16.02.2024 Views

ASA Journal 15/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

A Green Future<br />

<strong>2023</strong>.Sep-Oct<br />

The Architectural <strong>Journal</strong> of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


The Architectural <strong>Journal</strong> of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

<strong>2023</strong><br />

SEP-OCT<br />

A GREEN<br />

FUTURE<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> JOURNAL<br />

COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Committee<br />

Assoc. Prof. ML. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Jenchieh Hung<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Bhumibhat Promboot<br />

Jinnawat Borihankijanan<br />

Kullaphut Senevong Na Ayudhaya<br />

Nawan Yudhanahas<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

Pattaranan Takkanon, Ph.D.<br />

Rangsima Arunthanavut<br />

Surawit Boonjoo<br />

Xaroj Phrawong<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Napisit Woranaipinit<br />

Special Thanks<br />

AMA Design Studio<br />

Arsomsilp Community and<br />

Environmental Architect<br />

Ativich Studio<br />

Beer Singnoi<br />

Creative Crews<br />

Design Excellence Award (DEmark)<br />

DOF SkyIGround<br />

IF (Integrated Field)<br />

Jinnawat Borihankijanan<br />

Green Dwell<br />

Rungkit Charoenwat<br />

Travelkanuman<br />

Sirarath Somsawat<br />

Studio Locomotive<br />

W Workspace<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Jirawadee Kositbovornchai<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright <strong>2023</strong><br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

<strong>2023</strong>.Sep-Oct<br />

A Green Future<br />

Photo: W Workspace


04<br />

message from the president<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชููปถัมภ์์<br />

ประจำป ี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สััมพลััง<br />

อุุปนายก<br />

นิเวศน์ วะสีีนนท์์<br />

จีีรเวช หงสักุุลั<br />

ไพท์ยา บััญชากิิตติกุุลั<br />

ชุตยาเวศ สิินธุุพันธุ์์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์์ อัังกุสัิทธิ์์<br />

รุงโรจน ์ อ่่วมแก้้ว<br />

เลขาธิิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิิราโสัภณ<br />

นายทะเบียน<br />

คมสััน สักุุลัอัำานวยพงศา<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

สวัสดีอีกครั้งสำ หรับผู้อ่านวารสารอาษา เล่มนี้ก็จะเข้าสู่<br />

เล่มที่ <strong>15</strong> มาในธีม A Green Future ซึ ่งเป็ นวารสารของ<br />

สมาคมฯ ในวาระของผม ชนะ สัมพลัง เล่มนี้ก็คงจะเป็ นอีก<br />

เล่มหนึ ่งที่หนักเน้นในเรื่องของการพู ดถึงการเปลี่ยนแปลง<br />

ของโลกใบนี้ ที่กำลังเปลี่ยนไปในเรื่องของ Climate Change<br />

ซึ ่งเป็ นวิกฤตโลกที่เราต้องมาช่วยกันให้ความใส่ใจ โดยเฉพาะ<br />

ในเรื่องของอาคารที่ต้องมีการตระหนักถึงความยั่งยืนใน<br />

แง่มุมต่าง ๆ มากขึ ้น<br />

วารสารอาษาฉบับนี้ก็จะขอเป็ นตัวแทนในการสื่ อสารถึง<br />

เนื้อหาในเรื่องของ Green Building ที่จะสอดแทรกพื้นที่<br />

สีเขียวหรือแม้แต่นวัตกรรมอาคารเขียวต่าง ๆ เข้ามาในงาน<br />

สถาปั ตยกรรม รวมไปถึงการสร้างความตื่นตัว ความเข้าใจ<br />

และความเป็ นอยู่ของคนยุคใหม่ให้มีสุขลักษณะที่ดี ในเนื้อหา<br />

ของงานที่จะถูกนำมาพูดถึงนั้น แน่นอนว่าก็จะนำเสนอองค์<br />

ความรู้มากมายที่นักออกแบบพึงต้องรู้และเข้าใจในการ<br />

สร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ เล่มนี้คงเป็ นตัวอย่างที่น่าสนใจ<br />

และเป็ นจุดเริ่มในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ ใช้อาคาร<br />

และผู้ออกแบบได้นำไปใช้ประโยชน์ ซึ ่งจะนำไปใช้ต่อยอดใน<br />

งานได้อย่างเหมาะสม<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลัปริพลั ตังตรงจิิตร<br />

ปฏิิคม<br />

เฉลิิมพลั สัมบััติยานุชิต<br />

ประชูาสัมพันธ์์<br />

กุุลัธุิดา ท์รงกิิตติภักด ี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้้าว ปาณินท์์<br />

ดร.วสุุ โปษ์ยะนันทน ์<br />

เฉลิิมพงษ์์ เนตรพฤษร ัตน์<br />

อด ุลย ์ แก้้วดี<br />

ผศ.ณธุท์ัย จัันเสัน<br />

ธุนพงษ์์ วิชคำาหาญ<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุลั้านนา<br />

ปรากุาร ชุณหพงษ์์<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุอัีสัาน<br />

วีรพลั จีงเจร ิญใจี<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุท์ักุษ์ิณ<br />

ดร.กุาญจน ์ เพียรเจร ิญ<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุบัูรพา<br />

คมกุฤต พานนสถ ิตย์<br />

กรรมการทีปรึกษา<br />

การบริการ<br />

สม ิตร โอับัายะวาทย ์<br />

ในระหว่างที่วารสารอาษากำลังเดินทางไปสู่มือของสมาชิก<br />

ทุก ๆ ท่าน ตอนนี้ก็น่าจะกำลังเข้าสู่ ในวาระช่วงเทศกาล<br />

วันหยุดหรือเทศกาลปี ใหม่ของพวกเรา ก็ขอให้ทุกท่านได้<br />

สนุกสนานและมีความสุ ขในวันหยุดยาว พร้อมทั้งเดินทาง<br />

โดยสวัสดิภาพ ก็ขอกล่าวสวัสดีปี ใหม่ทุกท่านในวารสาร<br />

ฉบับนี้ด้วยครับ


06<br />

message from the president<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Hello once again, <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> readers. This association's<br />

periodical in my tenure, Chana Sumpalung,<br />

is volume <strong>15</strong> with an issue titled A Green Future.<br />

This will be another issue that focuses significantly on<br />

discussing global changes, including climate change,<br />

a worldwide concern that we must all work together<br />

to address. There needs to be a greater awareness<br />

of sustainability in different domains, particularly<br />

in the construction industry.<br />

This edition of the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> would aim to represent<br />

the content of green buildings that incorporate green<br />

areas or even diverse green building advances in<br />

architecture. It also entails fostering knowledge,<br />

understanding, and well-being for people in our new<br />

generation to practice good hygiene in a variety of<br />

ways through architectural design. The material<br />

presented in this issue has a wealth of knowledge<br />

that architects and designers must be aware of and<br />

comprehend when producing various works. This is<br />

an interesting example, and it serves as a starting<br />

point to inspire building users and designers to use<br />

it, which will be used to develop the work further.<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Executive Committee<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Tanapong Witkhamhan<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Dr.Kam Phiancharoen<br />

Chairman of<br />

Eastern Region (Burapa)<br />

Komkrit Panonsatit<br />

Advisory Committee<br />

Smith Obayawat<br />

As the journal is coming to all members, it will<br />

almost certainly be on our holiday or New Year's<br />

agenda immediately. I hope everybody enjoys a<br />

good time and travels safely during the lengthy<br />

holiday. On this occasion, I would like to wish<br />

everyone a Happy New Year.


