22.02.2015 Views

Interaction Between Trichoderma spp. and Other Antagonistic ...

Interaction Between Trichoderma spp. and Other Antagonistic ...

Interaction Between Trichoderma spp. and Other Antagonistic ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปฏิสัมพันธระหวางเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. กับจุลินทรียปฏิปกษอื่น<br />

และประสิทธิภาพ ในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ<br />

<strong>Interaction</strong> between <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. <strong>and</strong> other antagonistic microorganisms<br />

<strong>and</strong> their efficiency for control fusarium wilt of tomato<br />

อรอุษา ลาวินิจ 2,3 1,2,3<br />

วีระศักดิ์ ศักดิ์ศิริรัตน พิศาล ศิริธร 1,2,3 เพชรรัตน ธรรมเบญจพล 1,2,3<br />

Onusa Lawinit 2,3 , Weerasak Saksirirat 1,2,3 , Pisan Sirithorn 1,2,3 <strong>and</strong> Petcharat<br />

Thummabenjapone 1,2,3<br />

1 สาขาโรคพืชวิทยา ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร, 2 ศูนยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางการ<br />

เกษตรเพื่อเศรษฐกิจที่ยั่งยืน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 3 ศูนยความเปนเลิศดาน<br />

เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแกน สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษา<br />

และวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

1 Plant Pathology Section, Dept. of Plant Science <strong>and</strong> Agricultural Resources, 2 Agricultural<br />

Biotechnology Research Center for Sustainable Economy,<br />

Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thail<strong>and</strong>.<br />

3 Center of Agricultural Biotechnology, Khon Kaen University, Science <strong>and</strong> Technology<br />

Postgraduate Education <strong>and</strong> Research Development Office(AG-BIO/PERDO-CHE), Thail<strong>and</strong>.<br />

ABSTRACT<br />

The combination of <strong>Trichoderma</strong> 6 isolates <strong>and</strong> Streptomyces 3 isolates for control<br />

Fusarium wilt of tomato (Fusarium oxysporum f.sp lycopersici) was investigated under<br />

screen-house conditions. These <strong>Trichoderma</strong> <strong>and</strong> Streptomyces were compatible, based on<br />

laboratory test. <strong>Trichoderma</strong> harzianum (T9)+Streptomyces isolates 15 <strong>and</strong> 87, showed the<br />

highest survival tomato plants of 87.5 <strong>and</strong> 75.0 %, respectively, while 0% survival in control<br />

treatment. The combination of <strong>Trichoderma</strong> 6 isolates <strong>and</strong> Bacillus 3 isolates for control<br />

Fusarium wilt of tomato was carried out also under screen-house conditions. The result<br />

revealed that T. harzianum (T9) + B. polymyxa (BRR019), T. harzianum T9+B. subtilis<br />

(BRR031), T. asperrellum (T13) + B. subtilis (BRR031) exhibited the highest survival tomato<br />

plants of 75%, compared to 0% survival in control treatment. This study indicates the<br />

compatibility among antagonistic microorganisms, that capable to control Fusarium wilt of<br />

tomato.<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9<br />

24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี


บทคัดยอ<br />

การทดสอบปฏิสัมพันธระหวางเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. 6 ไอโซเลต กับ Streptomyces 3<br />

ไอโซเลตในระดับเรือนทดลอง ในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อ Fusarium<br />

oxysporum f.sp lycopersici (Fol) ซึ่งไดทําการทดสอบความสามารถในการเขากันแลวในระดับ<br />

หองปฏิบัติการ พบวา <strong>Trichoderma</strong> harzianum (T9) รวมกับ Streptomyces ไอโซเลต 87 และ 15<br />

ทําใหมะเขือเทศมีเปอรเซ็นตตนไมเปนโรคเหี่ยวเหลืองสูงที่สุด คือ 87.5 และ75.0% ตามลําดับ<br />

ในขณะที่มะเขือเทศที่ปลูกเชื้อรา Fol เพียงอยางเดียวมีเปอรเซ็นตตนไมเปนโรค 0% และการใช<br />

<strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. รวมกับ Bacillus 3 ไอโซเลต พบวา T. harzianum (T9) รวมกับ B. polymyxa<br />

(BRR 019) และ B. subtilis (BRR 031) และ T. asperrellum (T13) รวมกับ B. subtilis (BRR 031)<br />

ทําใหมะเขือเทศมีเปอรเซ็นตตนไมเปนโรคเหี่ยวเหลืองสูงที่สุด คือ 75% ในขณะที่มะเขือเทศที่ปลูก<br />

เชื้อรา Fol เพียงอยางเดียว มีเปอรเซ็นตตนไมเปนโรคเทากับ 0% การศึกษานี้แสดงใหเห็นถึงความ<br />

เขากันไดของจุลินทรียปฏิปกษที่สามารถนําไปประยุกตใชในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือ<br />

เทศ<br />

บทนํา<br />

มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum Mill.) เปนพืชผักที่นิยมปลูกกันมากแทบทุก<br />

ประเทศ ผลมะเขือเทศเปนแหลงของวิตามินและเกลือแรหลายชนิด โดยเฉพาะวิตามินเอและวิตามินซี<br />

