20 ชุด และ OPE จํานวน<br />

10 ชุด ในปฏิกิริยา PCR ทั้งหมด 25 µl ประกอบไปดวย Taq polymerase (Promega) (5 unit/µl)<br />

จํานวน 1 µl, 10 X Taq buffer 2.5 µl, dNTPs (0.25 mM) จํานวน 2 µl, ไพรเมอร (100 ρMol/µl)<br />

จํานวน 2 µl, MgCl 2 (25 mM) จํานวน 2 µl และ genomic DNA (100 ng/µl) จํานวน 5 µl ปรับปริมาตร<br />

ใหได 25 µl ดวยน้ํากลั่นนึ่งฆาเชื้อ นําไปเขาเครื่อง Thermal cycle โดยใชชวงอุณหภูมิ ดังนี้ ขั้นที่ 1<br />

pre-denatured อุณหภูมิ 94 ๐ ซ เปนเวลา 1 นาที จํานวน 1 รอบ, ขั้นที่ 2 denatured อุณหภูมิ 94 ๐ ซ เปน<br />

เวลา 1 นาที, annealing อุณหภูมิ 36 ๐ ซ เปนเวลา 1 นาที, extension อุณหภูมิ 72 ๐ ซ เปนเวลา 1 นาที<br />

จํานวน 40 รอบ และ ขั้นที่ 3 extension อุณหภูมิ 72 ๐ ซ เปนเวลา 2 นาที จํานวน 1 รอบ<br />

ตรวจวิเคราะหผลการเพิ่มปริมาณชิ้นสวน DNA โดยการนํา PCR product ปริมาตร 5 µl ผสม<br />

กับ loading dye 2 µl นํามาแยกขนาดบน 2% agarose gel electrophoresis ภายใตสภาพ 0.5 X TBE<br />

[1X TBE: 89 mM Tris-base, 89 boric acid และ 2 mM EDTA] ที่กระแสไฟฟา 100 โวลต เปนเวลา 50<br />

นาที แลวจึงนํา gel ไปยอมดวย ethidium bromide (EtBr) นาน 10 นาที นําไปลาง EtBr โดยการแชใน<br />

น้ําสะอาด 2 ครั้ง ครั้งละ 5 นาที หลังจากนั้นนํา gel ไปตรวจสอบชิ้นสวน DNA ดวยเครื่อง Gel<br />

documentation (GENE GENIUS bio imaging system)<br />

3.2 การสกัด DNA ออกจาก gel โดยการละลาย<br />

เลือกแถบ DNA ที่ไดจากการเพิ่มปริมาณดวยเทคนิค RAPD โดยเลือกแถบที่ปรากฏเฉพาะใน<br />

ไอโซเลตที่ทําใหเกิดโรคเหี่ยวเหลืองในมะเขือเทศเทานั้น จากนั้นทําการตัดแถบ DNA ที่เลือก และ<br />

ละลาย ออกจาก gel โดยใช QIAquick Gel Extracton Kit (QIAGEN) นํา DNA ที่ไดไปตรวสอบใน<br />

agarose gel electrophoresis เพื่อยืนยันวาได DNA เปาหมาย แลวนําไปวัดคา OD เพื่อหาความเขมขน<br />

สง DNA ที่ไดไปหาลําดับนิวคลีโอไทด โดยใชบริการจากหนวยบริการชีวภาพ (BSU) ศูนยพันธุ<br />

วิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ<br />

3.3 การออกแบบไพรเมอรและการสังเคราะหไพรเมอร<br />

นําขอมูลลําดับนิวคลีโอไทดที่ไดมาออกแบบไพรเมอรโดยใชโปรแกรม CLC Genomics<br />

Workbench 3 โดยกําหนดคาความยาวเบส 18-20 เบส แลวสังเคราะหไพรเมอรตามลําดับลําดับนิวคลี<br />

