11.05.2016 Views

Annual Report 2008

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ศูนยบริการประชาชน<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี


ทรงพระเจริญ<br />

,<br />

ดวยเกลาดวยกระหมอม<br />

ขาพระพุทธเจา<br />

ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี


ศูนยบริการประชาชน<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี


สารผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน<br />

ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ในฐานะ<br />

ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาลเปนหนวยงานในการรับเรื่องรองเรียน<br />

จากประชาชนที่ยื่นตอนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำ<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี ผานชองทางตางๆ ๔ ชองทาง ไดแก สายดวนของ<br />

รัฐบาล ๑๑๑๑ www.1111.go.th ตู ปณ. ๑๑๑๑ (ปณ. ทำเนียบรัฐบาล<br />

กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๒ ไมตองติดแสตมป) และจุดบริการประชาชน<br />

๑๑๑๑ ทำเนียบรัฐบาล โดยศูนยบริการประชาชนจะใหคำปรึกษาแนะนำ<br />

ในกรณีเรื่องที่สามารถดำเนินการในเบื้องตน แตหากเปนกรณีปญหาที่ตอง<br />

ดำเนินการตามอำนาจหนาที่และภารกิจของหนวยงานอื่น จะประสาน<br />

การแกไขปญหาไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อใหการชวยเหลือตอไป ตลอดจน จัดใหมีการติดตามผลความคืบหนา<br />

ในการดำเนินการแกไขปญหาตามขอรองเรียนจากหนวยงานตางๆ อยางสม่ำเสมอ รวมทั้งมีคณะทำงานลงไป<br />

ตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่อยางตอเนื่อง เพื่อใหการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนไดรับการพิจารณา<br />

จากหนวยงานที่เกี่ยวของอยางใกลชิดจนไดขอยุติอยางมีประสิทธิภาพ โดยจะเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม<br />

ดวยความใกลชิด ทั้งนี้เพื่อเปนการรับทราบปญหาที่แทจริงดวยความเขาใจของทุกฝาย อันจะกอใหเกิดประโยชน<br />

สูงสุดแกการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชน<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ นอกจากภารกิจดานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนดังกลาว<br />

ขางตนแลว ศูนยบริการประชาชนไดรับมอบหมายใหดำเนินการในภารกิจเชิงนโยบายหลายภารกิจ รวมทั้งภารกิจ<br />

ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ดวย โดยในทุกภารกิจ<br />

ไดนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาพัฒนากระบวนการบริหารจัดการและพัฒนาการเชื่อมโยงเครือขาย<br />

กับสวนราชการและหนวยงานที่เกี่ยวของ สงผลใหการดำเนินการดานตางๆ มีความรวดเร็วและเปนรูปธรรมที่ชัดเจน<br />

มากขึ้น นอกจากนั ้นศูนยบริการประชาชนไดนำขอมูลเรื่องรองเรียนในระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกข ซึ่งเปน<br />

ฐานขอมูลกลางในการปฏิบัติงานเรื่องรองเรียนของหนวยงานทั่วประเทศที่เปนผูประสานงานผานระบบฯ กับศูนยบริการ<br />

ประชาชน มาศึกษาวิเคราะหในเชิงวิชาการเพื่อประกอบการพิจารณาของผูบริหารระดับนโยบายและคณะรัฐมนตรี<br />

พรอมทั้งไดมีการประชาสัมพันธผลการดำเนินการในภาพรวมผานสื่อตางๆ อยางตอเนื่อง ซึ่งเปนสวนหนึ่งในการ<br />

สงเสริมภาพลักษณและการสรางความเขาใจที่ดีระหวางประชาชนกับภาครัฐดานการแกไขปญหาความเดือดรอน<br />

ของประชาชนดวย<br />

สุดทายนี้ ศูนยบริการประชาชน ขอขอบคุณทุกหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจและ<br />

องคกรอิสระตางๆ ที่ใหความรวมมือในการประสานการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนดวยดีตลอดมา<br />

(นายอำนวย โชติสกุล)<br />

ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน<br />

ธันวาคม ๒๕๕๑


คำนำ<br />

รายงานประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ของศูนยบริการประชาชน สำนักงาน<br />

ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเลมนี้ ไดจัดทำในชวงที่สถานการณการเมืองของประเทศ<br />

ไมปกติ โดยมีการชุมนุมทางการเมืองในบริเวณทำเนียบรัฐบาลตั้งแตวันที่ ๒๖<br />

สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงสงผลกระทบใหหนวยงานราชการตางๆ ในบริเวณ<br />

ทำเนียบรัฐบาล ไมสามารถเขาไปปฏิบัติงานไดตามปกติรวมถึงระบบฐานขอมูลตางๆ<br />

ที่ตองใชประกอบในการจัดทำรายงานประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ของ<br />

ศูนยบริการประชาชนบางสวนไมสามารถดำเนินการได แตศูนยบริการประชาชน<br />

ไดพยายามรวบรวมขอมูลที่มีอยูและประสานงานทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อใหการ<br />

จัดทำรายงานประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ดังกลาวขางตนสำเร็จลุลวงได<br />

ดวยดี<br />

ศูนยบริการประชาชน หวังเปนอยางยิ่งวาขอมูลผลการดำเนินการดานตางๆ<br />

ในรายงานประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ นี้ จะเปนประโยชนตอผูบริหารทุกระดับ<br />

และเปนประโยชนกับหนวยงานและผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับเรื่องรองเรียน<br />

ของประชาชน รวมทั้งเปนประโยชนกับประชาชนทั่วไปตลอดจนผูสนใจตามควร<br />

แกกรณีดวย<br />

ศูนยบริการประชาชน<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ธันวาคม ๒๕๕๑


สารบัญ<br />

หนา<br />

สารผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน ๖<br />

คำนำ ๗<br />

บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

๑.๑ ขอมูลทั่วไป ๑๒<br />

๑.๒ อำนาจหนาที่ ๑๒<br />

๑.๓ วิสัยทัศน ๑๒<br />

๑.๔ พันธกิจ ๑๓<br />

๑.๕ ชองทางการรองเรียน ๑๓<br />

๑.๖ ที่ตั้ง ๑๔<br />

๑.๗ การแบงสวนราชการและโครงสราง ๑๕<br />

๑.๘ ผูบริหารของศูนยบริการประชาชน ๑๖<br />

๑.๙ ภารกิจ ๑๘<br />

๑.๑๐ บุคลากร ๒๓<br />

๑.๑๑ งบประมาณ ๒๔<br />

บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๑ การดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวของกับนโยบายของรัฐบาลและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ ๒๘<br />

๒.๑.๑ ภารกิจศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ๒๘<br />

๒.๑.๒ ภารกิจศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน ๓๙<br />

ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘<br />

๒.๑.๓ ภารกิจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ๖๒<br />

วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘


หนา<br />

๒.๒ สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน ๖๙<br />

ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๓ สรุปผลการดำเนินการดานการประสานมวลชนและองคกรประชาชน ๗๖<br />

๒.๔ สรุปผลการดำเนินการดานการตรวจสอบขอเท็จจริงและติดตาม ๙๐<br />

ผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนในพื้นที่<br />

๒.๕ ผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน ๑๑๓<br />

ของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๖ ผลการดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ๑๑๗<br />

ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

บทที่ ๓ บทสรุป<br />

๓.๑ บทสรุป ๑๒๖<br />

๓.๒ ปญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ ๑๓๓<br />

๓.๓ แนวทางแกไข ๑๓๔<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ศบช. ตลอดป ๒๕๕๑ ๑๓๗<br />

คณะผูจัดทำ ๑๔๘<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong>


บทที่ ๑<br />

ศูนยบริการประชาชน


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

๑.๑ ขอมูลทั่วไป<br />

ศูนยบริการประชาชน เปนหนวยงานในสังกัดสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีอำนาจหนาที่ในการดำเนินการ<br />

เกี่ยวกับการรองทุกข รองเรียน และขอความเปนธรรมของประชาชน ที่มีมาถึงนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี<br />

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งศูนยบริการประชาชนยุคใหม มุงเนนพัฒนาวิธี<br />

การทำงาน โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารเขามาชวยในการปฏิบัติงาน ผานกระบวนการ<br />

บริหารจัดการที่เปนระบบ เพื่อใหภารกิจการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนระหวางสวนราชการ และหนวยงาน<br />

ที่เกี่ยวของมีเอกภาพและสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนไดอยางสูงสุด<br />

๑.๒ อำนาจหนาที่<br />

ศูนยบริการประชาชนมีอำนาจหนาที่ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ดังนี้<br />

๑.๒.๑ ดำเนินการเกี่ยวกับการรองทุกข รองเรียนขอความเปนธรรมและการขอความชวยเหลือที่มีผูยื่นคำรองตอ<br />

นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รวมทั้งปญหา<br />

ความเดือดรอนของประชาชน<br />

๑.๒.๒ ใหคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมาย และการดำเนินคดีแกประชาชนที่มาขอความชวยเหลือและ<br />

ขอคำแนะนำจากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

๑.๒.๓ ประสานงานเพื่อแกไขปญหาและอำนวยความสะดวกแกมวลชนที่มาพบ หรือชุมนุมรองเรียนตอ<br />

นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

๑.๒.๔ ตรวจสอบเรื่องรองเรียนในพื้นที่เพื่อแกปญหาสำคัญที่เปนกรณีเรงดวน<br />

๑.๒.๕ ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย<br />

๑.๓ วิสัยทัศน (Vision)<br />

เปนองคกรกลางในการรับเรื่องราวรองทุกข<br />

และเปนศูนยกลางแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล<br />

เพื่อประโยชนสุขและตอบสนองการมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารงานภาครัฐ<br />

๑๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


๑.๔ พันธกิจ (Mission)<br />

๑.๔.๑ พัฒนาชองทางการรองทุกขในทุกชองทางใหเปนศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

๑.๔.๒ พัฒนาระบบเครือขายใหเปนศูนยประสานงานเรงรัดติดตามและประเมินผลการแกไขปญหา<br />

ความเดือดรอนของประชาชน<br />

๑.๔.๓ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการแกไขปญหาความเดือดรอน โดยยึดประชาชนเปนศูนยกลาง<br />

๑.๔.๔ พัฒนากระบวนการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนอยางเปนระบบ<br />

๑.๕ ชองทางการรองเรียน<br />

ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งเปนหนวยงานกลางในการรับเรื่องรองเรียน<br />

จากประชาชนที่มีมาถึงนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ผาน ๔ ชองทาง<br />

ดังนี้<br />

๑.๕.๑ สายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

๑.๕.๒ เว็บไซต www.1111.go.th<br />

๑.๕.๓ ตู ปณ. ๑๑๑๑ ปณ. ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๒ (ไมตองติดแสตมป)<br />

๑.๕.๔ จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑ ทำเนียบรัฐบาล<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๓


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

๑.๖ สถานที่ตั้งศูนยบริการประชาชน<br />

สถานที่ตั้งศูนยบริการประชาชน<br />

ถนนราชดำเนิน<br />

ประตู จปร.<br />

กองทัพภาคที่ ๑<br />

ถนนลูกหลวง<br />

ประตู สลค.<br />

ประตูเขา<br />

ตึกไทยคูฟา<br />

ถนนนครปฐม<br />

คลองเปรมประชา<br />

ตึก สปน.<br />

ศบช. (ชั้น ๒)<br />

ประตูออก<br />

ถนนพิษณุโลก<br />

ปปป.<br />

ประตู สปน.<br />

กพ.<br />

ธนาคาร<br />

กรุงเทพฯ<br />

สะพานชมัยมรุเชษฐ<br />

สถานที่ตั้งศูนยบริการประชาชน ภายในทำเนียบรัฐบาล<br />

๑๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


๑.๗ การแบงสวนราชการและโครงสราง<br />

ศูนยบริการประชาชนเปนหนวยงานในสังกัดสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีการแบงโครงสราง<br />

อยางเปนทางการเปน ๓ สวน และ ๑ ฝาย ดังนี้<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ศูนยบริการประชาชน<br />

ฝายบริหารงานทั่วไป<br />

(ฝบท.)<br />

สวนบริการประชาชน ๑<br />

(สบช ๑.)<br />

สวนบริการประชาชน ๒<br />

(สบช ๒.)<br />

สวนประสานมวลชน<br />

และประเมินผล (สปป.)<br />

เนื่องจากขณะนี้มีการพัฒนาภารกิจดานตางๆ ของศูนยบริการประชาชนเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น เพื่อให<br />

การบริหารราชการของศูนยบริการประชาชนมีความชัดเจนดานสายการบังคับบัญชา การมอบหมายภารกิจในหนาที่<br />

และความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงไดมีการแบงการบริหารราชการภายใน ดังนี้<br />

โครงสรางการบริหารจัดการภายในศูนยบริการประชาชน<br />

ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน<br />

สวนบริการ<br />

ประชาชน ๑<br />

(สบช ๑.)<br />

สวนบริการ<br />

ประชาชน ๒<br />

(สบช ๒.)<br />

สวนประสาน<br />

มวลชน<br />

และองคกร<br />

ประชาชน<br />

(สปอ.)<br />

สวนการมี<br />

สวนรวมของ<br />

ประชาชน<br />

(สมร.)<br />

สวนพัฒนา<br />

ระบบงาน<br />

และประเมินผล<br />

(สพป.)<br />

ฝายบริหารงาน<br />

ทั่วไป<br />

(ฝบท.)<br />

กลุม<br />

เทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ<br />

(กทส.)<br />

ฝายเรื่องราว<br />

รองทุกข<br />

กลุมตรวจสอบ<br />

และติดตาม<br />

ผลการสั่งการ<br />

ฝายประสาน<br />

มวลชน<br />

(ฝปช.)<br />

ฝายพัฒนา<br />

การมีสวนรวม<br />

ของประชาชน<br />

(ฝพร.)<br />

ฝายพัฒนา<br />

ระบบงาน<br />

(ฝพบ.)<br />

ฝาย<br />

อำนวยการ<br />

ฝายองคกร<br />

ประชาชน<br />

(ฝอช.)<br />

ฝายสงเสริม<br />

การมีสวนรวม<br />

ของประชาชน<br />

(ฝสร.)<br />

ฝาย<br />

ประเมินผล<br />

(ฝปผ.)<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๕


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

๑.๘ ผูบริหารของศูนยบริการประชาชน<br />

นายอำนวย โชติสกุล<br />

ผูอำนวยการ<br />

ศูนยบริการประชาชน<br />

วาง<br />

นางอัจจิมา จันทรสุวานิชย<br />

ผูอำนวยการ<br />

สวนประสานมวลชนและประเมินผล<br />

ผูอำนวยการ<br />

สวนบริการประชาชน ๑<br />

นายทศพร สุวรรณาภิรมย<br />

ผูอำนวยการ<br />

สวนบริการประชาชน ๒<br />

๑๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


นางสาวลักขณา ศรีผุดผอง<br />

เจาหนาที่วิเคราะห<br />

นโยบายและแผน ๘ว<br />

นายฆองชัย เกียรติกิตติสรณ<br />

เจาหนาที่วิเคราะห<br />

นโยบายและแผน ๗<br />

นายสุขสวัสดิ์ สุวรรณวงศ<br />

นิติกร ๗ว<br />

รอยเอกทวิช ศุภวรรณ<br />

เจาหนาที่วิเคราะห<br />

นโยบายและแผน ๗<br />

นางมาลินี ภาวิไล<br />

เจาหนาที่วิเคราะห<br />

นโยบายและแผน ๗<br />

นายสมพงษ ไวถนอมสัตว<br />

นิติกร ๗<br />

นางศิริพร อุดมโชคชัย<br />

เจาหนาที่<br />

บริหารงานทั่วไป ๗<br />

นายวิสุทธิ์ ฉัตรานุฉัตร<br />

นิติกร ๗ว<br />

นายพันศักดิ์ เจริญ<br />

นิติกร ๗ว<br />

นายอิทธิพล ชางกลึงดี<br />

เจาหนาที่วิเคราะห<br />

นโยบายและแผน ๗<br />

นางจุฑามาศ ศิริชัยสุทธิกร<br />

เจาหนาที่วิเคราะห<br />

นโยบายและแผน ๖ว<br />

นายโรจน วราพรมงคลกุล<br />

นิติกร ๕<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๗


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

๑.๙ ภารกิจ<br />

สวน/ฝายตามโครงสรางใหมของศูนยบริการประชาชน มีภารกิจสรุปไดดังนี้<br />

๑.๙.๑ ฝายบริหารงานทั่วไป หนาที่และความรับผิดชอบ มีดังนี้<br />

(๑) งานธุรการของศูนยบริการประชาชน ไดแก งานสารบรรณ งานบุคคล งานการเงิน งานพัสดุ<br />

(๒) ดำเนินการอื่นใดที่มิไดกำหนดใหเปนหนาที่และความรับผิดชอบของสวนหรือฝายใดของ<br />

ศูนยบริการประชาชน<br />

(๓) ปฏิบัติงานรวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของสวนและฝายอื่น ตามที่ไดรับการประสานและ<br />

ขอความรวมมือ<br />

(๔) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชนมอบหมาย<br />

๑.๙.๒ สวนบริการประชาชน ๑ หนาที่และความรับผิดชอบ มีดังนี้<br />

(๑) ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องรองทุกข รองเรียน ขอความเปนธรรม ขอความชวยเหลือ และปญหา<br />

ความเดือดรอนอื่นของประชาชนที่ไดรับจากทุกชองทาง รวมทั้งใหคำแนะนำแกประชาชนเกี่ยวกับ<br />

กฎหมาย การดำเนินคดี และเรื่องอื่นใดตามความเหมาะสม<br />

(๒) งานศูนยรับเรื่องราวรองทุกขทำเนียบรัฐบาล (PSC Call Center) ของสำนักงานปลัดสำนัก<br />

นายกรัฐมนตรีทางระบบโทรศัพท สายดวนทำเนียบรัฐบาล ๑๓๗๖<br />

(๓) งานศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

(๔) งานเรื่องรองเรียนผานศูนยบริการขอมูลภาครัฐเพื่อประชาชน (Government Contact Center)<br />

สายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

(๕) งานเรื่องรองเรียนทางเว็บบอรดของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

(๖) งานศูนยบริการรวมตามโครงการและความรวมมือของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ<br />

(๗) ปฏิบัติงานรวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของสวนและฝายอื่น ตามที่ไดรับการประสานและ<br />

ขอความรวมมือ<br />

(๘) ประสาน สนับสนุน และติดตามผลการพิจารณาดำเนินการของหนวยงาน ที่เกี่ยวของกับ<br />

เรื่องรองเรียน<br />

(๙) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชนมอบหมาย<br />

๑.๙.๓ สวนบริการประชาชน ๒ หนาที่และความรับผิดชอบ มีดังนี้<br />

(๑) ดำเนินการศึกษาวิเคราะหเรื่องรองเรียนในเชิงคุณภาพและเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา<br />

วินิจฉัย สั่งการของผูบังคับบัญชา<br />

(๒) ดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องรองเรียนที่มีความซับซอน<br />

๑๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องรองเรียนนอกสถานที่<br />

(๔) ดำเนินการเกี่ยวกับการแกไขกรณีปญหาสภาพพื้นที่น้ำทวมอาคารมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต<br />

นครสวรรค<br />

(๕) ปฏิบัติงานรวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของสวนและฝายอื่น ตามที่ไดรับการประสานและ<br />

ขอความรวมมือ<br />

(๖) ประสาน สนับสนุน และติดตามผลการพิจารณาดำเนินการของหนวยงาน ที่เกี่ยวของกับ<br />

การตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่ หรือที่เกี่ยวของกับการดำเนินการที่ไดรับมอบหมาย<br />

(๗) ดำเนินการเกี่ยวกับงานโครงการอุทยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่องใน<br />

โอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ (โครงการวัดปทุม<br />

วนาราม)<br />

(๘) ดำเนินการในภารกิจของกลุมตรวจสอบและติดตามผลการสั่งการ ซึ่งประกอบดวยภารกิจ ดังนี้<br />

(๘.๑) ตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติงานของสวนราชการตามการสั่งการของนายกรัฐมนตรี<br />

และรองนายกรัฐมนตรี<br />

(๘.๒) ตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่โดยการประสานกับหนวยงาน และผูที่เกี่ยวของใหชี้แจงขอเท็จจริง<br />

หรือใหขอมูลเพิ่มเติม<br />

(๘.๓) งานจัดนิทรรศการของศูนยบริการประชาชน<br />

(๙) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชนมอบหมาย<br />

๑.๙.๔ สวนประสานมวลชนและองคกรประชาชน มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

(๑) ดำเนินการเกี่ยวกับการประสานงานเพื่อแกไขปญหาและอำนวยความสะดวกแกมวลชนที่เขาพบ<br />

หรือชุมนุมรองเรียนตอนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

(๒) รับเรื่องรองเรียนของประชาชนที่มารองเรียนดวยตนเอง<br />

(๓) ประสานความรวมมือในการแกไขปญหาความเดือดรอนขององคกรประชาชนกับสวนราชการ หรือ<br />

หนวยงานที่เกี่ยวของรวมทั้งองคกรเอกชนสาธารณะเพื ่อสงเสริมและสนับสนุนการแกไขปญหา<br />

ความเดือดรอนขององคกรประชาชน<br />

(๔) สงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางสวนราชการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของและองคกรเอกชนสาธารณะ<br />

ใหประสานและแกไขปญหาความเดือดรอนอยางเปนระบบ<br />

(๕) ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๙


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

โครงสรางภายในของสวนประสานมวลชนและองคกรประชาชน แบงออกเปน ๒ ฝาย ดังนี้<br />

ฝายประสานมวลชน มีหนาที่รับผิดชอบ ดังนี้<br />

• ดำเนินการเกี่ยวกับการประสานงานเพื่อแกไขปญหาและอำนวยการแกมวลชนที่เขาพบนายกรัฐมนตรี<br />

รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตามที่นัดหมายและประสานการแกไข<br />

การชุมนุมรองเรียน<br />

• รับเรื่องและดำเนินการเรื่องรองเรียนของประชาชนที่มารองเรียนดวยตนเอง<br />

• ประสานหนวยงานหรือผูที่เกี่ยวของเพื่อแกไขปญหาการชุมนุมรองเรียน<br />

• ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

ฝายองคกรประชาชน มีหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

• ประสานความรวมมือในการแกไขปญหาความเดือดรอนขององคกรประชาชนกับสวนราชการหรือ<br />

หนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งองคกรเอกชนสาธารณะเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการแกไขปญหา<br />

ความเดือดรอนขององคกรประชาชน<br />

• สงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางสวนราชการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ และองคกรเอกชนสาธารณะ<br />

ใหประสานและแกไขปญหาความเดือดรอนอยางเปนระบบ<br />

• ดำเนินการติดตามการแกไขปญหาความเดือดรอนขององคกรประชาชนในพื้นที่<br />

• ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

๑.๙.๕ สวนการมีสวนรวมของประชาชน มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

(๑) เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตรการมีสวนรวมของประชาชน<br />

(๒) กำกับดูแล สงเสริม สนับสนุน ชวยเหลือ และแนะนำหนวยงานของรัฐ ในการดำเนินการมีสวนรวม<br />

ของประชาชน<br />

(๓) จัดทำและเผยแพรแนวทางการมีสวนรวมของประชาชน<br />

(๔) ศึกษาหรือวิจัยเพื่อพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชน<br />

(๕) สงเสริมและสนับสนุนเครือขายภาคประชาชนในการเขามามีสวนรวมของประชาชน<br />

(๖) ติดตามและประเมินผลการมีสวนรวมของประชาชน<br />

(๗) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย<br />

๒๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


โครงสรางภายในของสวนการมีสวนรวมของประชาชน แบงออกเปน ๒ ฝาย ดังนี้<br />

ฝายพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชน มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

• เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตรการมีสวนรวมของประชาชน<br />

• ศึกษาหรือวิจัยเพื่อพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชน<br />

• ติดตามและประเมินผลการมีสวนรวมของประชาชน<br />

• ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

ฝายสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

• กำกับดูแล สงเสริม สนับสนุน ชวยเหลือ และแนะนำหนวยงานของรัฐ ในการดำเนินการมีสวนรวม<br />

ของประชาชน<br />

• ประชาสัมพันธและเผยแพรแนวทางการมีสวนรวมของประชาชน<br />

• สงเสริมและสนับสนุนเครือขายภาคประชาชนในการเขามามีสวนรวมของประชาชน<br />

• ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

๑.๙.๖ สวนพัฒนาระบบงานและประเมินผล มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