แคลเซียม ฟอสฟอรัส ตลอดจนคารโบไฮเดรตและโปรตีน(ศุภลักษณ, 2536) และในแตละปภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ มีการผลิตเมล็ดพันธมะเขือเทศเพื่อสงออกทํารายไดใหกับประเทศเปนจํานวน<br />

หลายรอยลานบาท โรคที่สําคัญทําความเสียหายแกมะเขือเทศโรคหนึ่ง คือ โรคเหี่ยวเหลืองของ<br />

มะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อ Fusarium oxysporum f.sp lycopersici (Fol) ปจจุบันไดมีความพยายามใน<br />

การควบคุมโรคพืชโดยมีการใชวิธีการตางๆเพื่อใหมีประสิทธิภาพสูงสุด แตวิธีที่เกษตรกรนิยมกันมาก<br />

ที่สุดคือ การใชสารเคมีที่อาจมีพิษตกคางในพืช ผูผลิต ผูบริโภค และสิ่งแวดลอมได ดังนั้นจึงควรหา<br />

วิธีการตางๆในการควบคุมโรคพืชที่เปนมิตรกับมนุษยและสภาพแวดลอม เชนการควบคุมโรคพืชโดย<br />

ชีววิธีเปนตน เชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> จัดวาเปนเชื้อราที่มีความสามารถในการเปนเชื้อราปฏิปกษที่ใชใน<br />

การควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชที่ดี โดยมีกลไกในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชคือ การ<br />

เปนปรสิต (mycoparasite) การเจริญเติบโตปกคลุมเชื้อสาเหตุโรคพืชจนไมสามารถที่จะเจริญตอไป<br />

ไดการสรางเสนใยพันลอมรอบเสนใยของเชื้อราสาเหตุโรคพืชและปลอยเอนไซม เพื่อใชในการยอย<br />

ผนังเซลลของเชื้อราสาเหตุโรคพืชเปนตน( Elad et al.,1983) นอกจากนี้ยังสามารถสรางสารปฏิชีวนะ<br />

ปลดปลอยออกมาในสภาพแวดลอมทําใหมีผลตอการเจริญของเชื้อสาเหตุโรคพืชไดดี เชื้อแบคทีเรีย<br />

สกุล Bacillus เปนจุลินทรียที่เจริญไดรวดเร็วและทนทานตอสภาพแวดลอมและที่สําคัญคือ สวนใหญ<br />

สามารถสรางสารปฏิชีวนะได มีผูศึกษาการใชเชื้อในสกุล Bacillus ในการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช<br />

ทั้งในสภาพเรือนทดลองและในสภาพแปลงปลูก เชื้อ Streptomyces เปนเชื้อแบคทีเรียในกลุม<br />

Actinomyceles ที่พบไดทั่วไปตามธรรมชาติและเปนที่รูจักกันดีในดานการสรางสารปฏิชีวนะหลาย<br />

492 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


ชนิดที่นํามาใชควบคุมโรคพืชเชน โรคเนาคอดินในพืชผัก, โรค Fusarium wilt และ Fusarium crown<br />

rot ในมะเขือเทศ เปนตน จุลินทรียปฏิปกษดังกลาว แมวาจะมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคพืชไดดี<br />

แตหากนํามาใชรวมกันอาจเปนปฏิปกษซึ่งกันและกันได ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

ตรวจสอบความสัมพันธในแงความเขากันไดของจุลินทรียปฏิปกษ <strong>Trichoderma</strong>, Bacillus,<br />

Streptomyces ซึ่งจะนําไปสูการใชจุลินทรียปฏิปกษรวมกันและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุม<br />

โรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศโดยชีววิธีอยางมีประสิทธิภาพ<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

1. การทดสอบปฏิสัมพันธของเชื้อจุลินทรียปฏิปกษในหองปฏิบัติการ<br />

เชื้อจุลินทรียปฏิปกษ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. จํานวน 35 ไอโซเลต (Table 1), Streptomyces<br />

<strong>spp</strong>. 5 ไอโซเลต ไดแก ไอโซเลต 15, 22, 74, 87 และ SPA ซึ่งไดรับความอนุเคราะหจากรศ.ดร.<br />

เพชรรัตน ธรรมเบญจพล และเชื้อ Bacillus megaterium, B. polymyxa และ B. subtilisไดรับความ<br />

อนุเคราะหจากสุปรียา ไดมีการตรวจสอบประสิทธิภาพในการควบคุมเชื้อสาเหตุมากอนโดย มาลัยพร<br />

(2548), สุวิตา (2549), ภัทรกร (2548) และ สุปรียา (2547)<br />

Table 1 Isolates <strong>and</strong> source of <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>.<br />

Isolate Species Source<br />

TKK1001 T. aureovirede มาลัยพร (2548)<br />

TKK1501 T. reesei มาลัยพร (2548)<br />

TKK1802 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK2101 T. aureovirede มาลัยพร (2548)<br />

TKK2203 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK2204 T. harzianum มาลัยพร (2548)<br />

TKK2501 T. harzianum มาลัยพร (2548)<br />

TKK2602 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK2701 T. aureovirede มาลัยพร (2548)<br />

TKK2801 T. harzianum มาลัยพร (2548)<br />

TKK3202 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK3501 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK3702 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK3803 T. harzianum มาลัยพร (2548)<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 493


Isolate Species Source<br />

TKK4002 T. pulluliferum มาลัยพร (2548)<br />

TKK4301 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK4701 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

