26.04.2018 Views

131 ปี กระทรวงกลาโหม ในทศวรรษที่ 14

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>


1<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

2


3<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

คำปรำศรัย<br />

รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม<br />

เนื่องในโอกำสวันคล้ำยวันสถำปนำกระทรวงกลำโหม ครบ ๑๓๑ <strong>ปี</strong><br />

พี่น้องประชาชน เพื่อนข้าราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

ทหารผ่านศึก และครอบครัวของกาลังพลที่รัก ทุกท่าน<br />

พลเอก<br />

(ประวิตร วงษ์สุวรรณ)<br />

รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม<br />

เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนา<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

ครบ ๑๓๑ <strong>ปี</strong> ในวันอาทิตย์ที่ ๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๑<br />

ผมขอส่งความปรารถนาดีและขอขอบคุณในความร่วมมือร่วมใจ<br />

ของท่านทั้งหลายที่ได้ให้การสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของกระทรวง<br />

กลาโหมให้บรรลุผลสาเร็จด้วยดีมาโดยตลอด<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> นับว่าเป็นสัญลักษณ์ความมั่นคงของ<br />

ประเทศที่มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เคียงคู่กับการสร้าง<br />

ราชอาณาจักรไทย และประวัติศาสตร์ของการต่อสู ้เพื่อปกป้อง<br />

และรักษาชาติบ้านเมือง และด้วยพระราชปณิธานอันมุ่งมั่นของ<br />

บูรพกษัตริยาธิราชเจ้าแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ทรงเล็งเห็นความส าคัญของการ<br />

วางรากฐานด้านกิจการทหารให้มีการจัดแบบมาตรฐานสมัยใหม่<br />

โดยเฉพาะความจาเป็นเร่งด่วนในการรักษาเอกราช อธิปไตย และ<br />

ความมั่นคงของประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนา “กรมยุทธนาธิการ”<br />

ขึ้นเมื่อวันที่ ๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๓๐ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น<br />

ในการปรับปรุงโครงสร้างการจัดหน่วยและยุทธวิธีทางทหารให้มี<br />

ความสอดคล้องกับยุคสมัย และต่อมาได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง<br />

จนเป็น<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ในปัจจุบัน<br />

4


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> โดยข้าราชการทหาร จึงถือว่ามีภาระหน้าที่อันยิ่งใหญ่ในอันที่จะสืบสานพระราชปณิธานในการสร้างความ<br />

ทันสมัยและความเจริญรุ่งเรืองให้แก่กิจการทหาร ปฏิบัติหน้าที่ราชการเพื่อตอบแทนบุญคุณของแผ่นดิน ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความ<br />

เป็นทหารอาชีพ ดารงตนด้วยความสานึกในเกียรติและศักดิ์ศรีของทหาร เพื่อให้เป็นที่เชื่อมั่นและศรัทธาต่อนานาประเทศ และประชาชน<br />

ชาวไทย ทั้งนี้ภาระหน้าที่ของทหารตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา และในอนาคตจะยังคงไม่เปลี่ยนแปลง คือ<br />

การพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตยและความมั่นคงของชาติ การปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ การพิทักษ์รักษา<br />

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การพัฒนาประเทศ การช่วยเหลือปัญหาความทุกข์ร้อนของประชาชน และ<br />

การเป็นกลไกด้านความมั่นคงของรัฐที่สาคัญในการแก้ไขปัญหาของชาติในด้านต่างๆ ตลอดไป<br />

ผมและข้าราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ขอให้คามั่นสัญญาว่า จะยึดมั่นและธารงไว้ซึ่งภารกิจในการรักษาสถาบันหลักของชาติ และการ<br />

ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขให้ดารงอยู่อย่างมั่นคง รวมทั้งจะดูแลความมั่นคงในภาพรวม และสนับสนุน<br />

นโยบายของรัฐบาล โดยมุ่งเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่มีความปลอดภัยให้กับประชาชนเพื่อสร้างรากฐานที่ดี อันจะส่งผลทาให้ประเทศ<br />

มีความมั่นคงและมั่งคั่ง อย่างยั่งยืน<br />

ในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนา<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ซึ่งได้เวียนมาบรรจบครบ ๑๓๑ <strong>ปี</strong> นี้ ผมขออาราธนาอานาจคุณพระศรีรัตนตรัย<br />

และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก เดชะพระบารมีสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยามทุกพระองค์ ตลอดจนพระบารมีแห่งองค์สมเด็จ<br />

พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โปรดดลบันดาล พระราชทานพรให้ทุกท่านประสบแต่ความสุข ความเจริญ มีก าลังกาย<br />

กาลังใจที่เข้มแข็ง เพื่อร่วมกันเสริมสร้างความมั่นคงและการพัฒนาประเทศของเราให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป<br />

5


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

6


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

สำรบัญ<br />

คำปรำศรัยรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม ๔<br />

บทนำ ๘<br />

กระทรวงกลำโหมในอดีต ๑๐<br />

กระทรวงกลำโหม<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔ ๒๗<br />

เทิดรำชำ ๔๓<br />

รักษ์รำษฎร์ ๕๑<br />

ชำติมั่นคง ๖๗<br />

ปัจฉิมบท ๑๑๙<br />

7


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

กระทรวงกลำโหม<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

บทนำ<br />

<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๑ คือ<strong>ปี</strong>แห่งการครบรอบการสถาปนากระทรวง<br />

กลาโหมเป็น<strong>ปี</strong>ที่ ๑๓๑ และเป็น<strong>ปี</strong>แห่งการเริ่มต้นของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

ในทศวรรษใหม่หรือทศวรรษที่ ๑๔ ซึ่งเป็นความสืบเนื่องของกาลเวลานาน<br />

ถึง ๑๓ ทศวรรษ ที่มีปฐมเหตุมาจากการประกาศพระบรมราชโองการของ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ชื่อว่า ประกาศจัดการทหาร<br />

ให้จัดตั้งกรมยุทธนาธิการ เมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๔๓๐ และได้มีการพัฒนา<br />

อย่างต่อเนื่องมาเป็นกระทรวงยุทธนาธิการ และเป็น<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

ในปัจจุบัน ดังนั้น ใน<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๑ นี้ จึงนับเป็นการเริ่มต้นก้าวใหม่<br />

ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔ ระหว่าง<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๑ –<br />

๒๕๗๐ อันเ<strong>ปี</strong>่ยมล้นไปด้วยเกียรติภูมิและมีศักดิ์ศรีอย่างเต็มภาคภูมิ ทั้งยังจะ<br />

เป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนภารกิจการป้องกันประเทศ รักษาอธิปไตย<br />

ปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ การรักษาความมั่นคงของรัฐ<br />

และการรักษาผลประโยชน์ของชาติให้บังเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน<br />

ชาวไทย สังคมไทย และประเทศชาติ อย่างมีเสถียรภาพต่อไปในอนาคต<br />

ประเทศไทย ระหว่าง<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๕๑ – ๒๕๖๐ ซึ่งเป็นห้วงเวลาเดียวกันกับทศวรรษที่ ๑๓ ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

ได้เกิดเหตุการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมอย่างมากมาย ซึ่งส่งผลกระทบในด้านต่างๆ ต่อประเทศ ตลอดจนได้มีความพยายามที่จะ<br />

แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ของประเทศรวมทั้งทรัพยากรของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>จนบรรลุผลสัมฤทธิ์เป็นอย่างดี ทั้งนี้<br />

สิ่งที่ประชาชนชาวไทยต่างปลาบปลื้มยินดีเป็นอย่างยิ่งคือการที่ได้รับพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐<br />

เพื่อเป็นหลักชัยสาคัญในการขับเคลื่อนประเทศ จนนามาสู่การจัดทาแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศ การจัดทายุทธศาสตร์ชาติ<br />

๒๐ <strong>ปี</strong> ตลอดจนการวางรากฐานการแก้ไขปัญหาที่เคยสะสมมา โดยดาเนินการในลักษณะการบูรณาการเป็นองค์รวม เพื่อให้สามารถย่างก้าว<br />

ได้อย่างเป็นรูปธรรมตั้งแต่<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๑ เป็นต้นไป<br />

8


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติภารกิจของ<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และกิจการทหารไว้ในบทบัญญัติมาตรา ๕๒ มีสาระสาคัญโดยสรุปคือ<br />

มีการกาหนดภารกิจใหม่ให้<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ปฏิบัติควบคู่ไปกับการสานภารกิจเดิมที่ได้เคย<br />

ดาเนินการไว้แล้วเป็นอย่างดีให้มีความสมบูรณ์และถือปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่อง กอปรกับ<br />

ในระหว่าง<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ ได้มีการตรากฎหมายหลายฉบับที่มีความเกี่ยวข้อง<br />

กับการปฏิบัติในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> รวมถึงมีการนาเสนอร่างกฎหมายบรรจุ<br />

เข้าสู่การพิจารณาในสภานิติบัญญัติแห่งชาติอีกหลายฉบับ จึงเป็นการกาหนดบริบทและ<br />

ภารกิจ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่จะต้องดาเนินการ<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔ และดาเนินการสืบเนื่องต่อไป<br />

หนังสือ กระทรวงกลำโหม <strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔ จึงเป็นการนาเสนอภารกิจและบทบาท<br />

ใหม่ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่จะดาเนินการในต้นทศวรรษที่ ๑๔ เป็นต้นไป รวมถึงการนาเสนอ<br />

ภารกิจสาคัญที่<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ดาเนินการมาตั้งแต่ในอดีตและจะดาเนินการต่อเนื่องต่อไป<br />

ในอนาคต เพื่อให้ภาคประชาสังคม และประชาชนทุกภาคส่วนได้รับทราบถึงการด าเนินภารกิจ<br />

ทางการทหาร ได้ร่วมภาคภูมิใจในกิจการทหารของไทย และร่วมให้การสนับสนุนการปฏิบัติ<br />

การของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และทหารไทยในทุกมิติ เพื่อให้บรรลุถึงการสร้างความตระหนัก<br />

รับรู้ของภาคประชาสังคมในเรื่องกิจการทหาร และพัฒนาการมีส่วนร่วมในการรักษาความ<br />

มั่นคงของชาติ การรักษาผลประโยชน์ของชาติจากทุกภาคส่วน ซึ่งจะทาให้การดาเนินการ<br />

ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีทิศทาง<br />

ที่ชัดเจนเป็นที่คาดหวังได้ของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ<br />

9


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

กระทรวงกลำโหม<br />

ในอดีต<br />

10


11<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑. กระทรวงกลำโหมในอดีต<br />

ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น กิจการทหารของไทยยังคงยึดแบบแผนการดาเนินกิจการทหารตามแนวทางของกรุงศรีอยุธยาและ<br />

กรุงธนบุรีทั้งในเรื่องของการเตรียมกาลังไพร่พล การแบ่งเหล่าทหารและการจัดหน่วยให้พร้อมเผชิญเป็นภัยคุกคามที่เกิดจากกองทัพของ<br />

ประเทศเพื่อนบ้านทั้งทางตะวันตกและตะวันออก<br />

กฎหมายตราสามดวงของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น<br />

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยต้องเผชิญกับภัยคุกคามขนาดใหญ่ อันเกิดจากจักรวรรดินิยม<br />

ตะวันตกที่มีแสนยานุภาพสูงกว่าประเทศไทยจึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ วางรากฐานในการพัฒนาประเทศให้ทัดเทียมนานา<br />

อารยประเทศให้มีประสิทธิภาพและทันสมัยอย่างเร่งด่วนหลายด้าน ทั้งในเรื่องของการจัดกาลัง การจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ การฝึก<br />

พื้นฐานและการฝึกทางยุทธวิธี ทั้งยังทรงเลือกจ้างทหารนอกราชการจากต่างประเทศมาเป็นผู้ฝึกทหารและเป็นกองร้อยตามระเบียบแบบแผน<br />

และฝึกสอนทหารบกตามแบบอย่างทหารอังกฤษเป็นครั้งแรก เรียกว่า “ทหารเกณฑ์หัดอย่างฝรั่ง” หลังจากนั้นจึงได้จัดแบ่งทหารออกเป็น<br />

๒ กอง คือ กองทหารหน้าและกองทหารรักษาพระองค์ปืนปลายหอกวังหลวงเดิม<br />

ทหารเกณฑ์หัดอย่างฝรั่ง กองทหารรักษาพระองค์ปืนปลายหอกวังหลวงเดิม<br />

12


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระคทาองค์ที่ ๑<br />

ใน<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๔๑๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดาริให้นารูปแบบอย่างการทหารที่ชาวยุโรป<br />

ปฏิบัติมาดัดแปลงแก้ไขให้เหมาะสมกับประเทศไทยในเวลานั้น โดยทรงใช้นายทหารต่างประเทศเป็นผู้ฝึก และมีเจ้านายหรือข้าราชการ<br />

ซึ่งเป็นผู้ที่ทรงไว้วางพระราชหฤทัยเป็นผู้บังคับบัญชา ทั้งยังขึ้นตรงต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีรูปแบบการจัดกิจการทหารเป็น<br />

๒ หน่วย กล่าวคือ<br />

๑. ทหำรบก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมหน่วยทหารต่างๆ และให้ตั้งเป็นหน่วยทหารอยู่ในสังกัดของทหารบก รวม ๗ กรม<br />

ประกอบด้วย กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ กรมทหารรักษาพระองค์ กรมทหารล้อมวัง กรมทหารหน้า กรมทหารปืนใหญ่<br />

กรมทหารช้าง และกรมทหารฝีพาย<br />

๒. ทหำรเรือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปรับเปลี่ยนหน่วยทหารเดิม และให้ตั้งเป็นหน่วยทหารอยู่ในสังกัดของทหารเรือ<br />

รวม ๒ กรม ประกอบด้วย กรมทหารเรือพระที่นั่งเวสาตรี (ทหารช่างแสงเดิม) และกรมอรสุมพล (ทหารมารีนเดิม)<br />

13


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

พระบรมฉายาลักษณ์<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงพระคทาองค์ที่ ๓<br />

พระบรมฉายาลักษณ์<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงพระคทาองค์ที่ ๑<br />

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดาริเกี่ยวกับกิจการทหารทั้งฝ่ายทหารบกและฝ่ายทหารเรือ ที่แยก<br />

การปฏิบัติอาจประสบปัญหาในการดาเนินกิจการและการประสานงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์และเสนาบดี<br />

เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายการปรึกษาหารือในเรื่องที่จะจัดการฝ่ายทหารบกและฝ่ายทหารเรือ ให้มีแบบแผนดีและเรียบร้อย<br />

เป็นอันเดียวกันเหมือนอย่างโบราณราชประเพณีและเทียบเคียงได้อย่างประเทศในทวีปยุโรป เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจาก<br />

แนวความคิดการล่าอาณานิคมที่อาจเกิดขึ้นแก่ประเทศในสมัยนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ ในวันศุกร์แรม ๑ ค่า เดือน ๕ <strong>ปี</strong>กุนอัฐศก จุลศักราช<br />

๑๒๔๘ หรือ วันศุกร์ที่ ๘ เมษำยน ๒๔๓๐ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศพระบรมราชโองการชื่อว่า ประกำศจัดกำรทหำร<br />

โดยมีสาระสาคัญว่า<br />

(๑) ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ ควบรวมกรมทหารบกและกรมทหารเรือ ตั้งขึ้นเป็นกรมใหญ่เรียกว่า “กรมยุทธนำธิกำร” สาหรับ<br />

จัดการและบังคับบัญชาการทหารบกและทหารเรืออย่างใหม่ในลักษณะการรวมกาลังเป็นปึกแผ่นอย่างกองทัพสาหรับประเทศไทย<br />

(๒) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดาริพระราชอิสริยยศ ตาแหน่งที่ จอมทัพ<br />

(๓) สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ทรงดารงตาแหน่งเป็น ผู้บังคับบัญชำทหำรทั่วไปในกรมทหำร<br />

(๔) กาหนดตาแหน่ง เจ้าพนักงานใหญ่เป็นผู้ช่วยทั้งฝ่ายทหารบก ฝ่ายทหารเรือ การยุทธภัณฑ์ และการใช้จ่าย ในกิจการทหารบก<br />

และทหารเรือทั่วไป<br />

<strong>14</strong>


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

พระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช<br />

เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร<br />

พระฉายาลักษณ์ นายพลเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ<br />

เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช<br />

โรงทหารหน้าในยุคแรก<br />

15


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

แต่เนื่องจากในขณะนั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ยังทรงพระเยาว์ โดยทรงมี<br />

พระชนมพรรษา ๙ พรรษา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุ<br />

วงศ์วรเดชและเป็นนายพันโทพิเศษกรมทหารมหาดเล็ก มาเป็นผู้บังคับบัญชาการกรมยุทธนาธิการไปพลางก่อนโดยให้มีที่ตั้งหน่วยของ<br />

กรมยุทธนำธิกำร ขึ้นที่โรงทหารหน้า (หรือศาลาว่าการกลาโหมในปัจจุบัน)<br />

หอคอยยุคแรกสร้างโรงทหารหน้า<br />

(ด้านทิศตะวันออกบริเวณถนนช้างโรงสี)<br />

หอคอยยุคปลายรัชสมัยรัชกาลที่ ๕<br />

(ด้านทิศตะวันออกบริเวณถนนช้างโรงสี)<br />

ในเวลาต่อมา กรมยุทธนาธิการ ได้มีการพัฒนาภารกิจและการจัดของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถเผชิญภัยคุกคามที่<br />

เปลี่ยนแปลงไปในยุคสมัยต่างๆ จนพัฒนาเป็น<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ดังที่ปรากฏในปัจจุบันตามลาดับ ดังนี้<br />

16


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทหารหน้าในยุคแรก<br />

17


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑. <strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๔๓๓ มีการยกฐานะ กรมยุทธนาธิการ ขึ้นเป็น กระทรวงยุทธนำธิกำร (Ministry of War and Marine)<br />

โดยประกาศเป็นพระรำชบัญญัติจัดกำรกรมยุทธนำธิกำรในวันที่ ๑ เมษายน ๒๔๓๓ ทั้งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงดารงพระราชสถานะเป็นจอมทัพ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเป็นองค์<br />

รับสนองพระบรมราชโองการ<br />

กระทรวงยุทธนาธิการ ประมาณ<strong>ปี</strong> พ.ศ.๒๕๓๓<br />

18


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒. <strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๔๓๕ เป็นการปฏิรูประบบราชการเป็นครั้งแรก โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศพระบรมราชโองการ<br />

ในวันที่ ๑ เมษายน ๒๔๓๕ ชื่อว่า ประกำศตั้งเสนำบดี จนครบ ๑๒ กระทรวง ตามภารกิจเพื่อให้เกิดการรวมศูนย์งาน โดยมีทั้งกระทรวง<br />

กลาโหมและกระทรวงยุทธนาธิการ แต่ต่อมาใน<strong>ปี</strong>เดียวกัน ได้ลดฐานะกระทรวงยุทธนาธิการ ลงเป็น กรมยุทธนาธิการ ซึ่งมีลักษณะพิเศษ<br />

ที่ไม่สังกัดกระทรวงใด โดยทาหน้าที่เป็นองค์กรฝ่ายทหารบกที่ทาหน้าที่ป้องกันประเทศ<br />

๓. <strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๔๓๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศพระบรมราชโองการชื่อว่า ประกำศจัดปันหน้ำที่กระทรวงกลำโหม<br />

กระทรวงมหำดไทย โดยให้<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>รับผิดชอบราชการที่เกี่ยวกับทหาร และกระทรวงมหาดไทยให้รับผิดชอบราชการที่เกี่ยวกับ<br />

พลเรือน จึงมีการโอนกรมยุทธนาธิการมาขึ้นสังกัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> โดยให้กรมยุทธนำธิกำร กากับดูแลกิจการทหารบก และกรมทหำรเรือ<br />

กากับดูแลกิจการทหารเรือ<br />

19


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ในยุคแรก<br />

๔. <strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๔๕๓ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการยกฐานะกรมยุทธนาธิการ ขึ้นเป็น กระทรวง<br />

กลาโหม มีหน้าที่ดูแลการปกครองเฉพาะกิจการทหารบก พร้อมกับยกฐานะกรมทหารเรือ ขึ้นเป็น กระทรวงทหารเรือ มีหน้าที่ดูแลการ<br />

ปกครองเฉพาะกิจการทหารเรือ<br />

๕. <strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๔๗๔ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการควบรวมกระทรวงทหารเรือกับกระทรวงทหารบก<br />

เข้าเป็นกระทรวงเดียวกัน ภายใต้นาม <strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

๖. ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองใน<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๔๗๕ ได้มีการตราพระราชบัญญัติเกี่ยวกับราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

เป็นครั้งแรกใช้ชื่อว่า พระรำชบัญญัติจัดระเบียบป้องกันรำชอำณำจักร พุทธศักรำช ๒๔๗๖ ซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

และกิจการทหารไทยในเวลาต่อมาได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมาเป็น พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> พุทธศักราช<br />

