11.04.2014 Views

Time Evolution - ภาควิชาฟิสิกส์

Time Evolution - ภาควิชาฟิสิกส์

Time Evolution - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 4 <strong>Time</strong> <strong>Evolution</strong> 4-14<br />

4.4 Magnetic Resonance<br />

ภาพ 4.4 ผลการทดลองของ Werner at.<br />

el. แสดงปริมาณของ neutron ที่ detector<br />

นับได ภายหลังจากมีการแทรกสอด<br />

เกิดขึ้น<br />

จะเห็นวาที่ความเขมของสนามประมาณ<br />

62 Gauss มีการหักลางกันของ neutron<br />

beam [Credit: ภาพจาก Werner et. al.<br />

Phys. Rev. Lett. 35, 1053 (1975)]<br />

1<br />

2<br />

B zˆ<br />

ใน Section 4.2 เราไดศึกษาผลของสนามแมเหล็ก B ตอการ precess ของ spin s = particle ใน<br />

<br />

กรณีดังกลาว ถาเรากําหนดใหทิศทางของสนามแมเหล็กใหขนานกับแกน z หรือ แลว ความ<br />

นาจะเปนที่จะพบอนุภาคอยูในสภานะ + Z หรือ − Z จะไมเปลี่ยนแปลงกับเวลา<br />

หรืออีกนัยหนึ่ง เราอาจจะมองภาพโดยอนุโลมไดวา สนามแมเหล็ก B ทําหนาที่เหมือนหมุดที่<br />

พยายามตรึง spin ของอนุภาคใหเรียงตัวตามแนวแกน z เพราะฉะนั้นถาเราเตรียม spin ของอนุภาค<br />

ใหอยูตามแนวแกน z เมื่อเวลา t = 0 หรือ Ψ ( t = 0) = + Z สนามแมเหล็ก B จะตรึงให<br />

ระบบอยูในสถานะ Ψ () t = + Z ไปโดยตลอด หรือ ถา Ψ ( t = 0) = − Z สนามแมเหล็ก<br />

ก็จะตรึงใหระบบอยูในสถานะ Ψ () t = − Z ไปโดยตลอดเชนกัน<br />

ในกรณีที่ spin ของอนุภาคไมใชทั้ง + Z หรือ − Z เสียเลยทีเดียว หากแตเปนผลบวก หรือ<br />

1 1<br />

superposition ของทั้งสอง state ยกตัวอยางเชน + X = + Z + − Z ในกรณีเชนนี้ spin<br />

จะเกิดการ precess ดวยความถี่ ω = 0<br />

0<br />

geB<br />

2m<br />

2 2<br />

เราอาจจะออกแบบการวางสนามแมเหล็กใหซับซอนมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะให spin ของระบบสามารถที่<br />

จะเปลี่ยนแปลงจาก + Z ไปยัง −Z<br />

ไดเมื่อเวลาผานไป ดังภาพ 4.5<br />

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!