08<br />

foreword<br />

Photo: Siam Multi Cons<br />

ตั้งแต่การเผยแพร่เอกสารรายงานในชื่อว่า “อนาคตของเรา” (our common<br />

future) โดยคณะกรรมาธิการบรันท์แลนด์ (Brundtland Report) หรือ<br />

คณะกรรมาธิการโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530<br />

เป็นต้นมานั้น แนวคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน“ (Sustainable Development)<br />

หรือ “วิถีการพัฒนาที่สามารถตอบสนองความต้องการของคนรุ่นปัจจุบัน<br />

โดยไม่ลิดรอนความสามารถในการตอบสนองความต้องการของคนรุ่นหลัง”<br />

ก็ส่งผลต่อการออกแบบสถาปัตยกรรมและแวดวงการก่อสร้างในช่วงต่อมา<br />

โดยเฉพาะในด้านการประหยัดพลังงานในอาคารด้วยวิธีการต่าง ๆ หรือ<br />

การออกแบบเมืองเพื่อความยั่งยืน โดยเฉพาะในด้านมิติสภาพแวดล้อม<br />

และให้ความสำาคัญกับธรรมชาติ ซึ่งมีสีเขียวเป็นเสมือนตัวแทนของ<br />

แนวคิดดังกล่าว ที่เราคุ้นเคยกับการเรียกว่า “สถาปัตยกรรมสีเขียว” หรือ<br />

“อาคารเขียว” จนกระทั่งต่อมามีการคำานึงถึงการรับมือกับสภาวการณ์โลก<br />

ที่แปรปรวนมากขึ้น ทั้งวิกฤตด้านสภาพอากาศ ภัยพิบัติ สงคราม และ<br />

โรคระบาด การออกแบบสถาปัตยกรรมอนาคตจึงไม่อาจละเลยมิติทางสังคม<br />

และเศรษฐกิจ ที่ส่งผลสัมพันธ์กันและกันกับมิติด้านสภาพแวดล้อมไปด้วย<br />

วารสารอาษา A Green Future ฉบับนี้ จึงนำาเสนอผลงานออกแบบในประเทศ<br />

ที่สะท้อนถึงการสร้างความยั่งยืนด้านสภาพแวดล้อม ทั้งโดยการสร้าง<br />

อาคารใหม่ หรือการปรับการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างอาคารเก่า ที่ยังมี<br />

การคำานึงถึงมิติทางสังคมและจิตใจของผู้ใช้ภายในอาคาร และประโยชน์<br />

ต่อสาธารณชนในระดับเมือง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยบทความนำาเสนอ<br />

วัสดุคาร์บอนต่ำาสำาหรับอนาคต และบทสนทนาพูดคุยกับ Green Dwell ที่<br />

ให้ความสำาคัญกับการออกแบบเพื่อความยั่งยืน รวมถึง Studio Locomotive<br />

ที่มีผลงานน่าสนใจหลายชิ้นจากภูมิภาคทางใต้<br />

จากผลงานออกแบบที่นำาเสนอไปภายในเล่ม ต่างสะท้อนให้เห็นว่าการออกแบบ<br />

เพื่อความยั่งยืนนั้น ท้ายที่สุดแล้วสิ่งสำาคัญที่จะส่งผลให้ประสบความสำาเร็จ<br />

ได้นั้นประกอบไปด้วยทั้งความมุ่งมั่นของเจ้าของโครงการเอง บวกกับความ<br />

สามารถของสถาปนิกนักออกแบบที่จะสนับสนุนความตั้งใจดังกล่าวออกมา<br />

เป็นรูปธรรม รวมทั้งการประนีประนอมกับความต้องการจากหลากหลาย<br />

ภาคส่วน การสร้างการมีส่วนร่วมในการหาความเป็นไปได้ที่พอเหมาะพอดี<br />

กับข้อจำากัดที่มีในแต่ละโครงการ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นมิตรในระยะยาว<br />

กับผู้คน เมือง และสภาพแวดล้อมโลกในอนาคต<br />

The notion of “sustainable development,” which initially appeared in<br />

the 1987 report “Our Common Future” by the Brundtland Commission<br />

or the World Commission on Environment and Development, has<br />

substantially impacted architectural design and the construction<br />

sector. This term refers to a developmental trajectory that ensures<br />

the ability of the current generation to fulfill its requirements while<br />

safeguarding the future. This has placed significant emphasis on the<br />

environmental aspect, with a particular mention of the color green<br />

symbolizing this notion. Thus, it has become customary to refer to it<br />

as “green architecture” or “green building,” terms initially regarded<br />

as addressing the challenges posed by ever-evolving global circumstances<br />

such as climate crises, natural disasters, wars, and epidemics.<br />

When envisioning the future of architecture, it is therefore inevitable<br />

to consider the interplay between the environmental, social, and<br />

economic dimensions.<br />

This <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>, A Green Future issue, features architectural projects<br />

in Thailand that demonstrate environmental sustainability. These<br />

projects encompass both the construction of new buildings and the<br />

modification of existing building structures to incorporate social and<br />

psychological aspects of the occupants, as well as public benefits<br />

at the city level. Additionally, it encompasses articles that discuss<br />

forthcoming low-carbon materials. An interview with GreenDwell,<br />

an architectural design consultancy and firm that specializes in<br />

sustainable design, and Studio Locomotive, which has several intriguing<br />

works from the southern region, is also included in this issue.<br />

Success in designing for sustainability ultimately depends on two<br />

factors: the resolve of the project owner and the capacity of architects<br />

and designers to materialize these intentions. This is demonstrated by<br />

the design work featured in this issue. Additionally crucial is striking<br />

a balance between the requirements of diverse sectors and stakeholders<br />

to foster engagement in the exploration of viable solutions<br />

that align with the specific limitations of each undertaking. This<br />

iterative process will ultimately result in the development of sustainable<br />

buildings that benefit our future generations, cities, and the<br />

global environment.


09


<strong>2023</strong><br />

SEP-OCT<br />

A GREEN<br />

FUTURE<br />

Photo: W Workspace<br />

around<br />

Design<br />

Excellence<br />

Award (DEmark)<br />

<strong>2023</strong><br />

12<br />

theme / review<br />

Sowing<br />

the Seeds<br />

In Nan province, Integrated<br />

Field (IF) and North Forest<br />

Studio have transformed the<br />

vast land into a forested area<br />

to cultivate and nurture a new<br />

woodland and create a space<br />

that can positively affect the<br />

community, breathing new life<br />

into the ecosystem.<br />

36<br />

Net Zero<br />

Building<br />

Guidelines<br />

16<br />

theme / review<br />

Think Tank<br />

In Tha Chalom, Arsom Silp<br />

Institute’s team of architects<br />

has renovated an old water<br />

tower into a new public library.<br />

52<br />

theme<br />

Towards<br />

a Green Future<br />

‘Green Future’ has become<br />

the talk of the town in recent<br />

years. If the current industrialized<br />

society is associated with<br />

machines, new buildings, competition,<br />

fossil fuels, and being<br />

removed from nature, how can<br />

we all contribute to this common<br />

ultimate goal for people and the<br />

planet?<br />

Photo: ARUP.<br />

Photo: Sirirath Somsawat<br />

Photo: Rungkit Charoenwat<br />

theme / review<br />

Here, There,<br />

and Everywhere<br />

AMA Design Studio and Urbanis<br />

have designed an office building<br />

using a vertical landscape that<br />

functions as a forest, imbuing<br />

the building’s functional space<br />

with a beautiful, natural ambiance<br />

while complementing its<br />

energy efficiency and providing<br />

thermal comfort to users.<br />

18<br />

64


theme / review<br />

One For All,<br />

All For One<br />

The design of the new Council<br />

of Engineers Thailand building<br />

is based on the notion of ‘a<br />

place for all’ and strives to<br />

include sustainability in multiple<br />

areas of its existence<br />

beyond architectural design<br />

and engineering systems.<br />

78<br />

professional<br />

GreenDwell<br />

Meet Raksak Sukonthatam<br />

and Sirithip Hantaweewongsa,<br />

the founders of GreenDwell, an<br />

architecture and sustainable<br />

consulting firm for quality<br />

dwelling with an attempt to<br />

propel and integrate multiple<br />

dimensions of sustainable<br />

design.<br />

theme / review<br />

Big and Green<br />

Not only notable for its grand<br />

scale and skillfully utilizing<br />

its prime location along the<br />

main road with its unique<br />

structural proportions, the<br />

AIA East Gateway Building<br />

designed by Creative Crews<br />

demonstrates how a high<br />

rise can incorporate environmentally<br />

friendly and sustainable<br />

issues.<br />

Photo: Siam Multi Cons<br />

material<br />

Sustainable<br />

Building<br />

Materials for<br />

a Net Zero<br />

Emissions<br />

Future<br />

In this issue of the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>,<br />

we discuss some types of<br />

carbon-negative construction<br />

materials: recycled metals,<br />

low-carbon bricks, green tiles,<br />

structural timber, hemp concrete,<br />

and carbon-negative<br />

concrete.<br />

110<br />

Carbon Craft<br />

118<br />

Finite<br />

119<br />

Soil Block<br />

120<br />

Photo Courtesy of BC architects<br />

122<br />

professional<br />

Studio<br />

Locomotive<br />

136<br />

chat<br />

Nathatai<br />

Chansen<br />

<strong>ASA</strong> talks to Asst. Prof. Nathatai<br />

Chansen, the <strong>ASA</strong>’s executive<br />

committee in charge of urban<br />

activities.<br />

140<br />

Photo: Travelkanuman<br />

Photo: Beer Singnoi<br />

96<br />

Photo: W Workspace<br />

the last page<br />

144


12<br />

around<br />

Design Excellence Award<br />

(DEmark) <strong>2023</strong><br />

Photo Courtesy of Design Excellence Award (DEmark)<br />

1<br />

รางวัล Design Excellence Award (DEmark) ริเริ่มโดย<br />

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์<br />

มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 เพื่อเปิดโอกาสให้นักออกแบบ<br />