๒๕๕๑ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันโดยมีการจัดส่วนราชการที่สาคัญออกเป็น สานักงานรัฐมนตรี สานักงานปลัดกระทรวง และกองทัพไทย (ซึ่งมี<br />

ส่วนราชการในสังกัด กล่าวคือ กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และส่วนราชการอื่นตามที่กาหนดโดย<br />

พระราชกฤษฎีกา) ทั้งนี้ สามารถแสดงการจัดส่วนราชการของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้<br />

20


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

สานักงานรัฐมนตรี<br />

สานักงานปลัดกระทรวง<br />

กองทัพไทย<br />

สานักงาน<br />

จเรทหารทั ่วไป<br />

กองบัญชาการ<br />

กองทัพไทย<br />

กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ<br />

ส่วนราชการอื ่นตามที ่กาหนด<br />

โดยพระราชกฤษฎีกา<br />

แผนผัง แสดงการจัดส่วนราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

21


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> <strong>ปี</strong> พ.ศ.๒๔๙๕<br />

ภาพที่ทาการกรมส่งกาลังบารุงทหารบก ภายในศาลาว่าการกลาโหม พ.ศ.๒๕๑๕<br />

22


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และกิจการทหารของประเทศไทย มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาตลอดระยะเวลา ๑๓๑ <strong>ปี</strong> ได้ถวายความปลอดภัย<br />

และถวายพระเกียรติแด่องค์พระมหากษัตริย์และสถาบันพระมหากษัตริย์ พร้อมกับสร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นในราชอาณาจักรและดารง<br />

บทบาทเป็นหลักประกันความเป็นเอกราชของประเทศชาติรักษาอธิปไตย รักษาเกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชาติ พร้อมกับสร้างความ<br />

เชื่อมั่นและความมั่นใจให้แก่ประชาชนในการดาเนินกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ดาเนินชีวิตและประกอบสัมมาชีพได้อย่าง<br />

มีความสุขในราชอาณาจักรด้วยความมั ่นคงปลอดภัย แม้ในระยะเวลาของทศวรรษที่ ๑๔ ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> และในระยะเวลาที่จะ<br />

สืบเนื่องต่อไป ภายใต้คามั่นและเจตนารมณ์สาคัญที่ว่า<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

เทิดราชา<br />

รักษ์ราษฎร์<br />

ชาติมั่นคง<br />

23


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ศาลาว่าการกลาโหมประมาณ<strong>ปี</strong> พ.ศ.๒๕๓๕<br />

24


25<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

26


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

กระทรวงกลำโหม<br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

27


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒. กระทรวงกลำโหม<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๐ ถือเป็น<strong>ปี</strong>เริ่มต้นแห่งการใช้บังคับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และยังเป็น<strong>ปี</strong>แรก<br />

ของการเริ่มต้นการขับเคลื่อนประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ <strong>ปี</strong> (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) นอกจากนี้ ยังมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติ<br />

ที่สาคัญของประเทศอีกหลายฉบับ รวมถึงมีการนาเสนอร่างพระราชบัญญัติที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐบาลเพื่อเข้าสู่กระบวนการนิติบัญญัติ<br />

ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติอีกหลายฉบับด้วยเช่นกัน ซึ่งกฎหมายและยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวได้ส่งผลตรงต่อการปฏิบัติภารกิจทางทหาร<br />

ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>เป็นอย่างมาก นอกเหนือจากพระราชบัญญัติที ่เกี่ยวข้องกับ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และกิจทางการทหารที ่ได้ถือปฏิบัติ<br />

กันมาก่อนหน้านี้แล้วจึงกล่าวได้ว่า<br />

28


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

• กฎหมายที่ใช้บังคับก่อน<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กาหนดบทบาทและภารกิจ<br />

ทางทหารที่<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>จะต้องปฏิบัติในปัจจุบันและในอนาคตประกอบด้วย<br />

พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ พระราชบัญญัติจัดระเบียบ<br />

ราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> พ.ศ.๒๕๕๑ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติกาลังพล<br />

สารอง พ.ศ.๒๕๕๘ รวมทั้ง พระราชบัญญัติที่กาหนดให้<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>เป็นหน่วย<br />

รับผิดชอบหลักและหน่วยสนับสนุนอื่น<br />

• กฎหมายที่มีการบัญญัติขึ้นใหม่ตั้งแต่<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นต้นไป และ<br />

ยุทธศาสตร์ชาติจะเพิ่มเติมบทบาทหน้าที่ทางทหารของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่จะต้อง<br />

ดาเนินการ<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔ เป็นต้นไป ประกอบด้วย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย<br />

พุทธศักราช ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการในพระองค์ พ.ศ.๒๕๖๐<br />

พระราชบัญญัติการถวายความปลอดภัย พ.ศ.๒๕๖๐ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการ<br />

รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. .... ร่างพระราชบัญญัติการรักษาผลประโยชน์<br />

ของชาติทางทะเล พ.ศ. ....รวมทั้ง พระราชบัญญัติและร่างพระราชบัญญัติที่กาหนดให้<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักและหน่วยสนับสนุนอื่น<br />

29


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ <strong>ปี</strong> (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ได้ก่อให้เกิดการ<br />

กาหนดภารกิจใหม่ที่<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>จะต้องปฏิบัติในกิจการทหาร กล่าวคือ<br />

๑. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐<br />

ภารกิจของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และกิจการทหารไทยได้มีการบัญญัติไว้อย่างชัดเจนในบทบัญญัติมาตรา ๕๒ ความว่า<br />

“มาตรา ๕๒ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งอาณาเขตและเขต<br />

ที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชาติ ความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อยของประชาชน<br />

เพื่อประโยชน์แห่งการนี้ รัฐต้องจัดให้มีการทหาร การทูต และการข่าวกรองที่มีประสิทธิภาพ”<br />

30


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

โดยภารกิจที่<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>จะต้องดาเนินการเพิ่มเติมนอกเหนือจากบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้านี้คือ<br />

๑.๑ กำรพิทักษ์รักษำไว้ซึ่งเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย<br />

ซึ่งจากการตรวจสอบกับรัฐธรรมนูญฯ ฉบับที่ผ่านมา พบว่า<br />

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นรัฐธรรมนูญ<br />

ฉบับแรกของประเทศที่มีการกล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของรัฐในการพิทักษ์รักษา<br />

บูรณภาพแห่งเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยอย่างชัดเจน โดยที่เขตพื้นที่<br />

ทางทะเลนั้น ได้มีการกาหนดไว้ค่อนข้างชัดเจนในกฎหมายระหว่างประเทศ<br />

ตามอนุสัญญำสหประชำชำติว่ำด้วยกฎหมำยทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ (United<br />

Nations Convention on the Law Of the Sea : UNCLOS 1982)<br />

ที่ประเทศไทยได้ยื ่นสัตยาบันสารสาหรับการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา<br />

สหประชาชาติฯ ต่อสหประชาชาติ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ทั้งนี้<br />

การกาหนดพื้นที่ทางทะเลตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ สรุปดังนี้<br />

31


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑.๑.๑ น่ำนน้ำภำยใน (Internal Waters) คือ น่านน้าที่อยู่ภายในเส้นฐาน (Baselines) ซึ่งเป็นเส้นฐานปรกติตาม<br />

แนวน้าลดที่อยู่บริเวณชายฝั่ง โดยรัฐชายฝั่งมีอานาจอธิปไตย เช่นเดียวกับสิทธิเหนือดินแดนที่เป็นแผ่นดิน<br />

๑.๑.๒ ทะเลอำณำเขต (Territorial Waters) คือ อาณาเขตทางทะเลของรัฐชายฝั่งวัดออกจากเส้นฐาน ไม่เกิน ๑๒ ไมล์<br />

ทะเล โดยรัฐชายฝั่งมีอานาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตน และอานาจอธิปไตยนี้ครอบคลุมไปถึงห้วงอากาศเหนือพื้นท้องทะเล<br />

และใต้ผิวพื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขตนั้นๆ ด้วย<br />

๑.๑.๓ เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) คือ เขตที่อยู่ต่อเนื่องจากเส้นขอบนอกของทะเลอาณาเขต ออกไปอีก ๑๒ ไมล์<br />

ทะเล ในเขตต่อเนื่องนี้ รัฐชายฝั่งมีอานาจในการควบคุมมิให้มีการฝ่าฝืนกฎหมายต่างๆ และคุ้มครองวัตถุโบราณหรือวัตถุทางประวัติศาสตร์<br />

ที่อยู่บนพื้นทะเลในเขตต่อเนื่อง<br />

๑.๑.๔ เขตเศรษฐกิจจำเพำะ (Exclusive Economic Zones) คือ เขตที่มีความกว้างไม่เกิน ๒๐๐ ไมล์ทะเลจาก<br />

เส้นฐาน ซึ่งรัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยในการสารวจ แสวงประโยชน์ อนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต<br />

ส่วนกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางเศรษฐกิจ เช่น การเดินเรือ การบิน ไม่ตกอยู่ในสิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝั่ง<br />

๑.๑.๕ ไหล่ทวีป (Continental Shelf) คือ พื้นทะเลและใต้ผิวพื้นของพื้นที่ใต้น้า ซึ่งยืดขยายจากทะเลอาณาเขต<br />

ไปจนถึงขอบด้านนอกสุดของทวีปที่มีน้าลึกไม่เกิน ๒๐๐ เมตร หรือที่ระยะ ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน ซึ่งรัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเหนือ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งบนและใต้ผิวพื้นไหล่ทวีป ไม่ว่าจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ส่วนรัฐอื่นๆ ยังมีสิทธิที่จะวางสายเคเบิล หรือท่อทางใต้ทะเล<br />

บนไหล่ทวีปนั้นได้ โดยต้องได้รับความยินยอมจากรัฐชายฝั่งก่อน<br />

32


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑.๑.๖ ทะเลหลวง (High Seas) คือ ส่วนของทะเลที่มิใช่ส่วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจจาเพาะ ทะเลอาณาเขต หรือน่านน้า<br />

ภายใน โดยทุกรัฐมีเสรีภาพในการใช้ทะเลหลวง เพื่อการเดินเรือ การบิน การวางสายเคเบิลและท่อทางใต้ทะเล การประมง การสร้าง<br />

เกาะเทียม และสิ่งติดตั้งอื่นๆ รวมทั้งการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์<br />

อีกทั้งหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ยังได้กาหนดว่า ประเทศหรือรัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเพื่อความมุ่งประสงค์ในการ<br />

ควบคุมมิให้มีการฝ่าฝืนกฎหมาย ในการสารวจ การแสวงประโยชน์ การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตหรือไม่มี<br />

ชีวิตในน้า เหนือพื้นดิน ท้องทะเล และในพื้นดิน ท้องทะเลกับดินใต้ผิวดิน ของพื้นดินท้องทะเลนั้น และมีสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เกี่ยวกับ<br />

กิจกรรมอื่นๆ เพื่อการแสวงประโยชน์ และการสารวจทางเศรษฐกิจในเขต อาทิ การผลิตพลังงานจากน้ากระแสน้าและลม รวมถึง<br />

การมีสิทธิแต่ผู้เดียวในการสร้างหรืออนุญาตให้สร้าง และควบคุมการสร้างเกาะเทียม สิ่งติดตั้ง และสิ่งก่อสร้าง ในเขตเศรษฐกิจจำเพำะ<br />

(Exclusive Economic Zone) ที่มีบริเวณประชิดและอยู่เลยไปจากทะเลอาณาเขต ทั้งนี้ เขตเศรษฐกิจจาเพาะจะอยู่ห่างออกไป<br />

๒๐๐ ไมล์ทะเลจากเส้นฐานที่อยู่บริเวณชายฝั่ง รวมถึง เขตต่อเนื่องและไหล่ทวีป (ดังปรากฏตามแผนภาพ)<br />

33


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าประเทศไทยมีอานาจอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยในพื้นที่ทางทะเล กล่าวคือ<br />

(๑) มีอำนำจอธิปไตย (sovereignty) เหนือน่านน้าภายในและทะเลอาณาเขต ในระยะทาง ๑๒ ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน<br />

(๒) มีสิทธิอธิปไตย (sovereignty rights) เหนือเขตต่อเนื่องเขตเศรษฐกิจจาเพาะและไหล่ทวีปในระยะทาง ๒๐๐ ไมล์ทะเล<br />

จากเส้นฐาน<br />

จึงทาให้ประเทศไทยมีพื้นที่ที่เป็นอาณาเขตทางทะเลซึ่งมีอานาจอธิปไตย และเขตสิทธิอธิปไตยลงไปในทะเลไม่น้อยกว่ำ<br />

๓๒๓,๔๘๘.๓๒ ตำรำงกิโลเมตร เพิ่มขึ้นจากเดิมที่เป็นพื้นที่ทางบก จานวนไม่น้อยกว่า ๕๑๓,๑๒๐ ตารางกิโลเมตร หรืออาจกล่าวได้ว่า<br />

มีพื้นที่ทางทะเลอีกประมาณ ๒ ใน ๓ ของพื้นที่ทางบกนั่นเอง<br />

34


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงทาให้การปฏิบัติการทางทะเลและชายฝั่งใน<br />

เขตสิทธิอธิปไตยนั้นต้องมีการปรับปรุงเพิ่มเติมอีกหลายประการ ทั้งนี้<br />

กองทัพเรือ ซึ่งเป็นหน่วยงานทางทหารหลักที่มีความพร้อมและมีความ<br />

เชี่ยวชาญในการดาเนินงานมากที่สุด ทั้งในเรื่องกาลังพล ระบบอาวุธ<br />

ยุทโธปกรณ์ องค์ความรู้และเรื่องอื่นๆ อย่างไรก็ตามการที่เขตสิทธิอธิปไตย<br />

มีพื้นที่เป็นจานวนมากและอยู่ ๒ ฝั่งทะเลคือ อ่าวไทยและทะเลอันดามัน<br />

จึงต้องใช้องค์ความรู้ในสายวิทยาการของทหารเรือ เพื่อให้พร้อมปฏิบัติการ<br />

ในทุกพื้นที่กล่าวคือ<br />

• การลาดตระเวนและปฏิบัติการชายฝั่ง<br />

• การลาดตระเวนและปฏิบัติการไกลฝั่ง<br />

• การลาดตระเวนการเฝ้าระวังและปฏิบัติการใต้ผิวน้า<br />

• การลาดตระเวนทางอากาศและปฏิบัติการด้วยอากาศยาน<br />

นอกจากนี้<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ยังสามารถพิจารณา<br />

สนธิกาลังกับกองทัพบกและกองทัพอำกำศเพื่อร่วม<br />

ปฏิบัติการกับกองทัพเรือในเหตุการณ์ที่อาจส่งผล<br />

กระทบต่อความมั่นคงของชาติหรือรักษาผลประโยชน์ของ<br />

ชาติ ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติทุกภารกิจสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี<br />

สร้างความมั่นใจและความภาคภูมิใจของพี่น้องประชาชน<br />

ชาวไทยที่มีต่อทหารหาญทุกคนและ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

อย่างเต็มเ<strong>ปี</strong>่ยม<br />

35


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑.๒ กำรพิทักษ์รักษำไว้ซึ่งเกียรติภูมิของชำติ<br />

จากการสืบค้นจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ พบว่า เกียรติภูมิ มีควำมหมำยว่ำ เกียรติเพรำะ<br />

ควำมนิยม ซึ่งหากอธิบายความแล้ว “ความนิยม” มีความหมายในทางกว้างว่า เป็นสิ่งที่สังคมส่วนใหญ่ให้การยอมรับ ไม่ว่าจะเป็นสังคม<br />

ในระดับพื้นที่ หรือสังคมในระดับประเทศ หรือสังคมในระดับนานาชาติ หรือสังคมในระดับสากล ทั้งนี้ การยอมรับนั้นย่อมนามาสู่ความ<br />

ภาคภูมิใจของคนในสังคมอย่างมีเกียรติและมีศักดิ์ศรี<br />

จึงกล่าวได้ว่า เกียรติภูมิของชำติ คือ เกียรติยศและศักดิ์ศรีที่สังคมทั่วไปทั้งสังคมในหมู่มิตรประเทศหรือระดับนำนำชำติ<br />

หรือสำกลที่สังคมโลกให้กำรยอมรับในควำมเป็นชำติไทย และถือเป็นศักดิ์ศรีที่ประชำชนชำวไทยทุกคนมีควำมภูมิใจต่อเกียรติยศ<br />

ดังกล่ำว<br />

เมื่อเป็นเช่นนี้<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และทหารทุกคนจึงมีภารกิจสาคัญที่จะต้องธารงเกียรติภูมิของประเทศให้เป็นที่ยอมรับ<br />

ของประชาชนชาวไทย และได้รับการยอมรับกล่าวขานของนานาประเทศและประชาคมระหว่างประเทศถึงเกียรติยศในทุกภูมิภาคซึ่งจะ<br />

ต้องเป็นเรื่องของความมีระเบียบวินัย ความสามารถในการปฏิบัติการทางทหารในทุกภารกิจและทุกมิติทั้งภายในประเทศและการปฏิบัติ<br />

การร่วมกับมิตรประเทศภายนอกประเทศ การสร้างความสัมพันธ์ทางทหารที่ดีกับ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>มิตรประเทศโดยเฉพาะการด ารงบทบาท<br />

การทูตทหารอย่างมีศักดิ์ศรี<br />

๒. ยุทธศำสตร์ชำติ ๒๐ <strong>ปี</strong><br />

(พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)<br />

ยุทธศาสตร์ชาติที่ได้นาเสนอ<br />

ต่อสาธารณชนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๑<br />

มีการกาหนดภารกิจที่เกี่ยวข้องกับกระทรวง<br />

กลาโหมและหน่วยงานความมั่นคง ไว้ใน<br />

ยุทธศำสตร์ที่ ๑ ยุทธศำสตร์ด้ำนควำมมั่นคง<br />

ที่มุ่งเน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อม<br />

ของประเทศให้มีความมั่นคงปลอดภัยและ<br />

มีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับและทุกมิติ<br />

โดยมีประเด็นยุทธศาสตร์รวม ๕ ประเด็น<br />

กล่าวคือ<br />

36


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒.๑ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ ๑ : กำรรักษำควำม<br />

สงบภำยในประเทศ โดยมุ่งหวังให้สถาบันหลักมีความมั่นคง<br />

และยั่งยืน ประชาชนอยู่ดีมีสุข และมีความมั่นคงปลอดภัย<br />

รวมทั้งสังคมมีความเข้มแข็งและสามัคคีปรองดอง<br />

๒.๒ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ ๒ : ป้องกันและแก้ไข<br />

ปัญหำที่มีผลกระทบต่อควำมมั่นคง โดยมุ่งหวังในการแก้ไขปัญหา<br />

เดิมที่มีอยู่อย่างตรงประเด็นควบคู่ไปกับการป้องกันไม่ให้ปัญหา<br />

ใหม่เกิดขึ้น ด้วยการบริหารจัดการและการพัฒนาประเทศโดยใช้<br />

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อดาเนินการให้สอดรับกับเป้าหมาย<br />

การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals–<br />

SDGs)<br />

37


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒.๓ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ ๓ : พัฒนำศักยภำพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคำมที่กระทบต่อควำมมั่นคงของชำติ<br />

โดยมุ่งหวังในการยกระดับขีดความสามารถของกองทัพ รวมถึง การติดตามป้องกันแก้ไขปัญหาความมั่นคงทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ<br />

แบบบูรณาการ<br />

๒.๔ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ ๔ : บูรณำกำรควำมร่วมมือด้ำนควำมมั่นคงกับอำเซียนและนำนำชำติรวมถึงองค์กรภำครัฐ<br />

และที่มิใช่ภำครัฐ โดยมุ่งหวังในการยกระดับขีดความสามารถของกองทัพ รวมถึง การติดตามป้องกันแก้ไขปัญหาความมั่นคงทุกมิติ<br />

ทุกรูปแบบและทุกระดับแบบบูรณาการ<br />

38


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒.๕ ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ ๕ : พัฒนำกลไกกำรบริหำรจัดกำรควำมมั่นคงแบบบูรณำกำร โดยมุ่งหวังในการสร้างเสริม<br />

ความสงบสันติสุขความมั่นคงและความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน รวมถึงการส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศที่จะรองรับปัญหา<br />

ร่วมกันได้<br />

39


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

อย่างไรก็ตาม ภารกิจของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่ได้กาหนดไว้ในกฎหมายที่บัญญัติเป็นหน้าที่ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ไว้เป็นภารกิจหลัก<br />

ที่ถือปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันก็ยังเป็นภารกิจที่จะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องสืบไป ประกอบด้วย<br />

• พระรำชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ บัญญัติไว้ว่า<br />

มาตรา ๘ <strong>กระทรวงกลาโหม</strong> มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคาม<br />

ทั้งภายนอกและภายในประเทศ การรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ สนับสนุนการพัฒนาประเทศ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนดให้<br />

เป็นอานาจหน้าที่ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>หรือส่วนราชการที่สังกัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