(๑) จัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนยุทธศาสตรของศูนยบริการประชาชน<br />

(๒) จัดทำแผนงานงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณของศูนยบริการประชาชน<br />

(๓) กำกับเรงรัด ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการและแผนการใชจาย<br />

งบประมาณของศูนยบริการประชาชน<br />

(๔) จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) ของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และกำกับ<br />

การดำเนินการโดยรวม<br />

(๕) ประมวลขอมูลผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนเพื่อประกอบการพิจารณาในเชิงนโยบาย<br />

(๖) ประเมินผลขอมูลผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนเพื่อประกอบการพิจารณาในเชิงนโยบาย<br />

(๗) ศึกษาวิเคราะหขอมูลเรื่องรองเรียนเพื่อประกอบการพิจารณาในเชิงนโยบาย<br />

(๘) ประชาสัมพันธชองทางการรับเรื่องรองเรียน และผลการดำเนินการเรื่องรองเรียน รวมทั้ง<br />

ผลการดำเนินการดานอื่นๆ ของศูนยบริการประชาชนในภาพรวม<br />

(๙) เสริมสรางเครือขายประชาสัมพันธเพื่อพัฒนาภาพลักษณขององคกรและสงเสริมความรวมมือ<br />

ระหวางองคกร<br />

(๑๐) งานพัฒนาบุคลากรของศูนยบริการประชาชน<br />

(๑๑) ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๒๑


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

โครงสรางภายในของสวนพัฒนาระบบงานและประเมินผล แบงออกเปน ๒ ฝาย ดังนี้<br />

ฝายพัฒนาระบบงาน มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

• จัดทำแผนปฏิบัติราชการและแผนยุทธศาสตรของศูนยบริการประชาชน<br />

• จัดทำคำของบประมาณรายจายประจำป<br />

• กำกับ เรงรัด ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการและแผนการใชจาย<br />

งบประมาณ<br />

• จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (PA)<br />

• งานพัฒนาบุคลากรของศูนยบริการประชาชน<br />

• ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

ฝายประเมินผล มีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

• ประเมินผล/ประมวลขอมูลและวิเคราะหขอมูลผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนเพื่อประกอบการพิจารณา<br />

ในเชิงนโยบาย<br />

• จัดทำขอมูลประกอบการติดตามและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่<br />

• ศึกษาวิเคราะหขอมูลเพื่อประกอบการพิจารณาในเชิงนโยบาย<br />

• ประชาสัมพันธผลการดำเนินการของศูนยบริการประชาชนในภาพรวม ผานสื่อตางๆ<br />

• เสริมสรางเครือขายประชาสัมพันธเพื่อพัฒนาภาพลักษณขององคกรและสงเสริมความรวมมือ<br />

ระหวางองคกร<br />

• จัดทำรายงานประจำปของศูนยบริการประชาชน<br />

• ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

๑.๙.๗ กลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ (กทส.) โดยมีหนาที่และความรับผิดชอบ ดังนี้<br />

(๑) ดำเนินการดานระบบฐานขอมูลและระบบสารสนเทศของศูนยบริการประชาชน<br />

(๒) ดำเนินการเกี่ยวกับการประมวลผลขอมูลสารสนเทศของศูนยบริการประชาชน<br />

(๓) ดำเนินการดานการพัฒนา และการเผยแพรขอมูลทางเว็บไซตของศูนยบริการประชาชน<br />

(๔) สนับสนุนการดำเนินการทางดานเทคนิคเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหแก<br />

สวน/ฝาย/กลุมอื่น ตามความเหมาะสม<br />

(๕) ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชนมอบหมาย<br />

๒๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


๑.๑๐ บุคลากร<br />

ศูนยบริการประชาชนมีบุคลากรในการปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ สรุปได ดังนี้<br />

๑.๑๐.๑ ขาราชการ จำนวน ๔๘ คน<br />

๑.๑๐.๒ พนักงานราชการ จำนวน ๓๑ คน<br />

๑.๑๐.๓ พนักงานจางเหมาบริการ จำนวน ๓๕ คน<br />

(ปฏิบัติงานโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล)<br />

๑.๑๐.๔ พนักงานจางเหมาบริการ จำนวน ๕ คน<br />

(ปฏิบัติงานโครงการศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน)<br />

๑.๑๐.๕ พนักงานจางเหมาบริการ จำนวน ๖ คน<br />

(ปฏิบัติงานโครงการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน)<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๒๓


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

๑.๑๑ งบประมาณ<br />

๑.๑๑.๑ งบประมาณรายจายประจำป พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชน ไดรับการจัดสรรงบประมาณรายจายประจำป<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑ ภายใตแผนงบประมาณการบริหารจัดการภาครัฐ จำนวนทั้งสิ้น ๑๕๓,๑๙๓,๐๐๐ บาท (หนึ่งรอยหาสิบ<br />

สามลานหนึ่งแสนเกาหมื่นสามพันบาทถวน) ประกอบดวย ๒ ผลผลิต ไดแก<br />

ผลผลิตที่ ๑ : การพัฒนาติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ จำนวน ๙๕,๕๗๙,๐๐๐ บาท<br />

(เกาสิบหาลานหาแสนเจ็ดหมื่นเกาพันบาทถวน)<br />

ผลผลิตที่ ๒ : นโยบายและพันธกิจของรัฐบาลดานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

จำนวน ๕๗,๖๑๔,๐๐๐ บาท (หาสิบเจ็ดลานหกแสนหนึ่งหมื่นสี่พันบาทถวน)<br />

กราฟแสดงงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

รายผลผลิต<br />

หนวย : บาท<br />

๕๗,๖๑๔,๐๐๐<br />

๙๕,๕๗๙,๐๐๐<br />

ผลผลิตที่ ๑<br />

ผลผลิตที่ ๒<br />

๒๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


๑.๑๑.๒ ผลการใชจายงบประมาณรายจายประจำป พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ศูนยบริการประชาชนไดกำหนดแผนงาน/โครงการ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ภายใต<br />

ผลผลิตที่ ๑ : การพัฒนาติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ไดแก โครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกข<br />

ของรัฐบาล (ระยะที่ ๓) และโครงการศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียน<br />

ของประชาชน<br />

ผลผลิตที่ ๒ : นโยบายและพันธกิจของรัฐบาลดานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ไดแก โครงการ<br />

ดำเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

ศูนยบริการประชาชนสามารถดำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการและแผนการใชจายงบประมาณ<br />

ตามที่กำหนด จนสงผลใหโครงการบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และยังคงมีงบประมาณ<br />

เหลือจายอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งไดนำมาดำเนินภารกิจสำคัญที่ศูนยบริการประชาชนกำหนดใหมีขึ้นในชวงปลาย<br />

ปงบประมาณ<br />

ตารางแสดงการใชจายงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ แยกรายโครงการ<br />

แผนงาน/โครงการ ไดรับจัดสรร คาใชจาย สามารถประหยัดได<br />

่<br />

โครงการศูนยประสานการแกไขปญหา ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ -<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชน<br />

โครงการศูนยรับเรื ่องราวรองทุกขของรัฐบาล ๗๕,๕๗๙,๐๐๐ ๗๑,๓๐๓,๐๔๐ ๔,๒๗๕,๙๖๐<br />

(ระยะที ๓)<br />

โครงการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ๓๘,๘๖๐,๐๐๐ ๒๖,๓๖๐,๐๐๐ ๑๒,๕๐๐,๐๐๐<br />

รวม ๑๓๔,๔๓๙,๐๐๐ ๑๑๗,๖๖๓,๐๔๐ ๑๖,๗๗๕,๙๖๐<br />

หมายเหตุ : ไมรวมงบดำเนินงานและงบบุคลากร<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๒๕


บทที่ ๑ ศูนยบริการประชาชน<br />

กราฟแสดงงบประมาณการใชจายโดยแยกเปนรายผลผลิต<br />

๘๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๗๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๖๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๕๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๔๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๓๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๒๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๑๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

๐<br />

๒๐,๐๐๐,๐๐๐<br />

โครงการศูนยประสาน<br />

การแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียน<br />

ของประชาชน<br />

๗๕,๕๗๙,๐๐๐<br />

โครงการศูนย<br />

รับเรื่องราวรองทุกข<br />

ของรัฐบาล<br />

(ระยะที่ ๓)<br />

๔,๒๗๕,๙๖๐<br />

๓๘,๘๖๐,๐๐๐<br />

โครงการรับฟง<br />

ความคิดเห็น<br />

ของประชาชน<br />

๑๒,๕๐๐,๐๐๐<br />

ไดรับจัดสรร<br />

สามารถประหยัดได<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนไดรับการจัดสรรงบประมาณภายใตโครงการศูนยประสาน<br />

การแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน จำนวน ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท โครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกข<br />

ของรัฐบาล (ระยะที ่ ๓) จำนวน ๗๕,๕๗๙,๐๐๐ บาท และโครงการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน จำนวน<br />

๓๘,๘๖๐,๐๐๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๑๓๔,๔๓๙,๐๐๐ บาท ซึ่งไดนำไปดำเนินภารกิจภายใตโครงการตางๆ ที่รับผิดชอบ<br />

จำนวน ๑๑๗,๖๖๓,๐๔๐ บาท โดยสามารถประหยัดงบประมาณในภาพรวมไดถึง ๑๖,๗๗๕,๙๖๐ บาท<br />

๒๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


บทที่ ๒<br />

สรุปผลการดำเนินการในภาพรวม<br />

ประจำปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนไดดำเนินการในภารกิจที่สำคัญดานตางๆ สรุปไดดังนี้<br />

๒.๑ การดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวของกับนโยบายของรัฐบาล และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ<br />

ประกอบดวย<br />

๒.๑.๑ ภารกิจศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

สรุปผลการดำเนินการของโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาลปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดดังนี้<br />

(๑) การพัฒนาการเชื่อมโยงฐานการดำเนินการเรื่องราวรองทุกขระหวางหนวยงานภาครัฐ<br />

(๒) การเพิ่มศักยภาพและขยายระบบอุปกรณหลักเพื่อรองรับปริมาณการเชื่อมโยงระบบ<br />

ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

(๓) การบริหารจัดการดูแลระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกข<br />

(๔) การบำรุงรักษาวัสดุอุปกรณ (Hardware, Software)<br />

สรุปผลการดำเนินการในภารกิจตามขอ (๑) - (๔) ไดดังนี้<br />

จัดจางบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

และการสื่อสาร พัฒนาและดูแลระบบการเชื่อมโยงฐานขอมูล ขยายขีดความสามารถของระบบศูนยรับเรื่องราวรองทุกข<br />

ของรัฐบาล โดยเชื่อมโยงการดำเนินการผานเครือขายสื่อสารขอมูลเชื่อมโยงหนวยงานภาครัฐ (Government Information<br />

Network : GIN) ซึ่งเปนระบบเครือขายสารสนเทศภาครัฐ ที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดพัฒนาขึ้น<br />

เพื่อเปนโครงสรางพื้นฐานของโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) จำนวน ๑๒๕ หนวยงาน ดังนั้น<br />

เพื่อเปนการพัฒนาการดำเนินการเรื่องราวรองทุกขใหเกิดความตอเนื่องและสอดคลองกับแนวทางการเชื่อมโยงขางตน<br />

ศูนยบริการประชาชน ในฐานะหนวยงานกลางในการพัฒนาระบบการดำเนินการเรื่องราวรองทุกข จึงไดจัดทำ<br />

โครงการอบรมเพื่อสรางศักยภาพเครือขายการปฏิบัติงานผานระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกข (Contact Point) ขึ้น<br />

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเรื่องรองเรียนของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ไดทดลองปฏิบัติงาน<br />

เสมือนจริงผานระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกขที่ไดพัฒนาขึ้นเปนระบบกลางและสรางความสัมพันธโดยเปน<br />

โอกาสอันดีที่เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเรื่องราวรองทุกขระหวางหนวยงานภาครัฐจะไดพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น<br />

ซึ่งกันและกัน บนแนวคิดเรื่อง “การสรางเครือขายในการปฏิบัติงานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ” โดยการ<br />

จัดอบรมตามโครงการดังกลาว จำนวน ๕ ครั้ง ซึ่งกลุมเปาหมายเปนผูปฏิบัติงานเรื่องรองเรียนของสวนราชการ<br />

และหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ดังนี้<br />

๒๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

• ครั้งที่ ๑ ระหวางวันที่ ๒๓ – ๒๖ มกราคม ๒๕๕๑ ณ โรงแรมฮอลิเดยอินท จังหวัดเชียงใหม โดยมี<br />

ผูเขารับการอบรมประกอบดวยผูแทนจากสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานผูตรวจการแผนดิน สำนักงานศาลยุติธรรม<br />

สำนักงานตำรวจแหงชาติ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จำนวนทั้งสิ้น ๑๐๒ คน จาก ๕๖ หนวยงาน<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๒๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

• ครั้งที่ ๒ ระหวางวันที่ ๑๒ – ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ณ โรงแรมโซฟเทล ราชา ออรคิด จังหวัดขอนแกน<br />

โดยมีผูเขารับการอบรม ประกอบดวยผูแทนจากกระทรวงการคลัง กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงพาณิชย<br />

กระทรวงสาธารณสุข และจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวนทั้งสิ้น ๑๐๒ คน จาก ๕๕ หนวยงาน<br />

• ครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๑๑ - ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๑ ณ โรงแรมจอมเทียน ปาลมบีช พัทยา จังหวัดชลบุรี โดยมี<br />

ผูเขารวมอบรม จำนวน ๑๒๕ คน ประกอบดวย ผูแทนหนวยงานจากกระทรวงกลาโหม กระทรวงการพัฒนาสังคม<br />

และความมั่นคงของมนุษย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และผูแทนจังหวัด<br />

จำนวนทั้งสิ้น ๑๑๑ คน จาก ๖๑ หนวยงาน<br />

๓๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

• ครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่ ๑๗ - ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๑ ณ โรงแรมธรรมรินทรธนา จังหวัดตรัง โดยมีผูเขา<br />

รับการอบรม ประกอบดวย ผูแทนหนวยงานในสังกัดหนวยงานอิสระ กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวง<br />

พลังงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยอำนวยการบริการจังหวัดชายแดนภาคใต<br />

และจังหวัดในเขตพื้นที่ภาคใต จำนวนทั้งสิ้น ๖๓ คน จาก ๖๑ หนวยงาน<br />

• ครั้งที่ ๕ เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม – ๒ เมษายน ๒๕๕๑ ณ โรงแรมเมธาวลัย จังหวัดเพชรบุรี โดยมีผูเขา<br />

รับการอบรม ประกอบดวย ผูแทนหนวยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงคมนาคม กระทรวง<br />

แรงงาน และจังหวัดในพื้นที่ภาคกลาง จำนวนทั้งสิ้น ๘๙ คน จาก ๔๗ หนวยงาน<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๓๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

จัดจางที่ปรึกษาเพื่อดำเนินโครงการพัฒนาระบบจัดการความรูภายในองคกร (Knowledge<br />

Management : KM) ของศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ในโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

ระยะที่ ๓ สรุปผลการดำเนินการได ดังนี้<br />

โครงการพัฒนาระบบจัดการความรูภายในองคกร (Knowledge Management : KM) ของศูนย<br />

รับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ในโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ระยะที ่ ๓ ไดนำหลักวิชาการ<br />

บริหารจัดการความรูตามมาตรฐานสากลมาใชในศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ศูนยบริการประชาชน สำนักงาน<br />

ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อสรางกระบวนการบริหารจัดการความรูใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมและทำใหเปนสวนหนึ่ง<br />

ของการทำงานโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยสนับสนุนใหสามารถเขาถึงขอมูลไดสะดวกมากขึ้นกวาแบบเดิม<br />

ที่เปนขอมูลในรูปของเอกสาร รวมทั้งมีระบบจัดการความรูตนแบบที่สามารถนำไปใชเพื่อชวยแกปญหาในดานตางๆ<br />

สำหรับการใหบริการประชาชน และสนับสนุนการตัดสินใจในการปฏิบัติงานเรื่องราวรองทุกขไดอยางเต็มประสิทธิภาพ<br />

และเกิดประสิทธิผล<br />

๓๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

โครงการฯ ไดเริ่มดำเนินการในป พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยจัดจางบริษัท ซีดีจี ซิสเต็มส จำกัด<br />

เปนที่ปรึกษา สำหรับการดำเนินงานเริ่มแรกไดมีการศึกษาวิเคราะหสถานภาพ การจัดการความรูของศูนยรับ<br />

เรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีในปจจุบัน รวมทั้งศึกษา<br />

วิเคราะหและนำเสนอรูปแบบกระบวนการบริหารจัดการความรูที่เหมาะสม โดยการตรวจสอบความรู (Knowledge<br />

Audit) เพื่อคัดเลือกหัวขอ องคความรูที่เหมาะสมและสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร<br />

ขององคกร เมื่อไดหัวขอองคความรูมาแลวจึงดำเนินการจับความรูจากผูเชี่ยวชาญ (Knowledge Capture)<br />

วิเคราะหความรู และสังเคราะหความรู โดยใชวิธีการ CommonKADS พรอมทั้งออกแบบและสรางระบบจัดการ<br />

ความรู และอบรมคณะทำงานวิศวกรการจัดการความรู (Knowledge Engineers) เพื่อทำหนาที่บริหารระบบจัดการ<br />

ความรู ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการนำความรูตนแบบที่ไดมีการคัดเลือก วิเคราะห และสังเคราะหแลวเขาสูระบบจัดการ<br />

ความรูและสรางกิจกรรมตอเนื่องเพื่อใหเกิดการบริหารการเปลี่ยนแปลงในศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีตอไป ซึ่งดำเนินการแลวเสร็จในเดือนธันวาคม ๒๕๕๑<br />

การฝกอบรมเจาหนาที่ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล อันประกอบดวย ศูนยบริการประชาชน และ<br />

ศูนยบริการขอมูลภาครัฐเพื่อประชาชน เพื่อพัฒนาและสงเสริมการเรียนรู พัฒนาทักษะ และเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

ในการทำงาน อันจะเกิดประโยชนแกหนวยงานภาครัฐและสรางความพึงพอใจแกประชาชนสูงสุด จำนวน ๑๐ หลักสูตร<br />

ดังนี้<br />

หลักสูตรที่ ๑ เรื่อง “ศิลปะการพูดเพื่อการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ” เมื่อวันเสารที่ ๑๗ พฤศจิกายน<br />

๒๕๕๐ ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพมหานคร โดย ดร. ผาณิต กัณตามระ เปนวิทยากร<br />

หลักสูตรที่ ๒ เรื่อง “สรางมาตรฐานคุณภาพการใหบริการสูความประทับใจของประชาชน” เมื่อวันพุธ<br />

ที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๐ ณ โรงแรมปริ้นซพาเลซ มหานาค โดย คุณธนภรณ ทรงประไพ ผูจัดการทั่วไป บริษัท<br />

ซีพี ออล จำกัด (มหาชน) เปนวิทยากร<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๓๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

หลักสูตรที่ ๓ เรื่อง “ศิลปะการใชชีวิตนอกเวลางาน” เมื่อวันเสารที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๑<br />

ณ โรงแรมฟอรจูน รัชดา กรุงเทพมหานคร โดย รองศาสตราจารย ดร. เสรี วงษมณฑา เปนวิทยากร<br />

หลักสูตรที่ ๔ เรื่อง “การพัฒนาบุคลิกภาพในการเจรจาตอรองและสรางความเลื่อมใสศรัทธาใน<br />

สายตาของประชาชน” เมื่อวันเสารที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ณ โรงแรมเจาพระยาปารค<br />

กรุงเทพมหานคร โดย คุณปนัดดา วงศผูดี (อดีตนางสาวไทย ป พ.ศ. ๒๕๔๓) เปนวิทยากร<br />

๓๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

หลักสูตรที่ ๕ เรื่อง “แนวทางการเรียนรูดวยตนเองเพื่อพัฒนาองคกร (Learning organization)”<br />

เมื่อวันเสารที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๑ ณ โรงแรมแมน้ำ ริเวอรไซด กรุงเทพมหานคร โดย นายศรัณย จันพลาบูรณ<br />

Chief Learning officer บริษัท ๓๗.๕ องศาเซลเซียส<br />

จำกัด เปนวิทยากร<br />

หลักสูตรที่ ๖ เรื่อง “หลักจิตวิทยากับการปฏิบัติงานเรื่องราวรองทุกข” เมื่อวันเสารที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๑<br />

ณ โรงแรมดิเอมเมอรัลด กรุงเทพมหานคร โดย ดร. วัลลภ ปยะมโนธรรม ที่ปรึกษาโครงการศูนยใหคำปรึกษา<br />

และพัฒนาศักยภาพมนุษย เปนวิทยากร<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๓๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

หลักสูตรที่ ๗ เรื่อง “การสรางความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงานเพื่อแกไขปญหาความเดือดรอน<br />

ของประชาชน” เมื่อวันเสารที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพมหานคร โดย ร.ต.อ. ดร. นิติภูมิ<br />

นวรัตน เปนวิทยากร<br />

หลักสูตรที่ ๘ เรื่อง “การเสริมสรางศักยภาพในการทำงานเปนทีมและการมีสวนรวมในการปรับปรุง<br />

ประสิทธิภาพการทำงาน (Team Work)” เมื่อวันเสารที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ ณ หองสุโขทัย ชั้น ๒ โรงแรมเซ็นจูรี่<br />

ปารค กรุงเทพมหานคร โดย พระมหาสมปอง ตาลปุตโต เปนวิทยากร<br />

๓๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

หลักสูตรที่ ๙ เรื่อง “ประสานงานอยางไรใหเกิดประโยชนสูงสุด” เมื่อวันเสารที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๑<br />

ณ โรงแรมแมน้ำ ริเวอรไซด กรุงเทพมหานคร โดย อาจารยวันชัย สอนศิริ เปนวิทยากร<br />

หลักสูตรที่ ๑๐ เรื่อง “หลักจริยธรรมในการปฏิบัติงาน” เมื่อวันจันทรที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๑<br />

ณ โรงแรมทวินทาวเวอร กรุงเทพมหานคร โดย พระอาจารย สมพงษ รตนาโส เปนวิทยากร<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๓๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

งานจางผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธ ในโครงการรวมพลคนสายดวนเพื่อสังคม โดยจางบริษัท<br />

ไรทแมน จำกัด เปนผูดำเนินการ สรุปผลการดำเนินการได ดังนี้<br />

จัดงานรวมพลคนสายดวนเพื่อสังคม ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ในวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

ไดกราบเรียนเชิญ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี (ในขณะนั้น) เปนประธานเปดงาน โดยมีผูรวมงานประมาณ<br />

๑,๐๐๐ คน ประกอบดวย ผูแทนสวนราชการ หนวยงานของรัฐและเอกชน เพื่อสรางเครือขายในการปฏิบัติงาน<br />

รวมกันในการใหความชวยเหลือและบรรเทาความเดือดรอนแกประชาชน ภายในงานมีกิจกรรมตางๆ อาทิ การประกาศ<br />

เจตนารมณ ของสวนราชการและหนวยงานภาครัฐที่จะสรางเครือขายในการปฏิบัติงานรวมกัน การเสวนา เชิงวิชาการ<br />

สาธิตการปฐมพยาบาลเบื้องตน และการจัดนิทรรศการ ซึ่งแบงเปน ๒ รูปแบบ โดยกำหนดรูปแบบการดำเนินการ<br />

เพื่อบูรณาการการรับแจงเหตุดวนเหตุรายผานทางโทรศัพทสายดวนดานความมั่นคง คือ สายดวนกรณีรับแจงเหตุ<br />

ดวนเหตุราย (Emergency Call) และสายดวนที่ไมเกี่ยวของกับเหตุดวนเหตุราย (Non-Emergency Call) โดย<br />

ศูนยบริการประชาชน รับผิดชอบดำเนินการสายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

๓๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


๒.๑.๒ ภารกิจศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่<br />

๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘<br />

(๑) สรุปความเปนมา<br />

สืบเนื่องจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ รับทราบแนวทาง<br />

การจัดระเบียบของระบบกระบวนการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน ซึ่งสงผลใหทุกกระทรวงตอง<br />