TKK5201 T. harzianum มาลัยพร (2548)<br />

TKK6201 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

Table 1 Isolates <strong>and</strong> source of <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. (Continued)<br />

Isolate Species Source<br />

TKK6701 T. koningii มาลัยพร (2548)<br />

T1 T. harzianum สุวิตา (2549)<br />

T4 T. brevicopactum สุวิตา (2549)<br />

T9 T. harzianum สุวิตา (2549)<br />

T10 T. virens สุวิตา (2550)<br />

T13 T. asperrellum สุวิตา (2549)<br />

T14 T. asperrellum สุวิตา (2549)<br />

T17 T. asperrellum สุวิตา (2549)<br />

T18 T. asperrellum สุวิตา (2549)<br />

T19 T. asperrellum สุวิตา (2549))<br />

T20 T. harzianum สุวิตา (2549)<br />

T21 T. virens สุวิตา (2549)<br />

T24 T. virens สุวิตา (2549)<br />

T25 T. erinaccum สุวิตา (2549)<br />

T30 T. longibrachiatum สุวิตา (2549)<br />

T35 T. virens สุวิตา (2549)<br />

การทดสอบความสัมพันธระหวางเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. กับ Streptomyces <strong>spp</strong>.<br />

ในหองปฏิบัติการโดย streak เชื้อ Streptomyces <strong>spp</strong>. ขนาด 45 มม. บนจานอาหารเลี้ยง<br />

เชื้อ AGMA นําไปบมที่อุณหภูมิ 28-300ºซ. เปนเวลา 5 วัน และยายเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. ที่<br />

เลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA เปนเวลา 3 วัน โดยการใช cork borer ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.8 มม.<br />

เจาะชิ้นวุนอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีเสนใยของเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>.วางบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

Streptomyces <strong>spp</strong>. นําไปบมที่อุณหภูมิ 28-300ºซ. เปนเวลา 5 วัน วัดการเจริญของเสนใยเชื้อรา<br />

<strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>.<br />

494 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


การทดสอบความสัมพันธระหวางเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. กับ Bacillus <strong>spp</strong>.<br />

ในหองปฏิบัติการโดยการเลี้ยงเชื้อ<strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA เปนเวลา<br />

3 วัน ยายเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. โดยการใช cork borer ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.8 มม. เจาะชิ้น<br />

วุนอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีเสนใยของเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. วางตรงกลางจานอาหารเลี้ยงเชื้อ ใช<br />

กระดาษกรองขนาดเสนผาศูนยกลาง 5 มม.จุมสารละลายแขวนลอยของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus <strong>spp</strong>.<br />

วางหางจากขอบจานอาหารเลี้ยงเชื้อ 1 ซม. 4 จุดนําไปบมที่อุณหภูมิ 28-30 0 ซ เปนเวลา 5 วัน วัด<br />

ขนาดของแนวยับยั้งที่เกิดขึ้น<br />

2. การทดสอบการใชจุลินทรียปฏิปกษรวมกันในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศ<br />

ในเรือนทดลอง<br />

การเตรียมเชื้อ Streptomyces <strong>spp</strong>. คัดเลือกเชื้อ Streptomyces จํานวน 3 ไอโซเลท<br />

ซึ่งไดผานการทดสอบปฏิสัมพันธแลว ไดแกไอโซเลท 15, 22 และ 87 ซึ่งไดทําการทดสอบ<br />

ความสามารถในการเขากันแลวในระดับหองปฏิบัติการ โดยเลี้ยงเชื้อ Streptomyces ในอาหาร<br />

AGMA 7-10 วันใช cork borer เจาะชิ้นวุนยายลงอาหาร AGMB ใน flaskนําไปเขยาดวยเครื่องเขยา<br />

(shaker) 7-10 วันกรองดวยกระดาษกรอง นําไปปนดวยเครื่อง homoginizer ผสม Streptomyces<br />

ลงใน peat mossเขยา peat moss ทุกๆ 7 วัน จนครบ 1 เดือน<br />

การเตรียมเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. คัดเลือกเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> จํานวน 6 ไอโซเลท<br />

ซึ่งไดผานการทดสอบปฏิสัมพันธแลว ไดแกไอโซเลท T9, T13, T14, T17, T18 และ T19 มาเพิ่ม<br />

ปริมาณขี้เลื่อยผสมกับรําละเอียด 5% โดยน้ําหนัก คลุกเคลาใหเขากัน บรรจุใสในถุงพลาสติก ใสจุก<br />

ยางและ จุกสําลี ปดทับดวยกระดาษ ใหยางรัดปากถุง นําไปนึ่งฆาเชื้อ นาน 30นาที หลังจากนั้น ทํา<br />

การปลูกเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> ที่เตรียมไวในอาหาร PDA โดยใช cork borer เจาะชิ้นวุนใสลงในหัวเชื้อ<br />

นําไปบมที่อุณหภูมิหอง รอจนเชื้อเจริญเต็มถุง ประมาณ 7 วัน<br />

การเตรียมเชื้อ Bacillus <strong>spp</strong>. นําเชื้อแบคทีเรีย Bacillus <strong>spp</strong>. ทั้ง 3 ไอโซเลทมา streak<br />

ลงบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีอาหารเลี้ยงเชื้อ NA แลวนําไปบมที่อุณหภูมิ 25°ซ เปนเวลา 48 ชม.<br />

เพื่อใหไดโคโลนีเดี่ยวใชลูปแตะโคโลนีเดี่ยวของเชื้อBacillus <strong>spp</strong>. แลวนําไปจุมลงใน flask ที่บรรจุ<br />

อาหารเลี้ยงเชื้อ NB 50 ml/flask แลวนําไปเขยาในเครื่อง Shaker เปนเวลา 48 ชม.นําเชื้อ Bacillus<br />

<strong>spp</strong>.ที่เลี้ยงใน flask เทลงใน พีชมอสที่อบฆาเชื้อแลว บมไวที่อุณหภูมิหอง เปนเวลา 3 วัน<br />

การเตรียมเชื้อรา F. oxysporum f. sp. lycopersici<br />

นําเชื้อ Fol มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA นาน 7 วัน ใช cork borer ขนาด<br />

เสนผาศูนยกลาง 8 มม. เจาะชิ้นวุนอาหาร PDA ยายชิ้นวุนจํานวน 3 ชิ้น ลงในอาหาร potato<br />

dextrose broth (PDB) เขยาที่ความเร็วรอบ 120 รอบ/นาที อุณหภูมิ 25°ซ เปนเวลา 7 วัน จากนั้น<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 495


นําเชื้อที่เลี้ยงไดมาทําสารแขวนลอยสปอร (spore suspension) โดยใหมีความเขมขน 1 X 107<br />

สปอร/มล.<br />

2.1 การทดสอบความสามารถของเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. กับเชื้อ Streptomyces <strong>spp</strong>. ใน<br />

การควบคุมโรค<br />

การเตรียมตนกลามะเขือเทศและการปลูกเชื้อ เพาะเมล็ดมะเขือเทศในกระบะเพาะ เมื่อ<br />

ตนกลาอายุไดประมาณ 20-25 วัน ทําการยายกลาปลูก ในกระถางพลาสติกสีดําขนาด<br />

เสนผาศูนยกลาง 15 ซม. จํานวน 4 ตน/กระถาง<br />

นําตนมะเขือเทศที่มีอายุ 25 วัน ตัดบริเวณปลายรากและจุมลงในสารแขวนลอยสปอรเชื้อ<br />

Fol เปนเวลา 15-20 นาที แลวจึงยายปลูกลงในกระถางที่บรรจุดวยดินผสมหัวเชื้อขี้เลื่อยของเชื้อรา<br />

<strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>.จํานวน 6 ไอโซเลท ผสมกับหัวเชื้อ Streptomyces <strong>spp</strong>. 3 ไอโซเลท และดิน<br />

ปลูกในอัตรา 1:1:1 ลงบนกระถางเพาะมะเขือเทศ บันทึกขอมูลระดับความรุนแรงของโรคและ<br />

เปอรเซ็นตการเกิดโรค หลังจากปลูกเชื้อเปนเวลา 25 วัน วางแผนการทดลองแบบ CRD มี 21<br />

กรรมวิธีๆ 4 ซ้ําๆ ละ 4 ตน<br />

2.2 การทดสอบความสามารถของเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. กับเชื้อ Bacillus <strong>spp</strong>. ในการ<br />

ควบคุมโรค<br />

นําตนมะเขือเทศที่มีอายุ 25 วัน ตัดบริเวณปลายรากและจุมลงในสารแขวนลอย<br />

สปอรเชื้อ Fol เปนเวลา 15-20 นาทีผสมหัวเชื้อขี้เลื่อยของเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> จํานวน 6 ไอโซเลท<br />

ปริมาณ 300 ก. กับดินปลูก 600 ก. และสารละลายแขวนลอยของเชื้อ Bacillus <strong>spp</strong>. จํานวน 3 ไอ<br />

โซเลท ลงบนกระถางเพาะมะเขือเทศวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 21 กรรมวิธีๆ ละ4 ซ้ําๆ ละ 4<br />

ตน โดยมีกรรมวิธี<br />

ผลการทดลอง<br />

การทดสอบความสามารถในการเขากันได ระหวางเชื้อ <strong>Trichoderma</strong>, Bacillus และ<br />

Streptomyces ในหองปฎิบัติการพบวาเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. จํานวน 33 ไอโซเลทสามารถ<br />

เจริญรวมกันไดดีกับเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces ไอโซเลท 87 เมื่อเลี้ยงเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>.<br />

ไอโซเลท T14, T17, T18, T19 และ T25 สามารถเจริญรวมกันไดกับเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษ Bacillus<br />

ทั้ง 3 ชนิดไดดี (Table 2, Fig. 1, 2)<br />

496 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


Table 3 Compatibility between various isolate of <strong>Trichoderma</strong>, Bacillus <strong>and</strong> Streptomyces<br />