• พระรำชบัญญัติจัดระเบียบรำชกำรกระทรวงกลำโหม พ.ศ.๒๕๕๑ บัญญัติไว้ว่า<br />

มาตรา ๘ <strong>กระทรวงกลาโหม</strong> มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้<br />

(๑) พิทักษ์รักษาเอกราชและความมั่นคงแห่งราช<br />

อาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในราชอาณาจักร<br />

ปราบปรามการกบฏและการจลาจล โดยจัดให้มีและใช้กาลัง<br />

ทหารตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยหรือตามที่มี<br />

กฎหมายกาหนด<br />

(๒) พิทักษ์รักษาปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์<br />

ตลอดจนสนับสนุนภารกิจของสถาบันพระมหากษัตริย์<br />

40


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

(๓) ปกป้อง พิทักษ์รักษาผลประโยชน์แห่งชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข<br />

พัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคงตลอดจนสนับสนุนภารกิจอื่นของรัฐในการพัฒนาประเทศ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ และ<br />

การช่วยเหลือประชาชน<br />

(๔) ศึกษา วิจัย พัฒนา และดาเนินการด้านอุตสาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศและพลังงานทหาร ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ<br />

และด้านกิจการอวกาศเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งนี้ เพื่อ<br />

สนับสนุนภารกิจของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และความมั่นคงของประเทศ<br />

(๕) ปฏิบัติการอื่นที่เป็นการปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจาก<br />

สงครามเพื่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร หรือปฏิบัติการอื่นใด ทั้งนี้ ตามที่มี<br />

กฎหมายกาหนดหรือตามมติคณะรัฐมนตรีในการดาเนินการตาม (๔)<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>อาจมอบหมายให้ส่วนราชการใน<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>หรือ<br />

หน่วยงานอื่นในกากับของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>เป็นผู้ดาเนินการก็ได้หรือ<br />

อาจร่วมงาน ร่วมทุนหรือดาเนินการกับภาคเอกชนตามบทบัญญัติแห่ง<br />

กฎหมายก็ได้<br />

สาหรับการดาเนินภารกิจของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔ ต่อไปนี้ <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้กาหนดภารกิจที่สาคัญ และได้<br />

มอบหมายให้ส่วนราชการขึ้นตรงต่อ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>คือ สานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> กองทัพไทย ซึ่งประกอบด้วย กองบัญชาการ<br />

กองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ดาเนินภารกิจ ใน ๓ ภารกิจหลักคือ<br />

(๑) เทิดราชา<br />

(๒) รักษ์ราษฎร์<br />

(๓) ชาติมั่นคง<br />

โดยกาหนดให้เป็นภารกิจสาคัญที่จะต้องเร่งดาเนินการให้สอดรับกับ<br />

ภารกิจและสถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนพร้อมเผชิญ<br />

สถานการณ์ใหม่ที ่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดย<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>จะต้อง<br />

ดาเนินการใน ๓ ประเด็นดังนี้คือ<br />

กลำโหมเทิดรำชำ รักษ์รำษฎร์ ชำติมั่นคง<br />

41


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

42


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

เทิดรำชำ<br />

43


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

เนื่องจากใน<strong>ปี</strong>พุทธศักราช ๒๕๖๐ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ตราพระราชบัญญัติขึ้นใหม่ ๒ ฉบับที่เกี่ยวกับภารกิจ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

การพิทักษ์รักษาปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ ตลอดจนสนับสนุนภารกิจของสถาบันพระมหากษัตริย์ คือ พระราชบัญญัติระเบียบ<br />

บริหารราชการในพระองค์ พ.ศ.๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติการถวายความปลอดภัย พ.ศ.๒๕๖๐ จึงเป็นหน้าที่ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และ<br />

ทหารไทยทุกคนที่จะต้องถวายงานแด่องค์พระประมุขของชาติและสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้สอดรับกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ<br />

ทั้ง ๒ ฉบับดังกล่าว โดยได้ดาเนินภารกิจด้วยความตระหนักว่าสถาบันพระมหากษัตริย์ยังคงดารงเป็นมิ่งขวัญของประชาชนชาวไทยทุกคน<br />

จึงเป็นสถาบันที่มีความสาคัญต่อประเทศชาติเป็นอย่างยิ่งและยังเป็นสถาบันหลักของชาติในฐานะที่เป็นศูนย์รวมจิตใจและสิ่งยึดเหนี่ยว<br />

ของสังคมไทย<br />

44


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ซึ่งจากการประเมินสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงในทศวรรษหน้า พบว่า ยังคงมีแนวโน้มของการล่วงละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์<br />

ผ่านเครื่องมือและสื่อต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามกระแสโลกาภิวัตน์และแนวความคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย<br />

จึงทาให้ความเคารพและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ของประชาชนชาวไทยได้ถูกนาไปบิดเบือนโดยกลุ่มผู้ไม่หวังดีของบุคคล<br />

ในภูมิภาคอื่นที่ขาดความเข้าใจในสภาพวิถีชีวิต วัฒนธรรม อัตลักษณ์และโครงสร้างของสังคมไทยอย่างแท้จริง ตลอดจนมีการเคลื่อนไหว<br />

สร้างสถานการณ์ความขัดแย้งภายในประเทศที่มีลักษณะเชื่อมโยงสถาบันพระมหากษัตริย์มาแสวงหาผลประโยชน์ทางการเมืองและ<br />

ด้านต่างๆ<br />

ทั้งนี้ <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้ดาเนินการพิทักษ์รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์<br />

โดยยึดถือนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ในการป้องกันและปราบ<br />

ปรามการกระทาล่วงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ โดยสานักงานปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ<br />

ได้ร่วมมือกับทุกภาคส่วน ในการเฝ้าตรวจการดาเนินการล่วงละเมิดสถาบันฯ ทั้งใน<br />

เรื่องการแจ้งเตือนด้านการข่าว การตอบโต้/ชี้แจงทาความเข้าใจ การแจ้งให้หน่วย<br />

ที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อดาเนินการตามกฎหมาย รวมทั้งดาเนินการตรวจสอบ ติดตาม<br />

เฝ้าระวัง และรวบรวมข้อมูลผู้กระทาผิดที่เกี่ยวข้องกับการหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์<br />

รวมทั้งจัดทายุทธศาสตร์ที่กาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะ “เพื่อถวายความปลอดภัย<br />

แด่พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ในพื้นที่รับผิดชอบ” เป็นความสาคัญ<br />

เร่งด่วนลาดับแรก โดยกาหนดแนวทางการปฏิบัติในการถวายความปลอดภัยในพื้นที่<br />

รับผิดชอบและได้รับมอบหมาย ประกอบด้วย<br />

45


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑) การประสานความร่วมมือกับหน่วยร่วมถวายความปลอดภัยโดยให้ความสาคัญกับการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

เพื่อให้การถวายความปลอดภัยโดยส่วนรวมมีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การประสานงานด้านข่าว การปฏิบัติในการถวายความปลอดภัย<br />

เป็นต้น<br />

๒) การเสริมสร้างความเข้าใจและสร้างเครือข่ายการถวายความปลอดภัย โดยใช้เครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ที่มีอยู ่ให้ความรู้<br />

ความเข้าใจในความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อสังคมไทย การปฏิบัติตามระเบียบการถวายความปลอดภัยแด่สถาบันพระมหา<br />

กษัตริย์ และพิจารณากาหนดช่องทางการสื่อสารและรูปแบบการแจ้งหรือรายงานจากประชาชนในพื้นที่เพื่อสร้างเครือข่ายในการถวาย<br />

ความปลอดภัยให้มากขึ้น การติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์ ความเคลื่อนไหวของกลุ่มบุคคลไม่หวังดีที่ล่วงละเมิดสถาบัน โดยเฉพาะ<br />

ทางเว็บไซต์/สื่อออนไลน์<br />

46


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๓) การถวายความปลอดภัยด้วยกาลังทางบก ทางเรือและทางอากาศ โดยมีการบรรจุแนวทางและแผนการเตรียมความพร้อมของ<br />

กาลังพลและยุทโธปกรณ์ในการปฏิบัติภารกิจในการถวายพระเกียรติและความปลอดภัยในพื้นที่รับผิดชอบและตามที่ได้รับมอบหมาย<br />

ได้ทันที ทั้งในการจัดกาลังเฝ้าถวายความปลอดภัยในพื้นที่ต่างๆ รวมทั้งการใช้กาลังตามที่ได้รับมอบหมาย<br />

๔) การจัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติในวโรกาสและโอกาสต่างๆ<br />

47


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๕) การสนับสนุนโครงการพระราชดาริ โดยมอบหมายให้ สานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> กองบัญชาการกองทัพไทย<br />

กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ร่วมถวายงานและสนับสนุนภารกิจของสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นภารกิจสาคัญ<br />

ซึ่งโครงการที่สาคัญหลายโครงการได้เป็นโครงการที่ส่วนราชการในสังกัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>รับผิดชอบในการดาเนินการอย่าง<br />

ต่อเนื่อง อาทิ โครงการในส่วนความรับผิดชอบของกองทัพเรือ ประกอบด้วย โครงการอนุรักษ์เต่าทะเลตามแนวพระราชดาริ<br />

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ<br />

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์แนวปะการังและสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลไทย ในพระดาริพระเจ้าหลานเธอ<br />

พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ นอกจากนี้ ยังมีโครงการจานวนมากที่ส่วนราชการในสังกัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>มุ่งมั่นที่จะถวาย<br />

เป็นราชพลีเพื่อเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้สถิตยั่งยืนเป็นหลักชัยของประชาชนชาวไทยชาติไทยสืบต่อไปชั่วกัลปาวสาน<br />

48


49<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

50


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

รักษ์รำษฎร์<br />

51


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

บทบาทหน้าที่ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ในด้านการพัฒนา<br />

ประเทศและช่วยเหลือประชาชนนั้น ได้รับการบัญญัติไว้ใน<br />

รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยพุทธศักรำช ๒๕๖๐ ในภารกิจ<br />

การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชนและพระรำชบัญญัติ<br />

จัดระเบียบรำชกำรกระทรวงกลำโหม พ.ศ.๒๕๕๑ ในภารกิจการ<br />

พัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคง การสนับสนุนภารกิจอื่นของรัฐ<br />

ในการพัฒนาประเทศ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ<br />

และการช่วยเหลือประชาชน<br />

จากการประเมินสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงในทศวรรษหน้า พบว่า การที่ทุกประเทศทั่วโลกต่างเร่งพัฒนาทางเศรษฐกิจ<br />

จึงทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเกินขอบเขต น ามาสู่การเสียสมดุลทางธรรมชาติ และได้บังเกิดผลส่งให้ภัยพิบัติทางธรรมชาติทั่วโลก<br />

มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น ซึ่งภัยพิบัติดังกล่าวเป็นภัยคุกคามต่อชีวิตทรัพย์สินของประชาชนเป็นอย่างมาก รวมทั้งส่งผลต่อความมั่นคง<br />

ทางสังคมจิตวิทยา และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ จึงเป็นภารกิจสาคัญที่ส่วนราชการในสังกัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่ประกอบด้วย<br />

สานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ร่วมปฏิบัติภารกิจที่สาคัญในการ<br />

พัฒนาประเทศและช่วยเหลือประชาชน กล่าวคือ<br />

52


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑) กำรบรรเทำสำธำรณภัย<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้จัดตั้งศูนย์บรรเทาสาธารณภัย<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> เพื่อทาหน้าที่กาหนดนโยบายและแนวทางของกระทรวง<br />

กลาโหม เกี่ยวกับการป้องกัน แก้ไข บรรเทาภัยพิบัติที่เกิดจากสาธารณภัย และอุบัติภัย รวมทั้งแนวทางการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ และ<br />

เป็นศูนย์กลางในการประสานงานกับรัฐบาล และหน่วยงานฝ่ายพลเรือน รวมทั้งภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และองค์การระหว่างประเทศ<br />

ในการอานวยการป้องกัน แก้ไข บรรเทาภัยพิบัติ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ติดตามสถานการณ์ านวยการ อ<br />

ประสานงาน ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติให้ทันต่อเหตุการณ์ รวมถึงการอานวยการประชาสัมพันธ์ โดยใช้เครื่องมือ<br />

ของส่วนราชการใน<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>โดยมีรัฐมนตรีว่าการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ดารงตาแหน่งเป็นผู้อานวยการศูนย์ฯ<br />

53


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ประสบภัยพิบัติได้รับความช่วยเหลืออย่างทันต่อสถานการณ์ จึงได้มอบนโยบายและเน้นย้าให้<br />

“ทหำรจะต้องเป็นหน่วยงำนแรกในกำรเข้ำไปให้ควำมช่วยเหลือบรรเทำ<br />

ควำมเดือดร้อนให้กับประชำชนเมื่อเกิดภัยพิบัติ”<br />

โดยได้นาศักยภาพและขีดความสามารถของหน่วยทหารมาใช้ในการดาเนินการใน ๔ ลักษณะ ได้แก่<br />

54


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑.๑) กำรเตรียมควำมพร้อม ประกอบด้วย การจัดทาแผนบรรเทาสาธารณภัย<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> และแผนบรรเทาสาธารณภัย<br />

กองทัพไทยและเหล่าทัพ การฝึกซ้อมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับนานาชาติ ระดับประเทศ<br />

จนถึงระดับท้องถิ่น การพัฒนาและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างพลเรือนกับทหาร เพื่อให้พร้อมรับมือกับภัยพิบัติ และการตรวจความพร้อม<br />

ของกาลังพลและยุทโธปกรณ์ร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่<br />

๑.๒) กำรช่วยเหลือเชิงป้องกัน ประกอบด้วย การขุดลอกคูคลอง และกาจัดผักตบชวา รวมทั้งสิ่งกีดขวางทางน้า การพัฒนา<br />

แหล่งน้าและสร้างแก้มลิง การสร้างฝายต้นน้า การปลูกป่า การรณรงค์ป้องกันและประชาสัมพันธ์เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล<br />

สาคัญ และแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน<br />

55


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑.๓) กำรช่วยเหลือเฉพำะหน้ำ ประกอบด้วย การผลิตและแจกจ่ายน้าอุปโภคบริโภค การอพยพประชาชน และเคลื่อนย้าย<br />

สิ่งของเครื่องใช้ไปยังพื้นที่ปลอดภัย การลาเลียงและแจกจ่ายสิ่งของบรรเทาทุกข์และถุงยังชีพ การบริการทางการแพทย์ การผลักดันน้า<br />

และเร่งระบายน้าจากพื้นที่ท่วมขัง การประกอบอาหารปรุงสุกเพื่อแจกจ่ายให้แก่ผู้ประสบภัย การแจกจ่ายผ้าห่มกันหนาว การซ่อมแซม<br />

ถนนและสร้างสะพานชั่วคราว การซ่อมแซมบ้านเรือนประชาชน และการทาความสะอาดภายหลังน้าลด<br />

๑.๔) กำรฟื้นฟู ซึ่งเป็นการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล อาทิ การสร้างบ้านใหม่ให้แก่ผู้ประสบอุทกภัย และการสร้างถนน<br />

ที่ได้รับความเสียหายจากน้ากัดเซาะ<br />

พร้อมกันนี้ ได้มีการพัฒนาขีดความสามารถด้านการบรรเทาสาธารณภัยเพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้กับประชาชน<br />

โดยการพัฒนาขีดความสามารถของกาลังพล และยุทโธปกรณ์ มีการวางกาลังครอบคลุมทุกภูมิภาค เพื่อให้สามารถเข้าช่วยเหลือประชาชน<br />

ได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา นอกจากนี้ จะมุ่งมั่นพัฒนาศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัยของหน่วยต่างๆ อาทิ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองทัพบก<br />

กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ เพื่อให้มีความพร้อมในการฝึกอบรมครอบคลุมทุกภัยพิบัติมีความเป็นมาตรฐานระดับสากล มีเป้าหมาย<br />

เป็นศูนย์กลางในการฝึกอบรมด้านการบรรเทาภัยพิบัติของไทย และภูมิภาคอาเซียน<br />

56


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

อย่างไรก็ตาม การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนของประเทศในภูมิภาค ทาให้แนวโน้มมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจสูงขึ้น<br />

ประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมโยงการขนส่งทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศของภูมิภาค โดยร้อยละ ๙๕<br />

ของการขนส่งสินค้าเข้า - ออก ประเทศไทยใช้ทะเลเป็นเส้นทางหลักประกอบกับการขยายตัวด้านการท่องเที่ยวทางทะเลมีแนวโน้มสูงขึ้น<br />

รวมทั้งมีเรือประมงขนาดต่างๆ ทาการประมงจานวนมาก ทาให้เกิดการคับคั่งของการสัญจรในทะเล จึงมีแนวโน้มที่จะเกิดอุบัติภัย<br />

ทางทะเล อาทิ เรือโดนกัน เรืออับปาง การรั่วไหลของน้ามันและสารเคมีที่มากับเรือสูงขึ้นในอนาคต อีกทั้งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย<br />

ที่มีลักษณะเป็นแหลมยื่นไปในทะเล และอยู่ใกล้เคียงกับแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลกซึ่งยังมีการเลื่อนหรือขยับตัวอยู่ ที่ผ่านมาจึงได้รับ<br />

ผลกระทบจากสาธารณภัยที่เกิดจากภัยธรรมชาติทางทะเลทั้งด้านอ่าวไทยและทะเลอันดามันบ่อยครั้ง เช่น พายุไต้ฝุ่น พายุดีเพรสชัน<br />

แผ่นดินไหวที่รุนแรงที่ทาให้เกิดเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิ เป็นต้น และด้วยลักษณะภูมิประเทศทางภาคใต้เป็นพื้นที่แคบขนาบด้วยฝั่งทะเล<br />

ทั้ง ๒ ด้าน ทาให้เมื่อเกิดภัยธรรมชาติการช่วยเหลือจากทางบกกระทาได้ยาก เนื่องจากมีเส้นทางหลักเพียงเส้นทางเดียว เส้นทางคมนาคม<br />

ถูกตัดขาดได้โดยง่าย รวมทั้งพื้นที่ชายฝั่ง เกาะแก่งในทะเลและพื้นที่ห่างฝั่งทะเลจะมีเพียงกองทัพเรือที่มีทรัพยากรที่สามารถให้การสนับสนุนได้<br />

57


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้ กองทัพเรือ จึงได้ดาเนินการตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือระยะ ๒๐ <strong>ปี</strong> (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ภายใต้วัตถุประสงค์เฉพาะ<br />

“เพื่อสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัยในทะเล ชายฝั่ง และพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย” โดยกาหนดแนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับแผน<br />

และนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติดังนี้<br />

๑) มำตรกำรป้องกันก่อนเกิดเหตุ<br />

๑.๑) สนับสนุนการแจ้งเตือนภัย โดยปัจจุบันกองทัพเรือได้จัดตั้งศูนย์รักษาความปลอดภัยทางทะเลกองทัพเรือฝั่งทะเลอันดามัน<br />

(ศรภ.ทร.อม.) ศูนย์เฝ้าตรวจและรายงานการเคลื่อนตัวของคลื่นด้านฝั่งทะเลอันดามัน และสถานีวัดความสั่นสะเทือนจังหวัดเชียงใหม่<br />

ในการสนับสนุนการดาเนินงานของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ (ศตช.) โดยใช้ขีดความสามารถของหน่วยงานต่างๆ ในการรวบรวม วิเคราะห์<br />

ข้อมูลสภาพแวดล้อมทางทะเล/ทางบก และแจ้งเตือนภัย อาทิ กรมอุทกศาสตร์ และ สถานีสื่อสารทหารเรือ ซึ่งกองทัพเรือมีแนวทางที่จะ<br />

พัฒนาระบบสนับสนุนการเตือนภัยของศูนย์เตือนภัยแห่งชาติ (ศตช.) ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและครอบคลุมทุกภัยพิบัติทางธรรมชาติ<br />

ต่อไป<br />

58


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑.๒) สนับสนุนการให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เช่น การสังเกตสิ่งผิดปกติทางธรรมชาติ การหนีภัย การสร้างเครื่อง<br />

ป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน ความรู้ด้านปฐมพยาบาลเบื้องต้น การดารงชีพในภาวะฉุกเฉิน การปฏิบัติตัวในระหว่างเกิดภัยธรรมชาติรูปแบบ<br />

ต่างๆ โดยการเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่างๆ ของกองทัพ โครงการอบรมของศูนย์ไทยอาสาป้องกันชาติในทะเล (ทสปช.) โดยกองทัพเรือ<br />

มีแผนงานในการจัดตั้งศูนย์ฝึกการช่วยเหลือทางมนุษยธรรมและบรรเทาสาธารณภัย (Humanitarian Assistance and Disaster Relief :<br />

HA/DR) ต่อไป<br />

๑.๓) สนับสนุนการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุทางทะเล ให้สอดคล้องและเป็นไปตามระบบความปลอดภัย และแจ้งเหตุภัยพิบัติ<br />

ทางทะเล หรือ Global Maritime Distress and Safety System (GMDSS) ขององค์กรทางทะเลระหว่างประเทศ หรือ International<br />