ดำเนินการตามแนวทางดังกลาว โดยตองมีการจัดตั้งศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนดวย<br />

เพื่อใหทุกกระทรวงดำเนินการอยางเปนรูปธรรมในเชิงนโยบายที่ชัดเจน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

โดยศูนยบริการประชาชนไดกราบเรียนนายกรัฐมนตรี เพื่อโปรดพิจารณาแนวทางการติดตามผลความคืบหนา<br />

ในการดำเนินการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนจากทุกกระทรวง ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่<br />

๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ซึ่งนายกรัฐมนตรีไดเห็นชอบแนวทางการติดตามดังกลาว เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม<br />

๒๕๔๙ โดยประกอบดวยประเด็นสำคัญสรุปได ดังนี้<br />

(๑.๑) มอบหมายใหทุกกระทรวงจัดตั้งศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของ<br />

ประชาชนตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ พรอมขอมูลรายละเอียดของศูนยฯ<br />

ดังกลาวสงใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีรวบรวม เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีรับทราบ ใชเปนหนวยงานกลาง<br />

ในการประสานงานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนระหวางกระทรวงในลำดับตอไป<br />

(๑.๒) มอบหมายใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โดยศูนยบริการประชาชนจัดทำสรุป<br />

ขอมูลเรื่องรองเรียนจากประชาชนที่อยูในระหวางการดำเนินการทุกกระทรวงใสแผนบันทึกขอมูลสงใหรัฐมนตรี<br />

เจาสังกัดทุกเดือน เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาสั่งการในระดับนโยบายใหทุกหนวยงานในกระทรวงเรงรัด<br />

การดำเนินการแกไขปญหาใหเห็นผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว รวมทั้งรายงานผลความคืบหนาในการดำเนินการ<br />

ใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีทราบทุก ๓ เดือน ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘<br />

ในลำดับตอไป<br />

(๑.๓) มอบหมายใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โดยศูนยบริการประชาชนเปน<br />

ศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนของสำนักนายกรัฐมนตรี ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่<br />

๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ โดยใหจัดสงตัวอยางรูปแบบฐานขอมูลสำหรับการจัดเก็บขอมูลเรื่องรองเรียนเบื้องตน<br />

ของศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สงใหกระทรวงเพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาระบบ<br />

ฐานขอมูลเรื่องรองเรียนของแตละกระทรวงในลำดับตอไป<br />

(๒) หลักการดำเนินการของศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนตามมติ<br />

คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ สรุปได ดังนี้<br />

(๒.๑) เปนศูนยกลางในการประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนของ<br />

กระทรวงตางๆ โดยมีการเชื่อมโยงเครือขายของขอมูลระหวางกระทรวงดวย ทั้งนี้ ศูนยประสานการแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชนของสำนักนายกรัฐมนตรีจะเปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงเครือขาย<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๓๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๒.๒) เปนศูนยรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับกรณีปญหาตางๆ ที่ประชาชนรองเรียนขอความชวยเหลือ<br />

และเปนศูนยรวมขอมูลความคืบหนาในการดำเนินการแกไขปญหาของหนวยงานตางๆ ในสังกัดกระทรวงนั้นๆ และ<br />

ระหวางกระทรวง<br />

(๒.๓) มีการจัดระเบียบของกระบวนการแกไขปญหาพัฒนาระบบฐานขอมูลเรื่องรองเรียน<br />

ใหเชื่อมโยงทุกหนวยงานในสังกัดกระทรวงนั้นๆ โดยมีการปรับขอมูลที่เกี่ยวของกับการดำเนินการแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชนอยางตอเนื่องใหมีสถานะของปญหาเปนปจจุบันตลอดเวลา<br />

(๒.๔) การดำเนินงานของศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน<br />

เนนภารกิจหลักดานการติดตามผลการดำเนินการแกไขปญหาใหไดขอยุติโดยเร็วและประชาชนพึงพอใจ โดยควร<br />

มีการนำขอมูลเรื่องรองเรียนของประชาชนในระบบฐานขอมูลมาศึกษาวิเคราะหขอมูลในเชิงวิชาการและเสนอ<br />

แนวทางการแกไขปญหาในระดับนโยบายดวย<br />

(๒.๕) ผูบริหารทุกระดับของกระทรวงและทุกหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถเรียกใชขอมูลจาก<br />

ศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนของแตละกระทรวง เพื่อประกอบการพิจารณาในระดับ<br />

นโยบายได<br />

(๒.๖) ควรมีการพัฒนาระบบฐานขอมูลใหเชื่อมโยงเปนเครือขายใหเปรียบเทียบเสมือนระบบ<br />

ประสาท (Nervous system) กับทุกหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในองคกรและภายนอกองคกร<br />

(๒.๗) ควรมีการจัดทำสรุปรายงานความคืบหนาในการดำเนินการแกไขปญหาของหนวยงาน<br />

นำเรียนรัฐมนตรีเจาสังกัดทุกเดือน และมีการประชาสัมพันธผลการดำเนินการอยางตอเนื่อง ใหครอบคลุมทุกพื้นที่<br />

และทุกกลุมเปาหมาย<br />

(๒.๘) หากกรณีปญหาใดเปนปญหาในเชิงนโยบายมีหนวยงานที่เกี่ยวของหลายหนวยงาน<br />

และมีกระบวนการแกไขปญหาที่ซับซอนจนปญหายังไมไดขอยุติ ควรรวบรวมปญหาลักษณะดังกลาวเสนอคณะกรรมการ<br />

พิจารณาแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนพิจารณาแกไขปญหาในภาพรวมตอไป<br />

(๒.๙) สรุปผลการดำเนินการของศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน<br />

เสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อโปรดทราบเปนระยะอยางตอเนื่อง<br />

(๒.๑๐) เจาหนาที่ปฏิบัติงานที่ศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน<br />

ควรมีการพัฒนาศักยภาพและกระบวนทัศนในการปฏิบัติงานโดยรวม และควรมีการประชุมรวมกันระหวางเจาหนาที่<br />

ผูปฏิบัติงานของศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนของกระทรวงตางๆ เปนระยะอยางตอเนื่อง<br />

เพื่อสรางความเขาใจรวมกัน ซึ่งจะสงเสริมใหเกิดความเปนเอกภาพในการปฏิบัติงานดานการประสานการแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชนระหวางกระทรวงตางๆ ไดดียิ่งขึ้น รวมทั้งเปนการพัฒนาเครือขายการแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชนระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของดวย<br />

๔๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

(๓) สรุปผลการดำเนินการของศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน สำนักงานปลัด<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งไดรับมอบหมาย<br />

จากนายกรัฐมนตรีใหเปนศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนของสำนักนายกรัฐมนตรี ใหจัดทำ<br />

โครงการศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน มีผลการดำเนินการสรุปได ดังนี้<br />

(๓.๑) ภารกิจดานการติดตามผลความคืบหนาในการดำเนินการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของ<br />

ประชาชนในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ รวมทั้งประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนและการประสาน<br />

มวลชนในพื้นที่ โดยไดดำเนินการตามโครงการติดตามตรวจสอบขอเท็จจริงและเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม<br />

ในการแกไขปญหาขอรองเรียนในพื้นที่ทุกภูมิภาคของประเทศ จำนวน ๓๘ ครั้ง ใน ๗๑ จังหวัด โดยไดติดตาม<br />

เรื่องรองเรียน จำนวน ๔,๐๕๙ เรื่อง และสามารถทำใหเรื่องรองเรียนไดขอยุติ จำนวน ๒,๐๗๐ เรื่อง<br />

(๓.๒) ภารกิจดานการประชาสัมพันธชองทางการรับเรื่องรองเรียนและผลการดำเนินการแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชน ไดจัดจางบริษัท โกบอลอินเตอรคอมมิวนิเคชั่น จำกัด ประชาสัมพันธชองทาง<br />

การรับเรื่องรองเรียนและผลการดำเนินการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนผานสื่อตางๆ ไดแก สื่อโทรทัศน<br />

สื่อวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ สื่อรถไฟฟา BTS และสื่ออื่นๆ และจัดจางสำนักพิมพคณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา<br />

ผลิตและเผยแพรวารสารประชาสัมพันธศูนยบริการประชาชน (PSC Info.) และรายงานประจำป สรุปผลการดำเนินการ<br />

ไดดังนี้<br />

ผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางโทรทัศน ประกอบดวย เผยแพรสปอตโทรทัศน จำนวน ๒ ชุด<br />

คือชุด “หนีเที่ยว” และชุด “คุณนาขอรอง” ทางสถานีโทรทัศนชอง ๓ ชอง ๕ ชอง ๗ ชอง ๙ และชอง NBT<br />

ผลิตและเผยแพรสารคดีโทรทัศน จำนวน ๖ เรื่อง โดยนำผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนที่ประสบความสำเร็จมาผลิต<br />

และเผยแพรขาวการดำเนินงานในกิจกรรมตางๆ ของศูนยบริการประชาชนเพื่อออกอากาศทางชอง NBT<br />

สปอตโทรทัศนชุด “หนีเที่ยว” สปอตโทรทัศนชุด “คุณนาขอรอง”<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๔๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

• ภาพขาวผลการดำเนินการในกิจกรรมตาง ๆ<br />

๔๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๔๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๔๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

เผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางวิทยุ เผยแพรสปอตวิทยุ ๒ ชุด คือชุด “หนีเที่ยว” และชุด<br />

“คุณนาขอรอง” พรอมกันทั่วประเทศ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย<br />

SOUND EFFECT<br />

เสียงเหมือนคนกำลังเดิน<br />

เสียงกดโทรศัพท<br />

• สปอตวิทยุ ชุด “หนีเที่ยว”<br />

เสียงพูด<br />

แมทุม (รองขึ้น)<br />

“จะไปไหน”<br />

พอรอง (เสียงมีพิรุธ ติดขัด)<br />

“ไป.....รองเรียนเรื่องภัยแลงกับทานนายกนะจะแมจา”<br />

แมทุม (น้ำเสียงหวน) “รองเรียนทานนายกนะ ทำที่นี่ก็ได”<br />

(วิธีที่ ๑ กดโทรศัพทไปที่เบอร ๑๑๑๑)<br />

พอรอง (พูดเสียงออน)<br />

“แตพอพูดไมเกงนะ”<br />

แมทุม “ถาอยางนั้นก็วิธีที่ 2 เขียนไปรษณียบัตรรองเรียน แลวสงไป<br />

ที่ตู ปณ.๑๑๑๑”<br />

พอรอง (เสียงออนอีก)<br />

“พอก็เขียนไมคลองอีกนะ”<br />

เสียงพิมพดีด แมทุม “งั้นมีวิธีที่ ๓ ก็ไปที่เว็บไซต www.1111.go.th”<br />

พอรอง “แตพอก็พิมพไมเกงอีกนั่นหละ พอวาพอเอาวิธีที่ ๔<br />

ไปรองเรียนที่จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑ ทำเนียบรัฐบาลเอง<br />

ดีกวานะจะ”<br />

แมทุม “หนอย รูเรื่องแลวมาโกหก หาเรื่องเที่ยวนอกบาน ใชมั้ย<br />

ทานนายกฯ ก็นายกฯ เถอะ ชวยแกไมไดแลว.....ตาย”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“๑๑๑๑ หนึ่งสี่ตัวกับ ๔ ชองทาง เพื่อสรางความเปนธรรม<br />

ในสังคม”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“โดยศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายก-<br />

รัฐมนตรี”<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๔๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

SOUND EFFECT<br />

เสียงสนทนากัน<br />

เสียงคุณนายพูดกับผูฟง<br />

เสียงกดโทรศัพท<br />

เสียงกดคียบอรด<br />

• สปอตวิทยุ ชุด “คุณนาขอรอง”<br />

เสียงพูด<br />

นางเอก “หนูจะไปรองเรียนทานนายกฯ”<br />

คุณนาย (เสียงออดอน)<br />

“อยา อยา หนู...อยาทำนะคะ”<br />

คุณนาย “คุณผูฟงคะ ตั้งแตมี ๑๑๑๑ เนี่ย เดี้ยนแทบจะไมไดทำอะไร<br />

เลย นอกจากตองคอยดูลูกนอง ไมใหเอาเรื่องที่ไมถูกตอง<br />

ของเดี้ยนไปบอกทานนายก”<br />

คุณนาย “ไมวาตอนเจอยกหูโทรศัพท”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“โทร. ๑-๑-๑-๑”<br />

คุณนาย “เปดคอมเขาเว็บไซต”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“www.1111.go.th”<br />

เสียงเขียนกระดาษ คุณนาย “นั่งเขียนจดหมาย”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“ตู ปณ.๑๑๑๑”<br />

เสียงขางถนน<br />

เสียงเครื่องประดับ<br />

ตอดวย Sound หักมุม<br />

คุณนาย “โดยเฉพาะตอนออกไปนอกบาน”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑ ทำเนียบรัฐบาล””<br />

คุณนาย (เสียงแบบขอความเห็นใจ)<br />

“ทำไมรองทุกขถึงทานนายกฯ มันงายยังงี้ แลวเดี๊ยนจะทำไง<br />

ดีคะ”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“๑-๑-๑-๑ หนึ่งสี่ตัวกับ ๔ ชองทาง เพื่อสรางความเปนธรรม<br />

ในสังคม”<br />

(เสียงบรรยาย)<br />

“โดยศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี”<br />

๔๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางสื่อสิ่งพิมพ<br />

ประกอบดวย<br />

• หนังสือการตูน<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๔๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

• หนังสือคูมือองคความรู (KM) ของศูนยบริการประชาชน<br />

๔๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

• แผนพับ<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๔๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

• โฆษณา/ขาวประชาสัมพันธภารกิจของศูนยบริการประชาชนทางหนังสือพิมพ วารสาร และนิตยสาร<br />

• ผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางรถไฟฟา BTS<br />

๕๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

สื่อประชาสัมพันธอื่น ๆ<br />

• ผลิตพวงกุญแจมาสคอรต<br />

• ผลิตรม<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๕๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

• ผลิตหมวก<br />

• ผลิตเสื้อแจ็กเกต<br />

• ผลิตแผนกันแดดในรถยนต<br />

๕๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

<br />

ดวยเกลาดวยกระหมอม<br />

ขาพระพุทธเจาขาราชการและเจาหนาที่ศูนยบริการประชาชน<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

- .. <br />

• จัดพิมพวารสารประชาสัมพันธผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน PSC Info.<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๕๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

<br />

- .. <br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

๕๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

<br />

- .. <br />

สรุปผล Contact Point<br />

ศูนยบริการประชาชนลงพื้นที่<br />

ติดตามผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน<br />

๕ทัศนคติดี ๆที่ควรมีในการทำงาน<br />

การแกไขกฎหมาย<br />

เกี่ยวกับการขมขืนกระทำชำเรา<br />

สัมมนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามและแกใขปญหาการรองเรียน<br />

ของกลุมติดตามและแกไขปญหาการรองเรียน<br />

ประจำเขตตรวจราชการของสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๕๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

วารสารประชาสัมพันธศูนยบริการประชาชน<br />

ฉบับที่ ๑๘ ประจำเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ปนร. นำทีมชาว สปน. ตะลุยอเมริกา<br />

เยี่ยมชมงาน Call Center<br />

เกร็ดเล็กเกร็ดนอย Olympic <strong>2008</strong><br />

ภารกิจของกลุมติดตามตรวจสอบ<br />

ขอเท็จจริงในพื้นที่<br />

ความสุขในการทำงาน<br />

กับพื้นฐานบุคลิกภาพ<br />

กฎหมายคำนำหนาผูหญิง<br />

รวมพลคนสายด่วนเพื่อสังคม<br />

ณตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล<br />

วันที่ ๙มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

๕๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๕๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๕๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


• จัดพิมพรายงานประจำป<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๕๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๓.๓) การศึกษาวิเคราะหภาพรวมของปญหาความเดือดรอนของประชาชน เพื่อนำไปสูการแกไขปญหา<br />

ในระดับนโยบาย โดยศึกษาวิเคราะหขอมูลเรื่องรองเรียนจากประชาชนในภาพรวมเสนอผูบริหารระดับนโยบาย<br />

สรุปผลการดำเนินการได ดังนี้<br />

สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ กราบเรียน<br />

นายกรัฐมนตรี และเสนอคณะรัฐมนตรีรับทราบ โดยคณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายใหทุกกระทรวงดำเนินการ<br />

ในสวนที่เกี่ยวของ<br />

สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชนในรอบ ๓ เดือน ๖ เดือน และ ๙ เดือน<br />

ของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ กราบเรียนนายกรัฐมนตรี และเสนอคณะรัฐมนตรีรับทราบ โดยคณะรัฐมนตรี<br />

มีมติมอบหมายใหทุกกระทรวงดำเนินการในสวนที่เกี่ยวของ<br />

สรุปขอมูลเรื่องรองเรียนในกรณีปญหาสำคัญ ไดแก กรณีปญหาภัยแลง กรณีปญหาที่เกี่ยวของ<br />

กับเทศกาลวันสงกรานต และกรณีปญหาที่เกี่ยวของกับกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง เสนอรองนายกรัฐมนตรี<br />

ที่รับผิดชอบเพื่อประกอบการพิจารณาในเชิงนโยบาย<br />

(๓.๔) การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของเจาหนาที ่และปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนการปฏิบัติงาน<br />

ในดานการประสานงานและติดตามผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน ไดจัดการอบรมในสถานที่ จำนวน ๔ หลักสูตร<br />

และจัดสงเจาหนาที่เขารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานนอกสถานที่ จำนวน ๘ หลักสูตร สรุป<br />

ผลการดำเนินการได ดังนี้<br />

๖๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

หลักสูตรที่ ๑ “ศิลปะการพัฒนาหัวหนางาน” เมื่อวันพุธที่ ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ โดย<br />

ดร. สุชาติ สังขเกษม เปนวิทยากร<br />

หลักสูตรที่ ๒ “เทคนิคการนำประชุมอยางมีประสิทธิภาพ” เมื่อวันพุธที่ ๒๑ พฤษภาคม<br />

๒๕๕๑ โดย อาจารยจริยา ปุณยะประภัศร เปนวิทยากร<br />

หลักสูตรที่ ๓ “การพัฒนาบุคลิกภาพ” เมื่อวันพุธที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ โดย อาจารย<br />

อภิชาติ ดำดี เปนวิทยากร<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๖๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

หลักสูตรที่ ๔ “การใหความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวาดวยการกระจายอำนาจใหแกองคกร<br />

ปกครองสวนทองถิ่น” เมื่อวันศุกรที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยมี นายมานะ บุณญะโภคา นิติกร ๘ว สำนักงาน<br />

คณะกรรมการการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปนวิทยากร<br />

๒.๑.๓ ภารกิจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

(๑) สรุปความเปนมา<br />

การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนเปนสารัตถะที่สำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย<br />

อันเปนการปกครอง “โดยประชาชนและเพื่อประชาชน” โดยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนจะทำใหฝายบริหาร<br />

ไดรับขอมูล หรือความคิดเห็นจากประชาชนเกี่ยวกับเรื่องที่นำออกรับฟง เพื่อนำขอมูลที่ไดมาประกอบการตัดสินใจ<br />

วาสมควรดำเนินการอยางไรกับเรื่องที่นำออกรับฟงนั้น และกำหนดแนวทางที่เหมาะสมและเพียงพอในการปองกัน<br />

หรือเยียวยาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจนั้น<br />

การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามหลักสากลที่ใชอยูในบรรดาประเทศที่ปกครองในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยทั้งหลายนั้นมีสองแนวทาง แนวทางที่หนึ่ง เปนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนโดยผานผูแทน-<br />

ราษฎร และแนวทางที่สอง เปนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผูมีสวนเกี่ยวของหรือไดเสียกับการตัดสินใจ<br />

ของรัฐโดยตรง ซึ่งโดยปกติจะใชทั้งสองแนวทางควบคูกันไป กลาวคือ นอกจากรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

โดยผานผูแทนราษฎรตามกลไกรัฐสภาแลว รัฐบาลยังจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนโดยตรงดวย<br />

และมีขอสังเกตวาการจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนโดยตรงนี้รัฐบาลมิไดรับฟงอยางเดียว แตใหขอมูล<br />

รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่รับฟงแกประชาชนดวย และวิธีการใหขอมูลและรับฟงความคิดเห็นของประชาชนนั้น ก็มี<br />

ความหลากหลาย หนวยงานของรัฐที่จะรับฟงความคิดเห็นของประชาชนสามารถเลือกดำเนินการไดตามสถานการณ<br />

สำหรับประเทศไทยนั ้น ในชวงกอนป พ.ศ. ๒๕๓๙ การรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

เปนการรับฟงผานผูแทนราษฎรเปนหลัก แตในป พ.ศ. ๒๕๓๙ รัฐบาลตระหนักถึงความสำคัญของการรับฟง<br />

ความคิดเห็นของผูมีสวนเกี่ยวของหรือไดเสียกับการตัดสินใจของรัฐ และเห็นวาขอมูลที่ไดจากการรับฟงความคิดเห็น<br />

ของประชาชน โดยผานผูแทนราษฎรแตเพียงประการเดียวนั้น ยังไมเพียงพอที่รัฐบาลจะใชประกอบการตัดสินใจ<br />

รัฐบาลในขณะนั้นจึงไดพัฒนาแนวทางการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผูมีสวนเกี่ยวของหรือไดเสียกับการตัดสินใจ<br />

ของรัฐโดยตรงขึ้น โดยการออก “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณ<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙” เพื่อใหหนวยงานของรัฐใชเปนแนวทางในการจัดการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนโดยตรง<br />

อยางไรก็ดี การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟง<br />

ความคิดเห็นสาธารณะโดยวิธีประชาพิจารณ พ.ศ. ๒๕๓๙ นั้น มีขอจำกัดหลายประการโดยขาดการใหขอมูล<br />

ที่ถูกตองเกี่ยวกับการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจมีผลกระทบตอประชาชน ทำใหประชาชนขาดความเขาใจ<br />

ที่ถูกตองในสิ่งที่หนวยงานของรัฐจะดำเนินการ นอกจากนี้ วิธีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบดังกลาว<br />

จำกัดเพียงวิธีการประชาพิจารณ (Public Hearing) เพียงอยางเดียวเทานั้น ซึ่งวิธีการดังกลาวเหมาะสมกับ<br />

บางสถานการณเทานั้น การจัดการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีดังกลาวจึงทำให<br />

๖๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

เกิดการเผชิญหนาระหวางกลุมผูสนับสนุนและกลุมผูคัดคานขึ้นบอยครั้งอันเปนสถานการณที่ไมพึงประสงค ดวยเหตุผล<br />

ดังกลาวขางตน จึงมีความจำเปนตองปรับปรุงหลักการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนใหเหมาะสมยิ่งขึ้นและสอดคลอง<br />

กับหลักสากลเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน โดยการกำหนดหลักเกณฑและวิธีการในการรับฟงความ<br />

คิดเห็นของประชาชน เพื่อใหเกิดประโยชนแกหนวยงานของรัฐและประชาชน รวมตลอดทั้งเปนแนวทางในการให<br />

ประชาชนมีสวนรวมในการดำเนินการโครงการของรัฐอยางกวางขวาง รัฐบาลจึงวางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วา<br />

ดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหมีผลใชบังคับมาตั้งแตวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๘<br />

(๒) ศูนยบริการประชาชน<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีกับภารกิจการดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ศูนยบริการประชาชนไดรับมอบหมายภารกิจตามที่<br />

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ ๑๕ กำหนดให<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหนาที่กำกับดูแล สงเสริม สนับสนุน ชวยเหลือ และแนะนำหนวยงานของรัฐ<br />

ในการดำเนินการตามระเบียบนี้ รวมทั้งใหมีหนาที่ดังตอไปนี้<br />

(๒.๑) จัดทำและเผยแพรแนวทางการเผยแพรขอมูลและการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

ใหหนวยงานของรัฐทราบ โดยจะจัดใหมีการสัมมนาหรือฝกอบรมเปนครั้งคราวดวยก็ได<br />

(๒.๒) ศึกษาหรือวิจัยเพื่อประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนาวิธีการใหขอมูลและการรับฟง<br />

ความคิดเห็นของประชาชน<br />

(๒.๓) จัดทำและพัฒนาฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสและระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อประโยชน<br />