Compatibility 1<br />

Isolate of<br />

Isolate of Streptomyces<br />

Isolate of Bacillus<br />

<strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>.<br />

15 22 74 87 SPA BRR 018 BRR 019 BRR 031<br />

TKK1001 + - - + - - - -<br />

TKK1501 + - - + - - - -<br />

TKK1802 + - - + - - - -<br />

TKK2101 - - - + - - - -<br />

TKK2203 - - - + - - - -<br />

TKK2204 - - - + - - - -<br />

TKK2501 + - - + - - + -<br />

TKK2602 + - - + - - - -<br />

TKK2701 + - - + - - - -<br />

TKK2801 - - - - - - - -<br />

TKK3202 - - - + - - - -<br />

TKK3501 - - - + - - - -<br />

TKK3702 + - - + - - - -<br />

TKK3803 + - - + - - + -<br />

TKK4002 - - - - - - - -<br />

TKK4301 - - - + - - - -<br />

TKK4701 - - - + - - - -<br />

TKK5201 - - - + - - - -<br />

TKK6201 + - - + - - - -<br />

TKK6701 + - - + - - - -<br />

T1 + - - + - - - -<br />

T4 + - - + - - - -<br />

T9 + - - + - - + -<br />

T10 + - - + - - - -<br />

T13 + - + + - - + +<br />

T14 + - + + - + + +<br />

T17 + - - + - + + +<br />

T18 + - + + - + + +<br />

T19 + - - + - - + +<br />

T20 + - + + - - - -<br />

T21 + - - + - - - -<br />

T24 + - - + - + + -<br />

T25 - - + + - + + +<br />

T30 + - + + - - + +<br />

T35 + - - + - - - +<br />

+ = compatible; - = incompatible<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 497


a<br />

Streptomyces 87<br />

Streptomyces 87<br />

T 18<br />

T 9<br />

b<br />

Streptomyces 15<br />

Streptomyces 15<br />

T 18<br />

Fig. 1 Relationship between <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. <strong>and</strong> Streptomyces <strong>spp</strong>.<br />

a. Hyphal characteristics of T. harzianum (T 9), T. asperrellum (T18)<br />

b. Characteristics of compatibility of <strong>Trichoderma</strong> (T 9 <strong>and</strong> T18)<br />

<strong>and</strong> Streptomyces (87) c. Characteristice of incompatibility of<br />

<strong>Trichoderma</strong> (T 9 <strong>and</strong> T18) <strong>and</strong> Streptomyces (15)<br />

T 9<br />

c<br />

498 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


T 18<br />

T 19<br />

BRR 031<br />

BRR 031<br />

a<br />

TKK 2602 TKK 2801<br />

BRR 018<br />

BRR 018<br />

b<br />

Fig. 2 Compatibility between <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. <strong>and</strong> Bacillus<br />

a. Characteristics of compatibility between <strong>Trichoderma</strong> <strong>and</strong> Bacillus (T18, T19 = T.<br />

asperrellum <strong>and</strong> BRR 031 = B. subtilis) b. Characteristics of incompatibility between<br />

<strong>Trichoderma</strong> <strong>and</strong> Bacillus (TKK 2602= T. koningii ; TKK2801 =<br />

T. harzianum <strong>and</strong> BRR 018 = B. megaterium)<br />

การทดสอบความสามารถในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองที่เกิดจากเชื้อรา Fol<br />

การใชเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. รวมกับ เชื้อ Streptomyces <strong>spp</strong>.<br />

โดยใชเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. จํานวน 6 ไอโซเลท รวมกับเชื้อ Streptomyces จํานวน<br />

3 ไอโซเลท พบวาเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> ไอโซเลท T9 รวมกับ Streptomyces ไอโซเลท 87 และ 15<br />

ทําใหมะเขือเทศมีเปอรเซ็นตรอดตายจากการเกิดโรคเหี่ยวเหลืองสูงที่สุด คือ 87.5 และ75.0%<br />

ตามลําดับ และ <strong>Trichoderma</strong> ไอโซเลท T19 รวมกับ Streptomyces ไอโซเลท 15 มีเปอรเซ็นตรอด<br />

ตายจากการเกิดโรคเหี่ยวเหลืองต่ําที่สุด คือ 31.25% ขณะที่มะเขือเทศที่ปลูกเชื้อรา Fol เพียงอยาง<br />

เดียวเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> มีเปอรเซ็นตการรอดตายเทากับ 0% ซึ่งมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ยิ่งทางสถิติ ทางสถิติ (P


การใชเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. รวมกับ เชื้อ Bacillus<br />

ใชเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. จํานวน 6 ไอโซเลท รวมกับเชื้อ Bacillus จํานวน 3 ไอโซเล<br />

ทพบวา <strong>Trichoderma</strong> ไอโซเลท T9 รวมกับ Bacillus ไอโซเลท BRR 019 และ BRR 031 และ<br />

<strong>Trichoderma</strong> ไอโซเลท T13 รวมกับ Bacillus ไอโซเลท BRR 031 ทําใหมะเขือเทศมีเปอรเซ็นตการ<br />

รอดตายจากโรคเหี่ยวเหลืองสูงที่สุด คือ 75% และ <strong>Trichoderma</strong> ไอโซเลท T13 รวมกับ Bacillus ไอ<br />

โซเลท BRR 018 มีเปอรเซ็นตการรอดตายจากโรคเหี่ยวเหลืองต่ําที่สุด คือ 25.00% ขณะที่มะเขือเทศ<br />

ที่ปลูกเชื้อรา Fol เพียงอยางเดียว มีเปอรเซ็นตรอดตายเทากับ 0% ซึ่งมีความแตกตางอยางมี<br />

นัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ทางสถิติ(P0.01 according to DMRT)<br />