Maritime Organization (IMO) ซึ่งเป็นหน้าที่รับผิดชอบของศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (ศรชล.)<br />

โดยมีกองทัพเรือเป็นหน่วยงานหลัก ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการดาเนินการสนับสนุนการให้ความรู้ผู้ประกอบอาชีพทางทะเลในเรื่องกฎ<br />

การเดินเรือสากลและระบบความปลอดภัยและแจ้งเหตุภัยพิบัติทางทะเล และสร้างเครือข่ายการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในการรายงานหรือ<br />

แจ้งเหตุ ตลอดจนประสานการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นจากผู้ประกอบอาชีพในทะเลที่อยู่บริเวณใกล้เคียง การพัฒนาระบบเครื่องช่วย<br />

การเดินเรือ เช่น ทุ่นไฟอิเล็กทรอนิกส์ แผนที่เดินเรืออิเล็กทรอนิกส์ ให้รองรับการเดินเรือที่ทันสมัยและมีความแม่นย าในการเดินเรือมากขึ้น<br />

โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการยกระดับ ศรชล. สู่การเป็นศูนย์อานวยการในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล และพัฒนาให้มีเอกภาพ<br />

ในการบังคับบัญชา ปรับโครงสร้างให้มีความเหมาะสม และมีกฎหมายและงบประมาณรองรับการปฏิบัติงานซึ่งจะทาให้การดาเนินการ<br />

ป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุทางทะเล ตลอดจนการจัดระเบียบการสัญจรในทะเลมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

59


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒) มาตรการสนับสนุนระหว่างเกิดเหตุ โดยปัจจุบันกองทัพเรือ<br />

ได้จัดตั้งศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือในพื้นที่ต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ<br />

ผู้ประสบภัย ในพื้นที่รับผิดชอบของกองทัพเรือ ตลอดจนมีการ<br />

จัดกาลังเป็น “หมู่เรือ/หมวดเรือเฉพาะกิจบรรเทาสาธารณภัยทาง<br />

ทะเลกองทัพเรือ” ปฏิบัติภารกิจการให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชน<br />

ที่ประกอบกิจกรรมหรือพักอาศัยในบริเวณชายฝั่งทะเล เกาะต่างๆ<br />

และสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล โดยหน่วยต่างๆ ได้ดาเนินการ<br />

จัดกาลังพร้อมรับสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติการได้อย่าง<br />

รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ ตลอดจนมีการประสานโดยใกล้ชิดกับ<br />

หน่วยงานที่มีหน้าที่โดยตรงตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ หรือแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ<br />

ผู้ประสบภัยเป็นไปโดยมีประสิทธิภาพและไม่ซ้าซ้อนกับหน่วยงานอื่นๆ<br />

60


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ในการนี้ กองทัพเรือมีแนวทางในการพัฒนา<br />

ขีดความสามารถที่จาเป็นในการปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือ<br />

ผู ้ประสบภัยอย่างเป็นระบบ เช่น ขีดความสามารถในการเป็น<br />

ฐานปฏิบัติการในทะเล ที่สามารถปรับภารกิจของกาลังทางเรือ<br />

ที่เตรียมไว้สาหรับการปฏิบัติการทางทหารเปลี่ยนเป็นภารกิจ<br />

ในการช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัย (HA/DR) การปฏิบัติ<br />

ในการค้นหาช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลและชายฝั่ง (SAR)<br />

โดยสามารถควบคุมบังคับบัญชาหน่วยปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่อง<br />

มีความพร้อมในการช่วยเหลือและรองรับการเคลื่อนย้าย<br />

ผู้ประสบภัยจานวนมาก ตลอดจนการช่วยเหลือและฟื้นฟู<br />

ผู้ประสบภัยพิบัติจากทางทะเลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี<br />

แนวทางในการจัดหาเรืออเนกประสงค์ยกพลขึ้นบก/ช่วยเหลือ<br />

ผู้ประสบภัยขนาดใหญ่เข้าประจาการ<br />

61


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๓) มาตรการสนับสนุนหลังเกิดเหตุ<br />

ตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ<br />

กาหนดขั้นตอนการฟื้นฟูบูรณะภายหลังเหตุการณ์<br />

สาธารณภัย โดยเป็นความรับผิดชอบหลักของกระทรวง<br />

มหาดไทยในการประสานความร่วมมือจากหน่วยงาน<br />

ภาครัฐต่างๆ ซึ่งในส่วนของกองทัพเรือได้มอบหมาย<br />

ให้ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือประจาพื้นที่<br />

ต่างๆ ใช้ขีดความสามารถของกาลังในพื้นที่ดาเนินการ<br />

สนับสนุนตามแผนบรรเทาสาธารณภัยของกองทัพเรือ<br />

กาหนดเป็นหลัก โดยมีการเตรียมการจัดกาลังพล<br />

ยุทโธปกรณ์จากส่วนกลาง สนับสนุนตามที่หน่วยใน<br />

พื้นที่ร้องขอ<br />

๔) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกองทัพเรือให้ความส าคัญต่อการดาเนินการโครงการตามพระราชดาริ<br />

และโครงการตามนโยบายรัฐบาล เพื่อสนับสนุนในการรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงอยู่ และประชาชน<br />

สามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน<br />

62


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒) สนับสนุนนโยบำยรัฐบำลและคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้บูรณาการกาลังทหาร ตารวจ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเพื่อจัดระเบียบและควบคุมกำรกระทำ<br />

ผิดกฎหมำย ซึ่งมุ่งเน้นในเรื่องการสร้างความเป็นธรรมในสังคม เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ<br />

จากการประกอบอาชีพสุจริต และมีชีวิตความเป็นอยู ่ที่ดีขึ้น อาทิ การจัดการผู ้มีอิทธิพลและธุรกิจผิดกฎหมายในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ<br />

การปราบปรามการค้ามนุษย์ การจัดระเบียบการที่ดีทางสังคมเพื่อให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการดาเนินชีวิต การแก้ไขปัญหา<br />

การทาประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุมการปรับปรุงและยกระดับระบบการกากับดูแลความปลอดภัยด้านการบิน<br />

พลเรือน จะดาเนินการในทุกกิจกรรมการบิน<br />

63


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๓) กำรสร้ำงควำมสำมัคคีปรองดองของพี่น้องประชำชน<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้ร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องภายใต้ “คณะกรรมกำรเตรียมกำรเพื่อสร้ำงควำมสำมัคคีปรองดอง”<br />

ได้ดาเนินการรับฟังความคิดเห็นจากผู้แทนพรรคการเมือง กลุ่มการเมือง ประชาชน และทุกภาคส่วน จากทั่วประเทศและนาข้อมูล<br />

มาสังเคราะห์จัดทาเป็น “สัญญำประชำคมเพื่อสร้ำงควำมสำมัคคีปรองดอง” โดยสัญญาประชาคมฯ มีสาระ<br />

สาคัญของสัญญาประชาคมฯ คือ ให้คนไทยทุกคนได้ยึดถือเป็นกรอบแนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสันติ<br />

ในอนาคตอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้ประเทศไทยเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี<br />

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กล่าวคือ คนไทยทุกคนต้องเคารพกฎหมาย และมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง<br />

เป็นธรรม รัฐบาล ประชาชน และทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันแก้ไขปัญหาชาติบ้านเมืองในทุกมิติอย่างครบวงจร<br />

โดยมีเป้ำหมำยของสัญญาประชาคมฯ คือ ประชาชนทั้งประเทศต้องได้รับผลประโยชน์สูงสุด รวมทั้งเกิดความ<br />

สามัคคีปรองดอง ดารงชีวิตตามศาสตร์พระราชา บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณภาพชีวิต<br />

ที่ดีขึ้น ลดปัญหาความเหลื่อมล้าทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีส่วนร่วมในการปฏิรูปประเทศให้ก้าวไปข้างหน้า<br />

๔) กำรพัฒนำประเทศตำมโครงกำรไทยนิยม ยั่งยืน<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้ร่วมบูรณาการการปฏิบัติของส่วนราชการ<br />

ต่างๆ ตามแนวทางประชารัฐภายใต้ “คณะกรรมกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำ<br />

ประเทศตำมโครงกำรไทยนิยม ยั่งยืน” ที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในทุกระดับ เพื่อให้<br />

เกิดเอกภาพทั้งในด้านแนวความคิดและการปฏิบัติมุ่งเน้นการสร้างการรับรู้<br />

ของประชาชนเกี่ยวกับสัญญาประชาคมฯ รวมทั้งการสร้างการรับรู้เกี่ยวกับ<br />

ความจริงใจในการแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ของรัฐบาล โดยกองอานวยการ<br />

รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) หน่วยงานความมั่นคง<br />

และกาลังเจ้าหน้าที่ตารวจ ทหารในพื้นที่ทุกเหล่าทัพจะร่วมกับกระทรวง<br />

มหาดไทยในการขับเคลื่อนโครงการ “ไทยนิยม ยั่งยืน” ในระดับพื้นที่/ตาบล อย่างเต็มศักยภาพ พร้อมทั้งร่วมแรงร่วมใจกับประชาชน<br />

ในการทาความดีเพื่อประโยชน์ของชุมชนทั่วประเทศ<br />

64


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๕) กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้มอบหมายให้ส่วนราชการในสังกัดดาเนินการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมอบหมายให้<br />

๕.๑) กองทัพบก เร่งดาเนินการและร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปกป้อง รักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อมทางบก โดยให้ความสาคัญเร่งด่วนต่อป่าไม้และสภาพแวดล้อมบริเวณต้นน้าของลุ่มน้าต่างๆ เพื่อป้องกันปัญหาภัยแล้งและ<br />

อุทกภัย<br />

๕.๒) กองทัพเรือ เร่งดาเนินการและให้ความสาคัญต่อการดาเนินการโครงการตามพระราชดาริ และโครงการตามนโยบาย<br />

รัฐบาล เพื่อสนับสนุนในการรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ ่งแวดล้อมให้ดารงอยู่ โดยเฉพาะทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง<br />

ประชาชนสามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน<br />

๕.๓) กองทัพอำกำศ เร่งดาเนินการและร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปกป้อง รักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อมในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วย การสนับสนุนโครงการฝนหลวงเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่ประสบภัยแล้ง<br />

รวมทั้ง การใช้อากาศยานสนับสนุนภารกิจการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามที่รับการร้องขอ<br />

65


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

66


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ชำติมั่นคง<br />

67


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้ทาการศึกษาและประเมินสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงในทศวรรษหน้า ในภาพรวมพบว่าประเทศไทย<br />

ยังต้องเผชิญกับปัญหาความมั่นคงทั้งที่เกิดจากภายนอกประเทศอันเกิดจาก<br />

(๑) การขยายอิทธิพลและบทบาทของประเทศมหาอานาจต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีแนวโน้มของการแข่งขันและ<br />

การขยายอิทธิพลในรูปแบบของการใช้พลังอานาจทางทหารและทางเศรษฐกิจเพื่อนามาซึ่งประโยชน์ของตน ทั้งนี้ หากเกิดความขัดแย้ง<br />

ขึ้นของประเทศมหาอานาจก็อาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงและผลประโยชน์ของประเทศไทยได้<br />

(๒) การเป็นประชาคมอาเซียนเมื่อวันที่<br />

๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ทาให้อาเซียนมีความเชื่อมโยงกัน<br />

มากขึ้นทั้งทางการเมือง ความมั่นคงเศรษฐกิจและสังคม<br />

ซึ่งนาไปสู่การพัฒนาการทางการเมืองและเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศสมาชิกและเพิ่มโอกาสในเส้นทางคมนาคม<br />

ที่ติดต่อระหว่างกันอย่างเสรีและสะดวกรวดเร็ว ทาให้<br />

มีความเสี่ยงต่อความมั่นคงของชาติในประเด็นการ<br />

ย้ายถิ่นฐานของประชากรในภูมิภาค การขยายตัวของ<br />

อาชญากรรมข้ามชาติและเศรษฐกิจนอกระบบ<br />

68


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

(๓) ปัญหาความไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนและอาณาเขตทางทะเลระหว่างกัน รวมถึงมีสิ่งบ่งชี้ถึงการเพิ่มงบประมาณทาง<br />

ทหารของประเทศในภูมิภาคจึงมีความเสี่ยงที่จะนาไปสู่การใช้กาลังทหารต่อกันหากเกิดความขัดแย้งรุนแรงและไม่มีการบริหารจัดการ<br />

ปัญหาร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงมีปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรระหว่างประเทศ<br />

(๔) ความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ปัจจุบันเขตสิทธิอธิปไตยของไทยคือผลประโยชน์ของชาติทางทะเลที่<br />

มีมูลค่าสูงเพราะมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ และเส้นทางการเดินเรือที่สาคัญในภูมิภาคจึงอาจเกิดปัญหาการอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเล<br />

ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากมนุษย์ ปัญหาความไม่ชัดเจนของกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายทางทะเล ปัญหาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง<br />

กับทะเล ปัญหาการกระทาผิดกฎหมายในทะเล อาทิ การลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายและการกระทาอันเป็นโจรสลัด ซึ่งอาจส่งผลให้มี<br />

ความเสี่ยงต่อการสร้างดุลยภาพในการรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล<br />

(๕) ในอนาคตภัยคุกคามที่ไม่ใช่ทางทหารจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของโลก ภูมิภาค และแต่ละประเทศเหมือนกัน<br />

โดยไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ อาทิ อาชญากรรมข้ามชาติประเภทต่างๆ การค้ามนุษย์และการโยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติ การก่อการร้ายสากล<br />

ภัยพิบัติขนาดใหญ่ การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมโลกและโรคระบาด นอกจากนี้ การรายงานข้อมูลและนาเสนอบทวิเคราะห์ของ<br />

สื่อต่างประเทศ และการเรียกร้องขององค์การระหว่างประเทศต่อสถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจของนานาชาติ อาจส่งผลกระทบต่อ<br />

ความพยายามของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ในขณะที่ภัยคุกคามตามที่กล่าวมาจะยังคงอยู่ และอาจส่งผลต่อความมั่นคงมากขึ้น<br />

ในอนาคต<br />

(๖) ภัยคุกคามด้านไซเบอร์ (Cyber Threat) ถือเป็นภัยคุกคามรูปแบบใหม่ในปัจจุบันและในอนาคต เนื่องจากภัยคุกคาม<br />

ดังกล่าวสามารถส่งผลกระทบที่รุนแรงได้ในหลายมิติ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคง และการทหาร รวมทั้งมีแนวโน้มที่จะทวีความ<br />

รุนแรงมากยิ่งขึ้นในอนาคต และเป็นความท้าทายต่อการปฏิบัติการทางทหารโดยตรง<br />

กอปรกับ ใน<strong>ปี</strong> พ.ศ.๒๕๖๑ เป็น<strong>ปี</strong>ที่ประเทศไทยประกาศใช้แผนการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ เพื่อเป็นห้วงเวลาเริ่มต้นของการ<br />

ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ <strong>ปี</strong> ดังนั้น <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>จึงได้ก าหนดให้มีการดาเนินการเพื่อพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานให้พร้อมเผชิญ<br />

ปัญหาและภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นต่อประเทศ กล่าวคือ<br />

69


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑. กำรปฏิรูปส่วนรำชกำรกระทรวงกลำโหม<br />

ในภาพรวมได้มุ่งเน้นการดาเนินการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิรูประบบบริหารจัดการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ก่อนการปรับปรุง<br />

โครงสร้างกองทัพ โดยในห้วงระยะแรกของการปฏิรูปจะให้ความเร่งด่วนในการเตรียมความพร้อมในเรื่องกาลังพล ยุทโธปกรณ์ การฝึก<br />

ศึกษา การวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเอง การพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจป้องกัน<br />

ประเทศ และการปฏิบัติภารกิจร่วมกับกองทัพมิตรประเทศ รวมถึงการปรับปรุงกองทัพเพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบอื่นๆ<br />

ปัจจุบัน<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้จัดทายุทธศาสตร์และแผนต่างๆ สาหรับใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของส่วน<br />

ราชการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่สาคัญ อาทิ ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ซึ่งจะเป็นกรอบแนวทาง<br />

ในการจัดเตรียมกาลังการใช้กาลัง และเป็นทิศทางการพัฒนาในภาพรวมของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> โดยในระยะยาว<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

จะสามารถบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ กล่าวคือ<br />

“มีโครงสร้ำงที่กะทัดรัด จำนวนกำลังพลที่เหมำะสม ยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยี<br />

ที่ทันสมัย มีขีดควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติภำรกิจได้อย่ำงหลำกหลำย”<br />

ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ <strong>ปี</strong>ของรัฐบาล และจะเป็นส่วนหนึ่งของการบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ประเทศไทย<br />

ในมิติด้านความมั่นคงต่อไป<br />

นอกจากนี้ ยังได้จัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> แผนแม่บทการปฏิรูปการบริหารจัดการและ<br />

การปรับปรุงโครงสร้าง<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> เพื่อพัฒนาระบบงานและโครงสร้างการจัดส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการยุคใหม่<br />

และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป แผนพัฒนาขีดความสามารถ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ซึ่งมุ่งเน้นการเสริมสร้างความพร้อมด้านยุทโธปกรณ์และ<br />

เทคโนโลยีทางทหารที่ทันสมัย ตลอดจนการผลักดันการบังคับใช้กฎหมายเพื่อให้มีความเกื้อกูลต่อการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการ<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่สาคัญ ได้แก่ พระราชบัญญัติกาลังพลสารอง พ.ศ.๒๕๕๘ เพื่อให้สามารถนากาลังพลสารองมาสนับสนุนการปฏิบัติ<br />

ภารกิจของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้ทั้งในยามปกติและยามสงคราม<br />

70


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

รวมถึงการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และโครงการวิจัยและพัฒนาอาวุธและยุทโธปกรณ์<br />

ทางทหารเพื่อกาหนดเป้าหมายการพัฒนาผลงานวิจัยทางทหารไปสู่สายการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ<br />

ให้มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับและเชื่อมั่นของผู้ใช้งานอันจะนาไปสู่การพึ่งพาตนเองด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ของกองทัพอย่างยั่งยืน<br />

๒. กำรรักษำควำมมั่นคงของรัฐ<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> โดยกองทัพไทยได้วางกาลังป้องกันชายแดนและรักษาผลประโยชน์ของชาติ รวมทั้งบูรณาการการปฏิบัติงาน<br />

ร่วมกับตารวจตระเวนชายแดนให้สอดคล้องกับการบริหารจัดการชายแดน การจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและการเป็นประชาคม<br />

อาเซียน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมของกองทัพ ด้วยการฝึกทั้งในระดับหน่วยจนถึงระดับเหล่าทัพ และการฝึกร่วม/ผสม กับ<br />

มิตรประเทศให้มีความพร้อมเผชิญกับภัยคุกคามในทุกรูปแบบ<br />

71


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

นอกจากนี้ <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ยังได้รับมอบหมายให้มีส่วนร่วมอย่างสาคัญในการแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงในมิติอื่นๆ อาทิ<br />

การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การจัดระเบียบสังคม การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ การต่อต้านการก่อการร้ายสากล<br />

และการก่อเหตุร้ายในประเทศ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด แรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ สาหรับการแก้ไขปัญหาความ<br />

ไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กองทัพไทยได้จัดกาลังพลและยุทโธปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติให้กับกองอานวยการรักษาความมั่นคง<br />

ภายในราชอาณาจักรอย่างต่อเนื่อง<br />

๓. กำรรักษำเกียรติภูมิของชำติ<br />

โดยมุ่งเน้นการดาเนินภารกิจทางทหารให้เป็นที่เชื่อมั่นศรัทธาของมิตรประเทศทั้งภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

ภายนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และภูมิภาคอื่นทั่วโลก โดยดาเนินบทบาทที่สาคัญ ดังนี้<br />

๓.๑ กำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือด้ำนควำมมั่นคงกับมิตรประเทศ<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ยึดถือแนวทางการเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ปี</strong> ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ซึ่งจัดทาขึ้นเพื่อให้หน่วยงานของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดทาแผนงานการเสริมสร้างความ<br />

ร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศ โดยมีการจัดลาดับความสาคัญเพื่อลดความซ้าซ้อน และสามารถนาไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม<br />

และเกิดประโยชน์สูงสุด<br />

72


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้ <strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ได้ให้ความสาคัญกับความร่วมมือในกรอบประชาคมอาเซียน ให้เป็นภูมิภาคแห่งความสันติสุข โดยมีทิศทาง<br />

ในการแสดงบทบาทอย่างสร้างสรรค์ในมิติการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ และการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ<br />

นอกจากนี้ยังให้การสนับสนุนในการพัฒนากรอบความร่วมมือในกรอบรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา<br />

ตลอดจนการรักษาความสัมพันธ์และดุลยภาพกับประเทศที่มีบทบาทสาคัญ มิตรประเทศและองค์การระหว่างประเทศ โดยแนวทาง<br />

