16.07.2018 Views

กค.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สามารถเคลื่อนที่ไปฉีดน้ำไป หากใช้รถ<br />

ดับเพลิงมาใช้ฉีดน้ำสลายการชุมนุม<br />

นอกจากเป็นการใช้อุปกรณ์ผิดวัตถุประสงค์<br />

แล้ว ต่อไปรถดับเพลิงจะกลายเป็นเป้าหมาย<br />

ในการทำลายจากฝูงชนแล้วอาจเป็นผล<br />

ให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงไม่<br />

สามารถใช้การได้หากมีอัคคีภัยในพื้นที่<br />

เกิดขึ้น นอกจากนั้นรถดับเพลิงต้องหยุด<br />

กับที่เวลาฉีดน้ำทั้งยังไม่มีระบบความปลอดภัย<br />

ของพลขับและกำลังพลในรถ<br />

๔. กฎการใช้กำลังหรือเดิมที่เรียกว่า<br />

กฎการปะทะหรือกฎการโจมตีของทหารนั้น<br />

ในการควบคุมฝูงชนจะต้องเหมาะสม<br />

กับสถานการณ์และอยู่ภายใต้กรอบของ<br />

กฎหมาย กระชับและเข้าใจง่าย รวมทั้ง<br />

ไม่กำหนดให้เป็นอันตรายต่อความปลอดภัย<br />

ของกำลังพลทหาร ตลอดจนสามารถปรับ<br />

เปลี่ยนได้ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ที่<br />

อาจมีการเปลี่ยนแปลง และ<br />

ควรกำหนดในกฎการใช้กำลัง<br />

ให้มีการเตรียมการรักษา<br />

พยาบาลเบื้องต้นกรณีมี<br />

ผู้บาดเจ็บของกลุ่มฝูงชนและ<br />

กำลังพลที่มาปฏิบัติหน้าที่<br />

ตลอดจนการส่งผู้บาดเจ็บ<br />

สาหัสไปยังโรงพยาบาล ซึ่งการยกร่างกฎ<br />

การใช้กำลังนั้นควรดำเนินการโดยฝ่าย<br />

ยุทธการหรือผู้ปฏิบัติของหน่วยทหารแล้ว<br />

ให้เจ้าหน้าที่ทหารฝ่ายกฎหมายร่วม<br />

พิจารณาในประเด็นข้อกฎหมาย<br />

๕. หากเป็นการใช้กำลังทหารปราบ<br />

ปรามการจลาจลนั้นจะต้องเสนอให้คณะ<br />

รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบภายใต้พระราช<br />

บัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวง<br />

กลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ พระราชบัญญัติการ<br />

รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร<br />

พ.ศ.๒๕๕๑ และพระราชกำหนดการ<br />

บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.<br />

๒๕๔๘ แต่หากเป็นการใช้กำลังทหาร<br />

ปราบปรามการจลาจลในพื้นที่ประกาศใช้<br />

กฎอัยการศึก ไม่จำเป็นต้องได้รับความ<br />

เห็นชอบก่อนจากคณะรัฐมนตรี<br />

๖. เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารอาจเข้าไป<br />

เกี่ยวข้องกับการชุมนุมสาธารณะภายใต้<br />

พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.<br />

๒๕๕๘ ได้ในสองกรณี กรณีแรกตาม<br />

มาตรา ๑๙ วรรคหก เจ้าพนักงานตำรวจ<br />

ที่ดูแลการชุมนุมสาธารณะอาจร้องขอให้<br />

เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารในท้องที่ที่มีการชุมนุม<br />

สาธารณะดำเนินการตามคำร้องขอภายใน<br />

ขอบอำนาจหน้าที่ของผู้นั้น ซึ่งกรณีนี้<br />

เป็นการสนับสนุนช่วยเหลือ มิใช่การขอให้<br />

ใช้กำลังทหารควบคุมฝูงชนโดยตรง หน่วย<br />

ทหารที่ได้รับการร้องขอจะต้องพิจารณา<br />

ดำเนินการภายใต้อำนาจหน้าที่ของหน่วย<br />

เป็นเรื่องๆ ไป เช่น หน่วยทหารขนส่งอาจ<br />

สนับสนุนยานพาหนะในการเคลื่อนย้าย<br />

เจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยแพทย์ทหารอาจ<br />

สนับสนุนการปฐมพยาบาลฝูงชนที่เจ็บ<br />

ป่วยระหว่างการชุมนุม เป็นต้น และกรณี<br />

ที่สองตามมาตรา ๒๓ วรรคสอง และวรรค<br />

สาม กรณีผู้ชุมนุมไม่เลิกการชุมนุม<br />

สาธารณะตามคำสั่งศาลและมีการ<br />

ประกาศกำหนดพื้นที่ควบคุม นายก<br />

รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้<br />

อาจมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารเป็น<br />

ผู้ควบคุมสถานการณ์เพื่อให้มีการเลิก<br />

ชุมนุมได้ กรณีนี้เป็นการใช้กำลังทหารเข้า<br />

ควบคุมฝูงชนโดยตรง ทั้งนี้ ควรหลีกเลี่ยง<br />

การใช้กำลัง กรณีไม่อาจหลีกเลี่ยงได้<br />

ให้ใช้กำลังและเครื่องมือควบคุมฝูงชน<br />

เพียงเท่าที่จำเป็น โดยใช้มาตรการจากเบา<br />

ไปหาหนักและมีการเตือนด้วยเครื่อง<br />

30<br />

พลเอก กฤษณะ บวรรัตนารักษ์

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!