T17 +<br />

Strep<br />

87<br />

T18 +<br />

Strep<br />

15<br />

T18 + T18 + T19 +<br />

Strep Strep Strep<br />

22 87 15<br />

T19 +<br />

Strep<br />

22<br />

T19 +<br />

Strep<br />

87<br />

มะเขือ<br />

เทศ<br />

ไม<br />

ปลูก<br />

เชื้อ<br />

e<br />

มะเขือ<br />

เทศ<br />

ปลูก<br />

เชื้อ<br />

Fol<br />

500 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


% survived<br />

120<br />

100<br />

a<br />

ab ab<br />

80<br />

60<br />

bc<br />

bc<br />

ab<br />

bc<br />

bc<br />

bc<br />

bc<br />

bc bc bc<br />

bc<br />

bc<br />

40<br />

d<br />

cd<br />

cd<br />

cd<br />

20<br />

0<br />

T9 +<br />

BRR<br />

018<br />

T9 +<br />

BRR<br />

019<br />

T9 +<br />

BRR<br />

031<br />

T13 + T13 + T13 +<br />

BRR BRR BRR<br />

018 019 031<br />

T14 +<br />

BRR<br />

018<br />

T14 + T14 +<br />

BRR BRR<br />

019 031<br />

T17 +<br />

BRR<br />

018<br />

T17 + T17 + T18 + T18 +<br />

BRR BRR BRR BRR<br />

019 031 018 019<br />

Fig.4 Percentage of survived tomato plants cv. Sida from fusarium wilt after treated with<br />

<strong>Trichoderma</strong> <strong>and</strong> Bacillus under various treatments (Mean survived tomato plants having<br />

the same letter is not sinificantly at P>0.01, according to DMRT<br />

สรุปและวิจารณ<br />

การทดสอบปฏิสัมพันธของเชื้อปฏิปกษเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>., Streptomyces, Bacillus<br />

<strong>spp</strong>.ในหองปฏิบัติการ<br />

จากการทดสอบความสัมพันธของเชื้อราปฏิปกษ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. จํานวน 35 ไอโซเลท<br />

กับเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษ Streptomyces <strong>spp</strong>. จํานวน 5 ไอโซเลท และ Bacillus จํานวน 3 ไอ<br />

โซเลทในระดับหองปฏิบัติการ พบวาเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. จํานวน 33 ไอโซเลทสามารถเจริญ<br />

รวมกันไดดีแบบเขากันได (compatible) กับเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces ไอโซเลท 87 เมื่อเลี้ยง<br />

เชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. ไอโซเลท T14, T17, T18, T19 และ T25 สามารถเจริญรวมกันไดดีแบบ<br />

เขากันได (compatible) กับเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษ Bacillus ทั้ง 3 ไอโซเลท ซึ่งสอดคลองกับการ<br />

ทดลองของ Ezziyyani (2007) ที่ทําการทดสอบความสามารถในการเขากันไดของเชื้อรา<br />

<strong>Trichoderma</strong> harzianum กับเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces rochei และใชในการควบคุมโรครากเนา<br />

ในพริกยักษทีเกิดจากเชื้อ Phytophthora capsici พบวามีการเขากันไดในบางไอโซเลท ทั้งนี้อาจเปน<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 501<br />

T18 +<br />

BRR<br />

031<br />

T19 +<br />

BRR<br />

018<br />

T19 +<br />

BRR<br />

019<br />

T19 +<br />

BRR<br />

031<br />

มะเขือ<br />

เทศ<br />

ไม<br />

ปลูก<br />

เชื้อ<br />

e<br />

มะเขือ<br />

เทศ<br />

ปลูก<br />

เชื้อ<br />

Fol


ผลเนื่องมาจากการที่เชื้อแตละชนิดมีกลไกในการยับยั้งเชื้อสาเหตุโรคพืชไดหลายอยางบางชนิดอาจมี<br />

กลไกเพียงอยางเดียวบางชนิดอาจมีกลไกหลายอยาง เชน การสรางสารปฏิชีวนะ การแขงขัน และ<br />

การเปนปรสิต เปนตน การตรวจสอบความเขากันไดในหมูเชื้อจุลินทรียปฏิปกษควบคุมโรคพืชนั้น<br />

เปนสิ่งจําเปนสําหรับการผลิตมวลชีวภาพจุลินทรียปฏิปกษทั้งนี้เพราะการที่ชีวภัณฑที่มีเพียง<br />

จุลินทรียปฏิปกษชนิดเดียวยอมในผลในการควบคุมโรคพืชไดนอยชนิดกวาชีวภัณฑที่มีจุลินทรีย<br />

ปฏิปกษหลายชนิดโดยเฉพาะอยางยิ่งเปนจุลินทรียปฏิปกษที่เขากันไดและออกฤทธิ์กับเชื้อสาเหตุโรค<br />

พืชหลายชนิด<br />

การศึกษาความสามารถของเชื้อจุลินทรียปฏิปกษในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือ<br />

เทศของมะเขือเทศในระดับเรือนทดลอง<br />

เมื่อทําการคัดเลือกเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. ที่มีความสัมพันธกับเชื้อ Streptomyces,<br />

และ Bacillus <strong>spp</strong>. ที่ไดจากการทดลองในระดับหองปฏิบัติการ จํานวน 6 ไอโซเลท นํามาทดสอบ<br />