การเสริมสร้างความร่วมมือฯ ได้กาหนดความเร่งด่วนในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางทหารกับประเทศเป้าหมาย โดยแบ่งเป็น ๓ กลุ่ม<br />

ประเทศ ประกอบด้วย<br />

๑) ประเทศรอบบ้านและประเทศสมาชิกอาเซียน<br />

๒) ประเทศมหาอานาจและประเทศคู่เจรจาในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศ<br />

คู่เจรจา<br />

๓) มิตรประเทศอื่นๆ ได้แก่ มิตรประเทศที่มีความสัมพันธ์ที่ดีอยู่แล้ว มิตรประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม<br />

และมิตรประเทศที่มีขีดความสามารถด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ<br />

73


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๓.๒ กำรเตรียมควำมพร้อมในกำรดำเนินกำรภำยหลังเป็นประชำคมอำเซียน<br />

ภายใต้เสาหลักด้านประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC)<br />

ซึ่ง<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>รับผิดชอบนั้น ได้ให้ความสาคัญต่อกลไกการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting :<br />

ADMM) และการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence Ministers’ Meeting Plus :<br />

ADMM - Plus)<br />

74


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

โดยความร่วมมือระหว่าง<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>อาเซียนที่มีความแน่นแฟ้นดังกล่าว นับว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งในการสร้างความ<br />

มั่นใจและความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะเป็นรากฐานสาคัญและเกื้อกูลต่อการพัฒนาความร่วมมือในมิติอื่นๆ<br />

และนาไปสู่ความมั่นคง ปลอดภัย อยู ่ดีกินดีของประชาชนในภูมิภาคอย่างยั่งยืนต่อไป และเพื่อเป็นการแสดงบทบาทในการขับเคลื่อน<br />

การดาเนินการของประเทศไทย พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ได้เข้าร่วมการ<br />

ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ และการเข้าร่วมงานนิทรรศการ Singapore Airshow 2018 ระหว่างวันที่ ๕ - ๗<br />

กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ทั้งยังได้เข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมสาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

อย่างไม่เป็นทางการอีกด้วย<br />

75


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้ การดาเนินการที่เป็นความภาคภูมิใจของการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนคือ การได้จัดตั้งศูนย์แพทย์ทหำรอำเซียน<br />

ณ กรมแพทย์ทหารบก ซึ่งเป็นความริเริ่มของประเทศไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางการดาเนินความร่วมมือด้านการแพทย์ทหารของภูมิภาคฯ<br />

เมื่อเมษายน ๒๕๕๙ และปัจจุบันอยู่ระหว่างการสร้างความสมบูรณ์ และจะส่งมอบให้เป็นศูนย์แพทย์ทหารของอาเซียนอย่างสมบูรณ์<br />

ใน<strong>ปี</strong> ๒๕๖๒ ในระหว่างการเป็นประธานการประชุม ADMM ของประเทศไทย<br />

สาหรับใน<strong>ปี</strong> ๒๕๖๒ เป็นวงรอบที่ประเทศไทยจะทาหน้าที่ประธานอาเซียน ซึ่งในส่วนของเสาหลักด้านการเมือง และความ<br />

มั่นคงนั้น <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้เตรียมการดาเนินการรองรับการจัดตั้งคณะกรรมการระดับชาติเพื่อเตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียนและ<br />

76


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

การประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน โดยจัดตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการในระดับ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

รองรับ ซึ่งจะได้มีการขับเคลื่อนการดาเนินการของกลาโหมอาเซียน ในเรื่องการจัดทาแนวทางในการบูรณาการความริเริ่มที่มีอยู่ของการ<br />

ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน และแนวทางในการประเมินผลการดาเนินการของคณะทางานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในกรอบการประชุม<br />

รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา เพื่อให้กลาโหมและประเทศคู่เจรจาสามารถที่จะพัฒนาแนวความคิด<br />

ริเริ่มใหม่ๆ ตอบสนองกับภัยคุกคามที่เกิดขึ้น และเป็นการประหยัดงบประมาณ และการซ้ าซ้อนของกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งเพื่อให้ผลการด าเนินการ<br />

ของกลาโหมอาเซียน ตามแนวคิดสาคัญของประเทศไทยที่จะใช้ขับเคลื่อนการเป็นประธานอาเซียนใน<strong>ปี</strong> ๒๕๖๒ คือ<br />

“๑๐ ประเทศสมำชิกอำเซียนจะก้ำวหน้ำไปด้วยกัน เพื่อสร้ำงประชำคมอำเซียน<br />

ที่มีประชำชนเป็นศูนย์กลำง ไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้ำงหลัง และมองไปสู่อนำคต”<br />

โดยจะมีการจัดทาเอกสารแนวคิดความร่วมมือของกลาโหมประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการชายแดน และ<br />

เอกสารเกี่ยวกับบทบาทของทหารไทยกับการพัฒนาประเทศ ซึ่งเป็นรูปแบบของประเทศไทยสาหรับประเทศสมาชิกอาเซียนที่สนใจใช้เป็น<br />

แนวทางการดาเนินการ<br />

๓.๓ กำรปฏิบัติกำรเพื่อสันติภำพในกรอบสหประชำชำติ ซึ่งเป็นบทบาทของกองทัพไทยที่มีความสง่างามในเวทีประชาคมโลก<br />

จะได้มีการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านกาลังพลและยุทโธปกรณ์ ให้สามารถสนับสนุนกาลังรักษาสันติภาพตามที่ได้รับการร้องขอ<br />

โดยเฉพาะหน่วยทหารราบ กองร้อยทหารช่าง หน่วยแพทย์ และชุดขุดเจาะน้าบาดาล ยึดแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยใช้ศาสตร์<br />

พระราชาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง<br />

77


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔. กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถกองทัพ<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้มอบหมายให้กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ พิจารณาทบทวน<br />

ภารกิจและกาหนดแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถกองทัพให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปในทิศทาง<br />

เดียวกัน และสอดรับกับหลักนิยมการปฏิบัติการทางทหารในส่วนที่หน่วยรับผิดชอบ ซึ่งสามารถแบ่งส่วนการดาเนินภารกิจได้ดังนี้<br />

78


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๑ กองบัญชำกำรกองทัพไทย<br />

๔.๑.๑ กำรอำนวยกำรยุทธ์ และควบคุมบังคับบัญชำ โดยใช้การปฏิบัติการร่วมกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพ<br />

อากาศ มุ่งไปสู่การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความรวดเร็วของวงรอบการตัดสินใจ มีการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

ระบบเครือข่าย ควบคู่ไปกับการพัฒนาขีดความสามารถและองค์ความรู้ของกาลังพล ให้มีขีดความสามารถ ตลอดจนพัฒนาและบูรณาการ<br />

ระบบฐานข้อมูลอย่างครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็วและทันเวลา<br />

๔.๑.๒ กำรต่อต้ำนกำรก่อกำรร้ำยสำกล และกำรแก้ไขกำรก่อเหตุร้ำยภำยในประเทศ โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการ<br />

ก่อการร้ายสากล จะเป็นทั้งหน่วยประสานงาน วิทยาการ หน่วยปฏิบัติทางยุทธวิธี ทาหน้าที่บูรณาการขีดความสามารถหน่วยปฏิบัติการ<br />

พิเศษของเหล่าทัพ และสานักงานตารวจแห่งชาติ ให้มีความพร้อมในการเผชิญสถานการณ์ทั่วทุกภูมิภาคและทุกรูปแบบ สามารถตอบโต้<br />

เหตุการณ์ได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา<br />

79


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๑.๓ กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถด้ำนกำรบรรเทำสำธำรณภัย เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้กับประชาชน<br />

โดยการพัฒนาขีดความสามารถของกาลังพล และยุทโธปกรณ์ มีการวางกาลังครอบคลุมทุกภูมิภาค เพื่อให้สามารถเข้าช่วยเหลือประชาชน<br />

ได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา นอกจากนี้จะมุ่งมั่นพัฒนาศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ให้มีความพร้อมในการ<br />

ฝึกอบรมครอบคลุมทุกภัยพิบัติ มีความเป็นมาตรฐานระดับสากล มีเป้าหมายเป็นศูนย์กลางในการฝึกอบรมด้านการบรรเทาภัยพิบัติของ<br />

กองทัพไทย และภูมิภาคอาเซียน<br />

80


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๑.๔ กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถงำนด้ำนแผนที่ โดยกรมแผนที่ทหารจะเป็นองค์กรหลักของประเทศ ด้านแผนที่<br />

และภูมิสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการร่วม ตลอดจนสนับสนุนรัฐบาลในการบูรณาการฐานข้อมูลด้านแผนที่และภูมิสารสนเทศ<br />

ซึ่งเป็นรากฐานที่สาคัญในการเปลี่ยนผ่านไปสู่การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ตามแนวคิด “ไทยแลนด์ ๔.๐”<br />

๔.๑.๕ กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถด้ำนเทคโนโลยีทำงทหำร เนื่องจากแนวโน้มด้านเทคโนโลยีทางทหารจะพัฒนา<br />

ไปสู่การใช้ระบบอัตโนมัติ รวมทั้งระบบควบคุมอุปกรณ์และเครื่องมือทางทหารโดยไม่ใช้คนขับ (Unmanned Vehicle/Machine) ซึ่งมี<br />

พัฒนาการมาโดยลาดับ ระบบการติดต่อสื่อสารควบคุมและสั่งการด้วยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Command Control Communications<br />

Computers) และระบบสารสนเทศ (Intelligence) เพื่อสนับสนุนการตกลงใจในสนามรบและเพื่อการบริหารงานทั่วไป และในอนาคต<br />

จะนาไปสู่ยุคของการปฏิบัติการทางทหารโดยใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations - NCO) มากยิ่งขึ้น การสู้รบโดย<br />

ไม่ใช้อาวุธสังหาร (Non - Lethal Weapons) จะมีบทบาทในการสร้างความได้เปรียบและจากัดเสรีในการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้ามในรูปแบบ<br />

ต่างๆ เช่น การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร (Information Operations) ไปจนถึงการปฏิบัติการที่เชื่อมโยงบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Cyber<br />

Operations) เป็นต้น<br />

81


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๒ กองทัพบก<br />

กองทัพบกได้กาหนดแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพไว้อย่างเป็นระบบ ที่มีความสอดคล้องกับการปฏิบัติการ<br />

ทางทหารในทุกภารกิจ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์กองทัพบก ๒๕๗๙ คือ<br />

“เป็นกองทัพบกที่มีศักยภำพ ทันสมัย เป็นที่เชื่อมั่นของประชำชน และเป็นหนึ่งในกองทัพบกชั้นนำของภูมิภำค<br />

(Capable, Modern, Reliable and One of the Leading Armies in the Region)”<br />

82


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้ สามารถจาแนกรายละเอียดและสาระสาคัญของวิสัยทัศน์กองทัพบก ๒๕๗๙ ออกเป็น ๔ ประการ กล่าวคือ<br />

๑) ศักยภำพ ประกอบด้วยกำลังพลที่มีความรู้ ความสามารถ<br />

ในการปฏิบัติหน้าที่ มีขวัญและกาลังใจที่ดี มีอุดมการณ์และจิตวิญญาณความ<br />

เป็นทหารอาชีพ รวมทั้งมีความเป็นผู้นาตลอดจนมีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกาย<br />

และจิตใจ ยุทโธปกรณ์มีจานวนเพียงพอ มีประสิทธิภาพ และทันสมัย ได้รับ<br />

การสนับสนุนงบประมำณ ที่เพียงพอต่อการปฏิบัติภารกิจและการพัฒนา<br />

กองทัพอย่างต่อเนื่อง และมีระบบงำนและกำรบริหำรจัดกำรกองทัพที่มี<br />

ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ตลอดจนสามารถดารงควำมต่อเนื่อง<br />

ในกำรรบได้ด้วยระบบการส่งกาลังบารุง ระบบกาลังสารองและการพัฒนา<br />

กาลังประชาชนที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้<br />

๒) ทันสมัย ความทันสมัยของกองทัพบก ประกอบด้วยกาลังพล<br />

ที่มีองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการเรียนรู้เพิ่มเติมต่อเนื่อง<br />

มีความคิดก้าวหน้า มีความรู้ความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก<br />

และการมีทักษะด้านภาษา รวมทั้งการมียุทโธปกรณ์ เทคโนโลยีทางทหาร<br />

การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและไซเบอร์ ที่ตอบสนอง<br />

ต่อการปฏิบัติภารกิจของกองทัพบก ตลอดจนการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา<br />

ยุทโธปกรณ์ การมีระบบการฝึกศึกษาที่ทันสมัย เหมาะสมกับยุทธวิธีและ<br />

หลักนิยมการปฏิบัติการทางทหารในปัจจุบันและอนาคต<br />

๓) ควำมเป็นที่เชื่อมั่น เป็นที่เชื่อมั่นของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย<br />

(Stakeholder) และกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการด้านความมั่นคงโดยรวม<br />

ของประเทศ โดยกองทัพบกจะต้องเสริมสร้างขีดความสามารถในการ<br />

ปฏิบัติภารกิจป้องกันประเทศ และการเผชิญกับภัยคุกคามรูปแบบอื่นๆ ให้<br />

เป็นไปตามความคาดหวังของประชาชน การดาเนินงานบรรลุผลสัมฤทธิ์<br />

อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่น่าเชื่อถือและได้รับความไว้วางใจทั้งในระดับ<br />

บุคคลและส่วนราชการ ด้วยการใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance)<br />

ในการบริหารและปฏิบัติราชการ ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักความโปร่งใส<br />

หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักการตรวจสอบได้<br />

หลักความคุ้มค่า และหลักคุณธรรม อันจะนาไปสู่การมีภาพลักษณ์ที่ดีของ<br />

หน่วยงาน<br />

83


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔) เป็นหนึ่งในกองทัพบกชั้นนำของภูมิภำค : กองทัพบกจะต้องมีขีดความสามารถ และความทันสมัย ในเชิงเปรียบเทียบ<br />

กับกองทัพบกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งการแสดงบทบาทนาผ่านทางการเข้าร่วมกิจกรรม<br />

ความร่วมมือด้านความมั่นคงในเวทีสากลทั้งแบบทวิภาคีและพหุภาคี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวทีประชาคมอาเซียน<br />

ซึ่งกองทัพบกได้ดาเนินการจัดทายุทธศำสตร์กองทัพบกภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ทหารของกองทัพไทย และยุทธศาสตร์การป้องกัน<br />

ประเทศของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ระยะ ๒๐ <strong>ปี</strong> (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) โดยมีแนวคิดในการเตรียมกาลัง และการบริหารจัดการกองทัพบก<br />

เพื่อปฏิบัติภารกิจในแต่ละห้วงเวลา ๕ <strong>ปี</strong> ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้<br />

• การพิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์<br />

กาหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๓ แนวทาง ได้แก่ การพิทักษ์สถาบัน<br />

พระมหากษัตริย์ การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และการปกป้องสถาบัน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

• การเสริมสร้างศักยภาพและความพร้อมของกองทัพเพื่อการ<br />

ป้องกันประเทศ กาหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๔ แนวทาง ได้แก่ การปรับ<br />

โครงสร้างกองทัพบก การเสริมสร้างความพร้อมรบ การเสริมสร้างความ<br />

ต่อเนื่องในการรบ และการเสริมสร้างระบบป้องกันชายแดน<br />

• การสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจการรักษาความมั่นคงภายใน<br />

กาหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๕ แนวทาง ได้แก่ สนับสนุนการแก้ไข<br />

ปัญหาการก่อเหตุรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ สนับสนุนการสร้าง<br />

ความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ สนับสนุนการป้องกันภัยคุกคามต่อ<br />

ความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยของประเทศ สนับสนุนการดาเนิน<br />

การด้านการข่าวที่เป็นภัยคุกคามต่อการรักษาความมั่นคงภายในและความ<br />

สงบเรียบร้อยของประเทศ และสนับสนุนการปราบปรามและการบังคับใช้<br />

กฎหมายต่อภัยคุกคามที่ส่งผลต่อความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย<br />

ของประเทศ<br />

• การสนับสนุนการพัฒนาประเทศและช่วยเหลือประชาชน<br />

กาหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๒ แนวทาง ได้แก่ การสนับสนุนการพัฒนา<br />

ประเทศ และการช่วยเหลือประชาชน<br />

• การเสริมสร้างความร่วมมือด้านการทหารกับต่างประเทศ<br />

กาหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๓ แนวทาง ได้แก่ เสริมสร้างความสัมพันธ์<br />

ที่ดีและความร่วมมือทางทหารกับประชาคมระหว่างประเทศ ส่งเสริมการมี<br />

84


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

บทบาทนาในอาเซียน และส่งเสริมการบริหารจัดการชายแดนและ<br />

สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจข้ามแดน<br />

• การพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรในการ<br />

ป้องกันประเทศ กาหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ ๓ แนวทาง ได้แก่<br />

การพัฒนาการบริหารจัดการด้านการปฏิบัติภารกิจของกองทัพบก<br />

การพัฒนาการบริหารจัดการด้านกาลังพล และการพัฒนาการบริหาร<br />

จัดการด้านยุทโธปกรณ์และงบประมาณ<br />

ทั้งนี้ยังได้กาหนดแนวคิดในกำรพัฒนำกองทัพบก<br />

ที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพและความพร้อมของกองทัพ<br />

เพื่อการป้องกันประเทศ และเพื่อการปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือ<br />

จากสงคราม รวมทั้งการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการทหารกับ<br />

มิตรประเทศ ตลอดจนการพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อ<br />

การป้องกันประเทศ เป็นองค์ประกอบสาคัญที่กองทัพบกได้กาหนด<br />

แนวทางในการดาเนินการไว้ทุกระยะ ๕ <strong>ปี</strong> ภายใต้ “แผนพัฒนา<br />

กองทัพบก” โดยคานึงถึงองค์ประกอบในการเสริมสร้างขีดความ<br />

สามารถให้กับหน่วยทหารในด้านต่างๆ รวม ๖ ด้าน ประกอบด้วย<br />

๔.๒.๑ โครงสร้ำงกำรจัดหน่วย มุ่งสู่การ<br />

กาหนดโครงสร้างการจัดส่วนราชการของกองทัพบก ให้มีความ<br />

เหมาะสมและเพียงพอต่อการปฏิบัติภารกิจ รวมทั้งพัฒนา<br />

ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการและการดาเนินงานของแต่ละ<br />

ระบบงาน ให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้อง และสมดุลกันทั้งระบบ<br />

หน่วยในส่วนกาลังรบและสนับสนุนการรบ จะมีโครงสร้างที่<br />

กะทัดรัดขึ้น เป็นกาลังอเนกประสงค์ อ่อนตัวและทันสมัยแบบ<br />

สากล โดยปรับการจัดหน่วยกาลังรบขนาดกองพลไปสู่โครงสร้าง<br />

หน่วยกาลังรบผสมเหล่าระดับกรม สาหรับหน่วยกาลังรบ<br />

และหน่วยสนับสนุนการรบที่ไม่จัดเป็นกาลังรบผสมเหล่า ให้<br />

ปฏิบัติหน้าที่หน่วยประจาพื้นที่เพื่อรองรับการปฏิบัติภารกิจอื่น<br />

85


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ที่นอกเหนือจากสงคราม โดยจานวนและประเภทหน่วย จะต้องเพียงพอ<br />

ต่อความต้องการใช้กาลังของกองทัพบก ซึ่งจะต้องปฏิบัติงานในลักษณะ<br />

ของภารกิจแบบประจาทั้ง<strong>ปี</strong> ได้แก่ การปฏิบัติภารกิจตามแนวคิดในการ<br />

รักษาความมั่นคงตามแนวชายแดน และการรักษาความมั ่นคงภายในราช<br />

อาณาจักรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในขณะเดียวกันกองทัพบก<br />

จะต้องจัดเตรียมกาลังในส่วนที่เหลือไว้สาหรับสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ<br />

ตามเหตุการณ์หรือสถานการณ์ เพื่อสนับสนุนภารกิจตามที่รัฐบาลสั่งการ<br />

และตามที่ได้รับการประสานจากส่วนราชการอื่นในแต่ละพื้นที่และห้วง<br />

เวลา เช่น การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ และการช่วยเหลือ<br />

ประชาชน เป็นต้น<br />

๔.๒.๒ กำรเสริมสร้ำงควำมพร้อมรบ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยมีความพร้อมรบทั้งด้านกาลังพล ยุทโธปกรณ์ การฝึก<br />

ศึกษาและแผนการปฏิบัติ โดยให้ความเร่งด่วนในการบรรจุกาลังพลให้หน่วยกาลังรบผสมเหล่า ในระดับความพร้อมรบที่กาหนด สาหรับ<br />

หน่วยกาลังรบที่ไม่ประกอบกาลังในกาลังรบผสมเหล่าให้ปรับลดอัตรากาลังพล และทดแทนด้วยกาลังพลสารองในอัตราที่ว่างการบรรจุ<br />