และผู้ประกอบการไทย ได้แสดงผลงานสินค้าไทยที่มี<br />

การออกแบบดีสู่ตลาดโลก ซึ่งได้รับการสนับสนุนอย่างดี<br />

จากองค์กรภาครัฐและเอกชนของประเทศญี่ปุ่น 2 องค์กร<br />

คือ องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น และ<br />

สถาบันส่งเสริมการออกแบบแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยสนับสนุน<br />

ทั้งส่งผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบจากประเทศญี่ปุ่น<br />

เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการตัดสินรางวัล และให้ความร่วมมือ<br />

ในด้านอื่น ๆ เพื่อให้รางวัลได้มาตรฐานในระดับสากล<br />

มาโดยตลอด<br />

The Design Excellence Award (DEmark) was<br />

initiated by the Department of International Trade<br />

Promotion (DITP) under the Ministry of Commerce<br />

in 2008 to provide opportunities for designers and<br />

Thai entrepreneurs to showcase Thai products with<br />

good designs to the world market. It has been well<br />

supported by two public and private organizations<br />

in Japan: the Japan External Trade Organization<br />

(JETRO) and the Japan Institute of Design Promotion<br />

(JDP), by supporting and sending design<br />

experts from Japan to join the award judging committee<br />

and cooperate in other areas so that the<br />

awards are always up to international standards.<br />

01<br />

ผลงานออกแบบบ้านเดี่ยว<br />

Mulberry Grave Villa โดย<br />

PIA Interior<br />

02<br />

ศาลาหวายโดย PHTAA<br />

Living Design<br />

1


DEmark <strong>2023</strong><br />

13<br />

2<br />

The Neues Lina Museum, Ghotmeh courtesy by Harry of Richards SPK / David for Serpentine Chipperfield <strong>2023</strong> Architects, photo Joerg von Bruchhausen<br />

2


14<br />

around<br />

3<br />

03<br />

ผลงานออกแบบปรับปรุง<br />

YKK AP Showroom โดย<br />

Creative Crews ที่ได้รับ<br />

รางวัล Good Design Award<br />

<strong>2023</strong> ด้วย<br />

04<br />

โรงแรม Uthai Heritage<br />

ออกแบบโดย Supergreen<br />

Studio<br />

05<br />

ผลงานออกแบบโรงแรม<br />

Beanstalk โดย bsides ซึ่ง<br />

ได้รับรางวัล Good Design<br />

Award <strong>2023</strong> ด้วย<br />

4<br />

5


DEmark <strong>2023</strong><br />

<strong>15</strong><br />

6<br />

ในปี 2566 นี้ มีบริษัทสถาปนิกได้รับรางวัลในกลุ่มงาน<br />

ออกแบบตกแต่งภายในที่เกี่ยวข้องกับโรงแรม ร้านอาหาร<br />

ร้านกาแฟ ร้านค้า พื้นที่ทํางานร่วม และอาคารชุด รวม<br />

ทั้งหมดกว่า 6 ผลงาน มีทั้งงานออกแบบใหม่อย่าง ศาลาหวาย<br />

โดย PHTAA Living Design กับการออกแบบงานสถาปัตย-<br />

กรรมที่ถอดประกอบได้ ทําให้สามารถปรับเปลี่ยนการใช้งาน<br />

ได้ตามความต้องการของผู้ใช้ สามารถติดตั้งได้ในเวลาอัน<br />

รวดเร็ว และผลงานการออกแบบเพื่อรองรับการอยู่อาศัย<br />

ของครอบครัวขยาย มัลเบอร์รี โกรฟ วิลล่า ด้วยแนวคิด<br />

ในลักษณะเป็น Cluster house โดย PIA Interior Company<br />

Limited ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการอยู่ร่วมกันของ<br />

ครอบครัวไทย<br />

นอกจากนี้ยังมีผลงานในแนวปรับปรุงอาคารเดิม อย่างการ<br />

ปรับปรุงโชว์รูม วายเคเค เอพี โดย Creative Crews และ<br />

งาน Beanstalk Bangkok ปรับปรุงโรงแรมเก่าแก่มากกว่า<br />

70 ปี ที่ตั้งอยู่บนขอบระหว่างย่านเก่าเจริญกรุงและเขต<br />

สาทรของกรุงเทพฯ โดย bsides รวมถึงผลงานออกแบบ<br />

ในแนวทางการปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์อาคารเดิม เช่น<br />

ผลงานของ Supergreen Studio ที่เปลี่ยนโฉมโรงเรียนอุทัย-<br />

วิทยาลัย ให้เป็นโรงแรม Uthai Heritage และผลงานการ<br />

อนุรักษ์และการฟื้นฟูโครงสร้างสถาปัตยกรรมชิโน-ยูโรเปียน<br />

ในเมืองตะกั่วป่า เป็นคาเฟ่ โก้ปี้ กั่วป่า แห่งใหม่ของเมือง<br />

โดย Eco Architect ทั้งนี้ ผู้ที่ได้รับรางวัลในผลงานประเภท<br />

ต่าง ๆ จะได้รับโอกาสพิเศษการเข้าร่วมประกวดในเวที<br />

ระดับโลกต่อไป<br />

A total of six architectural firms were honored in<br />

<strong>2023</strong> for their interior design projects pertaining<br />

to hotels, restaurants, coffee shops, stores, coworking<br />

spaces, and condominiums. Innovative<br />

designs have emerged, including the Rattan Pavilion<br />

by PHTAA Living, which features a knock-down<br />

architecture that enables rapid installation and<br />

flexibility to meet the needs of the user. PIA Interior<br />

Company Limited’s design for the Mulberry Grove<br />

Villa, which features a cluster house layout, draws<br />

inspiration from the communal living arrangements<br />

observed among Thai extended families.<br />

There is also work in the area of architectural renovation<br />

and adaptive reuse, such as Creative Crews’<br />

refurbishment of the YKK AP shop and bsides’<br />

renovation of a more than 70-year-old hotel located<br />

on the outskirts of Bangkok’s old Charoen Krung<br />

and Sathorn districts. The work of Supergreen<br />

Studio, which transformed Uthai Wittayalai School<br />

into the Uthai Heritage Hotel, and the work of Eco<br />

Architect, which preserved and renovated Sino-<br />

European architecture in Takua Pa district as the<br />

city’s new Cafe Kopi Kuapa, have both received<br />

awards. Award winners in several categories will<br />

be given an unparalleled opportunity to compete<br />

on the global stage in the future.<br />

demarkaward.net<br />

06<br />

งานออกแบบร้านกาแฟ<br />

KOPI KUAPA โดย ECO<br />

Architect ได้รับรางวัล<br />

Good Design Award<br />

<strong>2023</strong> อีกด้วย


16<br />

around<br />

NET ZERO<br />

BUILDING<br />

GUIDELINES<br />

THAMM<strong>ASA</strong>T DESIGN SCHOOL × SCG<br />

1<br />

BACKGROUND<br />

1.1<br />

NET ZERO BUILDING<br />

GUIDELINES<br />

วิกการลกรอนแลัยธรรมชาิางที่เกินในปุบัน<br />

มีความี่แลความรุนแรงเพิมมากนเร่อยากอมูลอง<br />

พบวาความี่องการ<br />

เกิัยพิบัิแลความรุนแรงที่เพิมมากนมีสาเุสาคัมาาก<br />

การเปลี่ยนแปลงสาพูมิอากาศยอมูล<br />

ากพบวาวยนยบายแล<br />

กิกรรมที่มนุยทาในปุบันสงลใอุูมิบนลกสูงน<br />

เลี่ยองศาเลเียสในปคศเม่อเทียบกับยุคกอน<br />

ปิวัิอุสากรรม[1]<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

30<br />

31<br />

1.5 ° C<br />

เราสามารลีกเลี่ยงลกรทบที่เลวรายนานัปการที่เกินกับลกากมีการ<br />

ควบคุมอุูมิเลี่ยิวลกมใเพิมนเกิน°เม่อเทียบกับรับอุูมิ<br />

กอนยุคปิวัิอุสากรรม<br />

แนวทางการออกแบบอาคารที่มีการใชพลังงานสุทธิเปนศูนย<br />

Net Zero Building Guidelines<br />

ในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

ภูมิอากาศของโลก ที่เรียกว่าความตกลงปารีส (Paris<br />

Agreement) ในปีพ.ศ. 2558 นั้น ประเทศไทยได้เสนอการ<br />

มีส่วนร่วมในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก<br />

พร้อมกับนโยบายด้านต่าง ๆ โดยตั้งเป้าหมายการปล่อย<br />

ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์หรือเน็ตซีโร่อีมิชั่นให้ได้ภายใน<br />

