19.01.2017 Views

lakmuang_309-1

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ุกเินทางไเบอร์ในแต่ละประเทศ<br />

เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันอย่างมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

การดาเนินการของทย<br />

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ<br />

สังคมเปนหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน<br />

นโยบายการเสริมสร้างความมั่นคงทาง<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศและไเบอร์ของชาติ<br />

ตามนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พศ<br />

๒๕๕๘ ๒๕๔ นโยบายที่ ๑๐ เสริมสร้าง<br />

ความมั่นคงทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ<br />

ไเบอร์ โดยกาหนดแนวทางการดาเนินการ<br />

ไว้ ๓ ประเด็น ได้แก่ ๑) การปกปองและ<br />

ปองกันภัยคุกคามด้านไเบอร์และเสริม<br />

สร้างความปลอดภัยทางเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ ๒) การพันาการบังคับใช้<br />

กหมายและ ๓) การพันาศักยภาพทาง<br />

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งนี้ กระทรวง<br />

ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมได้สร้างกลไก<br />

การรับมือและขยายการรับรู้ด้านการ<br />

ปองกันภัยคุกคามไเบอร์ผ่านศูนย์ประสาน<br />

การรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบ<br />

คอมพิวเตอร์ประเทศไทย่งมีบทบาทใน<br />

การผลักดันและเสริมสร้างศักยภาพด้าน<br />

การปองกันทางไเบอร์ อันจะทาให้หน่วย<br />

งานต่าง สามารถวิเคราะห์ภัยคุกคาม และ<br />

ปองกันการโจมตีได้อย่างทันท่วงที<br />

กระทรวงกลาโหม ในฐานะหน่วยงาน<br />

หลักด้านความมั่นคงของชาติ ได้จัดทา<br />

ยุทธศาสตร์ไเบอร์เพื่อการปองกันประเทศ<br />

กระทรวงกลาโหม พศ๒๕๕๘ และแผน<br />

แม่บทไเบอร์เพื่อการปองกันประเทศ<br />

กระทรวงกลาโหม พศ๒๕๐ ๒๕๔<br />

ตลอดจนจัดตั้งและเสริมสร้างขีดความ<br />

สามารถศูนย์ไเบอร์ กรมเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศและอวกาศกลาโหม เพื่อ<br />

ประสานงานกับหน่วยงานด้านไเบอร์<br />

ของกองบัญชาการกองทัพไทย และเหล่าทัพ<br />

โดยเชื่อมโยงนโยบายด้านไเบอร์กับระดับ<br />

รัฐบาล และนาไปสู่การดาเนินงานของ<br />

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับปิบัติ<br />

ปจจุบันการดาเนินงานของหน่วยงาน<br />

ทั้งภาครัฐและเอกชนต้องอาศัยเครือข่าย<br />

คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงทั่วโลกจงมีความ<br />

เสี่ยงสูงที่จะถูกโจมตีทางไเบอร์ (Cr<br />

ack) ่งในอนาคตภัยคุกคามไเบอร์<br />

แนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงมากยิ่งข้น<br />

ดังนั้นทุกภาคส่วนจะต้องมีการเตรียมความ<br />

พร้อมทั้งในเรื่องการกาหนดนโยบาย<br />

กระบวนการบริหารความเสี่ยงการควบคุม<br />

การเฝาระวังการทดสอบการเจาะระบบ<br />

รวมทั้งการกู้คืนระบบ (cr) ตลอดจน<br />

การพันาองค์ความรู้และความตระหนักรู้<br />

ให้กับบุคลากรอย่างจริงจังและต่อเนื่องเปน<br />

ปจจัยสาคัญต่อการที่ประเทศไทยจะก้าว<br />

เข้าสู่การพันาตามแนวทาง haia<br />

และ iia cm ่งจะต้อง<br />

มียุทธศาสตร์ความมั่นคงปลอดภัยไเบอร์<br />

ที่มีความชัดเจน เพื่อให้ส่วนราชการ ตลอด<br />

จนภาคเอกชนใช้ยดถือเปนกรอบแนวทาง<br />

ปิบัติในการปองกันภัยคุกคามไเบอร์ได้<br />

อย่างมีประสิทธิภาพควบคู่ไปด้วย<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¸Ñ¹ÇÒ¤Á òõõù 31

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!