โอไทดที่ออกแบบโดยใชบริการจากบริษัท BioDesign Co., Ltd<br />

3.4 การทดสอบความจําเพาะเจาะจงของ SCAR primer<br />

นํา DNA ของเชื้อราทั้งหมด 28 ไอโซเลต จากTable 1 มาเพิ่มปริมาณ DNA ดวย SCAR<br />

primers ที่ไดออกแบบไว ในปฏิกิริยา PCR ทั้งหมด 25 µl ประกอบไปดวย Taq polymerase<br />

(Promega) (5 unit/µl) จํานวน 0.4 µl, 10 X Taq buffer 2.5 µl, dNTPs (0.25 mM) จํานวน 2 µl, ไพร<br />

เมอร (100 ρMol/µl) จํานวน 1 µl, MgCl 2 (25 mM) จํานวน 0.75 µl และ genomic DNA (100 ng/µl)<br />

จํานวน 5 µl ปรับปริมาตรใหได 25 µl ดวยน้ํากลั่นนึ่งฆาเชื้อ นําไปเขาเครื่อง Thermal cycle<br />

(Biometra ® รุน Tpersonal) โดยใชชวงอุณหภูมิ ดังนี้ ขั้นที่ 1 pre-denatured อุณหภูมิ 94 ๐ ซ เปนเวลา<br />

300 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


3 นาที จํานวน 1 รอบ, ขั้นที่ 2 denatured อุณหภูมิ 94 ๐ ซ เปนเวลา 1 นาที, annealing อุณหภูมิ 56 ๐ ซ<br />

เปนเวลา 1 นาที, extension อุณหภูมิ 72 ๐ ซ เปนเวลา 1 นาที จํานวน 30 รอบ และ ขั้นที่ 3 extension<br />

อุณหภูมิ 72 ๐ ซ เปนเวลา 10 นาที จํานวน 1 รอบ<br />

ตรวจวิเคราะหผลการเพิ่มปริมาณชิ้นสวน DNA โดยการนํา PCR product ปริมาตร 5 µl ผสม<br />

กับ loading dye 2 µl นํามาแยกขนาดบน 2% agarose gel electrophoresis ภายใตสภาพ 0.5 X TBE<br />

[1X TBE: 89 mM Tris-base, 89 boric acid และ 2 mM EDTA] ที่กระแสไฟฟา 100 โวลต เปนเวลา 50<br />

นาที แลวจึงนํา gel ไปยอมดวย ethidium bromide (EtBr) นาน 10 นาที นําไปลาง EtBr โดยการแชใน<br />

น้ําสะอาด 2 ครั้ง ครั้งละ 5 นาที หลังจากนั้นนํา gel ไปตรวจสอบ DNA ดวยเครื่อง Gel documentation<br />

(Gene Genius Imaging System)<br />

ผลการวิจัย<br />

1. ความสามารถในการทําใหพืชเกิดโรคของเชื้อรา Fol<br />

เชื้อรา Fol 19 ไอโซเลต ที่นํามาทดสอบ คือ ไอโซเลต Fol 1, Fol 2, Fol 3N, Fol 3A, KK1,<br />

KK2, KK3, KK4, KK6, CM2, NK1, NK2, SN1 และ SN2 ที่ทําใหเกิดโรคกับมะเขือเทศพันธุสีดา และที่<br />

เหลืออีก 5 ไอโซเลต คือ KK5, CM1, CM3, KS และ PP1 ไมทําใหเกิดโรคกับมะเขือเทศพันธุสีดา (Fig.<br />

1) เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม (ตนมะเขือเทศที่ไมปลูกเชื้อรา Fol)<br />

Control Fol 1 Control Fol 2 Control Fol 3N<br />

Control KK1 Control KK2 Control KK6<br />

Control CM 1 Control CM 2 Control CM 3<br />

Fig. 1 Wilt symptoms of tomato (Sida cultivar) after 15 days of inoculation with <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp.<br />

lycopersici isolates Fol 1, Fol 2, Fol 3N, KK1, KK2, KK6, CM1, CM2 and CM3 (right) compared with no<br />

inoculation (left).<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 301


2. การศึกษารูปแบบลายพิมพ DNA ของเชื้อรา ดวยเทคนิค RAPD-PCR<br />

จากการเพิ่มปริมาณ DNA ของเชื้อรา Fol 15 ไอโซเลต ดวยไพรเมอร OPC และ OPE นั้น<br />