ปีพ.ศ. 2608 หรือในอีก 42 ปีข้างหน้า พันธกิจที่ว่านี้เป็น<br />

ประเด็นที่มีความสำาคัญและมีผลต่อภาคอุตสาหกรรมการ<br />

ก่อสร้างอย่างมากถึงมากที่สุด เพราะภาคอุตสาหกรรมการ<br />

ก่อสร้างเป็นภาคอุตสาหกรรมที่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอน-<br />

ไดออกไซด์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่าการปล่อยคาร์บอน เป็น<br />

สัดส่วนสูงถึง 40% เมื่อเทียบกับการปล่อยคาร์บอนทั้งหมด<br />

ในปี 2565 โดย 30% อยู่ในกระบวนการก่อสร้างและ<br />

ประมาณ 70% เป็นการปล่อยคาร์บอนจากการใช้งานตลอด<br />

อายุการใช้อาคาร แน่นอนว่าประเด็นนี้จะส่งผลและเข้ามา<br />

มีบทบาทเกี่ยวข้องกับสถาปนิกและผู้คนที่เกี่ยวข้องกับ<br />

อุตสาหกรรมก่อสร้างมากขึ้นและมากขึ้นเรื่อย ๆ อย่างที่เรา<br />

ทุกคนต่างได้รับรู้กันอยู่ในทุกวันนี้<br />

In the 20<strong>15</strong> United Nations Convention on Global<br />

Climate Change, the so-called Paris Agreement,<br />

Thailand proposed participation in reducing greenhouse<br />

gas emissions along with various policies<br />

by setting a goal of net zero greenhouse gas emissions<br />

or zero emissions within 2065 or in the next<br />

42 years. This mission is an important issue and<br />

has the most significant impact on the construction<br />

industry since the construction industry is an industrial<br />

sector that emits carbon dioxide, or, in short,<br />

carbon emissions in a proportion of up to 40%<br />

compared to total carbon emissions in 2022, of<br />

which 30% is in the construction process and<br />

approximately 70% is carbon emissions from use<br />

throughout the life of the building. This issue will<br />

undoubtedly impact and become more and more<br />

relevant to architects and those involved in the<br />

construction industry, as we all know today.<br />

1


Net Zero Building Guidelines<br />

17<br />

อาคารที่มีการใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ หรือ Net Zero<br />

Emission Building จึงเป็นเรื่องใหญ่และมีมิติต่าง ๆ ที่<br />

เกี่ยวข้องมากมายหลายระดับ การตระหนักถึงความสำาคัญ<br />

ตื่นตัว และลุกขึ้นมาปรับเปลี่ยน ตลอดจนจัดการกับปัญหานี้<br />

อย่างจริงจัง เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย<br />

ทุกคนในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง รวมทั้งสถาปนิกด้วย<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์ ร่วมกับ บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์<br />

ก่อสร้าง จำากัด ได้ร่วมกันจัดทำาหนังสือ แนวทางการ<br />

ออกแบบอาคารที่มีการใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero<br />

Building Guidelines) หนังสือขนาดกระทัดรัด อ่านง่าย ที่<br />

ให้ข้อมูลพื้นฐานและความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาคารที่มีการใช้<br />

พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ เป็นหลักการและข้อแนะนำ าให้ผู้อ่านได้<br />

ไอเดียในการดำาเนินไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าชคาร์บอน-<br />

ไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ของอาคารและ built environment<br />

ซึ่งเป็นภาคส่วนสำาคัญที่สามารถสร้างผลกระทบความ<br />

เปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนได้<br />

เนื้อหาในหนังสือแบ่งออกเป็น 6 บทสั้น ๆ ประกอบด้วย<br />

1. Background ให้ข้อมูลเกี่ยวกับที่มาและความสำาคัญของ<br />

การปล่อยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์เป็นศูนย์<br />

2. Greenhouse gas emission from buildings อธิบายถึง<br />

ก๊าชเรือนกระจกที่ถูกปล่อยจากอาคาร ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย<br />

รายละเอียดการปล่อยคาร์บอนรูปแบบต่าง ๆ<br />

3. Initial pathways นำาเสนอแนวทางเบื้องต้นในการออกแบบ<br />

เพื่อเป้าหมายการปล่อยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็น<br />

ศูนย์ ซึ่งประกอบด้วย แนวทางการออกแบบ คาร์บอนสะสม<br />

ตั้งต้น การเลือกใช้ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง<br />

และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง ตลอดจนการใช้<br />

พลังงานหมุนเวียน (renewable energy) ในอาคาร<br />

4. Case Studies ให้ตัวอย่างกรณีศึกษาโครงการในประเทศ<br />

และต่างประเทศที่ประสบความสำาเร็จในการอกแบบและ<br />

ดำาเนินโครงการตามแนวทางการออกแบบอาคารที่มีการใช้<br />

พลังงานสุทธิเป็นศูนย์<br />

5. Driving forces ให้ข้อมูลแรงขับเคลื่อนสำาคัญในการ<br />

ผลักดันสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิ<br />

เป็นศูนย์<br />

6. Next Step ก้าวต่อไปที่พวกเราในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย<br />

ในอุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างควรพิจารณา<br />

Buildings with net zero energy use or net zero<br />

emission buildings are a big issue and have many<br />

dimensions involving many levels. Recognizing the<br />

importance of being alert, getting up for change,<br />

and seriously dealing with this problem is the<br />

responsibility of every stakeholder in the construction<br />

industry, including architects.<br />

Thammasat Design School and SCG Cement-<br />

Building Products have jointly prepared a book<br />

titled Net Zero Building Guidelines. This compact,<br />

easy-to-read book provides basic information and<br />

basic knowledge about buildings with net zero<br />

energy use. It provides principles and recommendations<br />

for readers to get ideas on reaching the<br />

goal of net zero carbon dioxide emissions from<br />

buildings and the built environment, which are<br />

important sectors that can create impactful change<br />

towards sustainable development.<br />

The content of the book is divided into 6 short<br />

chapters:<br />

1. Background: provides information on the origins<br />

and importance of zero carbon dioxide emissions.<br />

2. Greenhouse gas emissions from buildings:<br />

describe greenhouse gases emitted from buildings.<br />

The content contains details on various forms of<br />

carbon emissions.<br />

3. Initial pathways: provide initial guidelines for<br />

designing towards net-zero carbon dioxide emissions,<br />

including design guidelines, initial accumulated<br />

carbon, choosing an air conditioning system,<br />

electrical lighting systems, high-efficiency electrical<br />

appliances, and using renewable energy in the<br />

building.<br />

4. Case Studies: provide studies of domestic and<br />

international projects that have successfully<br />

designed and implemented projects following netzero<br />

energy building design guidelines.<br />

5. Driving forces: provides information on essential<br />

driving forces in pushing towards the net zero<br />

carbon dioxide emissions goal.<br />

6. Next step: what steps we should take as stakeholders<br />

in the built environment industry.<br />

ท่านที่สนใจหนังสือ Net Zero Building Guidelines สามารถ<br />

อ่านหรือดาวน์โหลดหนังสือได้ฟรี โดยคลิกไปที่ลิงค์ด้านล่างนี้<br />

issuu.com/thezerobooks/docs/net_zero_building_<br />

guideline?fr=xKAE9_zU1NQ


18<br />

theme<br />

Towards<br />

a<br />

Green<br />

Future<br />

In recent years, ‘green future’ has become<br />

the talk of the town. Our goal now under the<br />

Paris Agreement is to not exceed 1.5 °C above<br />

pre-industrial levels. If the current industrialized<br />

society is associated with machines, new<br />

buildings, competition, fossil fuels, and being<br />

removed from nature, We could perhaps engage<br />

some of the opposite qualities in our architecture:<br />

passive design, upcycling, collaboration,<br />

renewable energy, and nature. How can we all<br />

contribute to this common ultimate goal for<br />

people and the planet?<br />

Text: Nawanwaj Yudhanahas


1<br />

Photo: Hampus Berndtson<br />

01<br />

Thatched Brick Pavilion


20<br />

theme<br />

ในปี 2558 สมาชิกกว่า 195 ประเทศภายใต้กรอบอนุสัญญา<br />

สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

(UNFCCC) ได้เดินทางมารวมตัวกัน ณ กรุงปารีส และตกลง<br />

ทำาอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เรียกว่า Paris Agreement<br />

