09.01.2018 Views

ม.ค.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เช่นเดิ<strong>ม</strong> แต่อธิบายลักษณะธงให้เข้าใจง่าย<br />

และชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนี้<br />

ธงชาติ<br />

<strong>ม</strong>าตรา ๕ ธงชาติ รูปสี่เหลี่ย<strong>ม</strong> <strong>ม</strong>ี<br />

ขนาดกว้าง ๖ ส่วน ยาว ๙ ส่วน ด้านกว้าง<br />

๒ ใน ๖ ส่วน ตรงกลางเป็นสีขาบ ต่อจาก<br />

แถบสีขาบออกไปทั้งสองข้าง ข้างละ ๑ ใน<br />

๖ ส่วนเป็นแถบสีขาว ต่อสีขาวออกไปทั้ง<br />

๒ ข้างเป็นแถบสีแดง ธงชาตินี้เรียก<br />

อีกอย่างหนึ่งว่า “ธงไตรรงค์” พระราช<br />

บัญญัติธง ได้<strong>ม</strong>ีการตราออก<strong>ม</strong>าอีกหลาย<br />

ฉบับ แต่ก็ไ<strong>ม</strong>่ได้<strong>ม</strong>ีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ<br />

ธงไตรรงค์และธงราชนาวีแต่อย่างใด<br />

จนถึงปัจจุบัน<br />

• พระราชบัญญัติธง พุทธศักราช<br />

๒๕๒๒<br />

ธงชาติ หรือ ธงไตรรงค์<br />

ธงราชนาวี<br />

ในรัชกาลพระบาทส<strong>ม</strong>เด็จพระปร<strong>ม</strong>ินทร<br />

<strong>ม</strong>หาภู<strong>ม</strong>ิพลอดุลยเดช บร<strong>ม</strong>นาถบพิตร<br />

รัชกาลที่ ๙ ได้<strong>ม</strong>ีพระบร<strong>ม</strong>ราชโองการ<br />

โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติธง<br />

พุทธศักราช ๒๕๒๒ <strong>ม</strong>ีใจควา<strong>ม</strong>สำคัญที่<br />

เกี่ยวข้องกับธงชาติและธงราชนาวี ดังนี้<br />

<strong>ม</strong>าตรา ๕<br />

ธงที่<strong>ม</strong>ีควา<strong>ม</strong>ห<strong>ม</strong>ายถึงประเทศไทย<br />

และชาติไทย ได้แก่<br />

(๑) ธงชาติ<strong>ม</strong>ีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ย<strong>ม</strong><br />

ผืนผ้า กว้าง ๖ ส่วน ยาว ๙ ส่วน ด้านกว้าง<br />

แบ่งเป็น ๕ แถบ ตลอดควา<strong>ม</strong>ยาวของผืนธง<br />

ตรงกลางเป็นแถบสีน้ำเงินแก่ กว้าง ๒<br />

ส่วน ต่อจากแถบสีน้ำเงินแก่ออกไปทั้งสอง<br />

ข้างเป็นแถบสีขาวกว้างข้างละ ๑ ส่วน ต่อ<br />

จากแถบสีขาวออกไปทั้งสองข้างเป็นแถบ<br />

สีแดงกว้างข้างละ ๑ ส่วน ธงชาตินี้เรียก<br />

อีกอย่างหนึ่งว่า “ธงไตรรงค์”<br />

(๒) ธงราชนาวี <strong>ม</strong>ีลักษณะอย่างเดียว<br />

กับธงชาติ แต่ตรงกลางของผืนธง<strong>ม</strong>ีดวง<br />

กล<strong>ม</strong>สีแดง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางยาว ๔<br />

ใน ๖ ส่วนของควา<strong>ม</strong>กว้างของผืนธง<br />

โดยให้ขอบของดวงกล<strong>ม</strong>จดขอบแถบสีแดง<br />

ของผืนธงภายในดวงกล<strong>ม</strong><strong>ม</strong>ีรูปช้างเผือก<br />

ทรงเครื่องยืนแท่น หันหน้าเข้าหาเสาธง<br />

หรือคันธง<br />

จากข้อกำหนดในพระราชบัญญัติ<br />

ดังกล่าว ทั้งธงชาติหรือธงไตรรงค์และ<br />

ธงราชนาวี เป็นธงที่<strong>ม</strong>ีควา<strong>ม</strong>ห<strong>ม</strong>ายถึง<br />

ประเทศไทยและชาติไทย จึงเป็นเรื ่องที่<br />

คนไทยทุกคนควรรู้ว่าธงชาติไทย<strong>ม</strong>ีควา<strong>ม</strong>เป็น<strong>ม</strong>า<br />

อย่างไร เพื่อให้เกิดควา<strong>ม</strong>รู้สึกภาคภู<strong>ม</strong>ิใจ<br />

ในทุกครั้งที ่ได้เห็นธงชาติไทย สัญลักษณ์<br />

ที่แสดงถึงเอกราชและประวัติศาสตร์<br />

อันยาวนานของประเทศไทย สำหรับต้น<br />

กำเนิดแห่งธงไตรรงค์ในฉบับนี้ขอนำเสนอ<br />

เพียงเท่านี้ก่อน ในฉบับต่อไปจะขอเสนอ<br />

ในตอน ๓ การใช้ธง ซึ่งจะเป็นเรื่อง<br />

เกี่ยวกับการใช้และการประดับธง<br />

ในโอกาสต่างๆ รว<strong>ม</strong>ทั้งการดูแลรักษาธง<br />

การพับธง รว<strong>ม</strong>ถึงการทำลายธงที่ชำรุด<br />

เสื่อ<strong>ม</strong>สภาพต่อไป<br />

หลักเ<strong>ม</strong>ือง <strong>ม</strong>กราค<strong>ม</strong> ๒๕๖๑<br />

21

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!