และในแต่ละ<strong>ปี</strong>หน่วยต่างๆ จะต้องได้รับการฝึกตามหลักสูตรที่กาหนดไว้ให้สอดคล้องกับขีดความสามารถของหน่วย เช่น การฝึกชุดปฏิบัติ<br />

การหน่วยทหารทรหด และการฝึกชุดปฏิบัติการหน่วยทหารขนาดเล็กให้กับทุกกองร้อยหน่วยกาลังรบ รวมทั้งดารงความต่อเนื่องในการจัด<br />

การฝึกกรมทหารราบ/ทหารม้าเฉพาะกิจ การฝึกร่วมกองทัพไทย ตลอดจนการฝึกร่วม/ผสมกับมิตรประเทศภายใต้รหัสการฝึกต่างๆ<br />

ทั้งแบบทวิภาคีและพหุภาคี<br />

นอกจากนี้ จะต้องกาหนดความต้องการจัดหา/ซ่อมแซมยุทโธปกรณ์หลักและยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ เพื่อดารงสภาพ<br />

ความพร้อมรบ ความทันสมัย มีความเพียงพอต่อการปฏิบัติภารกิจตามความจาเป็นเร่งด่วนของสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคง<br />

และความเป็นไปได้ทางด้านงบประมาณที่คาดว่าจะได้รับการจัดสรรในห้วงเวลา ซึ่งจะต้องดาเนินการให้สอดคล้องและอยู ่ในกรอบของ<br />

“แผนพัฒนาขีดความสามารถของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>”<br />

86


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๒.๓ กำรเสริมสร้ำงควำมต่อเนื่องในกำรรบ เป็นการดาเนินการเพื่อให้หน่วยสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่าง<br />

ต่อเนื่อง ด้วยการมีระบบส่งกาลังบารุงให้สอดคล้องกับการใช้กาลังที่สอดคล้องกับประเภทภารกิจและพื้นที่ปฏิบัติการ การดาเนินการตาม<br />

พระราชบัญญัติว่าด้วยกาลังพลสารอง พ.ศ.๒๕๕๘ โดยมุ่งเน้นการใช้กาลังพลเพื่อทดแทนกาลังทหารประจาการได้ตั้งแต่ยามปกติ<br />

ตลอดจนการพัฒนาเครือข่ายและจัดตั้งกาลังประชาชนจากทุกภาคส่วน เพื่อสนับสนุนเจ้าหน้าที่ในการรักษาความมั่นคงภายในประเทศ<br />

และการสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารเมื่อจาเป็น<br />

๔.๒.๔ ควำมทันสมัย การปฏิบัติภารกิจของกองทัพบก ทั้งด้านการปฏิบัติการทางทหาร และการปฏิบัติการทางทหาร<br />

นอกเหนือจากสงคราม มีความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาความรู้และขีดความสามารถของกาลังพลให้สอดคล้องกับสภาวะแวดล้อม เทคโนโลยี<br />

และระบบอาวุธยุทโธปกรณ์ที่พัฒนาปรับเปลี่ยนไป โดยพิจารณาด าเนินการในด้านหลักการและวิธีการปฏิบัติงานตามรูปแบบหลักนิยม/คู่มือ<br />

ราชการสนาม/การปฏิบัติทางเทคนิคซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับรูปแบบการรบ รวมทั้งระบบ<br />

อาวุธและยุทโธปกรณ์ที่กองทัพบกจัดหาเข้าประจาการในห้วงเวลา โดยจะพิจารณาจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีความทันสมัยจานวนหนึ่ง<br />

เพื่อทดแทนของเดิมที่ล้าสมัย ในขณะเดียวกันจะต้องให้ความสาคัญกับส่วนที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยการต่อยอดการวิจัยและพัฒนา<br />

จนนาไปสู่กระบวนการผลิตเพื่อนามาใช้งาน ภายใต้ระบบงานอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ควบคู่กับการ<br />

ติดตามเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้การปฏิบัติภารกิจได้เปรียบฝ่ายตรงข้าม หรือสามารถตอบสนองต่อ<br />

ภัยคุกคามได้อย่างทันท่วงที เช่น ระบบควบคุมอุปกรณ์/เครื่องมือ โดยไม่ใช้คนขับ และการปฏิบัติการที่เชื่อมโยงบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์<br />

หรือ Cyber Operations เป็นต้น<br />

87


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๒.๕ กำรพัฒนำระบบงำนเพื่อกำรบริหำรจัดกำรกองทัพบก เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดตามประเด็นยุทธศาสตร์<br />

กองทัพบก ด้านการพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรในการป้องกันประเทศ การพัฒนาหน่วยกาลังรบ หน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วย<br />

ซึ่งปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจากสงคราม จาเป็นที่จะต้องดาเนินการผ่านการสนับสนุนภายใต้การดาเนินงานอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย<br />

(๑) ระบบงานกาลังพล มีเป้าหมายเพื่อให้กองทัพบก<br />

มีการบรรจุกาลังพลในจานวนที่เหมาะสมกับภารกิจ การปฏิบัติงานด้าน<br />

ยุทธการ ภายใต้กรอบงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร รวมทั้งเพื่อให้กาลังพล<br />

ของกองทัพบกมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีระบบสวัสดิการเป็นที่ยอมรับ ตลอดจน<br />

การดูแลในเรื่องสิทธิต่างๆ ให้มีความเหมาะสม<br />

(๒) ระบบงานการข่าวกรอง มีเป้าหมาย<br />

ในการพัฒนาและปรับปรุงระบบงาน เพื่อพัฒนาระบบงานข่าวกรองของ<br />

กองทัพบกให้เหมาะสมกับการปฏิบัติการทางทหาร และการปฏิบัติการทาง<br />

ทหารนอกเหนือจากสงคราม ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

(๓) ระบบการควบคุมบังคับบัญชาและไซเบอร์<br />

มีเป้าหมายในการพัฒนาและปรับปรุงระบบงาน เพื่อให้กองทัพบกเป็น<br />

กองทัพที่มีความพร้อม มีศักยภาพ และทันสมัย ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

และการสื่อสาร ตลอดจนการปฏิบัติการด้านไซเบอร์ (Cyber Operations)<br />

และการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric<br />

Operations : NCO)<br />

88


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

(๔) ระบบงานการฝึก มีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงพัฒนา<br />

หลักสูตรการฝึกและพัฒนาหลักนิยมการรบ ให้มีความทันสมัย เพื่อเสริมสร้างความ<br />

สัมพันธ์อันดีและความร่วมมือทางทหารกับเหล่าทัพอื่น และกองทัพมิตรประเทศ<br />

บนพื้นฐานของการได้รับประโยชน์ร่วมกัน (Mutual Benefits)<br />

(๕) ระบบงานการศึกษาทางทหาร มีเป้าหมายเพื่อ<br />

พัฒนาและปรับปรุงระบบการศึกษาทางทหารของกองทัพบกให้มีมาตรฐานทั้งด้าน<br />

การจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล เพื่อให้สามารถแต่งตั้งโยกย้ายก าลังพล<br />

ได้ตรงตามระดับความรู้ความสามารถที่กาหนดไว้ ตามระบบหมายเลขความชานาญ<br />

การทางทหาร<br />

(๖) ระบบงานส่งกาลังบารุง มีเป้าหมายเพื่อให้กองทัพบก<br />

มีระบบส่งกาลังบารุงที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม<br />

และโครงสร้างด้านการส่งกาลังบารุงที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ตลอดจนการ<br />

พัฒนาไปสู่การนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการจัดทาฐานข้อมูล<br />

(๗) ระบบงานกิจการพลเรือน มีเป้าหมายเพื่อให้กองทัพบก<br />

สามารถดาเนินการเพื่อปกป้อง เทิดทูน และพิทักษ์รักษาสถาบันหลักของชาติ<br />

และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้<br />

อย่างสมพระเกียรติ และการใช้หน่วยงานทหารเพื่อสนับสนุนรัฐบาล และเพื่อการ<br />

ช่วยเหลือประชาชนในด้านต่างๆ<br />

(๘) ระบบงานการสรรพกาลังและกาลังพลสารอง<br />

มีเป้าหมายเพื่อจัดเตรียมกาลังพลสารองที่มีคุณภาพ และสามารถปฏิบัติการร่วมกับ<br />

กาลังประจาการ (ทหารประจาการและทหารกองประจาการ) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

และเพื่อให้การระดมสรรพกาลังเพื่อการทหารมีความทันสมัย สอดคล้องกับ<br />

ยุทธศาสตร์และนโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ<br />

แผนผนึกกาลังและทรัพยากรเพื่อการป้องกันประเทศ ตลอดจนแผนระดมสรรพ<br />

กาลังเพื่อการทหารของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>และกองบัญชาการกองทัพไทย<br />

(๙) ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและบูรณาการโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ<br />

การสื่อสารข้อมูลที่ทั่วถึง พอเพียงและคุ้มค่า และพัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัย<br />

เพื่อให้การจัดเก็บและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารมีความปลอดภัย เชื่อถือได้ พร้อมกับ<br />

พัฒนาระบบสารองเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา<br />

89


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

(๑๐) ระบบงานวิจัยและพัฒนาทางทหาร<br />

มีเป้าหมายเพื่อให้การวิจัยและพัฒนาการทางทหารกองทัพบกเป็นไปอย่าง<br />

มีประสิทธิภาพ ได้ผลงานวิจัยที่สามารถพัฒนาขีดความสามารถของ<br />

กองทัพบกให้มีความพร้อมรบ ความต่อเนื่องในการรบ และความทันสมัย<br />

บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง<br />

(๑๑) ระบบงานสารบรรณ มีเป้าหมายเพื่อ<br />

ให้กองทัพบกมีระบบงานสารบรรณที่มีประสิทธิภาพ มีการใช้ระบบ<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดเก็บฐานข้อมูลกาลังพลของกองทัพบก<br />

เพื่อนามาใช้ในงานธุรการกาลังพล สิทธิกาลังพล ได้แก่ บาเหน็จความชอบ<br />

การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และบานาญพิเศษ บาเหน็จ<br />

ตกทอด บาเหน็จบานาญ<br />

(๑๒) ระบบงานกฎหมายและกระบวนการ<br />

ยุติธรรมทหาร มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับกาลังพลด้าน<br />

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและการปฏิบัติการทางทหาร<br />

รวมทั้งจัดระบบงานกฎหมาย และสนับสนุนกระบวนการยุติธรรมให้มี<br />

ความเหมาะสม สามารถอานวยความยุติธรรมได้อย่างรวดเร็ว<br />

(๑๓) ระบบงานงบประมาณและการเงิน<br />

มีเป้าหมายเพื่อให้กองทัพบกมีการจัดทางบประมาณให้สอดคล้องกับ<br />

นโยบายด้านงบประมาณประจา<strong>ปี</strong>ของกองทัพ โดยมุ่งเน้นให้มีความ<br />

เชื่อมโยงกันทั้งระบบ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับกระทรวง และระดับหน่วยงาน<br />

สามารถประเมินผลได้ตามตัวชี้วัด รวมทั้งพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ<br />

เชื่อมโยงข้อมูลระบบงบประมาณได้ทั้งระบบ ตั้งแต่หน่วยปฏิบัติจนถึง<br />

หน่วยกาหนดนโยบาย<br />

(๑๔) ระบบงานการตรวจสอบและประเมินผล<br />

มีเป้าหมายเพื่อให้การบริหารราชการของกองทัพบกสามารถบรรลุ<br />

เป้าหมายตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีและ<br />

หลักธรรมาภิบาล รวมทั้งจัดให้มีระบบการตรวจสอบและประเมินผล<br />

ที่ถูกต้อง มีความโปร่งใส<br />

90


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

(๑๕) ระบบงานวิเทศสัมพันธ์ มีเป้าหมายเพื่อให้การด าเนินงานด้านวิเทศสัมพันธ์ของกองทัพบกมีความสอดคล้อง<br />

กับแนวนโยบายด้านการต่างประเทศของหน่วยเหนือ รวมถึงการมุ่งพัฒนาและเสริมสร้างให้สานักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารไทย/ต่างประเทศ<br />

เป็นกลไกหลักในการดารงความสัมพันธ์และขยายความร่วมมือทางทหารกับมิตรประเทศ เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางทหาร และ<br />

เป็นไปตามหลักการปฏิบัติการทูตทหารสากล<br />

(๑๖) ระบบงานความร่วมมือทางทหารระหว่างประเทศ มีเป้าหมายเพื่อให้การจัดท าข้อตกลงเกี่ยวกับความร่วมมือ<br />

ด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนการดาเนินงานที่<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>กาหนด สอดคล้องกับนโยบาย<br />

ของหน่วยเหนือ โดยกาหนดให้มีหน่วยงานหรือกลไกในการบูรณาการแผนงาน และหน่วยประสานงานและติดตามประเมินผลการปฏิบัติ<br />

ที่ชัดเจน และมีระบบฐานข้อมูลพื้นฐานด้านความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างประเทศ และงานเสริมสร้างความร่วมมือกับมิตรประเทศของ<br />

กองทัพบก<br />

91


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

(๑๗) ระบบงานการบินทหารบก<br />

มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบงานการบินทหารบกให้มีมาตรฐาน<br />

และมีประสิทธิภาพ ทั้งมาตรฐานด้านการบินให้เป็นที่ยอมรับ<br />

ทั้งในประเทศและระดับสากล และมาตรฐานของการปฏิบัติการ<br />

ทางยุทธวิธีที่สามารถรองรับภารกิจการป้องกันประเทศ ภารกิจ<br />

การปฏิบัติการทางทหารนอกเหนือจากสงคราม และภารกิจอื ่นๆ<br />

ที่ได้รับมอบ<br />

๔.๒.๖ กำรพัฒนำบุคลำกร กองทัพบกให้ความสาคัญต่อการบรรจุกาลังพลทุกระดับ เพื่อให้มั่นใจว่ากาลังพลทุกนายของกองทัพบก<br />

จะเป็นกาลังพลที่มีประสิทธิภาพ มีความรู้ความสามารถ ก้าวทันเทคโนโลยี มีทักษะ บุคลิกลักษณะและทัศนคติตรงกับความต้องการ<br />

ของกองทัพบก และมีจานวนเพียงพอต่อการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย และสืบเนื่องจากกองทัพบกได้รับมอบภารกิจที่มีความหลากหลาย<br />

ดังนั้น กาลังพลของกองทัพบกจะต้องเป็น “Smart<br />

Soldier”กล่าวคือจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้<br />

และทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน<br />

ในหน้าที่ รวมทั ้งต้องมีสุขภาพร่างกายที่<br />

แข็งแรง กองทัพบกจึงได้กาหนดให้มีโครงการ<br />

สร้างเสริมสมรรถภาพร่างกาย และสนับสนุน<br />

ให้กาลังพลตระหนักถึงประโยชน์ของการดูแล<br />

รักษาสุขภาพ เพื่อให้มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง<br />

พร้อมปฏิบัติงานตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย<br />

อย่างมีประสิทธิภาพ มีลักษณะทหารเข้มแข็ง<br />

สง่าผ่าเผย เป็นที่เลื่อมใส และเป็นแบบอย่างที่ดี<br />

แก่บุคคลทั่วไป โดยส่งเสริมให้กาลังพลออกกาลังกาย<br />

ตามรูปแบบที ่เหมาะสมกับช่วงอายุเป็นประจา<br />

อย่างต่อเนื่อง<br />

92


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๒.๗ กำรบริกำรและสวัสดิกำร เนื่องจากขวัญและกาลังใจของกาลังพลเป็นปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการปฏิบัติหน้าที่<br />

กองทัพบกจึงจัดให้มีกิจกรรมด้านการบริการและสวัสดิการต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐาน เสริมสร้างขวัญและกาลังใจของ<br />

กาลังพล อาทิ<br />

- ร้านค้าสวัสดิการ เพื่อจาหน่ายสินค้าราคาถูก<br />

- สโมสรและสถานที่ออกกาลังกาย เพื่อเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง<br />

- ทุนการศึกษาบุตร เพื่อแบ่งเบาภาระของกาลังพลชั้นผู้น้อย<br />

- สถานพักฟื้นตากอากาศ เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด<br />

- สถานที่รักษาพยาบาล เพื่อดูแลกาลังพลที่เจ็บป่วย<br />

- ห้องสมุด เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการศึกษานอกระบบ<br />

- การช่วยเหลือกาลังพลของกองทัพบกที่ปลดพิการทุพพลภาพ และครอบครัวกาลังพลตามโครงการจ้างงาน<br />

คนพิการ<br />

- การพัฒนาระบบจัดการด้านที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมในหน่วยทหาร<br />

- การพัฒนากระบวนการงบประมาณด้านกาลังพล<br />

- การพัฒนาบุคลากรทหารกองประจาการและทหารกองหนุน<br />

93


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๓ กองทัพเรือ<br />

กองทัพเรือมุ ่งเน้นภารกิจในการรักษาความมั่นคง ทั้งในเรื่องของการเตรียมกาลังกองทัพเรือและป้องกันราชอาณาจักร<br />

การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล การสนับสนุนการรักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยภายในประเทศและการพัฒนาประเทศ<br />

โดยบทบาทของกองทัพเรือในอนาคตยังคงมีบทบาททั้งด้านการรบ และบทบาทที่มิใช่การรบ ๓ บทบาท ดังนี้<br />

๑) บทบาทในด้านการปฏิบัติการทางทหาร (Military Role) เป็นบทบาทในการปฏิบัติการทางเรือ และการปฏิบัติการทางบก<br />

เพื่อป้องกันประเทศในรูปแบบต่างๆ ตามสถานการณ์ที่กระทบต่ออานาจอธิปไตยและเอกราชของประเทศ ซึ่งจาเป็นต้องใช้กาลังทางเรือ<br />

ที่เข้มแข็งปฏิบัติการตอบสนองสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็วด้วยความเฉียบขาด รุนแรง และเด็ดขาดมีอานาจเหนือพื้นที่การรบ และมีความ<br />

ต่อเนื่องในการปฏิบัติการ<br />

94


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒) บทบาทในด้านการรักษากฎหมายและช่วยเหลือ (Constabulary and Benign Role) เป็นบทบาทในการรักษา<br />

ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การรักษากฎหมายตามที่รัฐบาลมอบอานาจให้ทหารเรือ<br />

เป็นเจ้าหน้าที่ ๒๙ ฉบับ รวมถึงการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม และการบรรเทาสาธารณภัยแก่ประชาชน รวมทั้งสนับสนุน<br />

การพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ เช่น การวิจัยและพัฒนาเพื่อพึ่งพาตนเอง<br />

๓) บทบาทในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Diplomatic Role) คือ การใช้กาลังทางเรือในการสนับสนุนการดาเนิน<br />

นโยบายด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของรัฐบาลเพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องปราม และใช้แสดงกาลังเพื่อสนับสนุนการเจรจาต่อรอง<br />

เมื่อมีการขัดกันในผลประโยชน์ของชาติหรือเหตุการณ์วิกฤติที่กระทบต่อผลประโยชน์ของชาติโดยตรง<br />

95


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ตามสภาพทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) ประเทศไทยตั้งอยู่บนเส้นทางคมนาคมที่สาคัญของโลก โดยมีความยาวชายฝั่งด้าน<br />

อ่าวไทยมากกว่า ๑,๐๐๐ ไมล์ทะเล ด้านทะเลอันดามันประมาณ ๕๘๐ ไมล์ มีพื้นที่อาณาเขตทางทะเล พื้นที่ทางทะเลของประเทศไทย<br />

ไม่น้อยกว่า ๓๒๓,๔๘๘.๓๒ ตารางกิโลเมตร ซึ่งหมายรวมไปถึงเขตเศรษฐกิจ ที่ครอบคลุมพื้นที่ถัดจากอาณาเขตบนฝั่งไป ๒๐๐ ไมล์<br />

ทะเล ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ ก่อให้เกิดผลประโยชน์ของชาติทางทะเลในส่วนที่สามารถวัดเป็น<br />

มูลค่าทางเศรษฐกิจมากกว่า ๒๔ ล้านล้านบาทต่อ<strong>ปี</strong> ประกอบด้วย ทรัพยากรก๊าซธรรมชาติและน้ามันในทะเล ทรัพยากรสัตว์น้าและ<br />

พืชพันธุ์ในทะเล เส้นทางคมนาคมทางทะเลที่เป็นเส้นทางหลักของประเทศในการนาเข้า – ส่งออกสินค้าและพลังงานมูลค่าของสินค้าและ<br />

การประกอบกิจการเดินเรือพาณิชย์และเรือประมง และ<br />

อุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ใช้ทรัพยากรทางทะเลเป็นวัตถุดิบที่<br />

สาคัญ ฐานขุดเจาะน้ามันและก๊าซธรรมชาติในทะเล ท่าเรือ<br />

พาณิชย์และระบบเชื่อมโยงที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการทางทะเล<br />