(ความตกลงปารีส หรืออนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ<br />

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศปารีส) สมาชิกจากประเทศต่าง ๆ<br />

รวมทั้งประเทศไทยได้ตกลงที่จะมีส่วนร่วมในอนาคตของโลก<br />

ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพราะโลกของเรากำ าลัง<br />

ร้อนขึ้น หัวใจสำาคัญของข้อตกลงปารีสจึงมีเป้าหมายที่จะจำ ากัด<br />

อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกให้อยู่ที่ 2 องศาเซลเซียสเหนือระดับก่อน<br />

ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ข้อตกลงเสมือนแสดงนัยว่า การเพิ่ม<br />

ขึ้นของอุณหภูมินี้เป็นปริมาณสูงสุดที่โลกของเราสามารถรับได้<br />

แต่แท้จริงแล้ว เราควรตั้งเป้าหมายที่จะควบคุมให้อยู่ต่ำ ายิ่งกว่า<br />

นั้นด้วยซ้ำา นั่นคือไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ซึ่งหากไม่มี<br />

การควบคุมอุณหภูมินี้ จะเกิดผลกระทบร้ายแรงต่าง ๆ เช่น<br />

สภาพอากาศที่รุนแรง ภัยธรรมชาติ การสูญพันธุ์ของพืช สัตว์<br />

และอื่น ๆ อีกมากมาย<br />

การคาดการณ์จากเส้นกราฟและทัศนคติ<br />

ในปี 2562 สถาปนิกชื่อดังระดับโลก Foster + Partners<br />

ได้เผยแพร่แถลงการณ์ด้านความยั่งยืน (Sustainability<br />

Manifesto) โดยในหน้าที่ 2 ของเอกสารดังกล่าว อ้างอิงถึง<br />

กราฟอุณหภูมิที่แสดงอุณหภูมิบรรยากาศของโลกตั้งแต่ปี<br />

2393 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่โลกได้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมแล้ว<br />

กราฟดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ในปี 2562 อุณหภูมิของโลก<br />

เราแตะทะลุ 1 องศาเซลเซียสเหนือระดับก่อนการปฏิวัติ<br />

อุตสาหกรรมไปแล้วเรียบร้อย และกราฟดังกล่าว ยังแสดงอีก<br />

ว่า แม้ว่าเราจะปฏิบัติตามมาตรฐานการก่อสร้างที่กำ าหนดโดย<br />

หน่วยงานที่ได้รับการยอมรับระดับนานาชาติอย่างเคร่งครัด<br />

อุณหภูมิโลกก็จะเพิ่มสูงกว่าระดับช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาห-<br />

กรรมถึง 3 องศาเซลเซียสอยู่ดี แต่เป้าหมายของความตกลง<br />

ปารีสคือเราต้องจำากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิไว้ที่ไม่เกิน 1.5<br />

องศาเซลเซียส ช่องว่างระหว่างตัวเลขที่กราฟคาดการณ์ กับ<br />

เป้าหมายในความตกลงปารีส ต่างกันถึง 1.5 องศาเซลเซียส<br />

แล้วเราจะทำาให้เป้าหมายนี้เป็นไปได้ได้อย่างไร?<br />

การจำากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ได้หมายความว่า<br />

เราควรหยุดสร้าง และหันไปหาสังคมเกษตรกรรมอย่างใน<br />

ยุคก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมเสมอไป แต่เราจำาเป็นต้อง<br />

ค้นหาวิธีการที่แตกต่างออกไปเพื่อนำาทางเราให้ก้าวไปไกล<br />

กว่าโลกอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ถ้าสิ่งที่พลิกให้เราก้าวหน้า<br />

ในด้านอุตสาหกรรม และเปลี่ยนโลกไปอย่างสิ้นเชิงในยุคนั้น<br />

คือกรอบความคิดที่แหวกแนว ต่างจากเดิมไปอย่างสิ้นเชิง<br />

ในยุคปัจจุบัน เราก็คงจำาเป็นต้องมีกรอบความคิดที่ต่างไป<br />

จากเดิมอย่างสิ้นเชิงในลักษณะเดียวกัน เพื่อลดช่องว่างของ<br />

อุณหภูมิที่สูงถึง 1.5 องศาเซลเซียส และด้วยแนวคิดการ<br />

ออกแบบที่ต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง ด้วยความมุ่งมั่น และ<br />

In 20<strong>15</strong>, over 195 countries who are members<br />

of the United Nations Framework Convention<br />

on Climate Change (UNFCCC) came together<br />

in Paris and agreed on an international treaty in<br />

what is to be known as the Paris Agreement or<br />

the Paris Climate Accords. The member states,<br />

including Thailand, agree to contribute to the<br />

greener future. The world is getting warmer. At<br />

the core of the Paris Agreement is the aim to limit<br />

the global average temperature to 2 °C above<br />

pre-industrial levels. The Agreement suggests this<br />

increase is the maximum our planet can take, but<br />

we should aim for even lower—at no more than<br />

1.5 °C. Without this temperature cap, there will be<br />

terrible consequences: extreme weather, natural<br />

disasters, extinction of species and so on.<br />

The Mathematics and the Mindset<br />

World-renowned architectural firm Foster +<br />

Partners published a Sustainability Manifesto<br />

in 2019. On page 2, it references a temperature<br />

graph that charts the planet’s atmospheric temperature<br />

since 1850, when the world had been<br />

industrialised. By 2019, we already hit 1 °C above<br />

pre-industrial levels. And even if we strictly follow<br />

the construction standards already in place by<br />

many certification bodies, we will reach 3 °C<br />

above pre-industrial levels anyway. But the target<br />

of the Paris Agreement is that we must limit the<br />

increase to +1.5 °C. There is a dramatic gap of<br />

1.5 °C. How can we even make this possible?<br />

Limiting the increase in the Earth’s temperature<br />

does not necessarily mean we should stop building<br />

and turn to the agrarian society of the pre-industrial<br />

era. But we need to find a different method to steer<br />

us beyond the current industrialised world. If it<br />

was the radical mindset of the time that brought<br />

us advancement of Industrialisation, we need an<br />

equally radical mindset to lower the dramatic 1.5 °C<br />

gap. With a radical design mindset, determination,<br />

and imagination, perhaps we can create a radically<br />

different future. So far, in what ways have we been<br />

radical?<br />

The Futuristic Past<br />

More than 20 years ago, an environmentally<br />

friendly housing development was completed in<br />

the suburb of London. Beddington Zero Energy<br />

Development (BedZED) is home to 100 houses,<br />

offices, and community facilities. To become a<br />

large-scale community with low carbon emissions,<br />

BedZED took many measures. Located in a<br />

country with temperate climate, the houses are


TOWARDS A GREEN FUTURE<br />

21<br />

02<br />

Photo: Tom Chance<br />

02<br />

BedZED ในประเทศ<br />

อังกฤษ<br />

จินตนาการ เราก็อาจจะสามารถสร้างอนาคตที่แตกต่าง<br />

จากเดิมอย่างสิ้นเชิงได้เช่นกัน แล้วจนถึงตอนนี้ เราได้เสนอ<br />

แนวคิดที่ต่างจากเดิมอย่างสิ้นเชิงในด้านใดบ้าง?<br />

ความลํ ้าอนาคตของอดีต<br />

เมื่อกว่า 20 ปีที่แล้ว โครงการบ้านจัดสรรที่เป็นมิตรต่อ<br />

สิ่งแวดล้อมได้เกิดขึ้นในย่านชานเมืองลอนดอน Beddington<br />

Zero Energy Development (BedZED) ประกอบด้วยบ้าน<br />

พักอาศัย สำานักงาน และสิ่งอำานวยความสะดวกในชุมชน<br />

จำานวน 100 หลังคาเรือน ด้วยความตั้งใจที่จะเป็นชุมชน<br />

ขนาดใหญ่ที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำ า BedZED กำาหนด<br />