ในการประกาศรวบรวมและใหบริการขอมูลที่เผยแพรแกประชาชนและขอมูลเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็น<br />

ของประชาชนตามระเบียบนี้<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๖๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๓) การดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ไดดำเนินการตามระเบียบ<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ตามโครงการดำเนินการรับฟง<br />

ความคิดเห็นของประชาชน ภายใตแผนงบประมาณบริหารจัดการภาครัฐ ผลผลิตการสงเสริมและคุมครองสิทธิ<br />

การรับรูขอมูลขาวสารและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชน กิจกรรมสนับสนุนใหหนวยงานของรัฐดำเนินการ<br />

รับฟงความคิดเห็นและสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ดังนี้<br />

(๓.๑) จัดทำและดำเนินการหลักสูตรพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชน รวมกับสถาบันสงเสริม<br />

การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความรูความเขาใจ แนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน<br />

ในการมีสวนรวมของประชาชนใหแกบุคลากรภาครัฐ จำนวน ๕ รุน ดังนี้<br />

หลักสูตรสำหรับผูบริหาร จำนวน ๑ รุน<br />

๖๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

หลักสูตรสำหรับผูปฏิบัติงาน จำนวน ๔ รุน<br />

(๓.๒) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากลไกการมีสวนรวมของประชาชน โดยมีวัตถุประสงค<br />

เพื่อเปนการเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด เทคนิค และวิธีการมีสวนรวมของประชาชน<br />

และผลักดันใหประชาชนในชุมชนตางๆ เขามามีสวนรวม และเปนกลไกการตรวจสอบติดตามการดำเนินโครงการ<br />

ของรัฐ มีผูเขารวมประชุม ไดแก หัวหนาสวนราชการ องคกรพัฒนาเอกชน (NGO) ผูแทนเครือขายองคกร<br />

ประชาชน ผูนำชุมชน กำนัน ผูใหญบาน และประชาชนทั่วไปจำนวนทั้งสิ้นประมาณ ๑,๗๐๐ คน ทั่วทุกภูมิภาค<br />

ของประเทศ จำนวน ๕ ครั้ง ดังนี้<br />

• กรุงเทพมหานคร • จังหวัดสุโขทัย • จังหวัดกระบี่<br />

• จังหวัดชลบุรี<br />

• จังหวัดอุดรธานี<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๖๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๓.๓) เผยแพรประชาสัมพันธและการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายก-<br />

รัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางใหหนวยงาน<br />

ของรัฐและประชาชนทั่วไป มีความรูและความเขาใจในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็น<br />

ของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ รวมทั้งกระตุนใหเกิดความตระหนักเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชนในโครงการของรัฐ<br />

ผานสื่อประชาสัมพันธตางๆ ไดแก สื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ โปสเตอร แผนพับประชาสัมพันธ สติ๊กเกอร จัดพิมพ<br />

และเผยแพรระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ คูมือการมี<br />

สวนรวมของประชาชน<br />

๖๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๖๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๓.๔) กำกับดูแลระบบฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสและการกำกับดูแลหนวยงานของรัฐในการ<br />

เผยแพรขอมูลโครงการของรัฐและขอมูลเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่เว็บไซตการรับฟงความคิดเห็น<br />

ของประชาชน (http://www.publicconsultation.opm.go.th) โดยมีหนวยงานของรัฐ จำนวน ๒๖๕ หนวยงาน<br />

รายงานผลการดำเนินโครงการของแตละหนวยงานใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีทราบ ทั้งนี ้ ไดตรวจสอบ<br />

โครงการของรัฐที่หนวยงานของรัฐนำมาเผยแพรในเว็บไซตการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน จำนวน ๑,๖๒๑<br />

โครงการ เปนโครงการของรัฐที่ตองปฏิบัติตามระเบียบฯ จำนวน ๑,๑๙๗ โครงการ และเปนโครงการของรัฐที่ไมตอง<br />

ปฏิบัติตามระเบียบฯ จำนวน ๔๒๔ โครงการ<br />

(๓.๕) ศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาขั้นตอน วิธีการและกระบวนการมีสวนรวม<br />

ของประชาชน โดยรวมกับสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี<br />

(๓.๖) จัดประชุมคณะกรรมการการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและคณะอนุกรรมการ<br />

ที่เกี่ยวของ จำนวน ๑๒ ครั้ง โดยมีมติที่สำคัญ ดังนี้<br />

• เห็นชอบใหนำผลการศึกษาวิจัยที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีไดรวมกับสถาบัน<br />

สงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีศึกษาวิจัยเพื่อปรับปรุงระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟง<br />

ความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ใหสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณา<br />

ยกรางพระราชบัญญัติการมีสวนรวมของประชาชน พ.ศ. ...<br />

• เห็นชอบใหมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้ง<br />

หนวยงานกำกับดูแล สงเสริม สนับสนุน ชวยเหลือและแนะนำเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชนเกี่ยวกับ<br />

โครงการของรัฐตามผลการศึกษาวิจัย<br />

• เห็นชอบขั้นตอนการนำโครงการของหนวยงานบางเรื่อง บางกรณี มาเปนกรณีตัวอยาง<br />

ในการดำเนินการเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน<br />

๖๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๒ สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ในรอบปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ประชาชนไดรองเรียนในประเด็นตางๆ รวมทั้งสิ้น จำนวน ๗๙,๐๔๐ เรื่อง<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ ๗๑,๘๙๐ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙๐.๙๕ ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด และมี<br />

เรื่องรองเรียนที่อยูในระหวางดำเนินการของหนวยงานที่เกี่ยวของ จำนวน ๗,๑๕๐ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙.๐๕<br />

ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด สรุปผลการดำเนินการได ดังนี้<br />

๒.๒.๑ สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน จำแนกตามรายกระทรวง ดังนี้<br />

ตารางที่ ๑ แสดงผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน จำแนกตามรายกระทรวง ในรอบปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ลำดับ<br />

ที่ หนวยงาน จำนวน<br />

เรื่อง รอยละ<br />

ดำเนินการ อยูระหวาง<br />

จนไดขอยุติ ดำเนินการ<br />

จำนวน<br />

รวม รอยละ จำนวน<br />

รวม รอยละ<br />

๑ กระทรวงการคลัง ๙๗๒ ๒๔.๒๐ ๔๔๑ ๔๕.๓๗ ๕๓๑ ๕๔.๖๓<br />

๒ กระทรวงมหาดไทย ๕๒๗ ๑๓.๑๒ ๓๐๕ ๕๗.๘๗ ๒๒๒ ๔๒.๑๓<br />

๓ กระทรวงแรงงาน ๔๒๘ ๑๐.๖๖ ๓๒๒ ๗๕.๒๓ ๑๐๖ ๒๔.๗๗<br />

๔ กระทรวงศึกษาธิการ ๓๑๘ ๗.๙๒ ๑๖๓ ๕๑.๒๖ ๑๕๕ ๔๘.๗๔<br />

๕<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคมและ<br />

ความมั่นคงของมนุษย<br />

๒๙๔ ๗.๓๒ ๑๗๐ ๕๗.๘๒ ๑๒๔ ๔๒.๑๘<br />

๖ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ๒๖๓ ๖.๕๕ ๑๕๘ ๖๐.๐๘ ๑๐๕ ๓๙.๙๒<br />

๗ กระทรวงคมนาคม ๒๒๕ ๕.๖๐ ๘๙ ๓๙.๕๖ ๑๓๖ ๖๐.๔๔<br />

๘ สำนักนายกรัฐมนตรี ๑๙๘ ๔.๙๓ ๗๐ ๓๕.๓๕ ๑๒๘ ๖๔.๖๕<br />

๙ กระทรวงสาธารณสุข ๑๘๙ ๔.๗๑ ๘๗ ๔๖.๐๓ ๑๐๒ ๕๓.๙๗<br />

๑๐<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดลอม<br />

๑๑๘ ๒.๙๔ ๔๓ ๓๖.๔๔ ๗๕ ๖๓.๕๖<br />

๑๑<br />

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

และการสื่อสาร<br />

๙๑ ๒.๒๗ ๕๖ ๖๑.๕๔ ๓๕ ๓๘.๔๖<br />

๑๒ กระทรวงยุติธรรม ๙๐ ๒.๒๔ ๓๖ ๔๐.๐๐ ๕๔ ๖๐.๐๐<br />

๑๓ กระทรวงกลาโหม ๘๕ ๒.๑๒ ๒๑ ๒๔.๗๑ ๖๔ ๗๕.๒๙<br />

๑๔ กระทรวงอุตสาหกรรม ๗๓ ๑.๘๒ ๕๓ ๗๒.๖๐ ๒๐ ๒๗.๔๐<br />

๑๕ กระทรวงพาณิชย ๕๗ ๑.๔๒ ๒๖ ๔๕.๖๑ ๓๑ ๕๔.๓๙<br />

๑๖ กระทรวงพลังงาน ๓๗ ๐.๙๒ ๒๒ ๕๙.๔๖ ๑๕ ๔๐.๕๔<br />

๑๗ กระทรวงการตางประเทศ ๒๔ ๐.๖๐ ๑๓ ๕๔.๑๗ ๑๑ ๔๕.๘๓<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๖๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

ลำดับ<br />

ที่ หนวยงาน จำนวน<br />

เรื่อง รอยละ<br />

ดำเนินการ อยูระหวาง<br />

จนไดขอยุติ ดำเนินการ<br />

จำนวน<br />

รวม รอยละ จำนวน<br />

รวม รอยละ<br />

๑๘<br />

ธนาคารพาณิชยจดทะเบียน<br />

ในประเทศ<br />

๑๓ ๐.๓๒ ๘ ๖๑.๕๔ ๕ ๓๘.๔๖<br />

๑๙ กระทรวงวัฒนธรรม ๙ ๐.๒๒ ๘ ๘๘.๘๙ ๑ ๑๑.๑๑<br />

๒๐ กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ๓ ๐.๐๗ ๑ ๓๓.๓๓ ๒ ๖๖.๖๗<br />

๒๑<br />

กระทรวงวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยี<br />

๒ ๐.๐๕ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

รวมทั้งสิ้น ๔,๐๑๖ ๑๐๐.๐๐ ๒,๐๙๔ ๕๒.๑๔ ๑,๙๒๒ ๔๗.๘๖<br />

ที่มา : ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

หมายเหตุ : ขอมูลนี้เปนขอมูลสวนหนึ่งที่ศูนยบริการประชาชนสงไปยังกระทรวงตางๆ เพื่อประสานการแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชน ที่อยูในความรับผิดชอบของแตละกระทรวง โดยเปนขอมูลที่เรียกจากระบบ<br />

สารสนเทศของศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

สรุปจากตารางที่ ๑<br />

ในรอบปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ เมื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนตามรายกระทรวงแลว<br />

สรุปผลได ดังนี้<br />

(๑) กระทรวงที่มีเรื่องรองเรียนอยูในความรับผิดชอบมากที่สุด คือ กระทรวงการคลัง มีเรื่องรองเรียน<br />

จำนวน ๙๗๒ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๒๔.๒๐ ของจำนวนเรื่องรองเรียนในความรับผิดชอบที่ไดรับจากศูนยบริการ<br />

ประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

(๒) กระทรวงที่มีเรื่องรองเรียนดำเนินการจนไดขอยุติมากที่สุด คือ กระทรวงวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยี มีเรื่องรองเรียน จำนวน ๒ เรื่อง ดำเนินการจนไดขอยุติ จำนวน ๒ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๑๐๐.๐๐<br />

ของจำนวนเรื่องรองเรียนในความรับผิดชอบที่ไดรับจากศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

(๓) กระทรวงที่มีเรื่องรองเรียนอยูระหวางดำเนินการมากที่สุด คือ กระทรวงกลาโหม มีเรื่องรองเรียน<br />

จำนวน ๘๕ เรื่อง อยูระหวางดำเนินการ จำนวน ๖๔ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๗๕.๒๙ ของจำนวนเรื่องรองเรียน<br />

ในความรับผิดชอบที่ไดรับจากศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

๗๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๒.๒ สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน จำนวนตามรายภาค / จังหวัด ดังนี้<br />

ตารางที่ ๒ แสดงผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน จำแนกตามรายภาค/จังหวัด ในรอบ<br />

ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ภาค จังหวัด จำนวนรวม รอยละ<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ อยูระหวางดำเนินการ<br />

จำนวนรวม รอยละ จำนวนรวม รอยละ<br />

กรุงเทพมหานคร ๑๒,๔๓๕ ๑๕.๗๓ ๑๑,๖๗๕ ๙๓.๘๙ ๗๖๐ ๖.๑๑<br />

กาญจนบุรี ๔๗๒ ๐.๖๐ ๔๓๑ ๙๑.๓๑ ๔๑ ๘.๖๙<br />

ชัยนาท ๑๖๓ ๐.๒๑ ๑๔๗ ๙๐.๑๘ ๑๖ ๙.๘๒<br />

กลาง<br />

ตะวันออก<br />

ตะวันออก<br />

เฉียงเหนือ<br />

นครนายก ๑๔๓ ๐.๑๘ ๑๒๑ ๘๔.๖๒ ๒๒ ๑๕.๓๘<br />

นครปฐม ๖๖๓ ๐.๘๔ ๕๙๖ ๘๙.๘๙ ๖๗ ๑๐.๑๑<br />

นนทบุรี ๑,๔๘๑ ๑.๘๗ ๑,๓๕๘ ๙๑.๖๙ ๑๒๓ ๘.๓๑<br />

ปทุมธานี ๑,๔๔๗ ๑.๘๓ ๑,๓๓๖ ๙๒.๓๓ ๑๑๑ ๗.๖๗<br />

พระนครศรีอยุธยา ๘๓๗ ๑.๐๖ ๗๖๖ ๙๑.๕๒ ๗๑ ๘.๔๘<br />

ราชบุรี ๔๒๐ ๐.๕๓ ๓๘๐ ๙๐.๔๘ ๔๐ ๙.๕๒<br />

ลพบุรี ๓๕๕ ๐.๔๕ ๓๒๐ ๙๐.๑๔ ๓๕ ๙.๘๖<br />

สมุทรปราการ ๑,๕๖๓ ๑.๙๘ ๑,๔๕๖ ๙๓.๑๕ ๑๐๗ ๖.๘๕<br />

สมุทรสงคราม ๑๑๕ ๐.๑๕ ๙๕ ๘๒.๖๑ ๒๐ ๑๗.๓๙<br />

สมุทรสาคร ๕๓๕ ๐.๖๘ ๕๐๓ ๙๔.๐๒ ๓๒ ๕.๙๘<br />

สระบุรี ๕๑๔ ๐.๖๕ ๔๗๑ ๙๑.๖๓ ๔๓ ๘.๓๗<br />

สิงหบุรี ๑๓๐ ๐.๑๖ ๑๑๕ ๘๘.๔๖ ๑๕ ๑๑.๕๔<br />

สุพรรณบุรี ๔๐๙ ๐.๕๒ ๓๖๙ ๙๐.๒๒ ๔๐ ๙.๗๘<br />

อางทอง ๑๘๙ ๐.๒๔ ๑๗๒ ๙๑.๐๑ ๑๗ ๘.๙๙<br />

รวม ๙,๔๓๖ ๑๑.๙๔ ๘,๖๓๖ ๙๑.๕๒ ๘๐๐ ๘.๔๘<br />

จันทบุรี ๒๐๒ ๐.๒๖ ๑๙๐ ๙๔.๐๖ ๑๒ ๕.๙๔<br />

ฉะเชิงเทรา ๔๒๔ ๐.๕๔ ๓๗๘ ๘๙.๑๕ ๔๖ ๑๐.๘๕<br />

เลย ๒๐๒ ๐.๒๖ ๑๘๗ ๙๒.๕๗ ๑๕ ๗.๔๓<br />

กาฬสินธุ ๑๙๓ ๐.๒๔ ๑๖๔ ๘๔.๙๗ ๒๙ ๑๕.๐๓<br />

ขอนแกน ๖๓๑ ๐.๘๐ ๕๕๘ ๘๘.๔๓ ๗๓ ๑๑.๕๗<br />

ชัยภูมิ ๓๐๒ ๐.๓๘ ๒๗๐ ๘๙.๔๐ ๓๒ ๑๐.๖๐<br />

นครพนม ๑๔๑ ๐.๑๘ ๑๒๓ ๘๗.๒๓ ๑๘ ๑๒.๗๗<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๗๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

ภาค จังหวัด จำนวนรวม รอยละ<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ อยูระหวางดำเนินการ<br />

จำนวนรวม รอยละ จำนวนรวม รอยละ<br />

นครราชสีมา ๙๗๑ ๑.๒๓ ๘๓๖ ๘๖.๑๐ ๑๓๕ ๑๓.๙๐<br />

บุรีรัมย ๓๗๙ ๐.๔๘ ๓๒๐ ๘๔.๔๓ ๕๙ ๑๕.๕๗<br />

มหาสารคาม ๒๓๗ ๐.๓๐ ๒๐๓ ๘๕.๖ ๓๔ ๑๔.๓๕<br />

มุกดาหาร ๑๒๙ ๐.๑๖ ๑๑๑ ๘๖.๐๕ ๑๘ ๑๓.๙๕<br />

ยโสธร ๑๑๔ ๐.๑๔ ๙๘ ๘๕.๙๖ ๑๖ ๑๔.๐๔<br />

รอยเอ็ด ๓๖๗ ๐.๔๖ ๓๐๖ ๘๓.๓๘ ๖๑ ๑๖.๖๒<br />

ตะวันออก<br />

เฉียงเหนือ<br />

ใต<br />

๗๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

ศรีสะเกษ ๓๓๔ ๐.๔๒ ๒๘๕ ๘๕.๓๓ ๔๙ ๑๔.๖๗<br />

สกลนคร ๒๓๘ ๐.๓๐ ๒๐๘ ๘๗.๓๙ ๓๐ ๑๒.๖๑<br />

สุรินทร ๓๔๙ ๐.๔๔ ๒๙๘ ๘๕.๓๙ ๕๑ ๑๔.๖๑<br />

หนองคาย ๒๙๑ ๐.๓ ๒๖๓ ๙๐.๓๘ ๒๘ ๙.๖๒<br />

หนองบัวลำภู ๑๓๙ ๐.๑๘ ๑๒๐ ๘๖.๓๓ ๑๙ ๑๓.๖๗<br />

อำนาจเจริญ ๑๓๔ ๐.๑๗ ๑๒๑ ๙๐.๓๐ ๑๓ ๙.๗๐<br />

อุดรธานี ๔๘๕ ๐.๖๑ ๔๒๖ ๘๗.๘๔ ๕๙ ๑๒.๑๖<br />

อุบลราชธานี ๔๘๔ ๐.๖๑ ๓๙๙ ๘๒.๔๔ ๘๕ ๑๗.๕๖<br />

รวม ๖,๑๒๐ ๗.๗๔ ๕,๒๙๖ ๘๖.๕๔ ๘๒๔ ๑๓.๔๖<br />

เพชรบุรี ๑๙๖ ๐.๒๕ ๑๗๖ ๘๙.๘๐ ๒ ๑๐.๒๐<br />

กระบี่ ๓๒๗ ๐.๔๑ ๒๘๙ ๘๘.๓๘ ๓๘ ๑๑.๖๒<br />

ชุมพร ๒๖๕ ๐.๓๔ ๒๔๓ ๙๑.๗๐ ๒๒ ๘.๓๐<br />

ตรัง ๑๘๐ ๐.๒๓ ๑๖๐ ๘๘.๘๙ ๒๐ ๑๑.๑๑<br />

นครศรีธรรมราช ๕๗๖ ๐.๗๓ ๕๑๑ ๘๘.๗๒ ๖๕ ๑๑.๒๘<br />

นราธิวาส ๑๖๔ ๐.๒๑ ๑๔๗ ๘๙.๖๓ ๑๗ ๑๐.๓๗<br />

ประจวบคีรีขันธ ๒๙๙ ๐.๓๘ ๒๗๕ ๙๑.๙๗ ๒๔ ๘.๐๓<br />

ปตตานี ๘๘ ๐.๑๑ ๘๒ ๙๓.๑๘ ๖ ๖.๘๒<br />

พังงา ๑๓๕ ๐.๑๗ ๑๒๗ ๙๔.๐๗ ๘ ๕.๙๓<br />

พัทลุง ๑๕๐ ๐.๑๙ ๑๓๑ ๘๗.๓๓ ๑๙ ๑๒.๖๗<br />

ภูเก็ต ๓๓๘ ๐.๔๓ ๓๑๗ ๙๓.๗๙ ๒๑ ๖.๒๑<br />

ยะลา ๑๒๖ ๐.๑๖ ๑๐๘ ๘๕.๗๑ ๑๘ ๑๔.๒๙<br />

ระนอง ๙๗ ๐.๑๒ ๘๗ ๘๙.๖๙ ๑๐ ๑๐.๓๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ อยูระหวางดำเนินการ<br />

ภาค จังหวัด จำนวนรวม รอยละ<br />

จำนวนรวม รอยละ จำนวนรวม รอยละ<br />

สงขลา ๖๖๙ ๐.๘๕ ๖๐๗ ๙๐.๗๓ ๖๒ ๙.๒๗<br />

สตูล ๘๕ ๐.๑๑ ๗๘ ๙๑.๗๖ ๘.๒๔<br />

ใต<br />

สุราษฎรธานี ๕๖๕ ๐.๗๑ ๕๒๓ ๙๒.๕๗ ๔๒ ๗.๔๓<br />

รวม ๔,๒๖๐ ๕.๓๙ ๓,๘๖๑ ๙๐.๖๓ ๓๙๙ ๙.๓๗<br />

เหนือ<br />

เชียงใหม ๗๗๓ ๐.๙๘ ๖๙๘ ๙๐.๓๐ ๗๕ ๙.๗๐<br />

เชียงราย ๔๒๐ ๐.๕๓ ๓๖๔ ๘๖.๖๗ ๕๖ ๑๓.๓๓<br />

เพชรบูรณ ๓๔๘ ๐.๔๔ ๓๐๗ ๘๘.๒๒ ๔๑ ๑๑.๗๘<br />

แพร ๑๒๓ ๐.๑๖ ๑๑๑ ๙๐.๒๔ ๑๒ ๙.๗๖<br />

แมฮองสอน ๖๗ ๐.๐๘ ๖๐ ๘๙.๕๕ ๗ ๑๐.๔๕<br />

กำแพงเพชร ๒๙๔ ๐.๓๗ ๒๕๓ ๘๖.๐๕ ๔๑ ๑๓.๙๕<br />

ตาก ๒๑๐ ๐.๒๗ ๑๘๔ ๘๗.๖๒ ๒๖ ๑๒.๓๘<br />

นครสวรรค ๕๓๕ ๐.๖๘ ๔๕๑ ๘๔.๓๐ ๘๔ ๑๕.๗๐<br />

นาน ๑๒๑ ๐.๑๕ ๑๐๘ ๘๙.๒๖ ๑๓ ๑๐.๗๔<br />

พะเยา ๑๓๙ ๐.๑๘ ๑๑๔ ๘๒.๐๑ ๒๕ ๑๗.๙๙<br />

พิจิตร ๒๓๑ ๐.๒๙ ๒๑๕ ๙๓.๐๗ ๑๖ ๖.๙๓<br />

พิษณุโล ๓๔๘ ๐.๔๔ ๓๐๙ ๘๘.๗๙ ๓๙ ๑๑.๒๑<br />

ลำปาง ๒๖๖ ๐.๓๔ ๒๓๘ ๘๙.๔๗ ๒๘ ๑๐.๕๓<br />

ลำพูน ๑๒๓ ๐.๑๖ ๑๑๖ ๙๔.๓๑ ๗ ๕.๖๙<br />

สุโขทัย ๑๕๗ ๐.๒๐ ๑๓๙ ๘๘.๕๔ ๑๘ ๑๑.๔๖<br />

อุตรดิตถ ๑๗๑ ๐.๒๒ ๑๕๓ ๘๙.๔๗ ๑๘ ๑๐.๕๓<br />

อุทัยธานี ๑๔๔ ๐.๑๘ ๑๒๗ ๘๘.๑๙ ๑๗ ๑๑.๘๑<br />

รวม ๔,๔๗๐ ๕.๖๖ ๓,๙๔๗ ๘๘.๓๐ ๕๒๓ ๑๑.๗๐<br />

ตางประเทศ ตางประเทศ ๙ ๐.๐๑ ๙ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