รวมทั้งมูลค่าของการดาเนินกิจการภาคบริการและการ<br />

ท่องเที่ยวที่อาศัยทะเล ทรัพยากรใต้ทะเล เกาะแก่ง และชายฝั่ง<br />

และส่วนที่สามารถวัดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ อาทิ อานาจ<br />

อธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน สิทธิอธิปไตย และเขตอานาจ<br />

ของชาติทางทะเล ความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย ความ<br />

ปลอดภัย และการมีสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้ประโยชน์<br />

และการดาเนินกิจกรรมทางทะเล รวมทั้งการมีเกียรติ ศักดิ์ศรี<br />

และเป็นที่ยอมรับในประชาคมระหว่างประเทศด้านกิจกรรม<br />

ทางทะเล<br />

96


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ซึ่งจากการประเมินสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงในทศวรรษหน้า โอกาสในการเกิดการใช้กาลังทหารระหว่างกันในภูมิภาค<br />

ยังคงมีความเป็นไปได้ จากพื้นฐานปัจจุบันที่ประเทศไทยยังมีปัญหาความขัดแย้งด้านอาณาเขตพื้นที่ส าคัญทางประวัติศาสตร์ในหลายพื้นที่<br />

กับประเทศรอบบ้าน และยังคงมีการกล่าวถึงการแข่งขันกันเสริมสร้างกาลังทหาร (Arm Race) ในภูมิภาคเพื่อดูแลผลประโยชน์ของชาติตน<br />

รวมไปถึงการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องตามกระแสการค้าเสรี ซึ่งทาให้เกิดการแย่งชิงทรัพยากร โดยมีแนวโน้มในการแสวงหา<br />

ทรัพยากรจากทะเลเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากทรัพยากรที่หาได้จากทางบกเริ่มขาดแคลน อันส่งผลให้ประเทศต่างๆ เร่งพัฒนาศักยภาพของ<br />

ชาติในการใช้ประโยชน์ทางทะเลอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนพยายามที่จะครอบครองพื้นที่ในทะเลมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่อ้างสิทธิ<br />

ทับซ้อนทางทะเลที่ยังไม่สามารถตกลงกันได้ ซึ่งอาจเป็นต้นเหตุที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศต่อไป<br />

ในขณะเดียวกันปัญหาความมั่นคงทางทะเลในภูมิภาคจะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจ จากการรวมตัวของประชาคม<br />

อาเซียนและการเข้ามามีบทบาทของประเทศมหาอานาจ รวมไปถึงผลกระทบจากสถานการณ์ความมั่นคงในภูมิภาค เช่น กรณีพิพาทเกี่ยวกับ<br />

อาณาเขตทางทะเลในพื้นที่ทะเลจีนใต้ การขยายตัวของโครงการ One Belt One Road ปัญหาความตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลีเนื่องจาก<br />

ภัยคุกคามในโจรสลัดและการปล้นเรือโดยใช้อาวุธ ตลอดจนปัญหาการทาผิดกฎหมายในทะเล เช่น ปัญหาการหลบหนีเข้าเมือง การค้า<br />

มนุษย์ การลักลอบขนของหนีภาษี การค้าอาวุธสงคราม อาชญากรรมข้ามชาติ การทาการประมงรุกล้าน่านน้า และการลักลอบขนยาเสพติด<br />

ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มจะรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น<br />

97


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ดังนั้น กองทัพเรือในฐานะหน่วยงานหลักในการปกป้องรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลดังกล่าว จึงมีภารกิจที่ส าคัญและ<br />

ท้าทายอย่างยิ่งในการรักษาความมั่นคงทางทะเลเพื่อเป็นหลักประกันการได้มาซึ่งผลประโยชน์ของชาติทางทะเลและความเจริญก้าวหน้า<br />

ทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยต้องพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถให้มีความพร้อมทั้งในส่วนของกาลังทางเรือ ระบบสนับสนุน<br />

รวมทั้งอุตสาหกรรมเพื่อการป้องกันประเทศที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง ซึ่งได้มีการกาหนดแนวทาง<br />

การสร้างความมั่นคงของชาติทางทะเล ตามแนวคิดระดับยุทธศาสตร์ว่า “ปฏิบัติการสองฝั่งมหาสมุทรและสามพื้นที่ปฏิบัติการ” หรือ<br />

“Two Oceans and Three Areas (OOAAA/Double O Triple A)” โดย Two Oceans มองถึงพื้นที่ปฏิบัติการในอนาคตที่เปลี่ยนแปลง<br />

98


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ไปตามบริบทของผลประโยชน์ของชาติทางทะเลที่มิได้หยุดอยู ่เพียงแค่อาณาเขตทางทะเลของไทย แต่แผ่ขยายไปทั่วโลกในพื้นที่<br />

ที่ผลประโยชน์ของชาติไปถึง สาหรับ Three Areas เป็นแนวคิดในการเสริมสร้างกาลังของทัพเรือภาค ให้ขีดความสามารถและเครื่องมือ<br />

ที่เพียงพอ ที่พร้อมปฏิบัติภารกิจตั้งแต่ในยามปกติ โดยกองทัพเรือได้กาหนดกรอบแนวคิดตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ ระยะ ๒๐ <strong>ปี</strong><br />

ที่สอดคล้องและรองรับตามแนวทางของยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ประกอบด้วย<br />

๔.๓.๑ กำรเสริมสร้ำงควำมร่วมมือด้ำนควำมมั่นคงทำงทะเล (Enhance Maritime Security Cooperation) ทั้งใน<br />

ระดับหน่วยงานภายในประเทศและภูมิภาค โดยเป็นเครื่องมือในการดาเนินนโยบายระหว่างประเทศในการสร้างความสัมพันธ์ทางทหาร<br />

กับประเทศต่างๆ และเป็นการแก้ปัญหาเชิงรุกก่อนเกิดความขัดแย้ง หรือสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ทันเวลาเมื่อเกิดความขัดแย้ง<br />

ขึ้น ซึ่งมาตรการดังกล่าวจะต้องอยู่บนพื้นฐานของความมีเกียรติและศักดิ์ศรีในเวทีระหว่างประเทศ รวมทั้งผลประโยชน์ที่ประเทศจะได้<br />

รับผ่านการดาเนินกิจกรรมในระดับนโยบาย ได้แก่ การประชุมสัมมนาตามกรอบความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเลระดับต่างๆ<br />

ทั้งในลักษณะพหุภาคี ตามกรอบความร่วมมือของอาเซียน ภูมิภาคมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก มหาสมุทรอินเดีย และในลักษณะทวิภาคี<br />

กับกองทัพเรือประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ รวมทั้งการเยือนของผู้บังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพเรือ และในระดับการปฏิบัติ<br />

ได้แก่ การประชุมสัมมนา การปฏิบัติการและการฝึกร่วม ร่วม/ผสม การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางทะเลเพื่อเสริมสร้างการตระหนักรู้<br />

และเท่าทันสถานการณ์ทางทะเลในภูมิภาคร่วมกับหน่วยงานด้านการข่าวและกองทัพเรือมิตรประเทศ โดยเน้นการส่งเสริมบทบาทของ<br />

กองทัพไทยในเวทีนานาชาติซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ กองทัพเรือ ที่ตั้งเป้าหมายในการเป็นหน่วยงานด้านความมั่นคงทางทะเลที่มีบทบาทน า<br />

ในระดับภูมิภาค ภายใน<strong>ปี</strong> พ.ศ.๒๕๖๗<br />

99


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๓.๒ กำรป้องปรำม (Deterrence) โดยใช้แนวคิดที่จะยับยั้งความตั้งใจในการคุกคามของฝ่ายตรงข้าม ด้วยการจัดหา<br />

กาลังรบที่มีความทันสมัย สอดคล้องกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีเข้าประจาการโดยมีขีดความสามารถที่สมดุลกับกาลังรบในภูมิภาคและ<br />

เพียงพอในการรักษาความมั่นคงของชาติทั้งในยามสงบและยามสงคราม ตลอดจนรองรับการปฏิบัติการร่วมเหล่าทัพเพื่อทวีกาลัง (Force<br />

Multiplier) ของกาลังรบให้เกิดศักยภาพสูงสุดโดยสามารถเผชิญกับภัยคุกคามในทุกมิติได้อย่างครอบคลุม ในขณะเดียวกัน กาลังดังกล่าว<br />

ยังสามารถนาไปใช้สนับสนุนการดาเนินนโยบายรัฐบาลในลักษณะต่างๆ สามารถปฏิบัติการอเนกประสงค์ (Multiple Operations)<br />

ในลักษณะของกิจที่ต้องปฏิบัติที่มีความหลากหลายทั้งการใช้กาลังในลักษณะที่ใช้อาวุธและไม่ใช้อาวุธ (Combat & Non-Combat<br />

Operations) และปรับเปลี่ยนการปฏิบัติภารกิจจากลักษณะหนึ่งไปอีกลักษณะหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะจากการใช้กาลังทางทหาร<br />

นอกเหนือการทาสงคราม (Military Operation Other Than War : MOOT WAR) ไปสู่การปฏิบัติการทางทหารในการทาสงคราม<br />

(War Fighting)<br />

100


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ซึ่งกองทัพเรือจะดาเนินโครงการจัดหายุทโธปกรณ์ตามแนวทางการเสริมสร้างกาลังรบและดารงขีดความสามารถตาม<br />

ยุทธศาสตร์กองทัพเรือ ระยะ ๒๐ <strong>ปี</strong> โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนากาลังทางเรือ ในขีดความสามารถการปฏิบัติการใต้น้า การรบผิวน้า<br />

การป้องกันภัยทางอากาศ การตรวจการณ์ การปฏิบัติการระยะไกล และความต่อเนื่องในการปฏิบัติการ ขีดความสามารถสาหรับสงคราม<br />

ที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Warfare : NCW) ขีดความสามารถด้านสงครามไซเบอร์ ระบบอาวุธป้องกันฝั่งและป้องกัน<br />

ภัยทางอากาศ และระบบการติดตามภาพสถานการณ์และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางทะเล รวมถึงการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก<br />

ฐานทัพท่าเรือ เพื่อให้กองทัพเรือมีดุลกาลังรบที่เหมาะสมกับประเทศในภูมิภาค<br />

101


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้ ในห้วงทศวรรษหน้า จะเป็นการจัดหาเพื่อดารงสภาพความพร้อมรบของยุทโธปกรณ์ที ่มีอยู่และจัดหาให้ครบตาม<br />

ความต้องการทางยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย เรือดาน้า เรือฟริเกตสมรรถนะสูง เรือตรวจการณ์ระยะไกล เรือตรวจการณ์ระยะปานกลาง<br />

อากาศยานตรวจการณ์ทางทะเล การพัฒนาระบบการติดตามภาพสถานการณ์ทางทะเลให้ครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติการ ตลอดจนการ<br />

ปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกด้านทะเลอันดามันเพื่อรองรับการปฏิบัติการทางเรือตามแนวคิดทางยุทธศาสตร์โดยดาเนินการควบคู่ไปกับ<br />

การวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถและดารงสภาพความพร้อมรบของกองทัพเรือที่ใช้นวัตกรรมเพื่อการพึ่งพา<br />

ตนเอง และนาไปสู ่การสายการผลิตอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป โดยที่ผ่านมากองทัพเรือได้มุ ่งเน้นการสร้างผลงานวิจัยที่ตรงความต้องการ<br />

102


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทางยุทธการ สามารถนาไปใช้งานได้จริง รองรับ<br />

เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง และมีมาตรฐาน โดยมีการนา<br />

ผลงานการวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์มาใช้ประโยชน์<br />

อย่างต่อเนื่อง ไม่ต่ากว่า ๒๐ โครงการ เช่น ระบบควบคุม<br />

บังคับบัญชาแบบพกพา อากาศยานไร้นักบินขึ้นลงทางดิ่ง<br />

แบบนารายณ์ เสื้อเกราะกันกระสุนแบบลอยน้าได้ และ<br />

อยู่ระหว่างการดาเนินโครงการที่สาคัญ เช่น เรือไร้คนขับ<br />

สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของหน่วยบัญชาการนาวิก<br />

โยธิน อากาศยานไร้นักบินขึ้นลงทางดิ่งแบบ FUVEC<br />

เรือดาน้าขนาดเล็ก (Midget Submarine) เป็นต้น<br />

๔.๓.๓ กำรป้องกันเชิงรุก (Active Defense) ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ขั้นสุดท้ายในการแก้ปัญหาโดยใช้ยุทโธปกรณ์ และกาลังทาง<br />

เรือดาเนินการเมื่อไม่สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยยุทธศาสตร์เชิงป้องปรามได้ ด้วยการปฏิบัติการของกาลังที่มีขนาดเหมาะสมแก่สถานการณ์<br />

เพื่อไม่ให้สถานการณ์ขยายตัวจนไม่สามารถควบคุมได้ และอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายระหว่างประเทศและความชอบธรรมของ<br />

ประชาคมโลก โดยมุ่งเน้นการเป็นหน่วยกาลังที่เป็นเครือข่าย และมีความคล่องตัวในการปรับเปลี ่ยนภารกิจและเข้าใจภาพสถานการณ์<br />

103


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทางทะเล (Net and Agile Force, Maritime Domain Understanding) ตลอดจนมีความพร้อมที่จะเข้าดาเนินการต่อกาลังฝ่ายตรงข้าม<br />

ได้ทันท่วงทีในทุกพื้นที่ (Assured Engagement) ซึ่งต้องมีการเตรียมความพร้อมไว้ตั้งแต่ภาวะปกติ โดยมีแนวทางการใช้กาลังตาม<br />

แนวความคิดการปฏิบัติการเชิงรุกของกองทัพเรือในการตอบสนองอย่างรวดเร็ว (Quick Response) ต่อสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อ<br />

ผลประโยชน์ของชาติทั้งในยามปกติและยามสงครามได้อย่างทันท่วงที โดยต้องรู้เท่าทันสถานการณ์ (Situation Awareness) และมีกาลัง<br />

พร้อมเผชิญสถานการณ์ (Respondent Forces) เพื่อคงความริเริ่มในการปฏิบัติการไว้ตลอดเวลา การมีอานาจเหนือพื้นที่การรบ (Battle<br />

Space Dominance) เพื่อให้ได้มาซึ่งการควบคุมทะเล และปฏิเสธการใช้ทะเล อีกทั้งต้องคงความต่อเนื่องในการปฏิบัติการ (Sustained<br />

Operations) ไว้ได้จนบรรลุภารกิจนอกจากนั้นตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือ ระยะ ๒๐ <strong>ปี</strong> ได้มีการตรวจสอบและประเมินสภาวะแวดล้อม<br />

ด้านความมั่นคง เพื่อวิเคราะห์ถึงแนวโน้ม แรงบังคับ ภัยคุกคาม โอกาส ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางปฏิบัติตามวัตถุประสงค์เฉพาะต่างๆ<br />

เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางปฏิบัติของกองทัพในอนาคตที่สาคัญ ประกอบด้วย<br />

ในส่วนของการป้องกันและปราบปรามการกระทาผิดกฎหมายทางทะเล โดยดาเนินการปรับตัวของกลไกด้านการบังคับใช้<br />

กฎหมายทางทะเล โดยปรับปรุงโครงสร้างของศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ยกระดับเป็นศูนย์<br />

อานวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลขึ้นตรงต่อสานักนายกรัฐมนตรี เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ความมั่นคงระหว่างประเทศ<br />

และตอบรับกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ที่เกินขีดความสามารถของหน่วยงานความมั่นคงใดจะดาเนินการได้โดยลาพังและจาเป็นต้องมีการ<br />

104


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

บูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกันในการแก้ปัญหาความซ้ าซ้อนของอานาจหน้าที่ที่ได้รับตามกฎหมาย พื้นที่รับผิดชอบ และรองรับภารกิจตาม<br />

แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๖๔ โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างขั้นตอนการเสนอพระราชบัญญัติการรักษาผลประโยชน์<br />

ของชาติทางทะเล พ.ศ. ... ซึ่งกองทัพเรือร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล<br />

(ศรชล.) ได้เตรียมการรองรับในด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความพร้อมเมื่อร่างพระราชบัญญัติการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล<br />

พ.ศ. .... มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย ทั้งในการพิจารณาโครงสร้างการจัดส่วนราชการ อัตรากาลังพล และแนวทางการบรรจุกาลังพล<br />

การจัดทากฎระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ระเบียบการปฏิบัติประจา และคู่มือการปฏิบัติงาน รองรับการปฏิบัติการการจัดทานโยบายและ<br />

แผนปฏิบัติราชการสาหรับใช้ในการบริหารงานภายในอย่างเป็นรูปธรรม<br />

สาหรับการรักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งสถานการณ์ที่ยังคงมีแนวโน้มยืดเยื้อต่อเนื ่อง และมี<br />

ความซับซ้อนเชื่อมโยงกับปัญหาต่างๆ ทั้งกลุ่มผู้มีอิทธิพลในพื้นที่ การดาเนินธุรกิจผิดกฎหมายและการค้ายาเสพติด โดยกองทัพเรือยังคง<br />

ดารงความพร้อมในการจัดกาลังสนับสนุนการรักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในพื้นที่รับผิดชอบของกองทัพเรือ<br />

ทั้งการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้กับประชาชน และการปฏิบัติการจิตวิทยาและมวลชนสัมพันธ์ในพื้นที ่อย่างต่อเนื ่อง<br />

ตลอดจนได้มีการจัดตั้งกรมทหารพรานนาวิกโยธินในการใช้กาลังประจาถิ่นปฏิบัติภารกิจทดแทนกาลังรบหลักที่มาจากนอกพื้นที่ในการ<br />

แก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามนโยบายของรัฐบาล และกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายใน<br />

105


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ในขณะที่การรักษาความมั่นคงและสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ยังคงมีแนวโน้มของการเกิดสถานการณ์ความขัดแย้งและการ<br />

เคลื่อนไหวทางการเมืองที่มุ่งหวังในการแสวงประโยชน์ โดยใช้การปลุกระดมและปลูกฝังอุดมการณ์ที่บิดเบือนจากหลักการประชาธิปไตย<br />

อันส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทางสังคม หลักนิติธรรมและนิติรัฐ และศีลธรรมอันดีของสังคมไทย ซึ่งยังคงมีโอกาสที่กลุ่มผู้ไม่หวังดีที่อาศัย<br />

จังหวะในการสร้างสถานการณ์ความแตกแยกและการเผชิญหน้าของประชาชนที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกัน โดยกองทัพเรือ<br />

ยังคงดารงความพร้อมในการปฏิบัติ ในการจัดกาลังสนับสนุนการรักษาความสงบเรียบร้อยและการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล<br />

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตลอดจนตามกรอบการดาเนินงานของคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ<br />

ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดองอย่างต่อเนื่อง<br />

๔.๔ กองทัพอำกำศ<br />

การพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพอากาศคานึงถึงความสอดคล้องกับธรรมชาติ คุณลักษณะ และข้อจากัดของกาลัง<br />

ทางอากาศ รวมทั้งทรัพยากรที่มีในครอบครอง เทคโนโลยีที่ใช้งานและพันธมิตร โดยมุ่งหวังที่จะสร้างกองทัพอากาศให้มีความสามารถในการ<br />

ปฏิบัติการทางอากาศตามที่กาหนดในหลักนิยมปฏิบัติการ ได้แก่ การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี<br />

106


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

และการป้องกันทางอากาศ โดยขีดความสามารถหลักที่กองทัพอากาศต้องดารงไว้และมิอาจละเลยได้ คือ ขีดความสามารถในการปฏิบัติ<br />

การทางอากาศเพื่อป้องกันราชอาณาจักรและรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ เนื่องจากเป็นขีดความสามารถหลักซึ่งมีเพียงกองทัพอากาศ<br />

เพียงส่วนราชการเดียวที่มีภารกิจและศักยภาพที่จะดาเนินการได้กองทัพอากาศเชื่อมั่นว่าการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network<br />

Centric Operation : NCO) จะทาให้การปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งเป็นการเพิ่มความรวดเร็วของวงรอบ<br />

การตัดสินใจ (Observe-Orient-Decide-Act : OODA Loop) โดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร (Information) และความตระหนัก<br />

รู้สถานการณ์ (Situation Awareness) ร่วมกันผ่านระบบเครือข่าย (Network) ที่มีประสิทธิภาพ ทาให้ผู้บังคับบัญชามีข้อมูลถูกต้อง<br />

ครบถ้วน สามารถตัดสินตกลงใจและสั่งการไปยังผู้ปฏิบัติ/หน่วยปฏิบัติ (Shooter) ได้ถูกต้องและทันเวลา นอกจากนี้ ข้อมูลข่าวสารและ<br />

ความตระหนักรู้สถานการณ์ร่วมกัน ยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ผู้ปฏิบัติ/หน่วยปฏิบัติเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ สามารถปฏิบัติภารกิจได้<br />

หลากหลาย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

107


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ <strong>ปี</strong> (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) มุ่งเน้นการพัฒนา ๓ มิติสาคัญ เพื่อรองรับการพัฒนาการปฏิบัติ<br />

