12.07.2019 Views

ASA CREW VOL.14

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

โครงสร้างอาคารคอนกรีต ทำ<br />

หน้าที่เป็นองค์ประกอบอาคาร<br />

ที่ใช้ในการกรองแสง<br />

Concrete structure applied<br />

into shading devices.<br />

มีการออกแบบผังบริเวณเพื ่อสร้างสภาพภูมิอากาศจุลภาค<br />

(micro climate) ของพื ้นที่ก่อสร้างอาคาร เก็บหน้าดินเดิม<br />

ของพื้นที่และต้นไม้ใหญ่เดิมไว้ มีการปลูกต้นไม้ใหญ่เพิ ่มให้ได้<br />

1 ต้น ต่อพื ้นที่เปิดโล่ง 100 ตารางเมตร ส่วนของพื ้นที่ดาด<br />

แข็ง (hard scape) ก็มีการให้ร่วมเงาเพื ่อลดการสะท้อน<br />

ความร้อนเข้าสู่อาคาร และการหมุนเวียนนํ ้ำใช้ในโครงการ<br />

46 47<br />

งานที่เรานิยมใช้สอยอยู่เป็นประจำตั ้งแต่อดีต<br />

แนวคิดนี้เองยังสอดคล้องกับการสร้างพื้นที่<br />

ปฏิสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ เพื่อช่วยส่งเสริม<br />

ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกห้องเรียนของ<br />

ผู้ใช้อาคาร ซึ ่งสถาปนิกนิยามพื้นที ่ลักษณะนี้ว่า<br />

“พื้นที่สีเทา“ (gray space)<br />

เมื่อพิจารณาจากพื้นที่ใช้สอยของอาคาร MUIC นี้<br />

เราจะพบว่าพื ้นที่ส่วนคอร์ทกลางของอาคารได้ทำ<br />

หน้าที่ของการเป็น in-between space สำหรับ<br />

การเป็นจุดเชื่อมต่อของพื้นที่ภายในกับธรรมชาติ<br />

ภายนอก และเป็น gray space สำหรับส่งเสริม<br />

ให้เกิดกิจกรรมสร้างปฏิสัมพันธ์ของกลุ่มผู้ใช้งาน<br />

อาคารได้อย่างลงตัว<br />

ส่วนสำคัญอีกเรื่องหนึ่งเบื้องหลังรูปทรงของ<br />

อาคารที่ต้องกล่าวถึงคือ การให้ความสำคัญกับ<br />

การออกแบบอาคารเพื่ออนุรักษ์พลังงานในอาคาร<br />

ซึ่ง รศ.ธนิต จินดาวณิค อาจารย์ประจำคณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

เป็นผู้เชี่ยวชาญที่เข้ามาร่วมเป็นทีมงานออกแบบ<br />

อาคารหลังนี ้ โดยมีการคำนึงถึงประเด็นการ<br />

อนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานในอาคาร<br />

อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดตั้งแต่ตอนเริ่มต้น<br />

กระบวนการออกแบบ สำหรับประเด็นต่างๆ ที่<br />

ทีมงานให้ความสำคัญเริ่มตั้งแต่งานวางผังบริเวณ<br />

และภูมิสถาปัตยกรรม มีการออกแบบผังบริเวณ<br />

เพื่อสร้างสภาพภูมิอากาศจุลภาค (micro climate)<br />

ของพื้นที่ก่อสร้างอาคาร เก็บหน้าดินเดิมของพื้นที่<br />

และต้นไม้ใหญ่เดิมไว้ มีการปลูกต้นไม้ใหญ่เพิ่มให้<br />

ได้ 1 ต้น ต่อพื้นที่เปิดโล่ง 100 ตารางเมตร ส่วน<br />

ของพื้นที่ดาดแข็ง (hard scape) ก็มีการให้ร่มเงา<br />

เพื่อลดการสะท้อนความร้อนเข้าสู่อาคาร และการ<br />

หมุนเวียนน้ำใช้ในโครงการ<br />

space and an area that enhances interactions<br />

and activities among the building’s users.<br />

A focus on energy-saving has a direct impact<br />

on its physical appearance. One of the experts<br />

working on the design team of the project,<br />

Associate Professor Thanit Chindavanig of<br />

Faculty of Architecture, Chulalongkorn University,<br />

stresses that the design does not<br />

only include energy-saving efficiencies but<br />

rather prioritized them in the early stages of<br />

the development of the site plan and landscape<br />

architecture. The site plan is designed<br />

to have its own micro climate. The original<br />

soil and existing evergreens were preserved<br />

and a large new tree was planted on every<br />

100-square-meters of open space. The landscape<br />

is thoughtfully shaded to minimize the<br />

heat being reflected into the building while a<br />

wastewater treatment system ensures maximum<br />

water-use efficiency.<br />

The glass shell – the key architectural composition<br />

that directly impacts the building’s<br />

energy usage – is made of highly-efficient,<br />

heat-protection glass. This was installed carefully<br />

to prevent air from leaking through the<br />

door and window frames (leaks affect the use<br />

of air conditioning, which consumes a large<br />

amount of electricity). This design resulted<br />

in a positive energy saving with an OTTV rate<br />

of 21 w/m2 (energy saving laws dictate that<br />

OTTV must not exceed 50 w/m2) and a RTTV<br />

rate lower than 6 w/m2 (the RTTV rate must<br />

not exceed 15 w/m2 according to the Energy<br />

Conservation Act).

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!