-ไมระบุจังหวัด- -ไมระบุจังหวัด- ๓๙,๔๕๒ ๔๙.๙๑ ๓๕,๘๔๐ ๙๐.๘๔ ๓,๖๑๒ ๙.๑๖<br />

รวม ๓๙,๔๖๑ ๔๙.๙๓ ๓๕,๘๔๙ ๙๐.๘๕ ๓,๖๑๒ ๙.๑๕<br />

รวมทั้งสิ้น ๗๙,๐๔๐ ๑๐๐.๐๐ ๗๑,๘๙๐ ๙๐.๙๕ ๗,๑๕๐ ๙.๐๕<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๗๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

สรุปจากตารางที่ ๒<br />

ในรอบปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ เมื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนตามรายภาคแลว<br />

สรุปได ดังนี้<br />

(๑) พื้นที่ที่มีเรื่องรองเรียนจากประชาชนมากที่สุด คือ ภาคกลาง มีเรื่องรองเรียน จำนวน ๙,๔๓๖ เรื่อง<br />

คิดเปนรอยละ ๑๑.๙๔ ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมดที่ไดรับจากศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนัก<br />

นายกรัฐมนตรี<br />

(๒) พื้นที่ที่มีการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชนจนไดขอยุติมากที่สุด คือ ภาคตะวันออก มีเรื่อง<br />

รองเรียน จำนวน ๒,๘๕๘ เรื่อง ดำเนินการจนไดขอยุติ จำนวน ๒,๖๒๖ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙๑.๘๘ ของจำนวน<br />

เรื่องรองเรียนในภาคดังกลาวทั้งหมดที่ไดรับจากศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

(๓) พื้นที่ที่มีเรื่องรองเรียนจากประชาชนอยูในระหวางดำเนินการมากที่สุด คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

มีเรื่องรองเรียน จำนวน ๖,๑๒๐ เรื่อง อยูระหวางดำเนินการ จำนวน ๘๒๔ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๑๓.๔๖<br />

ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมดที่ไดรับจากศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

๒.๒.๓ สรุปผลการติดตอประสานการรองเรียนจากประชาชน จำแนกตามชองทางการรองเรียน ดังนี้<br />

ตารางที่ ๓ แสดงผลการติดตอประสานการรองเรียนจากประชาชน จำแนกตามชองทางการรองเรียน ในรอบ<br />

ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ลำดับที่ ชองทางหลัก จำนวนการติดตอ (ครั้ง) รอยละ<br />

๑ สายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑ ๗๓,๖๘ ๗๙.๓๒<br />

๒ เว็บไซต (www.1111.go.th) ๑๐,๑๗๓ ๑๐.๙๕<br />

ตู ปณ. ๑๑๑๑/หนังสือ/โทรสาร/<br />

๓<br />

๘,๘๘ ๙.๕<br />

จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑<br />

๔ ชองทางอื่นๆ ๑๕ ๐.๑๖<br />

รวมทั้งสิ้น ๙๒,๘๙ ๑๐๐.๐๐<br />

ที่มา : ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

สรุปจากตารางที่ ๓<br />

ในรอบปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ประชาชนไดประสานการรองเรียนผานชองทางสายดวนของรัฐบาล<br />

๑๑๑๑ มากที่สุด จำนวน ๗๓,๖๘๕ ครั้ง คิดเปนรอยละ ๗๙.๓๒ รองลงมา คือ ชองทางเว็บไซต (www.1111.go.th)<br />

จำนวน ๑๐,๑๗๓ ครั้ง คิดเปนรอยละ ๑๐.๙๕ ของจำนวนการติดตอประสานการรองเรียนของประชาชน<br />

จากทุกชองทางที่รองเรียนตามลำดับ<br />

๗๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๒.๔ สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน จำแนกตามประเภทเรื่องรองเรียน ดังนี้<br />

ตารางที่ ๔ แสดงสรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน จำแนกตามประเภทเรื่องรองเรียน<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ลำดับที่ ประเภทเรื่อง จำนวนรวม รอยละ<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ อยูระหวางดำเนินการ<br />

จำนวนรวม รอยละ จำนวนรวม รอยละ<br />

๑ สังคมและสวัสดิการ ๓๗,๐๗๑ ๔๖.๙๐ ๓๓,๖๒๗ ๙๐.๗๑ ๓,๔๔๔ ๙.๒๙<br />

๒ การเมือง-การปกครอง ๒๘,๕๘๑ ๓๖.๑๖ ๒๗,๐๖๙ ๙๔.๗๑ ๑,๕๑๒ ๕.๒๙<br />

๓ เศรษฐกิจ ๗,๑๙ ๙.๑ ๖,๐๖ ๘๔.๓๖ ๑,๑๒๕ ๑๕.๖๔<br />

๔ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๒,๙๕๖ ๓.๗๔ ๒,๕๗๑ ๘๖.๙ ๓๘ ๑๓.๐๒<br />

๕ กฎหมาย ๒,๙๑๐ ๓.๖๘ ๒,๔๑๐ ๘๒.๘๒ ๕๐ ๑๗.๑๘<br />

๖ อื่นๆ ๓๓ ๐.๔๒ ๒๘ ๘๔.๖๔ ๕ ๑๕.๓๖<br />

รวมทั้งสิ้น ๗๙,๐๔ ๑๐๐.๐๐ ๗๒,๐๒๔ ๙๑.๑๒ ๗,๐๑๗ ๘.๘๘<br />

ที่มา : ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ขอมูล ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๑<br />

แผนภูมิแทงที่ ๕ เปรียบเทียบผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชนที่ดำเนินการจนไดขอยุติมากที่สุด<br />

๓ อันดับแรก จำแนกตามประเภทเรื่องรองเรียน<br />

จำนวน<br />

๔๐,๐๐๐<br />

๓๕,๐๐๐<br />

๒๕,๐๐๐<br />

๓๐,๐๐๐<br />

๒๐,๐๐๐<br />

๑๕,๐๐๐<br />

๑๐,๐๐๐<br />

๕,๐๐๐<br />

๐<br />

๓๗,๐๗๑ ๓๓,๖๒๗<br />

๒๘,๕๘๑ ๒๗,๐๖๙<br />

๓,๔๔๔ ๑,๕๑๒<br />

๗,๑๙๑ ๖,๐๖๖ ๑,๑๒๕<br />

สังคมและสวัสดิการ การเมือง-การปกครอง เศรษฐกิจ ประเภท<br />

ประเภท ดำเนินการจนไดขอยุติ อยูระหวางดำเนินการ<br />

สรุปจากตารางที่ ๔ และแผนภูมิแทงที่ ๕<br />

ในระหวางวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ – วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๑ ประชาชนรองเรียน ในประเภทเรื่อง<br />

สังคมและสวัสดิการ มากที่สุด จำนวน ๓๗,๐๗๑ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๔๖.๙๐ ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ จำนวน ๓๓,๖๒๗ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙๐.๗๑ และอยูระหวางดำเนินการ จำนวน ๓,๔๔๔<br />

เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙.๒๙ ของจำนวนเรื่องรองเรียนในประเภทดังกลาว<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๗๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๒.๓ สรุปผลการดำเนินการดานการประสานมวลชนและองคกรประชาชน<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน<br />

สรุปภาพรวมได ดังนี้<br />

๒.๓.๑ ตุลาคม ๒๕๕๐<br />

ในเดือนตุลาคม ๒๕๕๐ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปไดดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๐<br />

กลุมสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจรถไฟแหงประเทศไทย จำนวนประมาณ ๑๐๐ คน นำโดย<br />

นายเรียงศักดิ์ แข็งขัน ประธานสหภาพฯ ไดเดินทางมายื่นหนังสือคัดคานการเปดใหเอกชนมีสวนรวมในการเดินรถไฟ<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดออกไปพบและรับหนังสือจากกลุมฯ<br />

จากนั้นไดสงเรื่องใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการตอไป<br />

(๒) วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๐<br />

กลุมศูนยพิทักษพระพุทธศาสนาแหงประเทศไทย โดยมีพระภิกษุ จำนวน ๒๐ รูป ฆารวาส<br />

จำนวนประมาณ ๕๐ คนไดเดินทางมายื่นหนังสือขอความอนุเคราะหใหดำเนินการ กรณีภาพหมิ่นพระพุทธ-<br />

ศาสนาและคณะสงฆไทย โดยขอใหดำเนินการตักเตือนทางวินัยกับผูที่เกี่ยวของ<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดออกไปพบ รับหนังสือไวและเจรจากับ<br />

กลุมฯ โดยไดสงเรื่องใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการตอไป<br />

๗๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

(๓) วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐<br />

กลุมคนงานบริษัท เจริญสวัสดิ์ใยเทียมยืด จำนวนประมาณ ๒๐๐ คน นำโดย นางสาว<br />

วิไลวรรณ แซเตีย และนายธงชัย แดงมงคล ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอความชวยเหลือ กรณีบริษัทฯ ปดกิจการ<br />

ทำใหพนักงานไดรับความเดือดรอน<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดเชิญตัวแทนกลุมฯ เขาพบและเจรจา<br />

กับผูแทนกระทรวงแรงงาน โดยผูแทนกระทรวงแรงงานฯ จะมีการประชุมคณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจาง<br />

เพื่อพิจารณาชวยเหลือตอไป<br />

๒.๓.๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๐ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปได ดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

กลุมสมัชชาชาวนาภาคอีสาน จำนวน ๒๐ คน นำโดยนายเทพพนม ศิริวิทยารักษ ไดเดินทาง<br />

มายื่นหนังสือเสนอมาตรการจำนำขาวเปลือกนาป (หอมมะลิ) ปการผลิต ๒๕๕๐/๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและนัดประชุมรวมกับ<br />

หนวยงานที่เกี่ยวของ ในวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๗๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๒) วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

กลุมสหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจแหงประเทศไทย จำนวน ๖ คน นำโดย นายณฐกร แกวดี ประธาน<br />

สหพันธฯ ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหปรับลดการเก็บเงินนำสงกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง<br />

สรุปผลการดำเนินการ คณะทำงานรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก สนธิ บุณยรัตกลิน) ไดประสาน<br />

มายังเจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนและรับมอบหนังสือดังกลาวเพื่อดำเนินการตอไป<br />

(๓) วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

กลุมผูไดรับผลกระทบจากสารแคดเมียม ตำบลแมกุ อำเภอแมสอด จังหวัดตาก จำนวน ๒๐ คน<br />

โดยนายไพรัตน ยาเถิน ประธานกลุมฯ ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอความชวยเหลือกรณีไดรับผลกระทบ<br />

จากสารแคดเมียม<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและไดเชิญตัวแทนกลุมฯ<br />

เขาเจรจา โดยจะแจงใหหนวยงานที่เกี่ยวของชวยแกไขปญหาดังกลาวตอไป<br />

๗๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

(๔) วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

สมาคมผูเลี้ยงสุกรแหงชาติ จำนวนประมาณ ๓๐๐ คน นำโดย นายสุรชัย สุทธิธรรม<br />

นายกสมาคมฯ ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหแกไขปญหาราคาสุกรตกต่ำไมสอดคลองกับตนทุนในการเลี้ยง<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและไดเชิญตัวแทนกลุมฯ<br />

เขาเจรจา รวมกับรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณและหนวยงานที่เกี่ยวของจนไดขอยุติ<br />

๒.๓.๓ ธันวาคม ๒๕๕๐<br />

ในเดือนธันวาคม ๒๕๕๐ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปไดดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๐<br />

ผูแทนสภาคณาจารยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยฯ ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหถอนรางพระราช<br />

บัญญัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. .... ซึ่งกำลังจะผานการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแหงชาติวาระที่ ๒ และ ๓<br />

เนื่องจากรางพระราชบัญญัติดังกลาวมีผลกระทบตอการบริหารภายในมหาวิทยาลัยและจะนำมหาวิทยาลัยไปสู<br />

การบริหารเชิงธุรกิจ<br />

สรุปผลการดำเนินการ กลุมฯ ไดเขาพบเจรจาและยื่นหนังสือผานผูอำนวยการศูนยบริการ<br />

ประชาชน โดยไดสงเรื่องใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการตอไป<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๗๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๒) วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๐<br />

ตัวแทนผูประพันธเพลง ผูจัดเก็บคาเผยแพรลิขสิทธิ์ นักรอง นักแสดงและศิลปน นำโดย<br />

นายประธาน สมฤดี ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหทบทวนรางพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่....) พ.ศ. ....<br />

เนื่องจากมีหลายมาตรา ขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยเฉพาะการจำกัดสิทธิเสรีภาพ<br />

ในการประกอบกิจการและการแขงขันโดยเสรีของลิขสิทธิ์อยางไมเปนธรรม<br />

สรุปผลการดำเนินการ ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและขอใหตัวแทนกลุมฯ<br />

เขามามีสวนรวมในการรางพระราชบัญญัติดังกลาวดวย ทั้งนี้ ไดสงเรื่องใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการแลว<br />

(๓) วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๐<br />

กลุมสมาคมมัคคุเทศกอาชีพ จำนวนประมาณ ๕๐ คน นำโดยนายพงศพันธุ จันทรสุกรี<br />

เลขาธิการสมาคมฯ ไดเดินทางมายื่นหนังสือรองเรียนกรณีไดรับความเดือดรอนจากการที่บุคคลตางดาวแอบแฝง<br />

เขามาประกอบอาชีพมัคคุเทศก ทำใหมัคคุเทศกไทยไดรับความเดือดรอน ไมมีงานทำและเสียภาพพจน<br />

ของประเทศจากการบริการที่ต่ำกวาคุณภาพ<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและไดเชิญตัวแทนกลุมฯ<br />

เขาเจรจา โดยตัวแทนตองการใหหนวยงานที่เกี่ยวของตั้งคณะทำงานมาแกปญหาแบบบูรณาการ เนื่องจากปญหานี้<br />

เกี่ยวของกับหลายหนวยงาน<br />

๘๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๓.๔ มกราคม ๒๕๕๑<br />

ในเดือนมกราคม ๒๕๕๑ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปได ดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๑<br />

กลุมราษฎรตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวนประมาณ ๔๐ คน<br />

นำโดยนางสาววิลัย นกเขา ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอความเปนธรรมกรณีราษฎรไมมีรายชื่อในการเลือกตั้ง จำนวน<br />

๑๓๐ คน แตผลการเลือกตั้งมีผูชนะการเลือกตั้งมีคะแนนเสียงมากกวา ๔๐ คะแนน จึงคัดคานการเลือกตั้งดังกลาว<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและไดเชิญตัวแทนกลุมฯ<br />

เขาเจรจา และไดสงเรื่องใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการตอไป<br />

(๒) วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๑<br />

กลุมอาสาสมัครรักษาดินแดน ๔ จังหวัด ประกอบดวย นครราชสีมา มุกดาหาร อำนาจเจริญ<br />

และหนองบัวลำภู จำนวน ๑๔ คน นำโดย นายหมูใหญชัยณรงค วัชรวงศทิพย ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอรับ<br />

การสนับสนุนตามโครงการอยูดีมีสุขเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อความอยูดีมีสุขของทหารผานศึกนอกประจำการและ<br />

อาสาสมัครรักษาดินแดน เนื่องจากไดรับความเดือดรอนจากภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและไดสงเรื่อง<br />

ใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการตอไป<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๘๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๒.๓.๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑<br />

ในเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๑ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปได ดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑<br />

เครือขายคัดคานโครงการทอสงกาซโรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย และอุตสาหกรรมตอเนื่อง จำนวน<br />

๑๕ คน นำโดย นายนาซอรี หวะหลำ ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหแกไขปญหาการออกพระราชกฤษฎีกา<br />

ถอนสภาพที่ดินสาธารณะที่บริษัท ทรานสไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำกัด ไดดำเนินโครงการกอสรางโรงแยกกาซ<br />

ในพื้นที่ อ.จะนะ จ.สงขลา เนื่องจากปรากฏหลักฐานชัดเจนวาที่ดินดังกลาวเปนที่วะกัฟ (ที่สาธารณประโยชน<br />

ตามหลักศาสนาอิสลาม)<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไว และไดสงเรื่องให<br />

หนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการ<br />

(๒) วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๑<br />

กลุมพิราบขาว ๒๐๐๖ และเครือขายประชาธิปไตยสนับสนุนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง<br />

ตามระบอบประชาธิปไตย จำนวนประมาณ ๒๐ คน นำโดย นายนพรุฒ วรชิตวุฒิกุล ไดเดินทางมายื่นหนังสือสนับสนุน<br />

รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยและขอยุติการเคลื่อนไหวการขับไลคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดออกไปพบ และรับหนังสือไว<br />

โดยไดสงเรื่องใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการแลว<br />

๘๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๓.๖ มีนาคม ๒๕๕๑<br />

ในเดือนมีนาคม ๒๕๕๑ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปได ดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๑<br />

เครือขายหนี้สินชาวนาแหงประเทศไทยจำนวน ๒,๐๐๐ คน นำโดย นายชรินทร ดวงดารา ได<br />

มาชุมนุมเพื่อเสนอการแกไขปญหากองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดประสานไปยังเลขานุการรัฐมนตรี<br />

วาการกระทรวงการคลัง (นางสาวภูวนิดา คุนผลิน) โดยเลขานุการฯ ไดรับมอบหมายจากรองนายกรัฐมนตรีและ<br />

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ใหมาเจรจากับกลุมฯ แทน<br />

(๒) วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๑<br />

กลุมบูรณาการแรงงานสตรี (บกส.) และองคกรพันธมิตร จำนวนประมาณ ๔๐๐ คน นำโดย<br />

นางเพลินพิศ ศรีศิริ ประธานกลุมบูรณาการแรงงานสตรี ไดเดินทางมาเสนอขอเรียกรองวันสตรีสากล ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนและเลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวง<br />

แรงงาน (นายสันติ บุลสถาพร) ไดออกไปพบกลุมฯ และชี้แจงวารัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน ไดใหนโยบาย<br />

เกี่ยวกับการแกไขปญหาดังกลาวไวแลว กลุมฯ ไดยื่นหนังสือไวและเดินทางกลับ<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๘๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๓) วันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๑<br />

กลุมเครือขายวณิพกตาบอดแหงชาติ จำนวนประมาณ ๔๐ คน นำโดย นายถนอม ศรีนาคา<br />

ผูประสานงาน เครือขายฯ ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหนำรางพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. .... เขาสู<br />

กระบวนการนิติบัญญัติ ภายในวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๑ เพื่อแกไขปญหาความเดือดรอนของคนพิการ มิฉะนั้น<br />

จะทำใหรางพระราชบัญญัติดังกลาวตกไป<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดนำเรียนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ<br />

พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (นายสุธา ชันแสง) รับทราบประเด็นปญหา นายสุธาฯ ไดออกไปพบกลุมฯ<br />

และรับจะนำรางพระราชบัญญัติดังกลาวเขาสูกระบวนการพิจารณาตอไป<br />

๒.๓.๗ เมษายน ๒๕๕๑<br />

ในเดือนเมษายน ๒๕๕๑ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปได ดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑<br />

กลุมผูไดรับผลกระทบจากการสรางฝายราศีไศล จำนวนประมาณ ๕๐๐ คน นำโดย นายศักดา<br />

กาญจนเสน สมัชชาเกษตรกรภาคอีสาน ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหแกไขปญหาการจายคาชดเชยและปญหา<br />

อื่นๆ กรณีไดรับผลกระทบจากการสรางฝายราศีไศล<br />

สรุปผลการดำเนินการ วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๑ ผูอำนวยการสวนประสานมวลชนและ<br />

ประเมินผลไดประชุมรวมกับกลุมฯ โดยตัวแทนกลุมฯ ไดเสนอขอใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาดังกลาว<br />

แทนคณะกรรมการชุดเดิมซึ่งหมดวาระไปเพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการแกไขปญหา<br />

๘๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

(๒) วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๑<br />

กลุมคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทยและพันธมิตร จำนวนประมาณ ๕๐ คน นำโดย<br />

นางสาววิไลวรรณ แซเตีย ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหคุมครองและชวยเหลือผูใชแรงงานตางดาว กรณีเหตุการณ<br />

ผูใชแรงงานตางดาว จำนวน ๕๔ คน เสียชีวิต เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดนำเรียนรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม<br />

รับทราบโดยรัฐมนตรีไดออกมารับหนังสือจากตัวแทนกลุมฯ และรับไปดำเนินการโดยตรง และแจงตอกลุมฯ วาจะ<br />

ติดตามกรณีปญหาดังกลาวและนำผูที่เกี่ยวของมาดำเนินคดีตอไป<br />

(๓) วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๑<br />

กลุมสมัชชาเกษตรกรรายยอยภาคอีสาน นำโดย นายรณชิต ทุมโมง ไดเดินทางมายื่นหนังสือ<br />

ขอรับทราบนโยบายเกี่ยวกับการดำเนินการของกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร<br />

สรุปผลการดำเนินการ นายอรรคพล สรสุชาติ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง<br />

ไดออกไปพบและรับหนังสือจากกลุมฯ และแจงวาจะนำเรื่องดังกลาวเรียนรองนายกรัฐมนตรี (พลตรี สนั่น ขจรประศาสน)<br />

เพื่อพิจารณาตอไป<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๘๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๒.๓.๘ พฤษภาคม ๒๕๕๑<br />

ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๑ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปได ดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑<br />

กลุมเครือขายหนี้สินชาวนาแหงประเทศไทย จำนวนประมาณ ๒๐๐ คน นำโดย นายชรินทร<br />

ดวงดารา ไดเดินทางมายื่นหนังสือเสนอการแกไขปญหากองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดเชิญตัวแทนกลุมฯ เขาพบและเจรจา<br />

กับ นายอรรคพล สรสุชาติ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง โดยนายอรรคพลฯ ไดรับทราบปญหาดังกลาว<br />

แลวและแจงวาจะนำเรียนรองนายกรัฐมนตรี (พลตรี สนั่น ขจรประศาสน) รับทราบตอไป และกอนจะมีการประชุม<br />

คณะกรรมการฯ ครั้งตอไป จะเชิญตัวแทนกลุมฯ มาหารืออยางไมเปนทางการกอน<br />

(๒) วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๑<br />

กลุมราษฎรที่ไดรับความเดือดรอนจากอำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานนอย จำนวน<br />

๙ คน นำโดย นายสนอง ภูเขียว มายื่นหนังสือขอใหเพิกถอนพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ปาไชยราช-คลองกรูด<br />

และปาพุน้ำเค็ม ในเขตนิคมสหกรณ อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานนอย<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดรับหนังสือไวและแจงใหหนวยงาน<br />

ที่เกี่ยวของแกไขตอไป<br />

๘๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

(๓) วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๑<br />

นายยงยุทธ เพ็ชรสุวรรณ ประธานสภาการเหมืองแร ไดยื่นหนังสือขอใหมีการพัฒนาปรับปรุง<br />

กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแรและธุรกิจเหมืองแร<br />

สรุปผลการดำเนินการ นายนที เปรมรัศมี รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ในขณะนั้น) และ<br />

นายอำนวย โชติสกุล ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน ไดรับเรื่องไวเพื่อดำเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป<br />

๒.๓.๙ มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

ในเดือนมิถุนายน ๒๕๕๑ ไดดำเนินการประสานมวลชนและองคกรประชาชน สรุปได ดังนี้<br />

(๑) วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

กลุมสภาเครือขายประชาชน ๔ ภาค จำนวนประมาณ ๕๐ คน นำโดย นายสพรรณ นาคสิงห<br />

และนายประภาส โงกสูงเนิน ไดมายื่นหนังสือเพื่อเสนอการแกไขปญหากองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกรและ<br />

ติดตามเรื่องการแกไขปญหาหนี้สิน ที่ดินทำกิน ที่อยูอาศัยของเกษตรกร ที่ไดรองเรียนไว<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดเชิญตัวแทนกลุมฯ เขาพบและเจรจา<br />

กับรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง (นายอรรคพล สรสุชาติ) โดยนายอรรคพลฯ ไดรับทราบปญหา<br />

ดังกลาวแลว และนำเรียนรองนายกรัฐมนตรี (พลตรี สนั่น ขจรประศาสน) รับทราบ<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๘๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