การที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ประกอบด้วย<br />

(๑) มิติทางอากาศ (Air Domain) ประกอบด้วย การบัญชาการและควบคุม (Command and Control : C2) ระบบตรวจจับ<br />

(Sensor) ผู้ปฏิบัติ/หน่วยปฏิบัติ (Shooter) ระบบเครือข่าย (Network) การสนับสนุนและบริการ (Support and Service) บุคลากร<br />

และพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (Human & Behavior)<br />

(๒) มิติไซเบอร์ (Cyber Domain)<br />

(๓) มิติอวกาศ (Space Domain)<br />

สาหรับการพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพอากาศให้ประสบผลสาเร็จสอดรับยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ <strong>ปี</strong> จะต้องมี<br />

ระบบการพัฒนา ดังนี้<br />

108


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔.๔.๑ กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถปฏิบัติกำรในมิติทำงอำกำศ (Air Domain) เนื่องจากกองทัพอากาศต้องเผชิญกับความ<br />

ท้าทายทั้งด้านการรบและมิใช่การรบ โดยภัยคุกคามมีโอกาสเกิดขึ้นในลักษณะจากัดในห้วงเวลาสั้นๆ เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน และมีสิ่งบอก<br />

เหตุในระยะเวลากระชั้นชิด ดังนั้น เพื่อให้การเตรียมกาลังทางอากาศมีความพร้อมในการป้องกันประเทศได้ทันที และสามารถเผชิญกับ<br />

ภัยคุกคามอย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องเตรียมกาลังทางอากาศทุกด้านให้เพียงพอ ใกล้เคียงกับกาลังทางอากาศที่ใช้ในการปฏิบัติการจริง<br />

มากที่สุด โดยกาหนดผู้มีส่วนได้เสียหลักและกลุ่มเป้าหมายสาคัญในยุทธศาสตร์ที่ ๒ คือ ประชาชนในทุกภาคส่วน กองทัพไทย และประเทศ<br />

ในกลุ่มอาเซียน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้กองทัพอากาศมีสมรรถนะและความพร้อม ตลอดจนสามารถผนึกกาลังร่วมกับเหล่าทัพอื่นในการ<br />

ป้องกันประเทศให้มีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคามทุกรูปแบบจึงต้องมีการเสริมสร้างขีดความสามารถใน ๖ ประการ กล่าวคือ<br />

๑) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถกำรบัญชำกำรและควบคุม (Command and Control) การบัญชาการและ<br />

ควบคุมที่สามารถเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย เพื่อการหยั่งรู้สถานการณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Total Situation<br />

Awareness) อันจะเป็นเครื่องมือสาหรับผู้บังคับบัญชา ในการวางแผน อานวยการ ควบคุม และบังคับบัญชาการใช้กาลังทางอากาศ<br />

ในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใช่การรบ โดยมีเป้าหมายการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การบัญชาการและควบคุมแบบ Multi-Node<br />

Redundancy หมายถึง หน่วยบัญชาการและควบคุมสามารถเคลื่อนที่เปลี่ยนตาแหน่งที่ตั้งไปยังพื้นที่อื่นๆ ซึ่งมีระบบเครือข่ายรองรับและ<br />

สามารถปฏิบัติภารกิจการบัญชาการและควบคุมทดแทนหน่วยบัญชาการและควบคุมหลักได้โดยสมบูรณ์<br />

109


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๒) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถระบบตรวจจับ (Sensor) ระบบตรวจจับที่มีคุณภาพและจานวนที่เหมาะสม<br />

เพียงพอ และมีระบบสารองเพื่อใช้งานทดแทนกันได้ มีขีดความสามารถในการแสวงหาข้อมูลในทุกความต้องการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลใน<br />

รูปแบบดิจิตอลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา อีกทั้งสามารถบูรณาการข้อมูลทั้งหมดให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลที่ชาญฉลาด (Smart<br />

Information) รวมทั ้งกระบวนการ (Process) ในการผลิตข้อมูลให้ตรงกับความต้องการของผู ้ใช้ เพื่อใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติการรบ<br />

และการปฏิบัติการที่มิใช่การรบ ทั้งนี้ ต้องสามารถรองรับการปฏิบัติการร่วมกับระบบตรวจจับ (Sensor) ของกองบัญชาการกองทัพไทย<br />

เหล่าทัพ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องภายใต้มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยของกองทัพอากาศ<br />

๓) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถผู้ปฏิบัติ/หน่วยปฏิบัติ (Shooter) ผู้ปฏิบัติ/หน่วยปฏิบัติที่มีความชาญฉลาด<br />

(Smart Platform) มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใช่การรบ โดยใช้เทคโนโลยีที ่ทันสมัย เพื่อให้มีอานาจ<br />

การทาลาย (Fire Power) มีความแม่นยา (Precision) มีความสามารถในการปฏิบัติภารกิจจากระยะไกล (Stand-off) และ/หรือเกิน<br />

ระยะสายตา (Beyond Visual Range) และมีระบบป้องกันตนเอง รวมทั้งรองรับการใช้งานอาวุธสมรรถนะสูงที่ทันสมัย โดยต้องสามารถ<br />

บูรณาการและเชื่อมโยงเข้าสู่การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ของกองทัพอากาศ อีกทั้งต้องมีความพร้อมในการเชื่อมโยงกับ<br />

เครือข่ายของกองบัญชาการกองทัพไทย เหล่าทัพ และฝ่ายพลเรือนที่เกี่ยวข้อง<br />

110


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถเครือข่ำย (Network) เครือข่าย (Network) ที่มีขีดความสามารถในการเชื่อมโยง<br />

ทุกเครือข่ายหลักของกองทัพอากาศ ทั้งเครือข่ายด้านการรบ (Combat Network) และด้านสนับสนุนการรบ (Support Network)<br />

โดยทุกเครือข่ายต้องมีความแข็งแกร่ง (Robustness) ความเสถียร (Stability) ความเพียงพอต่อความต้องการ (Sufficiency) ความเชื่อถือได้<br />

(Reliability) ความรวดเร็ว (Speed) ความปลอดภัย (Security) และความทันสมัย (Update) โดยครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติการ รองรับการ<br />

พัฒนาการบัญชาและควบคุมแบบ Multi-Node Redundancy รวมทั้งการบูรณาการระบบตรวจจับและระบบป้องกันทางอากาศกับการ<br />

บัญชาการและควบคุม และสามารถเชื่อมโยงกับระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธีที่มีมาตรฐานสากล และสามารถเชื่อมโยงยุทโธปกรณ์หลัก<br />

ของกองทัพอากาศได้ทุกประเภท รวมถึงสามารถเชื่อมโยงกับหน่วยนอกกองทัพอากาศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการร่วมของกองทัพอากาศ<br />

111


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๕) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถกำรสนับสนุนและบริกำร (Support and Service) ระบบส่งกาลังบารุงและ<br />

ระบบคลังที่มีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อดารงขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจและสนับสนุนการปฏิบัติการที่ใช้<br />

เครือข่ายเป็นศูนย์กลางของกองทัพอากาศอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ<br />

๖) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถบุคลำกรและพฤติกรรมกำรปฏิบัติงำน (Human and Behavior) บุคลากรในส่วน<br />

กาลังรบ (War Fighter) ของกองทัพอากาศมีสมรรถนะและขีดความสามารถในลักษณะ Cross-Functional และ Multi-Disciplined<br />

โดยต้องมีความเข้าใจพื้นฐาน ความเชี่ยวชาญ และความพร้อมในการปฏิบัติการ ตลอดจนมีพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (Behavior) ที่เหมาะสม<br />

สอดคล้องกับแนวความคิดการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ของกองทัพอากาศ<br />

112


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

นอกจากการปฏิบัติการในมิติทางอากาศ (Air Domain) กองทัพอากาศยังตระหนักถึงภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่เพิ่มจานวนขึ้น<br />

อย่างรวดเร็วในมิติอื่นๆ ได้แก่ มิติไซเบอร์ (Cyber Domain) และมิติอวกาศ (Space Domain) ดังนั้นจึงมีความจาเป็นต้องพัฒนาขีดความ<br />

สามารถในมิติดังกล่าวเพิ่มเติม โดยยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ <strong>ปี</strong> (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ได้กาหนดแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถ<br />

ในมิติไซเบอร์ (Cyber Domain) รวมทั้งการริเริ่มและวางรากฐานสาคัญในการพัฒนาขีดความสามารถในมิติอวกาศ (Space Domain)<br />

เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการในมิติทางอากาศ (Air Domain) และเตรียมความพร้อมในการป้องกันภัยคุกคามในมิติดังกล่าวทั้งในปัจจุบัน<br />

และในอนาคต<br />

๕. กำรรักษำควำมปลอดภัยด้ำนไซเบอร์ (Cyber Security) <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ตระหนักถึงความสาคัญในการรักษาความปลอดภัย<br />

ด้านไซเบอร์ว่าเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของชาติในมิติต่างๆ จึงได้จัดทาร่างแผนแม่บทไซเบอร์เพื่อการป้องกันประเทศ กระทรวง<br />

กลาโหม พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ และผ่านความเห็นชอบของสภากลาโหม เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ โดยมีสาระสาคัญคือ ร่างแผน<br />

แม่บทฯ นี้ จะครอบคลุมแผนงานหลัก ๖ แผนงาน กล่าวคือ<br />

113


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๑. แผนการจัดองค์กรด้านไซเบอร์ โดย<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพ<br />

อากาศ จะดาเนินการจัดตั้งหน่วยงานไซเบอร์/ศูนย์ไซเบอร์ ขึ้นมารองรับภารกิจด้านไซเบอร์โดยตรง<br />

๒. แผนการป้องกันระบบโครงสร้างพื้นฐาน โดย<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และ<br />

กองทัพอากาศ เตรียมจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการรักษาความมั ่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Cyber Security Operation Center ; CSOC) ของ<br />

แต่ละส่วนราชการขึ้นมาเพื่อรองรับภัยคุกคามด้านไซเบอร์ที่จะมาโจมตีระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

รวมทั้งจัดทาระบบฐานข้อมูล นอกจากนี้ยังจะมีการจัดตั้งทีมจัดการปัญหาฉุกเฉินด้านความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security<br />

Incident Response Team/Computer Security Incident Response Team ; CSIRT) เพื่อตอบสนองการแก้ไขปัญหาฉุกเฉินด้าน<br />

ความปลอดภัยไซเบอร์ได้อย่างรวดเร็วและทันเวลา<br />

1<strong>14</strong>


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๓. แผนการพัฒนาความพร้อมการปฏิบัติการไซเบอร์เชิงรุกและการปฏิบัติการสงครามไซเบอร์ เป็นการพัฒนาบุคลากรของกองทัพ<br />

ให้มีขีดความสามารถด้านการปฏิบัติการไซเบอร์ ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ เพื่อการป้องกัน สกัดกั้น ยับยั้งการโจมตี และการตอบโต้ฝ่ายตรงข้าม<br />

ที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และความมั่นคงด้านการทหาร โดยการพัฒนาเสริมสร้างขีดความสามารถกาลังพล เครื่องมือ<br />

และเทคโนโลยีต่างๆ รวมถึงการจัดให้มีการแข่งขันทักษะการปฏิบัติการไซเบอร์ (Cyber Contest) ทั้งนี้มิได้มุ่งหมายเพื่อสร้างนักรบ<br />

ไซเบอร์ (Cyber Warrior) หรือใช้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวไปโจมตีข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งเป็นการละเมิดกฎหมาย ทั้งนี้ ทุกภารกิจจะกระทาภายใต้<br />

กรอบของกฎหมาย<br />

115


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๔. แผนการดารงและพัฒนาศักยภาพด้านไซเบอร์ เพื่อดารงความต่อเนื่องและยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งการวิจัยและ<br />

พัฒนาเทคโนโลยีด้านไซเบอร์ (R&D) เพื่อวิจัยพัฒนาและติดตามความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เพราะ<br />

ภัยคุกคามด้านไซเบอร์นับวันจะทวีความรุนแรง ส่งผลกระทบและความเสียหายในวงกว้างอย่างรวดเร็ว<br />

๕. แผนการสนับสนุนศักยภาพทางไซเบอร์ระดับชาติ เนื่องจากกองทัพเป็นหน่วยงานหลักด้านความมั่นคงของชาติ จึงต้อง<br />

มีความพร้อมในการสนับสนุนและเป็นเครื่องมือให้กับรัฐบาล เพื่อเสริมสร้างศักยภาพด้านไซเบอร์ของชาติ ในด้านการรักษาความมั่นคง<br />

ปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อป้องกันภัยคุกคามในระดับชาติด้านไซเบอร์โดเมน (Cyber Domain)<br />

116


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๖. แผนงานความร่วมมือและผนึกกาลังด้านไซเบอร์ เป็นการประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ธุรกิจเอกชน และ<br />

ประชาชนทั่วไป ในการผนึกกาลังด้านไซเบอร์ ซึ่งเป็นกาลังอานาจที่ไม่มีตัวตน และนาไปสู่การระดมสรรพกาลังของประเทศด้านไซเบอร์<br />

ที่มีพลังอานาจที่ยิ่งใหญ่<br />

ทั้งนี้ <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้ดาเนินการจัดตั้งศูนย์ไซเบอร์ในระดับ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> โดยสานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> โดยกรม<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ซึ่งจะเชื่อมโยงกับการจัดตั้งศูนย์ Cyber ของกองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ<br />

และกองทัพอากาศ ที่มีขอบเขตอานาจหน้าที่ในการประสานนโยบายไซเบอร์กับระดับชาติ รวมทั้งรับผิดชอบด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ<br />

ปฏิบัติงานด้านไซเบอร์ในระดับยุทธศาสตร์ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ในภาพรวม<br />

อย่างไรก็ตาม เมื่อร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. .... ประกาศใช้แล้ว ย่อมจะมีผลต่อการ<br />

ดาเนินการของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>โดยเฉพาะบทบัญญัติ มาตรา ๓๘ ที่กาหนดให้กาลังพลของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม<br />

กฎหมายอีกด้วย โดยมีรายละเอียด คือ<br />

“มาตรา ๓๘ เพื่อประโยชน์ในการประสานงานหรือการปฏิบัติการ ให้เจ้าหน้าที่ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติ<br />

ภารกิจเพื่อตอบสนองและรับมือกับภัยคุกคามไซเบอร์ที่กระทบต่อความมั่นคงทางทหาร เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม<br />

พระราชบัญญัตินี้”<br />

117


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

118


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ปัจฉิมบท<br />

119


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

ปัจฉิมบท<br />

ภารกิจทางทหาร<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔ ของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> ถือเป็นส่วนสาคัญในการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร<br />

ไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งยังเป็นการก าหนดภารกิจและกรอบการทางานของ<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>เพื่อสนับสนุน<br />

การดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติในการพัฒนาประเทศ การช่วยเหลือประชาชน<br />

และการแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่ง<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>ได้มีการพัฒนาก าลังพล<br />

และปรับปรุงระบบงานให้สอดคล้องกับแนวคิดของรัฐบาลและนายกรัฐมนตรีที่มุ่งเน้นให้ทุกส่วนราชการปฏิบัติงานใน<strong>ปี</strong> พ.ศ.๒๕๖๑ ภายใต้<br />

แนวความคิด “<strong>ปี</strong>แห่งการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงการบริหารราชการแผ่นดิน และพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ<br />

และการปฏิรูปประเทศ”<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong> จึงพร้อมที่จะดาเนินภารกิจในการพิทักษ์รักษาเอกราชอธิปไตยของชาติ ปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา<br />

พระมหากษัตริย์ รักษาความมั่นคงแห่งชาติ รักษาเกียรติภูมิและผลประโยชน์ของชาติ รวมถึงการช่วยเหลือประชาชนและพัฒนาประเทศ<br />

ซึ่งจะสร้างความเชื่อมั่นให้แก่พี่น้องประชาชนว่า <strong>กระทรวงกลาโหม</strong>พร้อมที่จะยืนเคียงข้างและก้าวเดินไปพร้อมกับพี่น้องประชาชนในการ<br />

ขับเคลื่อนประเทศไทยให้ก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างมีเสถียรภาพ ภายใต้วิสัยทัศน์ของชาติคือ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สืบไป<br />

120


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

๘ เมษำยน ๒๕๖๑<br />

วันคล้ำยวันสถำปนำกระทรวงกลำโหมครบ ๑๓๑ <strong>ปี</strong><br />

เกียรติภูมิ ศักดิ์ศรี ทวีค่ำ เทิดรำชำ คู่ชำติไทย ให้สูงส่ง<br />

รักษ์รำษฎร์ สร้ำงสุขใจ ใฝ่ธำรง ชำติมั่นคง เสริมส่งรัฐ วัฒนำ<br />

รุ่ง ๑๔ ทศวรรษ พิพัฒน์ชำติ พลังอำนำจ สำนกลไก ไทยสง่ำ<br />

ร่วมนิยำม อธิปไตย ได้สืบมำ ด้วยแสนยำ แลสั่งสม อุดมกำรณ์<br />

121


๑๓๑ <strong>ปี</strong><br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong>


กระทรวงกลำโหม<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

พิมพ์ครั้งแรก มีนำคม ๒๕๖๑ จำนวน ๕๐๐ เล่ม<br />

ISBN :<br />

เจ้ำของผู้พิมพ์ผู้โฆษณำ สานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

เลขที่ ๗ ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐<br />

ประธำนที่ปรึกษำ พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์<br />

คณะที่ปรึกษำ พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท์<br />

พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุ่งทอง<br />

พลเอก ณัฐ อินทรเจริญ<br />

พลเอก โชคดี เกตสัมพันธ์<br />

พลเอก ฤทธี อินทราวุธ<br />

พลตรี โอภาส อุตตรนคร<br />

บรรณำธิกำรอำนวยกำร พลตรี ยุทธนินทร์ บุนนาค<br />

รองบรรณำธิกำรอำนวยกำร พันเอก ภัทร์นรินท์ วิจิตรพฤกษ์<br />

พันเอก ชูเลิศ จิระรัตนเมธากร<br />

บรรณำธิกำรข้อมูล พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์<br />

บรรณำธิกำรบริหำร พันเอก สุวเทพ ศิริสรณ์<br />

รองบรรณำธิกำรบริหำร พันเอก วันชนะ สวัสดี<br />

นาวาเอกหญิง รสสุคนธ์ ทองใบ<br />

กองบรรณำธิกำร นาวาอากาศโทหญิง ฉันทนี บุญปักษ์<br />

นาวาตรีหญิง กัญญารัตน์ ชูชาติ, พันตรีหญิง ลลิดา กล้าหาญ,<br />

ร้อยตรีหญิง ธัญญ์ธชนม์ สุขเสงี่ยม, ร้อยตรีหญิง สุชาดา โยธาขันธ์<br />

จ่าสิบเอก สมหมาย ภมรนาค, สิบเอก เชาว์วัศ ชนะพงศ์นิธิกุล<br />

พิสูจน์อักษร พันเอกหญิง วิวรรณ วรวิศิษฏ์ธารง<br />

อำนวยกำรผลิต<br />

ขอขอบคุณ<br />

ออกแบบและพิมพ์ที่ หจก. อรุณการพิมพ์<br />

สานักงานเลขานุการสานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

กองบัญชาการกองทัพไทย<br />

กองทัพบก<br />

กองทัพเรือ<br />

กองทัพอากาศ<br />

สานักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

123


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

124


125<br />

<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

<strong>ในทศวรรษที่</strong> ๑๔<br />

เนื้อหาสาระที่นาเสนอในหนังสือเล่มนี้<br />

เป็นข้อคิดเห็นจากการรวบรวมข้อมูล<br />

และเรียบเรียงออกมาเป็นผลงานของคณะผู้จัดทา<br />

โดยมีเจตนาเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ท่านผู้อ่าน มิได้เป็นข้อยุติหรือมีผลผูกพันกับทางราชการแต่อย่างใด<br />

หากท่านผู้อ่านมีข้อแนะนาเพิ่มเติม ติชม หรือมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ<br />

คณะผู้จัดทาขอน้อมรับไว้ด้วยความเต็มใจและยินดีเป็นอย่างยิ่ง<br />

โดยท่านสามารถส่งมาได้ที่ กองประชาสัมพันธ์ สานักงานเลขานุการสานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

เพื่อที่จะได้นาไปพัฒนา ปรับปรุง ให้สมบูรณ์และดียิ่งๆ ขึ้นในโอกาสต่อไป<br />

ขอขอบพระคุณ<br />

กองประชาสัมพันธ์ สานักงานเลขานุการสานักงานปลัด<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

ในศาลาว่าการกลาโหม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐<br />

โทรศัพท์/โทรสาร ๐ ๒๒๒๕ ๘๒๖๒<br />

www.sopsd.mod.go.th<br />

126


<strong>กระทรวงกลาโหม</strong><br />

เสาหลัก...ความมั่นคง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!