ใช้มาตรการต่าง ๆ จำานวนมาก ด้วยความที่ BedZED ตั้งอยู่<br />

ในประเทศที่มีอากาศหนาว บ้านที่ BedZED จึงมีฉนวนกัน<br />

ความร้อนอย่างดีและมีระเบียงบ้านที่หันหน้าไปทางทิศใต้<br />

เพื่อดูดซับความร้อนจากแสงแดดให้ได้มากที่สุด อีกทั้งมี<br />

เครื่องทำาความร้อน โดยอาศัยเชื้อเพลิงชีวมวลจากเศษไม้ และ<br />

เครื่องรีไซเคิลน้ำา หลังคาที่โค้ง ลาดเอียงของบ้านที่ BedZED<br />

ทุกหลัง มีแผงโซลาร์เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์อยู่ด้านบน และ<br />

ที่โดดเด่นที่สุดคือปล่องลมหลากสีสันที่หมุนไปมาราวกับจาน-<br />

เรดาร์ คอยหมุนเวียนระบายอากาศบริสุทธิ์เข้าสู่ภายในอาคาร<br />

well insulated and feature south-facing terraces<br />

to absorb the most heat from the sun. There are<br />

biomass wood chip boiler and water recycling<br />

facility. All the gently sloping roofs are topped<br />

with solar photovoltaic arrays. And the most<br />

iconic of all, the colourful wind funnels that move<br />

about like a radar, circulating fresh and warm air.<br />

Despite all the mechanics and futuristic-looking<br />

wind cowls, the architecture appears humble. Brick<br />

and timber are the main materials. Modest-scale<br />

alleyways thread the village. There are gardens for<br />

picnics and parties and shared allotments where<br />

residents grow vegetables together. Residents<br />

are encouraged to walk or cycle via ample bicycle<br />

storage and car-pooling club. In other words,<br />

passive design, building services and policies<br />

which encourage the change in lifestyle, all contribute<br />

to its green objective.


22<br />

theme<br />

After the COVID-19 pandemic, we have seen a shift towards<br />

a more flexible and less formal work culture. The building will<br />

be fitted with other intelligence such as daylight sensors and<br />

Mirror Duct Systems, directing natural light to the inner zones<br />

of the floor plates. Taikoo Green Ribbon capitalises on the<br />

waves of new technology, the change in lifestyle, and also the<br />

old-fashioned natural ventilation and trees.<br />

03<br />

BedZED ในประเทศ<br />

อังกฤษ<br />

ถึงแม้ BedZED จะมีเครื่องจักรอุปกรณ์อาคารต่าง ๆ และ<br />

ปล่องลมที่ดูล้ำ าอนาคต แต่สถาปัตยกรรมที่ปรากฏก็ดูเรียบง่าย<br />

อิฐและไม้เป็นวัสดุหลักของโครงการ ส่วนต่าง ๆ ของหมู่บ้าน<br />

ถูกเชื่อมร้อยเข้าหากันด้วยตรอกซอกซอยขนาดย่อม มีพื้นที่<br />

สีเขียวสำาหรับปิกนิกและจัดปาร์ตี้ และสวนที่ผู้อยู่อาศัยแชร์<br />

พื้นที่ปลูกผักสวนครัว โครงการสนับสนุนให้สมาชิกของหมู่บ้าน<br />

เดินหรือปั่นจักรยาน ด้วยการที่แต่ละบ้านจะมีที่จอดจักรยานที่<br />

กว้างขวาง และมีชมรมที่แชร์การเดินทางด้วยรถยนต์ร่วมกัน<br />

กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การออกแบบอาคารให้ประหยัดพลังงาน<br />

งานระบบอาคารที่เพรียบพร้อม และนโยบายต่าง ๆ ของ<br />

โครงการที่ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ทั้งหมดนี้ ล้วนมี<br />

ส่วนช่วยให้ BedZED บรรลุวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม<br />

Twenty years on, BedZED remains inspirational<br />

for its energy consumption figures and the strong<br />

sense of community. And the quirky colourful<br />

wind cowls are still active, projecting high and<br />

signifying the better future.<br />

The Futuristic Future<br />

The south-east façade of Taikoo Green Ribbon<br />

in Hong Kong will feature vertical rows of tubular<br />

modules. Behind this futuristic-looking façade<br />

lies meeting spaces, cafes, and other facilities,<br />

all located among green foliage. These tubular<br />

panels are not ordinary glazed panels. They are,<br />

03<br />

Photo: Tom Chance


TOWARDS A GREEN FUTURE<br />

23<br />

Photo: ARUP.<br />

04<br />

04-05<br />

Taikoo Green Ribbon<br />

Building ฮ่องกง<br />

20 ปีผ่านไปจนปัจจุบัน BedZED ยังคงสร้างแรงบันดาลใจ<br />

ให้แก่โครงการอื่น ๆ ทั้งในแง่สถิติตัวเลขการประหยัดพลังงาน<br />

และความเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง และทุกวันนี้ ปล่องลมหน้าตา<br />

แปลกประหลาด ก็ยังคงตั้งสูงตระหง่านอยู่บนหลังคา สีสัน<br />

สดใสของมันตัดกับท้องฟ้า มันยังคงทำ างานหมุนไปมา ราวกับ<br />

เป็นสัญลักษณ์ถึงอนาคตที่สดใสกว่า<br />

ความล้ำาอนาคตที่จะเกิดในอนาคต<br />

Façade ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของอาคาร Taikoo Green<br />

Ribbon ในฮ่องกง จะประกอบด้วยโมดูลที่มีลักษณะเหมือน<br />

ท่อใส เรียงตัวต่อเนื่องทอดยาวในแนวตั้งตลอดความสูงของ<br />

อาคาร พื้นที่หลังโมดูลที่เหมือนท่อล้ำ าอนาคตนี้ เป็นพื้นที่พบปะ<br />

ห้องประชุม ร้านกาแฟ และสิ่งอำานวยความสะดวกอื่น ๆ<br />

ทั้งหมดตั้งอยู่ท่ามกลางแมกไม้เขียว แต่ท่อเหล่านี้ ไม่ได้เป็น<br />

กระจกหรืออะคริลิกโค้งธรรมดา แท้จริงแล้ว มันถูกบุด้วยแผง<br />

โซลาร์เซลล์แบบที่ดัดโค้งได้ ท่อกระจกใสบางส่วนหายไปจาก<br />

façade เพื่อเปิดช่องให้อากาศธรรมชาติสามารถไหลผ่านเข้า<br />

ไปภายในอาคารได้ ในขณะที่ façade อีกด้านหนึ่งของอาคาร<br />

จะมีลู่วิ่งที่คดเคี้ยว เลื้อยขึ้นไปตามระดับความสูงของอาคาร<br />

แต่นี่ก็ไม่ใช่ลู่วิ่งที่แค่สามารถมองเห็นวิวสวยงามของฮ่องกง<br />

เท่านั้น แต่พื้นของลู่วิ่ง ถูกฝังไปด้วย kinetic pads ที่จะเปลี่ยน<br />

พลังงานจากการเคลื่อนไหวของนักวิ่ง ไปเป็นพลังงานที่ใช้ใน<br />

อาคาร และด้านบนสุดของอาคาร ก็ยังมีกังหันลมที่โผล่ขึ้นมา<br />

จากแมกไม้สีเขียว ทั้งกังหันลมและต้นไม้ โอบล้อมที่นั่งขั้นบันได<br />

ขนาดใหญ่ ที่รองรับคนได้ถึง 500 คน องค์ประกอบทางสถา-<br />

ปัตยกรรมตั้งแต่ท่อกระจกโค้ง จนถึงกังหันลมบนอาคาร ทำ าให้<br />

Taikoo Green Ribbon มีรูปลักษณ์ที่ล้ำ าสมัยอย่างไม่ต้องสงสัย<br />

in fact, covered in curved photovoltaics. Some<br />

of these panels are missing from the façade,<br />

allowing natural air to permeate the building.<br />

A running track will wind its way up another<br />

elevation. This, too, is not just a running track<br />

with nice views. The floors will be embedded<br />

with kinetic pads that turn movement caused by<br />

runners into energy. And on its roof, wind turbines<br />

will sprout from green canopies that surround<br />

stepped seating for up to 500 people. From<br />

tubular glazed panels to rooftop wind turbines,<br />

Taikoo Green Ribbon is undoubtedly futuristic<br />

in its appearance.<br />

Designed by ARUP, the building is yet to be completed.<br />

But it has so far won the 2021 Advancing<br />

Net Zero Ideas Competition organised by Hong<br />

Kong Green Building Council. This 230-metre-tall<br />

office building has a big goal to reach net zero<br />

emissions within eight years of opening. The plan<br />

is to cut energy consumption, generate its own<br />

energy, and absorb carbon emissions. During<br />

construction, 9.5 million plastic bottles will become<br />

façade louvres. Inside and outside will be extensively<br />

covered in green: shrubs, trees, hanging<br />

gardens, algae walls, and edible plants. This<br />

promises to deliver 350% more greenery than<br />

its site area. And the vast amount of green will<br />

be irrigated by recycled water.