(๒) วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

กลุมเครือขายหนี้สินชาวนาแหงประเทศไทย จำนวนประมาณ ๖,๐๐๐ คน นำโดยนายชรินทร<br />

ดวงดารา ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร<br />

สรุปผลการดำเนินการ ตัวแทนกลุมฯ จำนวน ๖ คน ไดเจรจากับรองเลขาธิการฝายการเมือง<br />

(พลตำรวจโท ชัจจ กุลดิลก) และเจาหนาที่ศูนยบริการประชาชน โดย พลตำรวจโท ชัจจฯ รับจะนำเรื่องกราบเรียน<br />

นายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรี (พลตรี สนั่น ขจรประศาสน) ตอไป<br />

(๓) วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

กลุมเครือขายตานหวยออนไลนแหงชาติ จำนวนประมาณ ๔๐ คน นำโดย นายสมชาย<br />

ปญญเอกวงศ ไดเดินทางมายื่นหนังสือขอใหยกเลิกการจำหนายสลากพิเศษแบบเลขทาย ๓ ตัว และ ๒ ตัว<br />

ดวยเครื่องจำหนายสลากอัตโนมัติ ซึ่งสงผลกระทบตอการประกอบอาชีพของผูดอยโอกาสและผูพิการ<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดเจรจากับตัวแทนกลุมฯ จำนวน ๑๒ คน<br />

และรับจะนำเรื่องเรียนเลขาธิการนายกรัฐมนตรีทราบ โดยกลุมฯ จะติดตามผลความคืบหนาในการแกไขปญหาตอไป<br />

๘๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

(๔) วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

กลุมแนวรวมเกษตรกรกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร จำนวนประมาณ ๑๐๐ คน นำโดย<br />

นายชัยณรงค ตนสายสมบูรณ และนายรณชิต ทุมโมง เดินทางมายื่นหนังสือขอใหแกไขปญหาการดำเนินงาน<br />

ของกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร<br />

สรุปผลการดำเนินการ เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชนไดเชิญตัวแทนกลุมฯ จำนวน ๗ คน<br />

เขาพบและเจรจากับคณะทำงานรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง (พลตำรวจโท ชัจจ กุลดิลก) ซึ่ง<br />

พลตำรวจโท ชัจจฯ ไดรับเรื่องไวเพื่อดำเนินการตอไป<br />

หมายเหตุ : ขอมูลดานการประสานมวลชนและองคกรประชาชนในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ดังกลาวขางตน<br />

เปนบางสวนเทานั้น ทั้งนี้เพราะขอมูลสวนใหญอยูในทำเนียบรัฐบาลไมสามารถนำออกมาได<br />

เนื่องจากกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเขาไปชุมนุมทางการเมืองในบริเวณ<br />

ทำเนียบรัฐบาล ตั้งแตวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๑<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๘๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๒.๔ สรุปผลการดำเนินการดานการตรวจสอบขอเท็จจริงและติดตามผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน<br />

ในพื้นที่<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนไดดำเนินการในภารกิจดานการตรวจสอบขอเท็จจริง<br />

และติดตามผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนในพื้นที่โดยเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาเรื่อง<br />

รองเรียนในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ สรุปผลการดำเนินการได ดังนี้<br />

๒.๔.๑ ตุลาคม ๒๕๕๐<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือนตุลาคม ๒๕๕๐<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร พิจิตร ลพบุรี<br />

สระบุรี บุรีรัมย สุรินทร โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๓๙๔ เรื่อง ไดขอยุติ จำนวน ๒๗๑ เรื่อง<br />

กำแพงเพชร<br />

๙๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

พิจิตร


ลพบุรี<br />

สระบุรี<br />

บุรีรัมย<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๙๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

สุรินทร<br />

๒.๔.๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๐<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี นครสวรรค ภูเก็ต<br />

สระแกว และปราจีนบุรี โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๒๖๓ เรื่อง ไดขอยุติ จำนวน ๑๗๐ เรื่อง<br />

อุทัยธานี<br />

๙๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

นครสวรรค


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ภูเก็ต<br />

สระแกว<br />

ปราจีนบุรี<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๙๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๒.๔.๓ ธันวาคม ๒๕๕๐<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน ธันวาคม ๒๕๕๐<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัด ชลบุรี แมฮองสอน ชุมพร<br />

ขอนแกน และกาฬสินธุ โดยติดตามเรื่องรองเรียนจำนวน ๑๒๙ เรื่อง ไดขอยุติ จำนวน ๔๔ เรื่อง<br />

แมฮองสอน<br />

ชุมพร<br />

๙๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

ขอนแกน


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

กาฬสินธุ<br />

๒.๔.๔ มกราคม ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน มกราคม ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัด ตาก อุตรดิตถ อุดรธานี<br />

หนองคาย สงขลา เชียงราย เชียงใหม ราชบุรี และสมุทรสาคร โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๙๕๖ เรื่อง ได<br />

ขอยุติ จำนวน ๔๑๑ เรื่อง<br />

ตาก<br />

อุตรดิตถ<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๙๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

อุดรธานี<br />

หนองคาย<br />

๙๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

สงขลา


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

เชียงราย<br />

เชียงใหม<br />

ราชบุรี<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๙๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

สมุทรสาคร<br />

๒.๔.๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน กุมภาพันธ ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัด สมุทรสงคราม สุโขทัย พิษณุโลก<br />

นนทบุรี และปทุมธานี โดยติดตามเรื่องรองเรียนจำนวน ๒๙๔ เรื่อง ไดขอยุติ จำนวน ๒๔๕ เรื่อง<br />

สมุทรสงคราม<br />

๙๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

สุโขทัย


นนทบุรี<br />

ปทุมธานี<br />

๒.๔.๖ มีนาคม ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน มีนาคม ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดระนอง ขอนแกน เพชรบูรณ<br />

พะเยา มหาสารคาม รอยเอ็ด ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี สตูล โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๓๕๙ เรื่อง<br />

ไดขอยุติ จำนวน ๒๑๑ เรื่อง<br />

ระนอง<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๙๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

ขอนแกน<br />

เพชรบูรณ<br />

พะเยา<br />

๑๐๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

มหาสารคาม<br />

รอยเอ็ด<br />

ประจวบคีรีขันธ<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๐๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

เพชรบุรี<br />

สตูล<br />

๒.๔.๗ เมษายน ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน เมษายน ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดลำปาง นาน เลย หนองบัวลำภู<br />

สุรินทร บุรีรัมย อยุธยา สุพรรณบุรี และนครปฐม โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๕๖๐ เรื่อง ไดขอยุติ<br />

จำนวน ๒๗๙ เรื่อง<br />

๑๐๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

ลำปาง


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

นาน<br />

เลย<br />

หนองบัวลำภู<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๐๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

สุรินทร<br />

บุรีรัมย<br />

อยุธยา<br />

๑๐๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

สุพรรณบุรี<br />

นครปฐม<br />

๒.๔.๘ พฤษภาคม ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร กาฬสินธุ ลำพูน<br />

แพร อางทอง ชัยนาท สิงหบุรี นครราชสีมา ชัยภูมิ โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๓๘๖ เรื่อง ไดขอยุติ<br />

จำนวน ๒๗๙ เรื่อง<br />

มุกดาหาร<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๐๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

กาฬสินธุ<br />

ลำพูน<br />

แพร<br />

๑๐๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

อางทอง<br />

ชัยนาท<br />

สิงหบุรี<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๐๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

นครราชสีมา<br />

ชัยภูมิ<br />

๒.๔.๙ มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน มิถุนายน ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

สุราษฎรธานี ตราด จันทบุรี ระยอง และนครนายก โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๕๐๕ เรื่อง ไดขอยุติ<br />

จำนวน ๓๖๙ เรื่อง<br />

๑๐๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

นครศรีธรรมราช


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

สุราษฎรธานี<br />

ตราด<br />

จันทบุรี<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๐๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

ระยอง<br />

นครนายก<br />

๒.๔.๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน กรกฎาคม ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ พังงา<br />

และกระบี่ โดยติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน เรื่อง ๑๑๘ ไดขอยุติ จำนวน ๘๓ เรื่อง<br />

๑๑๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

อุบลราชธานี


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

อำนาจเจริญ<br />

พังงา<br />

กระบี่<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๑๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

๒.๔.๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินการประจำเดือน สิงหาคม ๒๕๕๑<br />

ไดติดตามผลการแกไขปญหาและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร สุโขทัย<br />

พะเยา และเพชรบูรณ<br />

กำแพงเพชร<br />

สุโขทัย<br />

๑๑๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

พะเยา


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

เพชรบูรณ<br />

๒.๕ ผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

แผนงาน/งาน/โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงานที่สำคัญในป ๒๕๕๑ (๑๒ เดือน)<br />

๑. โครงการของศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอ<br />

รองเรียนของประชาชน<br />

งบประมาณ : ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท<br />

กิจกรรม :<br />

๑.๑ การติดตามผลความคืบหนาในการดำเนินการแกไข<br />

ปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ<br />

รวมทั้งประสานงานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของ<br />

ประชาชนและการประสานมวลชนในพื้นที่<br />

๑.๒ การประชาสัมพันธชองทางการรับเรื่องรองเรียนและ<br />

ผลการดำเนินการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของ<br />

ประชาชน<br />

๑.๑ โดยดำเนินการตามโครงการติดตาม ตรวจสอบ<br />

ขอเท็จจริงและเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการแกไข<br />

ปญหาขอรองเรียนในพื้นที่ทุกภูมิภาคของประเทศ ในป<br />

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดเดินทางไปติดตามตรวจสอบ<br />

ขอเท็จจริงฯ แลว จำนวน ๓๘ ครั้ง ใน ๗๑ จังหวัด โดย<br />

ไปติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๔,๐๕๙ เรื่อง และ<br />

สามารถทำใหเรื่องรองเรียนยุติได จำนวน ๒,๐๗๐ เรื่อง<br />

๑.๒ จัดจางบริษัท โกบอลอินเตอรคอมมิวนิเคชั่น จำกัด<br />

ประชาสัมพันธชองทางการรับเรื่องรองเรียน และผล<br />

การดำเนินการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน<br />

ผานสื่อตางๆ ไดแก สื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ และ<br />

สื่ออื่นๆ และจัดจางสำนักพิมพคณะรัฐมนตรีและราชกิจจา-<br />

นุเบกษา ผลิตและเผยแพรวารสารประชาสัมพันธ<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๑๓


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

แผนงาน/งาน/โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงานที่สำคัญในป ๒๕๕๑ (๑๒ เดือน)<br />

ศูนยบริการประชาชน (PSC Info.) และรายงานประจำป<br />

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๑.๓ การศึกษาวิเคราะหภาพรวมของปญหา<br />

ความเดือดรอนของประชาชน เพื่อนำไปสูการแกไขปญหา<br />

ในระดับนโยบาย<br />

๑.๓ ศึกษาวิเคราะหขอมูลเรื่องรองเรียนจากประชาชน<br />

ในภาพรวมเสนอผูบริหารระดับนโยบาย จำนวน ๗ ครั้ง<br />

ไดแก<br />

• สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ กราบเรียนนายกรัฐมนตรี<br />

และเสนอคณะรัฐมนตรี<br />

• สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน<br />

ในรอบ ๓ เดือน ๖ เดือน และ ๙ เดือน กราบเรียนนายก-<br />

รัฐมนตรีและเสนอคณะรัฐมนตรี<br />

• สรุปขอมูลเรื่องรองเรียนในกรณีปญหาสำคัญ ไดแก<br />

ปญหาภัยแลง กรณีปญหาที่เกี่ยวของกับเทศกาล<br />

วันสงกรานต และกรณีปญหาที่เกี่ยวของกับกองทุนหมูบาน<br />

และชุมชนเมือง เสนอรองนายกรัฐมนตรีที่รับผิดชอบ<br />

เพื่อประกอบการพิจารณาในเชิงนโยบาย<br />

๑.๔ การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของเจาหนาที่<br />

และปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนการปฏิบัติงานในดาน<br />

การประสานงานและติดตามผลการแกไขปญหาเรื่อง<br />

รองเรียน<br />

๑.๔ จัดการอบรมและจัดสงเจาหนาที่เขารับการอบรม<br />

ในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน รวมจำนวน ๑๒<br />

หลักสูตร<br />

๑.๕ การสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของ<br />

ผูรับบริการจากศูนยบริการประชาชน<br />

๑๑๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

๑.๕ ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของ<br />

ผูรับบริการจากศูนยบริการประชาชน โดยมีกลุมตัวอยาง<br />

จำนวน ๓,๐๐๐ ตัวอยาง<br />

หมายเหตุ : ไมสามารถประมวลผลไดเนื่องจากขอมูลอยู<br />

ในทำเนียบรัฐบาล (กลุมพันธมิตรฯ ชุมนุมทางการเมือง<br />

ในบริเวณทำเนียบรัฐบาล ไมสามารถปฏิบัติงานในทำเนียบ-<br />

รัฐบาลได)


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

แผนงาน/งาน/โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงานที่สำคัญในป ๒๕๕๑ (๑๒ เดือน)<br />

๒. โครงการของศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

(ระยะที่ ๓)<br />

งบประมาณ : ๗๕,๕๗๙,๐๐๐ บาท<br />

กิจกรรม :<br />

๒.๑ การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงฐานขอมูลการดำเนินการ<br />

เรื่องราวรองทุกขของหนวยงานภาครัฐ<br />

๒.๒ การเพิ่มศักยภาพและขยายระบบอุปกรณหลักเพื่อ<br />

รองรับปริมาณการเชื่อมโยงระบบศูนยรับเรื่องราวรองทุกข<br />

ของรัฐบาล<br />

๒.๓ การบริหารจัดการดูแลระบบการจัดการ<br />

เรื่องราวรองทุกข<br />

๒.๔ การบำรุงรักษาวัสดุอุปกรณ (Hardware, Software)<br />

๒.๕ การฝกอบรมเจาหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของ<br />

เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการใชระบบการ<br />

ดำเนินการเรื่องราวรองทุกข<br />

๓. โครงการดำเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

งบประมาณ : ๓๘,๘๖๐,๐๐๐ บาท<br />

กิจกรรม :<br />

ขอ ๒.๑ - ๒.๔ มีการดำเนินการดังนี้<br />

• จัดจางบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจ<br />

ในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พัฒนา<br />

และดูแลระบบการเชื่อมโยงฐานขอมูล ขยายขีดความ<br />

สามารถของระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกข ที่เปน<br />

ระบบกลาง ขณะนี้ อยูระหวางดำเนินการเชื่อมโยง<br />

ฐานขอมูลใหหนวยงานภาครัฐ จำนวน ๑๒๕ หนวยงาน<br />

สามารถเขาใชงานระบบฯ<br />

• จัดจางที่ปรึกษาเพื่อดำเนินการโครงการพัฒนาระบบจัดการ<br />

ความรูภายในองคกร (Knowledge Management : KM)<br />

ของศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ซึ่งขณะนี้<br />

อยูระหวางการนำความรูตนแบบที่ไดมีการคัดเลือก<br />

วิเคราะห และสังเคราะหแลวเขาสูระบบจัดการความรู<br />

๒.๕ จัดฝกอบรมเจาหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อ<br />

พัฒนาและเพิ ่มประสิทธิภาพในการใชงานระบบการจัดการ<br />

เรื่องราวรองทุกข (web portal) จำนวน ๕ ครั้ง โดยมี<br />

ผูเขารับการอบรม ประกอบดวย เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน<br />

เรื่องรองเรียนจากหนวยงานราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค<br />

ครอบคลุมทั่วประเทศ และจัดฝกอบรมเจาหนาที่ผูปฏิบัติ<br />

งานเรื่องรองเรียน ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

เพื่อเสริมสรางศักยภาพในการปฏิบัติงาน จำนวน ๑๐<br />

หลักสูตร สงผลใหเรื่องรองเรียนไดรับการดำเนินการจนได<br />

ขอยุติเพิ่มขึ้น<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๑๕


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

แผนงาน/งาน/โครงการ/กิจกรรม ผลการดำเนินงานที่สำคัญในป ๒๕๕๑ (๑๒ เดือน)<br />

๓.๑ พัฒนาและกำกับดูแลระบบฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส ๓.๑ ปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ<br />

และระบบการกำกับดูแลหนวยงานของรัฐเพื่อการเผยแพร ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่<br />

ขอมูลโครงการของรัฐและการรับฟงความคิดเห็นของ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ประชาชน<br />

๓.๒ การเผยแพรประชาสัมพันธและการสรางความรู<br />

ความเขาใจผานสื่อ<br />

๓.๓ ศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาขั้นตอน วิธีการ<br />

และกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน<br />

๓.๔ จัดทำและดำเนินการหลักสูตรพัฒนาการมีสวนรวม<br />

ของประชาชน<br />

๓.๕ จัดประชุมคณะกรรมการการรับฟงความคิดเห็น<br />

ของประชาชน<br />

๓.๖ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการกำกับดูแล ชวยเหลือ<br />

และแนะนำการมีสวนรวมของประชาชน<br />

๓.๒ จัดจาง บริษัท ไวสวิชั่น จำกัด ดำเนินการเผยแพร<br />

ประชาสัมพันธและการสรางความรูความเขาใจผานสื่อ<br />

ตามสัญญาจาง และขณะนี้อยูระหวางดำเนินการ<br />

๓.๓ จัดจางสถาบันบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนผูศึกษา<br />

วิจัยเพื่อปรับปรุงระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวย<br />

การรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

ดำเนินการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาขั้นตอน<br />

วิธีการและกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน และ<br />

ขณะนี้อยูระหวางดำเนินการตามสัญญา<br />

๓.๔ จัดจางสถาบันบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนผูจัดทำ<br />

และดำเนินการหลักสูตรพัฒนาการมีสวนรวมของ<br />

ประชาชนดำเนินการจัดทำและดำเนินการหลักสูตร<br />

พัฒนาการมีสวนรวมของประชาชน และขณะนี้<br />

อยูระหวางการดำเนินการตามสัญญาจาง<br />

๓.๕ จัดประชุมคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของ<br />

ประชาชนและคณะอนุกรรมการที่เกี่ยวของ จำนวน ๕<br />

ครั้ง<br />

๓.๖ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากลไกการมี<br />

สวนรวมของประชาชนครบถวนแลว จำนวน ๕ ครั้ง<br />

ไดแก กรุงเทพมหานคร จังหวัดสุโขทัย จังหวัดกระบี่<br />

จังหวัดชลบุรี จังหวัดอุดรธานี โดยมีผูเขารวมประชุม<br />

ประกอบดวย หัวหนาสวนราชการ องคกรพัฒนาเอกชน<br />

(NGO) ผูแทนเครือขายประชาชน ผูนำชุมชน กำนัน<br />

ผูใหญบาน และประชาชนทั่วไป จำนวนรวมทั้งสิ้น<br />

ประมาณ ๑,๗๐๐ คน<br />

๑๑๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

๒.๖ ผลการดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ศูนยบริการประชาชนรับผิดชอบดำเนินการตัวชี้วัดหลักตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ<br />

พ.ศ.๒๕๕๑ ของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ซึ่งสรุปผลการดำเนินการในรอบ ๑๒ เดือน<br />

ไดดังนี้<br />

มิติ ชื่อตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๓.๔ รอยละของจำนวนเรื่องรองเรียน<br />

ผานสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีที่ได<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ<br />

ดานประสิทธิผลตาม<br />

แผนปฏิบัติราชการ<br />

ดานคุณภาพการให<br />

บริการ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• ดำเนินการแกไขปญหาความเดือดรอนของ<br />

ประชาชนที่รองเรียนถึงนายกรัฐมนตรี<br />

รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนัก<br />

นายกรัฐมนตรี และหมายรวมถึงเรื่องรองเรียน<br />

ที่สงมาถึงโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสำนักนายก-<br />

รัฐมนตรี ผูตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

และชองทางอื่นๆ ที่เกี่ยวของ<br />

• โดยนับจำนวนเรื่องรองเรียนในอดีตที่ยังคาง<br />

อยู (ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๐) และ<br />

เรื่องของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ตัวชี้วัดที่ ๔ ระดับความสำเร็จในการเปด<br />

โอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการ<br />

แสดงความคิดเห็นและรวมติดตามตรวจสอบ<br />

ผลการปฏิบัติราชการ<br />

• สามารถดำเนินการแกไขปญหาความ<br />

เดือดรอนของประชาชนจนไดขอยุติ จำนวน<br />

๙๐,๒๕๙ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๘๗.๓๘ ของ<br />

จำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด จำนวน<br />

๑๐๓,๒๙๐ เรื่อง<br />

หมายเหตุ : เปนขอมูลผลการดำเนินการ<br />

เรื่องรองเรียนจนไดขอยุติในรอบ ๑๒ เดือน<br />

(ต.ค. ๕๐-ก.ย. ๕๑)<br />

ขั้นตอนที่ ๑<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ไดวิเคราะหยุทธศาสตรของสำนักงานปลัด<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการสงเสริม<br />

ธรรมาภิบาลมีแผนกลยุทธเสริมสรางความรู<br />

ความเขาใจเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน<br />

ใหหนวยงานภาครัฐรวมกับประชาชน และได<br />

แตงตั้งคณะทำงานภาคประชาชนรวมกัน<br />

กำหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด ตลอดจนวิธีการ<br />

วัดผลการแกไขปญหา<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๑๗


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

มิติ ชื่อตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• วิเคราะหภารกิจหลักของสำนักงานปลัด<br />

สำนักนายกรัฐมนตรีและเปดโอกาสให<br />

ประชาชนเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา<br />

เพื่อเปนการปรับระบบราชการสูการบริหาร<br />

ราชการที่เปดเผย โปรงใส เนนการมีสวนรวม<br />

ของประชาชนและพัฒนาระบบการบริหาร<br />

ราชการเพื่อตอบสนองความตองการของ<br />

ประชาชนและเพื่อประโยชนสุขของประชาชน<br />

ขั้นตอนที่ ๒<br />

• สวนราชการและคณะทำงานฯ ไดลงพื้นที่<br />

เขาตรวจสอบและแกไขปญหาขอรองเรียน<br />

ของราษฎร กรณีขอใหตรวจสอบบริษัทโนเบล<br />

เอ็นซี จำกัด ตั้งอยูที่อำเภอสรรพยา จังหวัด<br />

ชัยนาท เนื่องจากมีการกอสรางโรงงานขวาง<br />

ทางเดินน้ำ จึงไดจัดประชุมเพื่อรับฟงความ<br />

คิดเห็นและขอเสนอแนะเพื่อนำมาประกอบการ<br />

จัดทำแผนงาน/โครงการ โดยที่ประชุมไดเสนอ<br />

ใหบริษัทฯ ดำเนินการแกไขปญหา ดังนี้<br />

๑) ขยายทอระบายน้ำคอนกรีตใหใหญขึ้น<br />

๒) ขุดลอกลำรางสาธารณะดานขางโรงงาน<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและคณะ<br />

ทำงานฯ จึงไดจัดทำแผนระยะสั้นในรูปของ<br />

โครงการติดตามการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน<br />

แบบมีสวนรวม จนปญหาเบาบาง สรางความ<br />

พึงพอใจใหแกราษฎรผูไดรับความเดือดรอน<br />

ขั้นตอนที่ ๓<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและ<br />

คณะทำงานฯ ไดรวมกันดำเนินการและติดตาม<br />

ความกาวหนาแผนงาน/โครงการตามที่กำหนด<br />

ไวในแผนโดยไดลงพื้นที่ติดตามความกาวหนา<br />

และไดจัดทำสรุปทบทวนผลความกาวหนา<br />

ตอผูบริหารแลว<br />

• ขอมูลจากสำนักงาน ก.พ.ร. เปนผูจัดจาง<br />

หนวยงานผูประเมินอิสระภายนอก<br />

๑๑๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

มิติ ชื่อตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๗ รอยละของระดับความพึงพอใจ<br />

ของผูรับบริการ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• สำรวจความพึงพอใจของผูรับบริการ<br />

ในประเด็นดานกระบวนการ ขั้นตอนการใหบริการ<br />

ของเจาหนาที่ผูใหบริการ ดานสิ่งอำนวยความ<br />

สะดวก และคุณภาพการใหบริการ<br />

• อยูระหวางดำเนินการของสำนักงาน ก.พ.ร.<br />

ดานประสิทธิภาพ<br />

ของการปฏิบัติ<br />

ราชการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๑๐ ระดับความสำเร็จของรอยละ<br />