ความสามารถในการเขากันไดของเชื้อปฏิปกษ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. รวมกับ Streptomyces <strong>spp</strong>.<br />

และ Bacillus ในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองที่เกิดจากเชื้อ Fol พบวาสามารถควบคุมโรคไดดี และ<br />

การใชเชื้อ 2 ชนิดรวมกันมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไดดีกวาการใชเชื้อชนิดเดียวซึ่งผล<br />

การศึกษานี้ไดผลสอดคลองกับการศึกษาของ Kwok et al., (1987) ซึ่งไดมีการศึกษาการใชเชื้อ<br />

แบคทีเรียปฏิปกษรวมกับการใชเชื้อราปฏิปกษ T. hamatum ในการควบคุมโรคเนาคอดินของตนไม<br />

เนื้อแข็งพบวาการใชเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษรวมกับการใชเชื้อราปฏิปกษ ทําใหอัตราการเกิดโรคลดลง<br />

เมื่อเทียบกับการใชเชื้อแบคทีเรียปฏิปกษเพียงอยางเดียว และจากผลการศึกษาของเวียงคํา (2550)<br />

พบวาเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> สามารถนํามาใชรวมกับเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces ในการควบคุมโรค<br />

เหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ โดยการใชเชื้อทั้ง 2 ชนิดรวมกันสามารถลดความรุนแรงของการเกิดโรคได<br />

ดีกวาการใชเชื้อปฏิปกษเพียงชนิดเดียว และในทํานองเดียวกันกับการทดสอบของ Ezziyyani et al.<br />

(2007) ไดศึกษาถึงความสามารถในการใชเชื้อปฏิปกษ <strong>Trichoderma</strong> harzianum และ S. rochei<br />

รวมกันในการควบคุมโรครากเนาของพริก (root rot) ที่เกิดจากเชื้อ Phytophthora capsici ในการ<br />

ทดสอบในจานอาหารเลี้ยงเชื้อพบวา เชื้อรา T. harzianum และ Streptomyces rochei สามารถ<br />

ควบคุมเชื้อ P. capsici ไดและเมื่อทําการศึกษาการควบคุมในระดับเรือนทดลองพบวาเมื่อใช พบวา<br />

เชื้อรา T. harzianum และ S. rochei รวมกันสามารถควบคุมโรคไดดีกวาการใช T. harzianum หรือ<br />

S. rochei เพียงอยางเดียวสามารถลดเปอรเซ็นตการเกิดโรคไดถึง 79.8%<br />

จากผลการทดสอบความสามารถในการควบคุมโรคในระดับเรือนทดลองนี้ สภาพแวดลอม<br />

ขณะที่ทําการทดสอบมีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการควบคุมโรค ดังนั้นการควบคุมปจจัยแวดลอม<br />

ตางๆ เชน ความชื้น อุณหภูมิ pH ของดิน อายุของพืชและเชื้อ ความอุดมสมบูรณและความแข็งแรง<br />

ของตนกลามะเขือเทศ การใหน้ําและปุย จึงมีความสําคัญและจําเปนมาก เพื่อใหมีผลกระทบตอการ<br />

ทดลองนอยที่สุด ซึ่งชี้ใหเห็นวาการนําเชื้อราปฏิปกษ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. ไปใชตองคํานึงถึง<br />

สภาพแวดลอมที่จะนําไปใชเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการควบคุมโรคพืช การทดสอบ<br />

502 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี


ความสามารถในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองของมะเขือเทศในครั้งนี้ มีความสอดคลองกับงานวิจัยของ<br />

วีระศักดิ์ และระวีวรรณ (2529) ที่ศึกษาถึงการใชเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. ควบคุมโรคเนาของ<br />

มะเขือเทศ พริก กระเทียมและถั่วลิสง ซึ่งเกิดจากเชื้อรา S. rolfsii พบวา สามารถควบคุมโรคเนาได<br />

เปนที่นาพอใจ เชนเดียวกับ จิระเดช และคณะ (2536) ซึ่งไดศึกษาการใชเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> ที่ผาน<br />

การทดสอบประสิทธิภาพในระดับหองปฏิบัติการและเรือนปลูกพืชทดลอง ใสลงบริเวณโคนตนมะเขือ<br />

เทศที่ปลูกในแปลงขนาดเล็กและขนาดใหญ พบวาควบคุมโรคโคนเนาที่เกิดจากเชื้อรา S. rolfsii ได<br />

และไดทดสอบสัดสวนของสารเสริมที่จะชวยใหเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong> เจริญและเพิ่มปริมาณได โดยใช<br />

ผงเชื้อผสมกับรําขาวละเอียดและปุยหมักในอัตราสวน 1:5:25 หรือ 1:4:10 โดยน้ําหนัก กอนนําไป<br />

หวานลงดินรอบโคนมะเขือเทศในระยะเริ่มออกดอกติดผลแลว เปนวิธีการที่เหมาะสมที่สุด<br />

นอกจากนั้นนิภาพร (2538) ไดทดสอบการควบคุมโรคโคนเนาที่เกิดจากเชื้อรา S. rolfsii ดวยเชื้อรา<br />

ปฏิปกษ T. harzianum (T20) ในสภาพแปลงปลูกพบวาทําใหตนมะเขือเทศรอดตาย 61.1% ดังนั้น<br />