พบวาการเพิ่มปริมาณ DNA ดวยไพรเมอร OPC-04 และ OPE-09 จะพบแถบ DNA ขนาด 520 bp (Fig.<br />

2A) และ 800 bp (Fig. 2B) ตามลําดับ ซึ่งเปนแถบ DNA ที่พบเฉพาะในเชื้อรา Fol ไอโซเลตที่ทําใหเกิด<br />

โรคเหี่ยวเหลืองในมะเขือเทศเทานั้น<br />

3000 bp<br />

1500 bp<br />

1000 bp<br />

800 bp<br />

500 bp<br />

300 bp<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 C<br />

500<br />

A<br />

3000 bp<br />

1500 bp<br />

1000 bp<br />

800 bp<br />

500 bp<br />

300 bp<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 4 15 C<br />

800<br />

Fig. 2 DNA fingerprints of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici amplified with primers OPC-04<br />

(A) and OPE-09 (B), lane M, 100 bp ladder, lane 1-28 are Fol 1, Fol 2, Fol 3N, Fol 3A,<br />

KK1, KK2, KK3, KK4, KK5, KK6, CM1, CM2, CM3, KS, and PP1, respectively, lane C, negative control.<br />

3. การทดสอบความจําเพาะเจาะจงของ SCAR primer<br />

จากเลือกแถบ DNA ขนาด 500 bp และ 800 bp จากไพรเมอร OPC-04 และ OPE-09<br />

ตามลําดับ นําไปหาลําดับนิวคลีโอไทด และออกแบบไพรเมอร แลวนําไพรเมอรที่ไดนั้นมาทดสอบความ<br />

เจาะจงกับเชื้อรา Fol 19 ไอโซเลต (Fol 1, Fol 2, Fol 3N, Fol 3A, KK1, KK2, KK3, KK4, KK5, KK6,<br />

CM1, CM2, CM3, KS, PP1, NK1, NK2, SN1 และ SN2) และ <strong>Fusarium</strong> spp. ชนิดอื่นอีก 9 ไอโซเลต<br />

(F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. melonis, F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. cucumerinum, F. moniliforme, F. poae, F.<br />

solani, Fu1, Fu5, Fu6 และ Fu13) พบวาไพรเมอรที่ออกแบบจาก DNA ขนาด 800 bp คือไพรเมอร<br />

FolPF (Forward primer) 5’-GCG-AAC-CCG-AAG-CTA-CAA-3’ FolPR (Reverse primer) 5’-CGT-<br />

302 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี<br />

B


CAG-TGG-GAT-AGG-TCT-3’ มีความจําเพาะจงกับเชื้อรา Fol ไอโซเลตที่เกิดโรคเหี่ยวเหลืองกับมะเขือ<br />

เทศ โดยจะพบแถบ DNA เพียงแถบเดียวขนาดประมาณ 378 bp ในเฉพาะไอโซเลตที่เกิดโรคเหี่ยว<br />

เหลืองกับมะเขือเทศเทานั้น (Fig. 3)<br />

M 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 M 16 17 18 19 20 21 22 23<br />

1000 bp<br />

700 bp<br />

500 bp<br />

400 bp<br />

300 bp<br />

378<br />

Fig. 3 DNA fingerprints of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici amplified with primers FolPF and<br />

FolPR, lane M, 100 bp ladder, lane 1-28 are Fol 1, Fol 2, Fol 3N, Fol 3A, KK1, KK2, KK3,<br />

KK4, KK5, KK6, CM1, CM2, CM3, KS, PP1 NK1, NK2, SN1, SN2, F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. melonis,<br />

F. <strong>oxysporum</strong> F.sp. cucumerinum, F. moniliforme, F. poae, F. solani, Fu1, Fu5, Fu6<br />

and Fu13, respectively, lane C, negative control.<br />

สรุปและวิจารณ<br />

จากการทดสอบความสามารถในการทําใหพืชเกิดโรคของเชื้อรา Fol โดยการนําสารแขวนลอย<br />