24<br />

5


25<br />

Photo: ARUP.


26<br />

theme<br />

อาคารหลังนี้ออกแบบโดย ARUP และถึงแม้จะยังก่อสร้าง<br />

ไม่แล้วเสร็จ แต่ก็ได้ชนะรางวัล Advancing Net Zero Ideas<br />

ประจำาปี 2564 ซึ่งจัดโดย Hong Kong Green Building<br />

Council เป็นที่เรียบร้อยแล้ว Taikoo Green Ribbon เป็น<br />

อาคารสำานักงานสูง 230 เมตร ที่ตั้งเป้าหมายยิ่งใหญ่ในการ<br />

ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในแปดปี<br />

นับจากเปิดดำาเนินการ แผนดังกล่าว ส่งผ่านมาในส่วนต่าง ๆ<br />

ของการออกแบบเพื่อการลดการใช้พลังงาน เพื่อการสร้าง<br />

พลังงงานด้วยตนเอง และเพื่อช่วยดูดซับก๊าซเรือนกระจกที่<br />

ปล่อยออกมา อย่างเช่น ขวดพลาสติกจำานวน 9.5 ล้านขวด<br />

จะถูกใช้เป็นวัสดุในการผลิตบานเกล็ดบังแดดบน façade<br />

อาคาร ภายในและภายนอกอาคาร จะถูกปกคลุมไปด้วย<br />

พื้นที่สีเขียวในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น<br />

ไม้เลื้อย สาหร่ายเพาะเลี้ยง และการปลูกผักกินได้ ทั้งหมดนี้<br />

มีเป้าหมายที่จะเพิ่มความเขียวขจีให้ถึง 350% ของพื้นที่ไซต์<br />

และพื้นที่สีเขียวจำ านวนมากมายมหาศาลนี้ จะได้รับการรดน้ำ า<br />

จากน้ำาที่เป็นน้ำารีไซเคิล<br />

หลังจากการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เราได้เห็นการ<br />

เปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมการทำางานที่ยืดหยุ่นมากขึ้นและ<br />

ทางการน้อยลง สำานักงานอาจไม่จำาเป็นต้องเป็นห้องสี่เหลี่ยม<br />

ติดเครื่องปรับอากาศเสมอไป Taikoo Green Ribbon ส่งเสริม<br />

การใช้ระบบระบายอากาศจากลมธรรมชาติ จึงออกแบบให้มี<br />

ห้องประชุมท่ามกลางสวนและแมกไม้ที่ให้ร่มเงา แต่ก็ไม่ลืมที่<br />

จะใช้ประโยชน์จากระบบอัจฉริยะอื่น ๆ เช่น เซ็นเซอร์รับแสง<br />

และระบบ Mirror Duct ซึ่งจะนำาแสงธรรมชาติส่องเข้าไปให้<br />

ทั่วถึงยังโซนด้านในของแผ่นพื้น กล่าวได้ว่า วิธีการที่จะนำ าไป<br />

สู่การเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของ Taikoo Green Ribbon ใช้<br />

โอกาสทั้งจากเทคโนโลยีใหม่ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปหลังการเกิด<br />

โรคระบาดใหญ่ และการระบายอากาศตามธรรมชาติและการ<br />

ปลูกต้นไม้ที่ทำ ากันมาแต่เก่าก่อน<br />

อนาคตไม่ใช่เรื่องใหม่ทั้งหมด<br />

อาคาร AMP Center Tower ในเมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย<br />

สร้างขึ้นในปี 2519 จนเกือบครึ่งศตวรรษต่อมา ได้ถูกปรับเปลี่ยน<br />

เป็น Quay Quarter Tower (QQT) อาคารสำานักงานสูง 49 ชั้น<br />

ที่ออกแบบโดยบริษัทสถาปนิกชาวเดนมาร์ก 3XN Architects<br />

อาคารหลังนี้ มีรูปทรงที่สะดุดตา แต่ความชาญฉลาดของ QQT<br />

มีมากกว่ารูปทรงล้ำ าสมัย (ที่แท้จริงแล้วมีประโยชน์ในการช่วย<br />

บังแดดด้วย) ตรงที่ QQT ใช้โครงสร้างส่วนใหญ่จาก AMP<br />

Center Tower เดิม การออกแบบได้รักษาคาน เสา และแผ่นพื้น<br />

ของอาคารเดิมไว้กว่า 65% และเก็บ core เดิมถึง 95% แผ่นพื้น<br />

ใหม่ถูกเติมเข้าไปให้อยู่ร่วมกับแผ่นพื้นเก่า าให้ได้พื้นที่แผ่นพื้น<br />

ทำ<br />

เพิ่ม จากเดิม 1,100 ตารางเมตร เป็น 2,200 ตารางเมตร และ<br />

ทั้งอาคาร จากเดิมที่รองรับคนได้ 4,500 คน เพิ่มเป็น 9,000 คน<br />

บรรยากาศภายในสำานักงานก็ต่างออกไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง<br />

After the COVID-19 pandemic, we have seen a<br />

shift towards a more flexible and less formal work<br />

culture. No more refrigerated boxes where office<br />

workers spend hours. The building will promote<br />

working in natural ventilation and having meetings<br />

in nicely shaded gardens. The building will be<br />

fitted with other intelligence such as daylight<br />

sensors and Mirror Duct Systems, directing<br />

natural light to the inner zones of the floor plates.<br />

It seems Taikoo Green Ribbon capitalises on the<br />

waves of new technology, the change in lifestyle,<br />

and also the old-fashioned natural ventilation and<br />

trees.<br />

The Future is Not Entirely New<br />

AMP Centre Tower in Sydney, Australia, was built<br />

in 1976. Almost half a century later, it recently<br />

turned into Quay Quarter Tower (QQT). Designed<br />

by Danish architectural firm 3XN Architects, QQT<br />

is a 49-storey office building with an eye-catching<br />

form. But there is more than meets the eye. Its<br />

ingenuity lies in the fact that QQT utilises a large<br />

part of the old AMP Centre Tower. The design<br />

keeps 65% of the former tower’s beams, columns<br />

and floor slabs, along with 95% of the original<br />

core. Adding to the conserved parts are new floor<br />

plates to co-exist with the old ones, increasing<br />

the floor plates from 1,100 square metres to 2,200.<br />

Previously, the tower could accommodate about<br />

4,500 people. Now it has doubled to 9,000. The<br />

interior office atmosphere is different, too. Highceiling<br />

atria are brightly lit by natural light. A sculp<br />

tural spiral staircase connects the floors. No more<br />

different departments of an office segregated into<br />

separate levels. Each floor has a visual connection<br />

to another, promoting better collaboration. On their<br />

website, 3XN Architects says that this solution<br />

to build the new tower from part of the old one<br />

has saved the planet 12,000 tonnes of embodied<br />

carbon—which equals 35,000 flights between<br />

Sydney and Melbourne.