เฉลี่ยถวงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะ<br />

เวลาการใหบริการ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• พิจารณาจากระดับความสำเร็จของรอยละ<br />

เฉลี่ยถวงน้ำหนักของผูรับบริการที่ไดรับบริการ<br />

ตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบ<br />

กับผูรับบริการทั้งหมดในแตละกระบวนการงาน<br />

บริการ<br />

• ศูนยบริการประชาชน ไดเสนองานบริการ<br />

“การดำเนินการแกไขปญหาใหกับประชาชน<br />

ที่สงหนังสือรองเรียนทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส<br />

กรณีปกติ (ไมใชเวลาในการตรวจสอบขอเท็จจริง<br />

มาก / ไมซับซอน) / www.1111.go.th”<br />

มาดำเนินการในการรักษามาตรฐานระยะเวลา<br />

ใหบริการซึ่งงานบริการดังกลาวมีรอบระยะ<br />

เวลามาตรฐานอยูที่ ๓.๐๙ วันทำการ<br />

• ผลการดำเนินงานในรอบ ๑๒ เดือน ของ<br />

ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ (๑ ต.ค. ๕๐ –<br />

๓๐ ก.ย. ๕๑) มีเรื่องรองเรียนที่ผานชองทาง<br />

ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส กรณีปกติ จำนวน<br />

๗,๘๙๖ เรื่อง สามารถดำเนินการแกไขปญหา<br />

เรื่องรองเรียนไดตามรอบระยะเวลามาตรฐาน<br />

ทั้งสิ้น ๗,๖๖๓ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙๗.๐๕<br />

ของจำนวนเรื่องรองเรียนที่ผานชองทาง<br />

ดังกลาวทั้งหมด<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๑๙


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

ศูนยบริการประชาชนไดมีสวนรวมในการจัดทำตัวชี้วัดที่ ๑๓.๓ ระดับความสำเร็จของการถายทอดตัวชี้วัด<br />

และเปาหมายของระดับองคกรระดับบุคคลซึ่งเปนระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของสำนักงานปลัดสำนักนายก-<br />

รัฐมนตรี ในระดับสำนัก/กอง (Internal Performance Agreement : IPA) ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ สำนักงาน<br />

ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีไดจัดใหมีการลงนามในคำรับรองการปฏิบัติราชการระหวางหัวหนาหนวยงานระดับสำนัก/<br />

กอง กับปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีขึ้น โดยศูนยบริการประชาชนไดรับผิดชอบจัดทำตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง จำนวน<br />

ทั้งสิ้น ๕ ตัวชี้วัด มีผลการดำเนินการ ดังนี้<br />

ดานประสิทธิผล<br />

ตามแผนปฏิบัติ<br />

ราชการ<br />

มิติ ชื่อตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๑ รอยละของจำนวนเรื่องรองเรียน<br />

ผานสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีที่<br />

ดำเนินการจนไดขอยุติ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• ดำเนินการแกไขปญหาความเดือดรอนของ<br />

ประชาชนที่รองเรียนถึงนายกรัฐมนตรี<br />

รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนัก<br />

นายกรัฐมนตรี และหมายรวมถึงเรื่อง<br />

รองเรียนที่สงมาถึงโฆษกประจำสำนักนายก-<br />

รัฐมนตรี ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ผูตรวจราชการ<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี และชองทางอื่นๆ<br />

ที่เกี่ยวของ<br />

• โดยนับจำนวนเรื่องรองเรียนในอดีตที่ยัง<br />

คางอยู (ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๐)<br />

และเรื่องของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

• สามารถดำเนินการแกไขปญหาความ<br />

เดือดรอนของประชาชนที่ไดดำเนินการจนได<br />

ขอยุติ จำนวน ๙๐,๒๕๙ เรื่อง จากเรื่องทั้งหมด<br />

๑๐๓,๒๙๐ เรื่อง หรือคิดเปนรอยละ ๘๗.๓๘<br />

หมายเหตุ : เปนขอมูลผลการดำเนินการ<br />

เรื่องรองเรียนจนไดขอยุติ ในรอบ ๑๒ เดือน<br />

(ต.ค. ๕๐ – ก.ย. ๕๑)<br />

ตัวชี้วัดที่ ๒ ระดับความสำเร็จของรอยละ<br />

เฉลี่ยถวงน้ำหนักตามเปาหมายผลผลิต<br />

ของศูนยบริการประชาชน<br />

(ตามเอกสารงบประมาณรายจาย)<br />

• ณ สิ้นไตรมาส ๔ ของปงบประมาณ พ.ศ.<br />

๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนสามารถดำเนินการ<br />

ตามแผนการปฏิบัติงานภายใตผลผลิตที่ ๑<br />

สามารถดำเนินงานเสร็จสิ้นแลว จำนวน ๑<br />

โครงการ คิดเปนรอยละ ๑๐๐.๐๐ และสามารถ<br />

ดำเนินการภายใตผลผลิตที่ ๒ ได ๑๔ กิจกรรม<br />

จากเปาหมาย ๑๔ กิจกรรม หรือคิดเปนรอยละ<br />

๑๒๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

มิติ ชื่อตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• การดำเนินงานตามเปาหมายผลผลิตและ<br />

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณสำหรับปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่กำหนดไวตาม “เอกสาร<br />

งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑” ของศูนยบริการประชาชน คือ<br />

๑) การพัฒนาติดตามและประเมินผลการ<br />

ปฏิบัติราชการ<br />

๒) นโยบายและแผนตามพันธกิจของรัฐบาล<br />

ดานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

ซึ่งศูนยบริการประชาชน รับผิดชอบโครงการ<br />

และกิจกรรมเพื่อนำสงผลผลิตตามเปาหมาย<br />

ที่กำหนดไวประกอบดวย ผลผลิตที่ ๑<br />

จำนวน ๒ โครงการ และผลผลิตที่ ๒<br />

จำนวน ๑๔ กิจกรรม ซึ่งไดจัดทำแผนการ<br />

ปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ<br />

ประจำ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ตามแบบ<br />

สงป.๓๐๑ เพื่อจัดทำในภาพรวมของ<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

๑๐๐.๐๐ เมื่อนำมาจัดทำเปนคาเฉลี่ยของการ<br />

ดำเนินการของทั้ง ๒ ผลผลิต คิดเปนรอยละ<br />

๑๐๐.๐๐<br />

ดานคุณภาพการให<br />

บริการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จในการเปด<br />

โอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการ<br />

แสดงความคิดเห็นและรวมติดตามตรวจสอบ<br />

ผลการปฏิบัติราชการ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• วิเคราะหภารกิจหลักของสำนักงานปลัด<br />

สำนักนายกรัฐมนตรีและเปดโอกาสให<br />

ประชาชนเขามามีสวนรวมในการแกไข<br />

ปญหา เพื่อเปนการปรับระบบราชการ สูการ<br />

บริหารราชการที่เปดเผย โปรงใส เนนการ<br />

มีสวนรวมของประชาชนและพัฒนาระบบ<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ไดวิเคราะหยุทธศาสตรของสำนักงานปลัดสำนัก-<br />

นายกรัฐมนตรี วาดวยการสงเสริมธรรมาภิบาล<br />

มีแผนกลยุทธเสริมสรางความรู ความเขาใจ<br />

เกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชนให<br />

หนวยงานภาครัฐรวมกับประชาชน และได<br />

แตงตั้งคณะทำงานภาคประชาชนรวมกันกำหนด<br />

เปาหมาย ตัวชี้วัด ตลอดจนวิธีการวัดผลการแกไข<br />

ปญหา ซึ่ง สวนราชการและคณะทำงาน<br />

ไดลงพื้นที่ เขาตรวจสอบและแกไขปญหา<br />

ขอรองเรียนของราษฎร กรณีขอใหตรวจสอบ<br />

บริษัทโนเบล เอ็นซี จำกัด ตั้งอยูที่อำเภอ-<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๒๑


บทที่ ๒ สรุปผลการดำเนินการในภาพรวมประจำ<br />

มิติ ชื่อตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ<br />

การบริหารราชการเพื่อตอบสนองความ<br />

ตองการของประชาชนและเพื่อประโยชนสุข<br />

ของประชาชน<br />

สรรพยา จังหวัดชัยนาท เนื่องจากมีการ<br />

กอสรางโรงงานขวางทางเดินน้ำ จึงไดจัด<br />

ประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ<br />

เพื่อนำมาประกอบการจัดทำแผนงาน/โครงการ<br />

โดยที่ประชุมไดเสนอใหบริษัทดำเนินการแกไข<br />

ปญหา ดังนี้<br />

ดานประสิทธิภาพ<br />

ของการปฏิบัติ<br />

ราชการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๔ รอยละของอัตราการเบิกจาย<br />

เงินงบประมาณ<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• พิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจาย<br />

งบประมาณประจำป พ.ศ. ๒๕๕๑ ของศูนย<br />

บริการประชาชน จากอัตราการเบิกจาย<br />

เงินงบประมาณรายจายในภาพรวมของ<br />

ศูนยบริการประชาชน เปนตัวชี้วัดความ<br />

สามารถในการเบิกจายเงินงบประมาณ<br />

ทั้งนี้ ไมรวมงบประมาณที่ไดรับการจัดสรร<br />

เพิ่มเติมระหวางปงบประมาณ โดยจะใชขอมูล<br />

การเบิกจายงบประมาณจากระบบบริหาร<br />

การเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส<br />

(GFMIS)<br />

๑) ขยายทอระบายน้ำคอนกรีตใหใหญขึ้น<br />

๒) ขุดลอกลำรางสาธารณะดานขางโรงงาน<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและคณะ<br />

ทำงานฯ จึงไดจัดทำแผนระยะสั้นในรูปของ<br />

โครงการติดตามการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน<br />

แบบมีสวนรวม จนปญหาเบาบาง สรางความ<br />

พึงพอใจใหแกราษฎรผูไดรับความเดือดรอน<br />

• ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการ<br />

ประชาชนไดรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อใช<br />

ในการดำเนินงานทั้งสิ้น ๑๓๗,๙๒๑,๖๐๐ บาท<br />

(ไมรวมงบบุคลากร) มีผลการเบิกจายงบประมาณ<br />

ทั้งสิ้น ๖๖,๒๒๙,๐๐๘.๗๗ บาท คิดเปนรอยละ<br />

๓๘.๒๑<br />

๑๒๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ดานการพัฒนา<br />

องคกร<br />

มิติ ชื่อตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๕ ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถวง<br />

น้ำหนักของความครบถวนของการมีสวนรวม<br />

ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ<br />

ภาครัฐของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

แนวทางปฏิบัติ :<br />

• นำเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ<br />

มาใชเปนกรอบการประเมินระดับมาตรฐาน<br />

สากลและเปนกรอบแนวทางในการประเมิน<br />

องคกรดวยตนเอง (Self - Assessment)<br />

เพื่อเปนบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผล<br />

การบริหารของสำนักงานปลัดสำนักนายก-<br />

รัฐมนตรี สูระดับมาตรฐานสากล<br />

• ศูนยบริการประชาชนเปนเจาภาพในหมวด<br />

๓ ผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย และ<br />

ไดมีสวนรวมในการดำเนินการเกี่ยวกับ PMQA<br />

ของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ใน ๕ ประเด็น ดังนี้<br />

๑) การมีสวนรวมของผูบริหารในการประชุม<br />

ชี้แจงเรื่อง PMQA<br />

๒) การมีสวนรวมในการประชุมคณะติดตาม<br />

และกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ<br />

การบริหารจัดการภาครัฐของ สำนักงานปลัด<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี (PMQA) และคณะ<br />

ทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาค<br />

รัฐของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

(PMQA)<br />

๓) การมีสวนรวมในการใหขอมูลที่ถูกตอง<br />

ครบถวนตรงเวลา<br />

๔) การมีสวนรวมในการประเมินองคกร<br />

ดวยตนเอง (ใหคะแนน) ทั้งหมด ๗ หมวด<br />

และหมวด P<br />

๕) การดำเนินการชี้แจงหรือใหความรูเรื่อง<br />

PMQA ของ สำนัก/กอง<br />

• ผลการดำเนินงานใน ๑๒ เดือน สามารถ<br />

ดำเนินงานในแตละประเด็น ดังนี้<br />

๑) การมีสวนรวมของผูบริหารในการประชุม<br />

ชี้แจงเรื่อง PMQA คิดเปนรอยละ ๖๖.๗๐<br />

๒) การมีสวนรวมในการประชุมคณะติดตาม<br />

และกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ<br />

การบริหารจัดการภาครัฐ ของสำนักงานปลัด<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี (PMQA) และคณะทำงาน<br />

พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของ<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (PMQA)<br />

คิดเปนรอยละ ๘๘.๙๓<br />

๓) การมีสวนรวมในการใหขอมูลที่ถูกตอง<br />

ครบถวนตรงเวลา คิดเปนรอยละ ๑๐๐<br />

๔) การมีสวนรวมในการประเมินองคกรดวย<br />

ตนเอง (ใหคะแนน) ทั้งหมด ๗ หมวด และ<br />

หมวด P คิดเปนรอยละ ๑๐๐<br />

๕) การดำเนินการชี้แจงหรือใหความรูเรื่อง<br />

PMQA ของ สำนัก/กอง คิดเปนรอยละ ๑๐๐<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๒๓


บทที่ ๓<br />

บทสรุปและแนวทางแกไข


บทที่ ๓ บทสรุปและแนวทางแกไข<br />

๓.๑ บทสรุป<br />

ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ในฐานะศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

เปนหนวยงานในการรับเรื่องรองเรียนจากประชาชนที่มีมาถึงนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำ<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี โดยจะแกไขปญหาในเบื้องตน และประสานการแกไขปญหากับทุกหนวยงานที่เกี่ยวของอยาง<br />

ตอเนื่อง สงผลใหปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนไดรับการแกไขจนไดขอยุติเพิ่มมากขึ้นในปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑ นอกจากการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชนดังกลาวขางตนแลว ศูนยบริการประชาชนยังไดรับ<br />

มอบหมายใหดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวของกับนโยบายของรัฐบาลและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของหลายภารกิจ<br />

ซึ่งในแตละภารกิจ มีผลความคืบหนาของการดำเนินการในเชิงบวกตามเปาหมายอยางเปนรูปธรรมที่ชัดเจนโดย<br />

ศูนยบริการประชาชนไดมีการพัฒนาการปฏิบัติงานดานตางๆ ในการใหบริการประชาชนอยางตอเนื่องเพื่อ<br />

ใหการดำเนินการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนและสอดรับกับการ<br />

ปฏิบัติงานในระดับนโยบายไดอยางรวดเร็ว ทันเวลา ทันเหตุการณและเปนไปดวยความเปนธรรม ทั้งนี้ ศูนยบริการ<br />

ประชาชนไดนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยอำนวยการและสนับสนุนใหการบริการดานตางๆ บรรลุผลสำเร็จ<br />

ตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งสรุปผลการดำเนินการในประเด็นสำคัญได ดังนี้<br />

๓.๑.๑ การดำเนินการในภารกิจที่เกี่ยวของกับนโยบายและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของประกอบดวยภารกิจ<br />

ที่สำคัญสรุปได ดังนี้<br />

(๑) ภารกิจศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล สรุปผลการดำเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ไดดังนี้<br />

(๑.๑) การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงฐานขอมูลการดำเนินการเรื่องราวรองทุกขของหนวยงาน<br />

ภาครัฐ<br />

(๑.๒) การเพิ่มศักยภาพและขยายระบบอุปกรณหลักเพื่อรองรับปริมาณการเชื่อมโยงระบบ<br />

ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

(๑.๓) การบริหารจัดการดูแลระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกข<br />

(๑.๔) การบำรุงรักษาวัสดุอุปกรณ (Hardware, Software)<br />

ทั้งนี้ ๔ ภารกิจดังกลาว ไดจัดจาง บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) พัฒนาและดูแลระบบการเชื่อมโยง<br />

ฐานขอมูล ขยายขีดความสามารถของระบบศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาลโดยเชื่อมโยงการดำเนินการผาน<br />

เครือขายสื่อสารขอมูลเชื่อมโยงหนวยงานภาครัฐ (Government Information Network : GIN) ซึ่งเปนระบบเครือขาย<br />

สารสนเทศภาครัฐ ที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพัฒนาขึ้นเพื่อเปนโครงสรางพื้นฐานของโครงการ<br />

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e - Government) จำนวน ๑๒๕ หนวยงาน โดยศูนยบริการประชาชนในฐานะหนวยงานกลาง<br />

ในการพัฒนาระบบการดำเนินการเรื่องราวรองทุกข ไดจัดทำโครงการอบรมเพื่อเสริมสรางศักยภาพเครือขาย<br />

การปฏิบัติงานผานระบบจัดการเรื่องราวรองทุกขขึ้น จำนวน ๕ ครั้ง เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเรื่องรองเรียนของ<br />

๑๒๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


หนายงานภาครัฐที่เกี่ยวของไดปฏิบัติงานเสมือนจริงผานระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกขที่ไดพัฒนาขึ้นเปน<br />

ระบบกลาง โดยกลุมเปาหมายเปนผูปฏิบัติงานเรื่องรองเรียนของสวนราชการและหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ<br />

(๑.๕) จางที่ปรึกษาเพื่อดำเนินโครงการพัฒนาระบบจัดการความรูภายในองคกร (Knowledge<br />

Management : KM) ของศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล เพื่อสรางกระบวนการบริหารจัดการความรูใหเกิดขึ้น<br />

อยางเปนรูปธรรมและเปนสวนหนึ่งของการทำงาน โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยสนับสนุนใหเขาถึงขอมูล<br />

ไดสะดวกมากขึ้น รวมทั้งมีระบบจัดการความรูตนแบบ ที่สามารถนำไปใชแกปญหาดานตางๆ ในการใหบริการ<br />

ประชาชนและสนับสนุนการตัดสินใจในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยจัดจางบริษัท<br />

ซีดีจี ซิสเต็มส จำกัด เปนที่ปรึกษาซึ่งขณะนี้อยูระหวางการนำความรูตนแบบที่ไดมีการคัดเลือก วิเคราะห และ<br />

สังเคราะหแลวเขาสูระบบจัดการความรูและสรางกิจกรรมตอเนื่อง เพื่อใหเกิดการบริหารการเปลี่ยนแปลงใน<br />

ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ซึ่งดำเนินการแลวเสร็จในเดือนธันวาคม ๒๕๕๑<br />

(๑.๖) การฝกอบรมเจาหนาที่ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาลประกอบดวย ศูนยบริการ<br />

ประชาชน และศูนยบริการขอมูลภาครัฐเพื่อประชาชน เพื่อพัฒนาและสงเสริมการเรียนรู พัฒนาทักษะ และเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน จำนวน ๑๐ หลักสูตร<br />

(๑.๗) จางผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธ ในโครงการรวมพลคนสายดวนเพื่อสังคม<br />

โดยนายกรัฐมนตรีเปนประธานเปดงานเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ทั้งนี้<br />

เพื่อสรางเครือขายในการปฏิบัติงานรวมกันในการใหความชวยเหลือและบรรเทาความเดือดรอนแกประชาชนแบบ<br />

บูรณาการการรับแจงเหตุดวนเหตุรายผานทางโทรศัพทสายดวนดานความมั่นคง คือ สายดวนกรณีรับแจงเหตุดวน<br />

เหตุราย (Emergency Call) และสายดวนที่ไมเกี่ยวของกับเหตุดวนเหตุราย (Non-Emergency Call) โดยศูนย<br />

บริการประชาชนรับผิดชอบดำเนินการสายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

(๒) ภารกิจศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน สรุปผลการดำเนินการ<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดดังนี้<br />

(๒.๑) ติดตามผลความคืบหนาในการดำเนินการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน<br />

ในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ รวมทั้งประสานงานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชนและการประสานมวลชน<br />

ในพื้นที่ทุกภูมิภาคของประเทศ จำนวน ๓๘ ครั้ง ใน ๗๑ จังหวัด โดยไดติดตามเรื่องรองเรียน จำนวน ๔,๐๕๙<br />

เรื่อง และสามารถทำใหเรื่องรองเรียนจนไดขอยุติ จำนวน ๒,๐๗๐ เรื่อง<br />

(๒.๒) การประชาสัมพันธชองทางการรับเรื่องรองเรียนและผลการดำเนินการแกไขปญหา<br />

ตามขอรองเรียนของประชาชนในภาพรวมผานสื่อตางๆ ประกอบดวย<br />

• ผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางโทรทัศน<br />

• เผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางวิทยุ<br />

• ผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางสื่อสิ่งพิมพ<br />

• ผลิตและเผยแพรสื่อประชาสัมพันธทางรถไฟฟา BTS<br />

• สื่อประชาสัมพันธอื่นๆ<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๒๗


บทที่ ๓ บทสรุปและแนวทางแกไข<br />

(๒.๓) ศึกษาวิเคราะหภาพรวมของปญหาความเดือดรอนของประชาชน เพื่อนำไปสูการแกไขปญหา<br />

ในระดับนโยบายไดดำเนินการ จำนวน ๗ เรื่อง<br />

(๒.๔) พัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของเจาหนาที่และปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนการปฏิบัติงาน<br />

ในดานการประสานงานและติดตามผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน โดยจัดอบรมในสถานที่จำนวน ๔ หลักสูตร<br />

และจัดสงเจาหนาที่เขารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน โดยจัดอบรมนอกสถานที่จำนวน ๘<br />

หลักสูตร<br />

(๓) การดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

สรุปผลการดำเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดดังนี้<br />

(๓.๑) จัดทำและดำเนินการหลักสูตรพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชน รวมกับสถาบันสงเสริม<br />

การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ใหแกบุคลากรภาครัฐ จำนวน ๕ รุน<br />

(๓.๒) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากลไกการมีสวนรวมของประชาชน ใหแกหัวหนา<br />

สวนราชการ องคกรพัฒนาเอกชน (NGO) ผูแทนเครือขายองคกรประชาชน ผูนำชุมชน กำนัน ผูใหญบาน<br />

และประชาชนทั่วไป จำนวนทั้งสิ้นประมาณ ๑,๗๐๐ คน ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ จำนวน ๕ ครั้ง ในพื้นที่<br />

กรุงเทพมหานคร จังหวัดสุโขทัย จังหวัดกระบี่ จังหวัดชลบุรี และจังหวัดอุดรธานี<br />

(๓.๓) เผยแพรประชาสัมพันธและการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายก-<br />

รัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ผานสื่อประชาสัมพันธตางๆ ไดแก สื่อโทรทัศน<br />

สื่อวิทยุ โปสเตอร แผนพับประชาสัมพันธ สติ๊กเกอร จัดพิมพและเผยแพรระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ<br />

รับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ และคูมือการมีสวนรวมของประชาชน<br />

(๓.๔) กำกับดูแลระบบฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสและกำกับดูแลหนวยงานของรัฐในการเผยแพร<br />

ขอมูลโครงการของรัฐและขอมูลเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่เว็บไซต (http://www.<br />

publicconsultation.opm.go.th) โดยมีหนวยงานของรัฐจำนวน ๒๖๕ หนวยงาน รายงานผลการดำเนินโครงการ<br />

ทั้งนี้ ไดตรวจสอบโครงการของรัฐที่หนวยงานนำมาเผยแพรในเว็บไซต จำนวน ๑,๖๒๑ โครงการ โดยเปนโครงการ<br />

ที่ตองปฏิบัติตามระเบียบฯ จำนวน ๑,๑๙๗ โครงการ และเปนโครงการไมตองปฏิบัติตามระเบียบฯ จำนวน ๔๒๔<br />

โครงการ<br />

(๓.๕) ศึกษาวิจัยเพื่อปรับปรุงและพัฒนาขั้นตอนวิธีการและกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน<br />

รวมกับสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี<br />

(๓.๖) จัดประชุมคณะกรรมการการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และคณะอนุกรรมการ<br />

ที่เกี่ยวของ จำนวน ๑๒ ครั้ง<br />

๑๒๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


๓.๑.๒ สรุปผลการดำเนินการเรื่องรองเรียนจากประชาชน<br />

ในรอบปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ประชาชนไดรองเรียนตอนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี<br />

และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในประเด็นตางๆ รวมทั้งสิ้นจำนวน ๗๙,๐๔๐ เรื่อง ดำเนินการจนไดขอยุติ<br />

๗๑,๘๙๐ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙๐.๙๕ ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด และมีเรื่องรองเรียนที่อยูในระหวาง<br />

