09.01.2018 Views

ม.ค.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ภาพรถรางกำลังแล่นผ่านสะพานหก (เดิ<strong>ม</strong>)<br />

ภาพรถรางกำลังแล่นผ่านสะพานหก (คอนกรีต)<br />

ภาพด้านหลังอาคารศาลาว่าการกลาโห<strong>ม</strong>และ<br />

สะพานหกในปัจจุบัน (พุทธศักราช ๒๕๖๐)<br />

บ้านช่องทั้งห<strong>ม</strong>ด) เ<strong>ม</strong>ื่อกำลังพลที่ฝึกเสร็จ<br />

จะต้องเดินทางกลับ<strong>ม</strong>ารับประทานอาหาร<br />

ต้องเดินไกลจากสนา<strong>ม</strong>ฝึกและต้องเดิน<br />

อ้อ<strong>ม</strong>ไปข้า<strong>ม</strong>คลองที่สะพานช้างโรงสีทำให้<br />

ได้รับควา<strong>ม</strong>ลำบาก เ<strong>ม</strong>ื่อเป็นเช่นนี้ นาย<br />

พันเอก เจ้าห<strong>ม</strong>ื่นไวยวรนารถ ผู้บัญชาการ<br />

กร<strong>ม</strong>ทหารหน้าจึงสั่งการให้สร้างเป็น<br />

สะพานหก ข้า<strong>ม</strong>คลองเพื่อเดินทางไป<br />

รับประทานอาหาร จึงเป็นการตัดทอน<br />

หนทางให้สั้น เ<strong>ม</strong>ื่อเป็นเช่นนี้ สะพานหกจึง<br />

ได้เปิดให้ทหารเดินข้า<strong>ม</strong><strong>ม</strong>าเฉพาะแต่<br />

ขณะที่จะ<strong>ม</strong>ารับประทานอาหารเท่านั้น<br />

ดังปรากฏในบันทึกโรงทหารหน้า ดังนี้<br />

“เดิ<strong>ม</strong>เ<strong>ม</strong>ื่อโรงทหารหน้านี้ยังสร้าง<br />

ไ<strong>ม</strong>่แล้ว ที่ว่าการของกร<strong>ม</strong>ทหารหน้ายังตั้งอยู่<br />

ที่หอบิลเลียด ณ วังสราญร<strong>ม</strong>ย์ กับโรงครัว<br />

ที่เลี้ยงทหารซึ่งตั้งอยู่ริ<strong>ม</strong>ถนนเฟื่องนครนั้น<br />

ก็รว<strong>ม</strong>อยู่ด้วย โรงครัวนั้นเวลานี้ก็ได้เปลี่ยน<br />

เป็นโรงเรียนนายร้อย ที่หน้าวัดราช<br />

ประดิษฐ์นั้นได้ทำเป็นโรงใหญ่สำหรับ<br />

ฝึกหัดกายกรร<strong>ม</strong> ครั้นเ<strong>ม</strong>ื่อกร<strong>ม</strong>ทหารหน้า<br />

ได้ยกไปอยู่ที่กร<strong>ม</strong>ยุทธนาธิการซึ่งสร้างขึ้น<br />

ให<strong>ม</strong>่นั้นแล้วก็ยังคงใช้โรงครัวเก่าเลี้ยง<br />

พลทหารหน้าต่อไปอีก พลทหารที่จะ<strong>ม</strong>า<br />

รับประทานอาหารต้องเดิรไกล ผู้บังคับการ<br />

จึงให้ทำเป็นสะพานหกข้า<strong>ม</strong><strong>ม</strong>าจากยุทธนา<br />

ธิการจนถึงโรงครัว เพื่อตัดทอนหนทางให้<br />

สั้นลง สะพานหกนี้ได้เปิดให้ทหารเดิร แต่<br />

ขณะที่<strong>ม</strong>ารับประทานอาหารเท่านั้น<br />

สะพานนี้ได้ใช้<strong>ม</strong>าจนห<strong>ม</strong>ดเวลาที่เจ้าห<strong>ม</strong>ื่น<br />

ไวยวรนารถได้เป็นผู้บังคับการทหารหน้า<br />

อยู่เท่านั้น ครั้นเ<strong>ม</strong>ื่อตั้งกร<strong>ม</strong>ยุทธนาการเป็น<br />

ระเบียบเรียบร้อยดีแล้วจึงได้รื้อโรงครัวนั้น<br />

สร้างเป็นโรงเรียนนายร้อยตลอด<strong>ม</strong>าจน<br />

กาลปรัตยุบันนี้”<br />

ภาพรางรถรางบริเวณถนนหลักเ<strong>ม</strong>ืองในปัจจุบัน<br />

ภาพสะพานหกในอดีต – ปัจจุบัน<br />

สำหรับสะพานหก<strong>ม</strong>ีการสร้างขึ้น<br />

เพื่อให้สา<strong>ม</strong>ารถยกตัวสะพานขึ้นเพื่อให้เรือ<br />

แล่นผ่านได้ ซึ่งในเวลาต่อ<strong>ม</strong>าก็เปิดโอกาส<br />

ให้ประชาชนใช้สัญจร รว<strong>ม</strong>ถึงให้รถรางสาย<br />

แรกของประเทศที่จัดตั้งขึ้นเ<strong>ม</strong>ื่อปี พ.ศ.<br />

๒๕๓๑ คือ สายกระทรวงกลาโห<strong>ม</strong> -<br />

บางคอแหล<strong>ม</strong> แล่นผ่านสะพานอีกด้วย<br />

ต่อ<strong>ม</strong>าได้รื้อสะพานหกและสร้างให<strong>ม</strong>่เป็น<br />

สะพานคอนกรีตก็ยังคงให้รถรางแล่นผ่าน<br />

จนเ<strong>ม</strong>ื่อยกเลิกรถรางในปี พ.ศ.๒๔๙๗<br />

จึงได้ปรับปรุงสะพานให้ประชาชนใช้สัญจร<br />

และยังคงใช้อย่างต่อเนื่อง<strong>ม</strong>าจนปัจจุบัน<br />

แต่แนวทางการวางรางรถรางสายดังกล่าว<br />

ได้เคยปรากฏให้เห็นบริเวณถนนอัษฎางค์<br />

ถนนราชินี และถนนหลักเ<strong>ม</strong>ือง โดยเฉพาะ<br />

บริเวณถนนหลักเ<strong>ม</strong>ืองยังปรากฏรางรถราง<br />

ให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน<br />

หลักเ<strong>ม</strong>ือง <strong>ม</strong>กราค<strong>ม</strong> ๒๕๖๑<br />

13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!