สปอรของเชื้อรา Fol ปริมาณสปอรเทากับ 1X10 6 สปอร/มล. ไปปลูกเชื้อกับตนกลามะเขือเทศพันธุสีดา<br />

อายุ 20 วัน พบวาเชื้อรา Fol ที่นํามาทดสอบมี 14 ไอโซเลต คือ Fol 1, Fol 2, Fol 3N, Fol 3A, KK1,<br />

KK2, KK3, KK4, KK6, CM2, SN1, SN2, NK1 และ NK2 ทําใหเกิดโรคเหี่ยวเหลืองในมะเขือเทศพันธุสี<br />

ดา และที่เหลืออีก 5 ไอโซเลต คือ KK5, CM1, CM3, KS และ PP1 ไมทําใหเกิดโรคเหี่ยวเหลืองใน<br />

มะเขือเทศพันธุสีดา เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม (control treatment) ซึ่งผลการทดลองในครั้งนี้<br />

ใหผลตรงกันกับการทดลองของ Bunyatratchata et al. (2005) ซึ่งเปนการยืนยันผลของความสามารถใน<br />

การทําใหเกิดโรคเหี่ยวเหลืองในมะเขือเทศของเชื้อที่นํามาทดสอบครั้งนี้<br />

สําหรับการพัฒนา SCAR primer สําหรับตรวจสอบเชื้อรา <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp.<br />

lycopersici (Fol) สาเหตุโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศนั้น พบวาไพรเมอร FolPF และ FolPR ที่ได<br />

ออกแบบจากลําดับนิวคลีโอไทดของ DNA ขนาด 800 bp ซึ่งไดจากการเพิ่มปริมาณ DNA ดวยไพร<br />

เมอร OPE-09 นั้น มีความจําเพาะเจาะจงกับเชื้อรา Fol ไอโซเลตที่เกิดโรคเหี่ยวเหลืองกับมะเขือเทศ<br />

โดยเมื่อนําไพรเมอร FolPF และ FolPR เพิ่มปริมาณ DNA ของเชื้อรา Fol 19 ไอโซเลต และเชื้อรา<br />

<strong>Fusarium</strong> spp. 9 ไอโซเลต พบวาไพรเมอรดังกลาวสามารถเพิ่มปริมาณไดเฉพาะกับ DNA ของเชื้อรา<br />

Fol ไอโซเลตที่เกิดโรคเหี่ยวเหลืองในมะเขือเทศเทานั้น โดยพบแถบ DNA ขนาดประมาณ 378 bp ผล<br />

การศึกษาครั้งนี้ไดผลที่สามารถนําไปใชในการตรวจสอบเชื้อสาเหตุโรคเหี่ยวเหลืองในมะเขือเทศที่มี<br />

ความแมนยําสอดคลองกับการตรวจสอบกับพืชอาศัย โดยที่ SCAR primer สําหรับตรวจสอบเชื้อรา Fol<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 303


นี้เปนวิธีที่มีความแมนยําสูงเชนเดียวกันมีรายงานการใช SCAR marker ในการตรวจสอบเชื้อราสาเหตุ<br />

โรคเหี่ยว เชนการ ตรวจสอบเชื้อ <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. phaseoi (Alves-Santos et al., 2002)<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

ขอขอบคุณศูนยเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยรวม มหาวิทยาลัยขอนแกน และ<br />

ศูนยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร เพื่อเศรษฐกิจที่ยั่งยืน รวมทั้งศูนยพันธุวิศวกรรมและ<br />

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใหทุนสนับสนุนในการทําวิจัย และคุณรภีพร หีบแกว ที่ไดใหความอนุเคราะหเชื้อรา<br />