ดำเนินการของหนวยงานที่เกี่ยวของ จำนวน ๗,๑๕๐ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๙.๐๕ ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด<br />

โดยประเด็นที่มีการรองเรียนมากที่สุด คือ ประเด็นเรื่องสังคมและสวัสดิการ<br />

๓.๑.๓ สรุปผลการดำเนินการดานการประสานมวลชนและองคกรประชาชน<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดมีกลุมมวลชนและองคกรประชาชนในพื้นที่ตางๆ เดินทางมา<br />

ชุมนุมหรือยื่นเรื่องรองเรียนเพื่อขอใหรัฐบาลชวยเหลือในประเด็นตางๆ หรือเปนการเคลื่อนไหวในประเด็นที่เกี่ยวของ<br />

กับดานการเมืองอยางตอเนื่อง ซึ่งศูนยบริการประชาชน โดยฝายประสานมวลชนไดประสานงานทุกภาคสวน<br />

ที่เกี่ยวของ ทั้งฝายการเมือง ฝายกลุมมวลชน และหนวยงานที่รับผิดชอบ เปนตน เพื่อรวมพิจารณาแกไขปญหา<br />

ซึ่งสงผลใหภารกิจดานการประสานมวลชนของศูนยบริการประชาชนในภาพรวมสำเร็จลุลวงดวยดีเปนที่ไววางใจของ<br />

ผูบริหารทุกระดับ<br />

๓.๑.๔ สรุปผลการดำเนินการดานการตรวจสอบขอเท็จจริง และติดตามผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน<br />

ในพื้นที่<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดติดตามตรวจสอบขอเท็จจริงและเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม<br />

ในการแกไขปญหาตามขอรองเรียนในพื้นที่ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ จำนวน ๓๘ ครั้ง ใน ๗๑ จังหวัด โดยไดติดตาม<br />

เรื่องรองเรียน จำนวน ๔,๐๕๙ เรื่อง และสามารถทำใหเรื่องยุติได จำนวน ๒,๐๗๐ เรื่อง<br />

๓.๑.๕ สรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนไดดำเนินการแผนงาน/โครงการ เพื่อสนับสนุน<br />

ยุทธศาสตรการบริหารราชการของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ใหประสบผลสำเร็จในประเด็นยุทธศาสตร<br />

สงเสริมธรรมาภิบาล ซึ่งประกอบดวย ๓ โครงการ คือ<br />

(๑) โครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

(๒) โครงการศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน<br />

(๓) โครงการดำเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน<br />

ทั้งนี้ ทุกแผนงาน/โครงการศูนยบริการประชาชนไดดำเนินการสำเร็จลุลวงตามเปาหมายที่กำหนดไว<br />

อยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๒๙


บทที่ ๓ บทสรุปและแนวทางแกไข<br />

๓.๑.๖ สรุปผลการดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ศูนยบริการประชาชนรับผิดชอบดำเนินการในตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำป<br />

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี จำนวนทั้งสิ้น ๔ ตัวชี้วัด ประกอบดวย<br />

(๑) มิติที่ ๑ ดานประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๓.๔ รอยละของจำนวนเรื่องรองเรียนผานสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ที่ไดดำเนินการจนไดขอยุติ น้ำหนักรอยละ ๘<br />

ผลการดำเนินการ สามารถดำเนินการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนจนไดขอยุติ<br />

จำนวน ๙๐,๒๕๙ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๘๗.๓๘ ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด จำนวน ๑๐๓,๒๙๐ เรื่อง<br />

(๒) มิติที่ ๒ ดานคุณภาพการใหบริการ<br />

(๒.๑) ตัวชี้วัดที่ ๔ ระดับความสำเร็จในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการ<br />

แสดงความคิดเห็นและรวมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนักรอยละ ๖<br />

ผลการดำเนินการ<br />

ขั้นตอนที่ ๑<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีไดวิเคราะหยุทธศาสตรของสำนักงานปลัดสำนัก<br />

นายกรัฐมนตรี วาดวยการสงเสริมธรรมาภิบาลมีแผนกลยุทธเสริมสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการมีสวนรวม<br />

ของประชาชน ใหหนวยงานภาครัฐรวมกับประชาชน และไดแตงตั้งคณะทำงานภาคประชาชนรวมกันกำหนด<br />

เปาหมาย ตัวชี้วัด ตลอดจนวิธีการวัดผลการแกไขปญหา<br />

ขั้นตอนที่ ๒<br />

• สวนราชการและคณะทำงานฯ ไดลงพื้นที่เขาตรวจสอบและแกไขปญหาขอรองเรียน<br />

ของราษฎร กรณีขอใหตรวจสอบบริษัทโนเบล เอ็นซี จำกัด ตั้งอยูที่อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท เนื่องจากมีการ<br />

กอสรางโรงงานขวางทางเดินน้ำ จึงไดจัดประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพื่อนำมาประกอบการ<br />

จัดทำแผนงาน/โครงการ โดยที่ประชุมไดเสนอใหบริษัทฯ ดำเนินการแกไขปญหา ดังนี้<br />

- ขยายทอระบายน้ำคอนกรีตใหใหญขึ้น<br />

- ขุดลอกลำรางสาธารณะดานขางโรงงาน<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและคณะทำงานฯ จึงไดจัดทำแผนระยะสั้นในรูปของ<br />

โครงการติดตามการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนแบบมีสวนรวม จนปญหาเบาบาง สรางความพึงพอใจใหแกราษฎร<br />

ผูไดรับความเดือดรอน<br />

ขั้นตอนที่ ๓<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและคณะทำงานฯ ไดรวมกันดำเนินการและติดตาม<br />

ความกาวหนา แผนงาน/ โครงการตามที่กำหนดไวในแผนโดยไดลงพื้นที่ติดตามความกาวหนาและไดจัดทำสรุป<br />

ทบทวน ผลความกาวหนาตอผูบริหารแลว<br />

๑๓๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


(๒.๒) ตัวชี้วัดที่ ๗ รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ น้ำหนักรอยละ ๕<br />

อยูระหวางดำเนินการของสำนักงาน ก.พ.ร.<br />

(๓) มิติที่ ๓ ดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๑๐ ระดับความสำเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา<br />

ในการใหบริการ น้ำหนักรอยละ ๒<br />

ผลการดำเนินการ<br />

ขั้นตอนที่ ๑<br />

• ศูนยบริการประชาชน ไดเสนองานบริการ “การดำเนินการแกไขปญหาใหกับประชาชน<br />

ที่สงหนังสือรองเรียนทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส กรณีปกติ (ไมใชเวลาในการตรวจสอบขอเท็จจริงมาก/ ไมซับซอน)/<br />

www.1111.go.th” มาดำเนินการในการรักษามาตรฐานระยะเวลาใหบริการซึ่งงานบริการดังกลาวมีรอบระยะเวลา<br />

มาตรฐานอยูที่ ๓.๐๙ วันทำการ<br />

ขั้นตอนที่ ๒<br />

• ผลการดำเนินงานในรอบ ๑๒ เดือนของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ -<br />

๓๐ กันยายน ๒๕๕๑) มีเรื่องรองเรียนที่ผานชองทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส กรณีปกติ จำนวน ๗,๘๙๖ เรื่อง<br />

สามารถดำเนินการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนไดตามรอบระยะเวลามาตรฐาน ทั้งสิ้น ๗,๖๖๓ เรื่อง คิดเปนรอยละ<br />

๙๗.๐๕ ของจำนวนเรื่องรองเรียนที่ผานชองทางดังกลาวทั้งหมด<br />

ทั้งนี้ ศูนยบริการประชาชนไดมีสวนรวมในการจัดทำตัวชี้วัดที่ ๑๓.๓ ระดับความสำเร็จ<br />

ของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรระดับบุคคลซึ่งเปนระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของ<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ในระดับสำนัก/กอง (Internal Performance Agreement : IPA) ในปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ไดจัดใหมีการลงนามในคำรับรองการปฏิบัติราชการระหวาง<br />

หัวหนาหนวยงานระดับสำนัก/กอง กับปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีขึ้น โดยศูนยบริการประชาชนไดรับผิดชอบจัดทำ<br />

ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง จำนวนทั้งสิ้น ๕ ตัวชี้วัด ประกอบดวย<br />

(๑) มิติที่ ๑ ดานประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ<br />

(๑.๑) ตัวชี้วัดที่ ๑ รอยละของจำนวนเรื่องรองเรียนผานสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ที่ดำเนินการจนไดขอยุติ น้ำหนักรอยละ ๒๐<br />

ผลการดำเนินการ<br />

สามารถดำเนินการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนที่ไดดำเนินการจนไดขอยุติ<br />

จำนวน ๙๐,๒๕๙ เรื่อง คิดเปนรอยละ ๘๗.๓๘ ของจำนวนเรื่องรองเรียนทั้งหมด ๑๐๓,๒๙๐ เรื่อง<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๓๑


บทที่ ๓ บทสรุปและแนวทางแกไข<br />

(๑.๒) ตัวชี้วัดที่ ๒ ระดับความสำเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ำหนักตามเปาหมายผลผลิตของ<br />

ศูนยบริการประชาชน น้ำหนักรอยละ ๒๕<br />

ผลการดำเนินการ<br />

• ณ สิ้นไตรมาส ๔ ของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนดำเนินการ<br />

ตามแผนการปฏิบัติงานภายใตผลผลิตที่ ๑ เสร็จสิ้น จำนวน ๑ โครงการ คิดเปนรอยละ ๑๐๐.๐๐ และดำเนินการ<br />

ภายใตผลผลิตที่ ๒ ได ๑๔ กิจกรรม จากเปาหมาย ๑๔ กิจกรรม หรือคิดเปนรอยละ ๑๐๐.๐๐ เมื่อนำมาจัดทำเปน<br />

คาเฉลี่ยของการดำเนินการของทั้ง ๒ ผลผลิต คิดเปนรอยละ ๑๐๐.๐๐<br />

(๒) มิติที่ ๒ ดานคุณภาพการใหบริการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการแสดง<br />

ความคิดเห็นและรวมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนักรอยละ ๒๐<br />

ผลการดำเนินการ<br />

• สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีไดวิเคราะหยุทธศาสตรของสำนักงานปลัดสำนัก<br />

นายกรัฐมนตรี วาดวยการสงเสริมธรรมาภิบาลมีแผนกลยุทธเสริมสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการมีสวนรวม<br />

ของประชาชน ใหหนวยงานภาครัฐรวมกับประชาชน และไดแตงตั้งคณะทำงานภาคประชาชนรวมกันกำหนดเปาหมาย<br />

ตัวชี้วัด ตลอดจนวิธีการวัดผลการแกไขปญหา ซึ่งสวนราชการและคณะทำงานไดลงพื้นที่เขาตรวจสอบและแกไข<br />

ปญหาขอรองเรียนของราษฎร กรณีขอใหตรวจสอบบริษัทโนเบล เอ็นซี จำกัด ตั้งอยูที่อำเภอสรรพยา จังหวัด<br />

ชัยนาท เนื่องจากมีการกอสรางโรงงานขวางทางเดินน้ำ จึงไดจัดประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพื่อ<br />

นำมาประกอบการจัดทำแผนงาน/โครงการ โดยที่ประชุมไดเสนอใหบริษัทดำเนินการแกไขปญหา ดังนี้<br />

- ขยายทอระบายน้ำคอนกรีตใหใหญขึ้น<br />

- ขุดลอกลำรางสาธารณะดานขางโรงงาน<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและคณะทำงานฯ จึงไดจัดทำแผนระยะสั้นในรูปของ<br />

โครงการติดตามการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนแบบมีสวนรวม จนปญหาเบาบาง สรางความพึงพอใจใหแกราษฎร<br />

ผูไดรับความเดือดรอน<br />

๑๓๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑<br />

(๓) มิติที่ ๓ ดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ<br />

ตัวชี้วัดที่ ๔ รอยละของอัตราการเบิกจายงบประมาณ น้ำหนักรอยละ ๑๐<br />

ผลการดำเนินการ<br />

• ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนไดรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อใช<br />

ในการดำเนินงานทั้งสิ้น ๑๓๗,๙๒๑,๖๐๐ บาท (ไมรวมงบบุคลากร) มีผลการเบิกจายงบประมาณทั้งสิ้น<br />

๖๖,๒๒๙,๐๐๘.๗๗ บาท คิดเปนรอยละ ๓๘.๒๑


(๔) มิติที่ ๔ ดานการพัฒนาองคกร<br />

ตัวชี้วัดที่ ๕ ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถวงน้ำหนักของความครบถวนของการมีสวนรวมในการ<br />

พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี น้ำหนักรอยละ ๒๕<br />

ผลการดำเนินการ<br />

• ในรอบ ๑๒ เดือน สามารถดำเนินงานในแตละประเด็น ดังนี้<br />

• การมีสวนรวมของผูบริหารในการประชุมชี้แจงเรื่อง PMQA คิดเปนรอยละ ๖๖.๗๐<br />

- การมีสวนรวมในการประชุมคณะติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ<br />

การบริหารจัดการภาครัฐ ของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (PMQA) และคณะทำงานพัฒนาคุณภาพ<br />

การบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (PMQA) คิดเปนรอยละ ๘๘.๙๓<br />

- การมีสวนรวมในการใหขอมูลที่ถูกตองครบถวนตรงเวลา คิดเปนรอยละ ๑๐๐<br />

- การมีสวนรวมในการประเมินองคกรดวยตนเอง (ใหคะแนน) ทั้งหมด ๗ หมวด และ<br />

หมวด P คิดเปนรอยละ ๑๐๐<br />

- การดำเนินการชี้แจงหรือใหความรูเรื่อง PMQA ของ สำนัก/กอง คิดเปนรอยละ ๑๐๐<br />

ขณะนี้อยูระหวางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ของสำนักงาน ก.พ.ร.<br />

๓.๒ ปญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ<br />

ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ศูนยบริการประชาชนไดมีการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยาง<br />

ตอเนื่องโดยนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติงานทุกระดับและมีการพัฒนาระบบฐานขอมูล<br />

เรื่องรองเรียนใหสามารถใชขอมูลประกอบการพิจารณาในระดับนโยบายใหสอดรับกับนโยบายของรัฐบาล รวมทั้ง<br />

สอดคลองกับการปฏิรูประบบราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี<br />

พ.ศ. ๒๕๔๖ แตในการดำเนินการในรอบปที่ผานมาประสบกับปญหาและอุปสรรคในดานตางๆ ทั้งดานสิ่งแวดลอม<br />

ภายในและสิ่งแวดลอมภายนอกสรุปได ดังนี้<br />

๓.๒.๑ ดานสิ่งแวดลอมภายใน ประกอบดวยปญหาดานตางๆ สรุปไดดังนี้<br />

(๑) ดานบุคลากร<br />

(๑.๑) กรอบอัตรากำลังของบุคลากรที่เปนขาราชการ (จำนวน ๔๘ คน) ไมสอดคลองกับ<br />

ปริมาณงานที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งภารกิจตามอำนาจหนาที่ และภารกิจที่ไดรับมอบหมายเชิงนโยบาย โดยเฉพาะ<br />

บุคลากรที่มีความรูความสามารถดานคอมพิวเตอรและดานการวิเคราะหนโยบายและแผน สงผลใหศูนยบริการ<br />

ประชาชนตองจางเหมาบุคลากรเขามาปฏิบัติงานทดแทนทำใหบางครั้งขาดความตอเนื่องในการปฏิบัติงาน<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๓๓


บทที่ ๓ บทสรุปและแนวทางแกไข<br />

(๑.๒) บุคลากรบางกลุมยังขาดประสบการณในการวิเคราะหเรื่องรองเรียน โดยเฉพาะ<br />

การวิเคราะหในเชิงนโยบาย<br />

(๑.๓) บุคลากรบางกลุมยังคงมีกรอบแนวคิดในการปฏิบัติงานแบบเดิม ขาดประสบการณ<br />

ในการคิดพัฒนางานแบบเชิงรุก<br />

(๒) ดานงบประมาณ<br />

ศูนยบริการประชาชนไดรับการจัดสรรงบประมาณในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยรวม<br />

เพียงพอในการพัฒนาภารกิจดานตางๆ แตประสบปญหาเรื่องระบบการเบิกจายงบประมาณในการปฏิบัติงาน<br />

บางขั้นตอน สงผลใหเกิดความลาชาในการปฏิบัติตามภารกิจบางประการ<br />

๓.๒.๒ ดานสิ่งแวดลอมภายนอก คือ ปญหาดานการเมือง สรุปไดดังนี้<br />

ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปนหนวยงานที่มีสำนักงานตั้งอยูใน<br />

บริเวณทำเนียบรัฐบาล ตองปฏิบัติงานใกลชิดกับผูบริหารระดับนโยบาย ดังนั้น จึงถือวาการเมืองมีอิทธิพลตอการ<br />

บริหารจัดการขององคกรคอนขางมาก การเปลี่ยนแปลงผูนำทางการเมืองและนโยบายของรัฐบาลมีผลตอภารกิจ<br />

ของศูนยบริการประชาชนโดยรวม เนื่องจากตองปรับเปลี่ยนไปตามนโยบายของรัฐบาลแตละยุคแตละสมัย รวมทั้ง<br />

การชุมนุมทางการเมืองของกลุมตางๆ ดวย เชน กรณีที่กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยไดชุมนุม<br />

ทางการเมืองในบริเวณทำเนียบรัฐบาลตั้งแตวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๑ สงผลใหศูนยบริการประชาชน สำนักงาน<br />

ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ไดรับผลกระทบจากการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุมฯ ดังกลาวโดยตรง ไดแก<br />

กระบวนการดำเนินการเรื่องรองเรียนและภารกิจอื่นๆ ของศูนยบริการประชาชน ทั้งสถานที่ปฏิบัติงาน ระบบ<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศ และวัสดุอุปกรณในการปฏิบัติงานไมสามารถปฏิบัติงานไดตามปกติ ทำใหตองไปปฏิบัติงาน<br />

เปนการชั่วคราวที่กรมประชาสัมพันธ<br />

๓.๓ แนวทางแกไข<br />

สืบเนื่องจากการที่ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งเปนหนวยงานในการรับเรื่อง<br />

รองเรียนจากประชาชนที่มีมาถึงนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

จากทุกชองทางรวมทั้งตองรองรับภารกิจในเชิงนโยบายที่สำคัญ ไดแก ศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

ศูนยประสานการแกไขปญหาตามขอรองเรียนของประชาชน การปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวย<br />

การรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ดังนั้น ศูนยบริการประชาชนจึงควรมีการพัฒนาการบริหาร<br />

จัดการองคกรทั้งระบบในภาพรวม เพื่อใหสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลและสอดคลองกับพระราชกฤษฎีกาวาดวย<br />

หลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยศูนยบริการประชาชนควรปรับปรุงโครงสราง<br />

และกรอบอัตรากำลัง รวมทั้งการบริหารจัดการอยางเปนทางการเพื่อพัฒนาไปสูศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล<br />

ที่มีการบริหารจัดการทุกดานอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถเปนตัวอยางที่ดีของหนวยงานตางๆ ได<br />

๑๓๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


โดยปญหาที่ยังประสบอยู ทั้งปญหาของสภาพแวดลอมภายในและสภาพแวดลอมภายนอก ควรไดรับการแกไข<br />

ปญหาอยางยั่งยืน ซึ่งสรุปประเด็นสำคัญของแนวทางแกไขปญหาดังกลาวได ดังนี้<br />

๓.๓.๑ สภาพแวดลอมภายใน ควรมีแนวทางแกไขปญหา ดังนี้<br />

(๑) ดานบุคลากร<br />

(๑.๑) กำหนดกรอบอัตรากำลังที่เปนขาราชการใหสอดคลองกับปริมาณงานและภารกิจ<br />

เพื่อความตอเนื่องในการปฏิบัติงาน<br />

(๑.๒) สงเสริมใหบุคลากรไดมีโอกาสศึกษาดูงานทั้งในประเทศและตางประเทศเพิ ่มมากขึ้น<br />

เพื่อเปนการพัฒนาความคิดเพิ่มประสบการณและมีวิสัยทัศนในการพัฒนางานโดยรวม<br />

(๑.๓) จัดอบรมเสริมสรางความรูพัฒนาความคิดใหกับบุคลากรในดานตางๆ อยางตอเนื่อง<br />

เพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน<br />

(๑.๔) มีระบบสรางแรงจูงใจในการพัฒนาการปฏิบัติงานใหกับบุคลากรของศูนยบริการประชาชน<br />

ในทุกดาน โดยพิจารณาจากประสิทธิภาพของผลการปฏิบัติงาน เชน การมีเงินรางวัลตอบแทนพิเศษ (โบนัส) หรือ<br />

สวัสดิการพิเศษในดานตางๆ ใหกับบุคลากรที่ปฏิบัติงานดีเดน มีประสิทธิภาพสูง เปนตน<br />

(๒) ดานงบประมาณ<br />

ควรบริหารจัดการงบประมาณที่ไดรับจัดสรรในแตละภารกิจใหครอบคลุมทุกภารกิจและ<br />

เบิกจายใหแลวเสร็จในปงบประมาณนั้นๆ<br />

๓.๓.๒ สภาพแวดลอมภายนอก ควรมีแนวทางแกไขปญหา ดังนี้<br />

ดานการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเปนการเปลี่ยนแปลงที่อยูนอกเหนือการควบคุม<br />

ของหนวยงานภาครัฐ แตจากสถานการณทางการเมืองที่เปนผลมาจากการเคลื่อนไหวของกลุมพันธมิตรประชาชน<br />

เพื่อประชาธิปไตยที่ชุมนุมทางการเมืองในทำเนียบรัฐบาลนั้น สงผลใหศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนัก<br />

นายกรัฐมนตรี ควรกำหนดแผนรองรับการเปลี่ยนแปลงในลักษณะดังกลาวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตดวย โดยควร<br />

พัฒนาใหมีระบบฐานขอมูลเรื่องรองเรียน ในภาพรวมภายนอกองคกรใหมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น เชน ระบบฐาน<br />

ขอมูลเรื่องรองเรียนที่บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เปนตน รวมทั้งพัฒนาระบบฐานขอมูลสวนบุคคลของ<br />

เจาหนาที่ศูนยบริการประชาชน ใหสามารถปฏิบัติงานในระบบไดทุกสถานที่ และควรผลักดันใหมีโครงการปฏิบัติงาน<br />

ที่บานของเจาหนาที่ที่ดำเนินการเรื่องรองเรียนใหเห็นผลเปนรูปธรรมชัดเจน<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๓๕


ตลอดป<br />

๒๕๕๑<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ศบช.ตลอดป<br />

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๓๗


ตลอดป<br />

๒๕๕๑<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ศบช.ตลอดป<br />

๑๓๘ รายงานประจำป ๒๕๕๑


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๓๙


ตลอดป<br />

๒๕๕๑<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ศบช.ตลอดป<br />

๑๔๐ รายงานประจำป ๒๕๕๑


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๔๑


ตลอดป<br />

๒๕๕๑<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ศบช.ตลอดป<br />

๑๔๒ รายงานประจำป ๒๕๕๑


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๔๓


ตลอดป<br />

๒๕๕๑<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ศบช.ตลอดป<br />

๑๔๔ รายงานประจำป ๒๕๕๑


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๔๕


ตลอดป<br />

๒๕๕๑๑<br />

ประมวลภาพกิจกรรม ศบช.ตลอดป<br />

๑๔๖ รายงานประจำป ๒๕๕๑


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2008</strong> ๑๔๗


คณะผูจัดทำ<br />

ที่ปรึกษา<br />

นายนัที เปรมรัศมี<br />

ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

นายกิตติ ลิ้มชัยกิจ และ นายจตุรงค ปญญาดิลก<br />

รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี<br />

กองบรรณาธิการ<br />

นายอำนวย โชติสกุล<br />

ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน<br />

นางอัจจิมา จันทรสุวานิชย<br />

ผูอำนวยการสวนประสานมวลชนและประเมินผล<br />

นายทศพร สุวรรณาภิรมย<br />

ผูอำนวยการสวนบริการประชาชน ๒<br />

นายสมเจตน โรจนพัฒนากุล<br />

ผูอำนวยการสวนบริการประชาชน ๑<br />

“ศูนยบริการประชาชน มุงมั่นรับใชประชาชน”


ศูนยบริการประชาชน<br />

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!