15.09.2016 Views

lakmuang 276

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

กลางเดือนกันยายน จนทำให้เกิดน้ำป่าไหล<br />

หลาก น้ำล้นตลิ่ง และ น้ำท่วมขัง ซึ่งส่งผลก<br />

ระทบต่อประชาชนในวงกว้างมากกว่า ๔๐<br />

จังหวัดทั่วประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวัน<br />

ออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก รวมถึง<br />

ภาคกลางบางส่วน และมีสถานการณ์ต่อเนื่อง<br />

ยาวนานมากกว่า ๑ เดือน รวมทั้งในช่วงเดือน<br />

พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ในพื้นที่ภาคใต้ก็ได้<br />

รับผลกระทบจากอุทกภัยซึ่งมีจังหวัดที่ได้รับ<br />

ผลกระทบประมาณ ๑๒ จังหวัด ดังนั้นจึง<br />

อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่าในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น<br />

ประเทศไทยประสบปัญหาภัยพิบัติจากอุทกภัย<br />

ในทุกภาคของประเทศ<br />

นอกจากนี้จากรายงานทางวิชาการ<br />

ขององค์การระหว่างประเทศ อาทิ The<br />

United Nations Office for Disaster Risk<br />

Reduction (UNISDR) ระบุว่า ประเทศใน<br />

ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก มีความเสี่ยงสูงที่จะ<br />

ต้องเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้ง<br />

ขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้น และที่สำคัญมี<br />

โอกาสได้รับความสูญเสียจากภัยพิบัติสูงที่สุด<br />

เนื่องจากขาดกระบวนการบริหารจัดการภัย<br />

พิบัติที่มีประสิทธิภาพ จากเหตุผลดังกล่าว<br />

จึงทำให้ประเทศไทยต้องประเมินความพร้อม<br />

และประสิทธิภาพในการป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัยของทุกภาคส่วน โดยผู้แทนจาก<br />

หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาค<br />

เอกชน และภาคประชาชน ที่ได้มีโอกาส<br />

แลกเปลี่ยนประสบการณ์และองค์ความรู้ใน<br />

หลาย ๆ เวที เห็นพ้องกัน ว่า ส่วนราชการต่าง ๆ<br />

ยังขาดการทำงานร่วมกันในเชิงบูรณาการ ขาด<br />

เอกภาพในการบังคับบัญชา ขาดการประสาน<br />

งานที่มีประสิทธิภาพ มองข้ามประเด็นในเรื่อง<br />

การแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ และยังไม่ได้<br />

ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการ<br />

แก้ไขปัญหา<br />

ปัญหาภัยพิบัติไม่ใช่ปัญหาของชุมชนใด<br />

ชุมชนหนึ่ง หรือประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น<br />

หลักเมือง มีนาคม ๒๕๕๗<br />

อีกต่อไป เนื่องจากภัยพิบัติขนาดใหญ่ส่งผล<br />

กระทบในวงกว้างทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับ<br />

ประเทศ จนถึงระดับภูมิภาค ซึ่งประชาคมโลก<br />

ได้มองว่า ภัยพิบัติเป็นปัญหาของโลกที่ต้อง<br />

เผชิญมาอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่จะทวี<br />

ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น โดยเป็นผลมาจาก<br />

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate<br />

Change) สำหรับประเทศในภูมิภาคเอเชียได้<br />

มีการประชุมระดับรัฐมนตรีเอเชียว่าด้วยการ<br />

ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (Asian Ministerial<br />

Conference on Disaster Risk Reduction:<br />

AMCDRR) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารือถึง<br />

ผลการดำเนินงานภายใต้กรอบการดำเนิน<br />

งานเฮียวโกะ พ.ศ.๒๕๔๘ – ๒๕๕๘ (Hyogo<br />

Framework for Action 2005 - 2015:<br />

HFA) ซึ่งเป็นเสมือนพิมพ์เขียวของโลกในการ<br />

ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่มีเป้าหมายสูงสุด<br />

คือ “การลดความสูญเสียจากภัยพิบัติที่มีต่อ<br />

ชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมของ<br />

ชุมชน และของประเทศ” ที่รัฐบาลของ ๑๖๘<br />

ประเทศได้ตกลงรับรองแผนระยะเวลา ๑๐ ปี<br />

ฉบับนี้ ในการประชุมของโลกว่าด้วยการลดผล<br />

กระทบจากภัยพิบัติ (World Conference on<br />

Disaster Reduction) เมื่อมกราคม ๒๕๔๘<br />

ณ เมืองโกเบ จ.เฮียวโกะ ประเทศญี่ปุ่น โดย<br />

มีแนวทางการปฏิบัติที่สำคัญ ๕ ประการ<br />

ได้แก่ ๑) การกำหนดให้การลดภัยพิบัติมีความ<br />

สำคัญในลำดับแรกของการบริหารจัดการของ<br />

ประเทศทั้งระดับชาติและท้องถิ่น ๒) การ<br />

ระบุ ประเมิน และติดตามความเสี่ยง และ<br />

การพัฒนาการเตือนภัยล่วงหน้า ๓) การใช้<br />

ความรู้ นวัตกรรม และการศึกษาในการสร้าง<br />

วัฒนธรรมความปลอดภัย และความเข้มแข็ง<br />

ให้กับสังคมทุกระดับ โดยเน้นการมีส่วนร่วม<br />

๔) การลดปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นที่<br />

การวางแผนและการบังคับใช้กฎหมาย และ<br />

๕) การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการ<br />

เตรียมความพร้อมรับมือเหตุภัยพิบัติทุกระดับ<br />

สำหรับประเทศไทยนั้น ได้รับประสบการณ์<br />

และบทเรียนอย่างมากขณะเผชิญกับมหา<br />

อุทกภัยในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยกระทรวง<br />

กลาโหมในฐานะหน่วยงานสนับสนุนหลัก<br />

ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ<br />

ประเทศตามแผนการป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ ซึ่ง<br />

มีแผนบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม<br />

๒๕๕๔ เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติ ได้<br />

จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง บทเรียน<br />

การปฏิบัติการของทหารสนับสนุนศูนย์<br />

บรรเทาภัยพิบัติของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา<br />

อุทกภัยปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๐ – ๒๑<br />

มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ เซอร์เจมส์ รีสอร์ท<br />

อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี นั้น โดยผลจากการสัม<br />

มนาฯ สรุปได้ว่า กระทรวงกลาโหมจำเป็นต้อง<br />

ปรับปรุงแผนบรรเทาสาธารณภัย กระทรวง<br />

กลาโหม ๒๕๕๔ ให้เข้ากับสถานการณ์ภัย<br />

พิบัติที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการแบ่งมอบพื้นที่<br />

รับผิดชอบ และการประสานงานระหว่างส่วน<br />

ราชการต่างๆ ภาคเอกชน และองค์กรการกุศล<br />

ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย<br />

พิบัติเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น กรมป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัยในฐานะหน่วยงาน<br />

กลางด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

ของประเทศตามที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.ป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ และ<br />

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ง<br />

ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ ได้จัดการสัมมนา<br />

เชิงปฏิบัติการเพื่อวิพากษ์แผนการป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติฉบับปัจจุบัน<br />

เพื่อเตรียมการจัดทำแผนการป้องกันและ<br />

บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติฉบับใหม่ ซึ่งผล<br />

จากการสัมมนาฯ ดังกล่าวทำให้ ทุกฝ่ายเห็น<br />

พ้องกันว่า ปัจจัยหลักที่สำคัญในการบริหาร<br />

จัดการสาธารณภัย คือ ความมีประสิทธิภาพ<br />

ในการทำงานร่วมกันในเชิงบูรณาการ ความมี<br />

35

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!