จากการศึกษาในครั้งจึงมีแนวโนมวาเชื้อรา T. virensไอโซเลท T10, T. harzianum ไอโซเลท T9,<br />

T. asperellum ไอโซเลท T13 และ T17 รวมทั้งเชื้อรา T. virens ไอโซเลท T35 จะสามารถนําไปใช<br />

ในการควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองในสภาพแปลงปลูกจริงไดอยางไรก็ดีสมควรที่จะไดทดสอบกับสภาพ<br />

แปลงปลูกกอนเพื่อยืนยันผลการทดลองกอนเปนเบื้องตน<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

ขอขอบคุณศูนยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรเพื่อเศรษฐกิจที่ยั่งยืน<br />

คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนและศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สกอ.) ที่<br />

สนับสนุนการเสนอผลงานครั้งนี้<br />

เอกสารอางอิง<br />

จิระเดช แจมสวาง จินตนา ชะนะ ปราโมทย ศิริโรจน กณิษฐา สังกะหะ วิชชุพร วองสุวรรณเลิศ<br />

และวรรณวิไล เกษนรา. 2536. ประสิทธิภาพของเชื้อราไตรโคเดอรมา ฮาเซียนัมพันธุ<br />

กลายที่ตานทานตอเบนโนมิลในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสเคลอโรเทียรอลฟสิไอ. น.76<br />

ใน บทคัดยอของการประชุมวิชาการครั้งที่ 5 ของสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแหงประเทศ<br />

ไทย เรื่องเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต. 25-27 พฤศจิกายน 2536. โรงแรมฮิล<br />

ตัน อินเตอรเนชั่นแนล กรุงเทพฯ.<br />

นิภาพร บุญศักดาพร. 2538. การคัดเลือกเชื้อ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. ไอโซเลทที่ตานทานตอสารเคมี<br />

เพื่อควบคุมโรคโคนเนาของมะเขือเทศ ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii sacc. โดยวิธี<br />

ประสมประสาน. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแหงชาติ ครั้งที่ 9 503


ภัทรกร ภูริชินวุฒิ. พันธุศาสตรโมเลกุลของเชื้อ Streptomyces <strong>spp</strong>. ที่ยับยั้งการเจริญสของเชื้อ<br />

แบคทีเรีย Acidovoraxavenae subsp.citrulli และเชื้อรา Didymella bryoniae.<br />

วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

มาลัยพร เชื้อบัณฑิต. 2548. ความหลากหลายของเชื้อราปฏิปกษ <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. ในแปลงผลิต<br />

เมล็ดพันธุมะเขือเทศ และการประยุกตใชในการควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี. วิทยานิพนธ<br />

ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

ศุภลักษณ ฮอกะวัด. 2536. โรคผักตระกูลพริกและมะเขือเทศ (Diseases of solanaceous crops).<br />

ภาควิชาโรคพืชวิทยา. คณะเกษตรศาสตร. มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

เวียงคํา จันทวงศ อนันต หิรัญสาลี วีระศักดิ์ ศักดิ์ศิริรัตน และเพชรรัตน ธรรมเบญจพล. 2550.<br />

ประสิทธิภาพของจุลินทรียปฏิปกษในการควบคุมโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ. แกน<br />

เกษตร. 35(3): 364-374<br />

สุปรียา หมื่นกุล. 2547. ความหลาหลายทางพันธุกรรมของ Bacillus <strong>spp</strong>. จากแหลงตางๆ และ<br />

ประสิทธิภาพในการเปนปฏิปกษตอเชื้อสาเหตุโรคพืชบางชนิด. วิทยานิพนธปริญญาวิทยา<br />

ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

สุวิตา แสไพศาล. 2549. เอนไซมยอยสลาย ความสัมพันธระหวางพันธุกรรมของลําดับนิวคลีโอไทด<br />

ในสวน ITS1-5.8S-ITS2ของ rDNA และการโคลนยีนไคติเนสของเชื้อรา <strong>Trichoderma</strong><br />

<strong>spp</strong>. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

Elad., Y., I. Chet., <strong>and</strong> P. Boyle. 1983. Parasitism of <strong>Trichoderma</strong> <strong>spp</strong>. on Rhizoctonia<br />

solani <strong>and</strong> Sclerotium rolfsii :scanning electron microscopy <strong>and</strong> fluorescens<br />

microscopy. Phytopathology. 3:85-88.<br />

Ezziyyani M., M.E. Requena, C.Egea <strong>and</strong> M.E. C<strong>and</strong>ela. 2007. Biologycal control of<br />

Phytophthora root rot of pepper using <strong>Trichoderma</strong> harzianum <strong>and</strong> Streptomyces<br />

rochei in combination. Phytopathology. 155:342-349.<br />

Kwok, O.C.H., P.C. Fahy., H.A.J. Hoitink., <strong>and</strong> G.A. Kuter. 1987. <strong>Interaction</strong> between bacteria<br />

<strong>and</strong> <strong>Trichoderma</strong>hamatum in Suppression of Rhizoctonia Damping-off in bark<br />

compost media. Phytopathology. 77:1206-1212.<br />

504 24-26 พฤศจิกายน 2552 โรงแรมสุนีย แกรนด จังหวัดอุบลราชธานี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!