11.04.2014 Views

Time Evolution - ภาควิชาฟิสิกส์

Time Evolution - ภาควิชาฟิสิกส์

Time Evolution - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา 4 <strong>Time</strong> <strong>Evolution</strong> 4-26<br />

ดานลาง หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาเปนสถานะผสม ซึ่งในทางคณิตศาสตรเราใชคําวา superposition<br />

ของ state<br />

นอกจากนี้ สถานะ I และ II มีพลังงานเทากับ E0<br />

− A และ E0<br />

+ A ตามลําดับ สงผลใหเมื่อ<br />

ระบบมีการเปลี่ยนแปลงระหวางสถานะทั้งสอง จะมีการปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาซึ่งมี<br />

พลังงานเทากับผลตางของพลังงาน hv = E − E = 2A<br />

II<br />

แบบฝกหัด 4.8 จากการทดลองพบวา คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ปลอยออกมาจากการเปลี่ยนแปลง<br />

สถานะมีความยาวคลื่นเทากับ จงใหความสัมพันธในสมการ (4.47) เพื่อคํานวณหาความ<br />

1<br />

1 cm<br />

4<br />

นาจะเปนตอหนึ่งหนวยเวลา ที่ระบบจะมีการเปลี่ยนสถานะจาก 2 ⇒ 1 (เรียกกันโดยทั่วไปวา<br />

transition rate)<br />

I<br />

Dynamics ของโมเลกุล Ammonia<br />

สมมุติวา ณ เวลา t = 0 เรากําหนดใหอะตอมของ nitrogen อยู ณ ตําแหนงดานบนของระนาบที่<br />

ประกอบกันขึ้นจาก hydrogen อะตอมทั้งสาม หรืออีกนัยหนึ่ง<br />

Ψ (0) = 1 ___________________ (4.62)<br />

ในสภาวะเชนนี้ เราอาจตองการที่จะทราบวา state ของระบบดังกลาว เปลี่ยนแปลงไปเชนใดเมื่อเวลา<br />

ผานไป โดยใช time evolution operator เราสามารถคํานวณหา state ณ เวลาใดๆไดวา<br />

iHˆ<br />

t<br />

Ψ () t = Uˆ<br />

() t Ψ (0) = e −<br />

Ψ(0)<br />

___________________ (4.63)<br />

และจากสมการ (4.60) - (4.61) เราสามารถเขียน 1 ใหอยูในรูป superposition ของ I และ II<br />

ไดวา<br />

1<br />

1 1<br />

= I + II ___________________ (4.64)<br />

2 2<br />

เพราะฉะนั้น สมการ (4.63) กลายเปน<br />

Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!