Fol ไอโซเลต NK1 และ NK2<br />

เอกสารอางอิง<br />

เกียรติเกษตร กาญจนพิสุทธิ์. 2541. มะเขือเทศ. ฐานเกษตรกรรม. กรุงเทพฯ.<br />

วัชริน มีรอด. 2548. สหภาพยุโรปยักษใหญแหงวงการเมล็ดพันธุ. คนเมื่อ 28 พฤษภาคม 2551, จาก<br />

http://www.biotec.or.th/policy/home/european.asp<br />

มนัสวี ฉายผาด, วีระศักดิ์ ศักดิ์ศิริรัตน, และ พรเทพ ถนนแกว. 2548. การพัฒนาวิธีการทางชีวโมเลกุล<br />

เพื่อบงชี้ race ของเชื้อ <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F. sp. lycopersici สาเหตุโรคเหี่ยวเหลืองของ<br />

มะเขือเทศ. แกนเกษตร 33 (2): 108-123.<br />

Agrios, G. N. 2005. Plant pathology 5 th ed. Academic Press, Inc., New York.<br />

Alexander, L. J. and C. M. Tucker, 1945. Physiologic specialization in the tomato wilt fungus<br />

<strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici. J. Agric. Res. 70: 303 – 313.<br />

Booth, C. 1971. The genus <strong>Fusarium</strong>. Commonwealth Mycological Institute, Kew, Surrey,<br />

England.<br />

Bost, S. C. 2001. First report of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici race 3 on tomato in<br />

Tennessee. Plant Disease 85: 802.<br />

Bunyatratchata, W., W. Saksirirat, P. Sirithorn and P. Teerakupisut 2005. Race identification of<br />

<strong>Fusarium</strong> with pathogen of tomato, <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F. sp. lycopersici by<br />

pathogenic reaction on standard differential host and development of Thai differential<br />

host. Khon Kaen Agri. J. 33: 95 – 107.<br />

Cai, G., L. R. Gale, R. W. Schneider, H. C. Kistler, R. M. Davis, K. S. Elias and E. M. Miyao.<br />

2003. Origin of race 3 of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici at a single site in<br />

California. Phytopathology 93: 1014 – 1022.<br />

Chellemi, D. O., H. A. Dankers, and B. Crosier 1992. First report of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F. sp.<br />

lycopersici race 3 on tomato in northwest Florida and Georgia. Pl. Dis. 76: 861.<br />

Davis, R. M., K. A. Kimble, and J. J. Farrar, 1988. A third race of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F. sp.<br />

lycopersici identified in California. Pl. Dis. 72: 453.<br />

304 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


Doyle, J. J. and J. L. Doyle, 1987. A rapid DNA isolation procedure for small quantities of fresh<br />

leaf tissue. Phytochemical Bulletin 19:11 – 15.<br />

Grattidge, R. and R. G. O’Brien, 1982. Occurrence of a third race of <strong>Fusarium</strong> wilt of tomatoes<br />

in Queensland. Pl. Dis. 66 :165 – 166.<br />

Marlatt, M. L., J. C. Correll, P. Kaufmann and P. E. Cooper, 1996. Two genetically distinct<br />

population of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici race 3 in the United States. Pl.<br />

Dis. 80:1336 – 1342.<br />

Reis, A., H. Costa, , L.S. Boiteux and C.A. Lopes, 2005. First report of <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.<br />

sp. lycopersici race 3 on tomato in Brazil. Fitopatol. Brasil. 30:426-428.<br />

Valenzuela-Ureta, J. G., D. A.Lawn, R. F. Heisey, and V. Zamudio-Guzman, 1996. First report<br />

of <strong>Fusarium</strong> wilt race 3, caused by <strong>Fusarium</strong> <strong>oxysporum</strong> F.sp. lycopersici, of tomato<br />

in Mexico. Pl. Dis. 80: 105.<br />

Volin, R. B. and J. P. Jones, 1982. A new race of <strong>Fusarium</strong> wilt of tomato in Florida and<br />

sources of resistance. Proc. Fla. State Hortic. Soc. 95: 268 – 270.<br />

Windels, C.E. 1992. <strong>Fusarium</strong>. In: Methods for research on soil borne phytopathogenic fungi.<br />

L.L. Singleton, I.D. Mihail and C.M. Rush (Eds.) APS Press, St. Paul, Minnesota.<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 305

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!