TOWARDS A GREEN FUTURE<br />

27<br />

07<br />

08<br />

06 09<br />

Photo: Adam Mork<br />

Diagram by 3XN Architects<br />

06<br />

Quay Quarter Tower<br />

07<br />

ส่วนของอาคารเดิม<br />

ที่รื้อทิ้ง<br />

08<br />

ส่วนของอาคารเดิม<br />

ที่เก็บไว้<br />

09<br />

ส่วนใหม่ที่เพิ่มเติม<br />

เช่นกัน อาคารใหม่มีห้องโถงเพดานสูง สว่างไสวไปด้วยแสง<br />

ธรรมชาติ มีบันไดเวียนที่เหมือนเป็นประติมากรรมชิ้นใหญ่<br />

เชื่อมแต่ละชั้นเข้าด้วยกัน จากเดิมที่พนักงานแต่ละแผนก<br />

ทำางานแยกกันในแต่ละชั้นของสำานักงาน อาคารใหม่ทำาให้<br />

แต่ละชั้นมีมุมมองที่มองเห็นกันได้ง่ายขึ้น ส่งเสริมทัศนคติ<br />

ในการทำางานร่วมกันข้ามแผนกของคนในองค์กรอีกด้วย โดย<br />

บนเว็บไซต์ทางการของ 3XN Architects กล่าวว่า การสร้าง<br />

ตึก QQT จาก AMP Center Tower เดิมนี้ ช่วยลด embodied<br />

carbon ได้ถึง 12,000 ตัน ซึ่งเท่ากับ 35,000 เที่ยวบินไป -<br />

กลับระหว่างซิดนีย์และเมลเบิร์นเลยทีเดียว<br />

The Future is Microscopic<br />

SolarLeaf is a building façade system developed by<br />

ARUP and other collaborators in Germany. It was<br />

showcased as part of the International Building<br />

Exhibition (IBA) in Hamburg in 2013. Titled BIQ<br />

House, the 1,700 square-metre residential block<br />

is fitted with photobioreactors on two facades.<br />

The photobioreactor panels, measuring 2.5 x 0.7<br />

metres each, are basically tanks filled with nutritious<br />

food suitable for growing microalgae. With sunlight<br />

and carbon dioxide drawn from the surrounding


28<br />

theme<br />

09<br />

Photo: © Colt International,<br />

Arup Deutschland, SSC GmbH<br />

Photo: © Colt International, Arup Deutschland,<br />

SSC GmbH<br />

11 12<br />

Photo: © Colt International, Arup Deutschland, SSC GmbH<br />

10<br />

SolarLeaf<br />

อนาคตอยู่ในของที่เล็กจนมองไม่เห็น<br />

SolarLeaf คือระบบ façade อาคารที่พัฒนาโดย ARUP และ<br />

ผู้ร่วมพัฒนารายอื่น ๆ ในประเทศเยอรมนี ระบบนี้ได้เข้าร่วม<br />

จัดแสดงเป็นส่วนหนึ่งในนิทรรศการ International Building<br />

Exhibition (IBA) เมืองฮัมบูร์กเมื่อปี 2556 โดยใช้กับอาคาร<br />

พักอาศัยขนาด 1,700 ตารางเมตรที่ชื่อว่า BIQ House อาคาร<br />

หลังนี้ ติดตั้งระบบ photobioreactors บน façade สองด้าน<br />

โดยองค์ประกอบหลักของ photobioreactors นี้ คือแผงที่เป็น<br />

เหมือนถังน้ำาแนวตั้งขนาด 2.5 x 0.7 เมตร ภายในบรรจุ<br />

สารอาหารซึ่งเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสาหร่าย เมื่อ<br />

สาหร่ายได้รับแสงแดด และระบบได้ดึงคาร์บอนไดออกไซด์<br />

จากสภาพแวดล้อมโดยรอบเข้ามาทำาปฏิกิริยา สาหร่ายก็จะ<br />

เติบโต ความร้อนซึ่งเป็นผลลัพธ์ของปฏิกิริยาดังกล่าว ก็จะถูก<br />

ดึงเอาไปใช้สร้างความอบอุ่นให้แก่ยูนิตที่พักอาศัยทั้ง <strong>15</strong> ยูนิต<br />

เอาไปทำาน้ำาอุ่น หรือเอาไปเก็บไว้เพื่อใช้ภายหลัง SolarLeaf<br />

ถูกออกแบบให้เป็นระบบ modular ที่อาจนำาไปใช้กับผนัง<br />

ทึบหรือหน้าต่าง ถ้าแปะอยู่กับผนังทึบ สาหร่ายสีเขียวก็กลาย<br />

เป็นเหมือนลวดลายตกแต่งบน façade หากไปประกบอยู่กับ<br />

หน้าต่างของอาคารเดิม สาหร่ายก็จะกลายเป็นม่านกรองแสง<br />

ให้กับพื้นที่ภายในด้วย นอกจากนี้ ประโยชน์ของ SolarLeaf<br />

ยังรวมไปถึงการเพิ่มฉนวนความร้อนให้อาคาร และลดเสียง<br />

รบกวนจากภายนอกด้วย<br />

environment, the algae grow. Heat is extracted to<br />

heat the <strong>15</strong> residential units, heat the water supply,<br />

or store it for later. This modular system may be<br />

applied onto solid walls, where the green elements<br />

will become decorative; or on windows where the<br />

algae will also act as sun-shading screens for the<br />

interior. The panels also give extra benefits such as<br />

building insulation and noise reduction.<br />

SolarLeaf is still being developed further. And<br />

today we hear more about algae walls in new<br />

developments. Perhaps a room tinted with the<br />

colour fluorescent green will really be a common<br />

scene of our future homes.<br />

The Future is Back to Basic—with a Twist<br />

Molina de Segura in Spain was a rocky sloping<br />

terrain, characterised by ravines and droughtresistant<br />

plants, but was flattened because of<br />

urbanisation. Instead of following the typical<br />

housing development of the area, Rambla Climate-<br />

House, designed by Andrés Jaque and Miguel Mesa<br />

del Castillo, takes a more ecological approach.<br />

The architects work with a soil expert and an<br />

ecologist to restore the humidity and biodiversity


TOWARDS A GREEN FUTURE<br />

29<br />

If architecture could reverse the destroyed ecology, might<br />

future cities reverse the material preferences, too? Thatch<br />

and clay may be associated with the rural landscape, while<br />

concrete, glass, and steel are for the modern cities. In the<br />

future, this may change.<br />

ในวันนี้ SolarLeaf ยังคงได้รับการพัฒนาเพิ่มเติม และทุกวันนี้<br />

เราก็ได้ยินเรื่องราวเกี่ยวกับผนังสาหร่ายในโครงการขนาดใหญ่<br />

ที่สร้างใหม่มากขึ้น ในอนาคตคงมีความเป็นไปได้ที่ภาพคุ้นตา<br />

ของห้องในบ้านเรา จะเป็นห้องสีเขียวเรือง ๆ ที่เกิดจากแสง<br />

แดดส่องผ่านสาหร่ายเข้ามาภายในก็เป็นได้<br />

อนาคตคือการกลับคืนสู่จุดเริ ่มต้น—<br />

แบบที่มีการพลิกแพลงเล็กน้อย<br />

Molina de Segura ในประเทศสเปนเป็นภูมิประเทศลาดเขา<br />

เต็มไปด้วยหินและพืชทนแล้ง แต่ภูมิประเทศได้เปลี่ยนไป<br />

พื้นที่ลาดเขาถูกทำาให้แบนราบและปราศจากธรรมชาติเพื่อ<br />

รองรับการขยายตัวของเขตเมือง แต่เมื่อ Andrés Jaque<br />

และ Miguel Mesa del Castillo ออกแบบ Rambla Climate-<br />

House พวกเขาเลือกที่จะใช้แนวทางการออกแบบที่คำานึง<br />

ถึงระบบนิเวศ มากกว่าที่จะทำาตามแบบฉบับที่เป็นที่นิยม<br />

ในโครงการบ้านจัดสรรในเขตนี้ สถาปนิกทำางานร่วมกับ<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านดินและนักนิเวศวิทยาเพื่อฟื้นฟูความชื้นและ<br />

ความหลากหลายทางชีวภาพให้กับพื้นที่ โดยการทำาให้ไซต์<br />

กลับคืนสู่สภาพภูมิประเทศดั้งเดิม เมื่อมีการขุดดินเพื่อทำ า<br />

พื้นราบให้กับลานจอดรถของบ้าน บริเวณที่ดินถูกขุดออกมา<br />

ก็ถูกทำาให้กลายเป็นหุบเขาที่มนุษย์สร้างขึ้น เกิดเป็นหุบ ร่อง<br />

ที่ช่วยรักษาความชื้นของดิน สถาปนิกยกตัวบ้านขึ้นบนเสา<br />

ให้ลอยอยู่เหนือภูมิประเทศที่เกิดใหม่ หลังคาของบ้านลาด<br />

เอียงลงไปยังส่วนกลางของบ้าน ทำาให้น้ำาฝนไปหล่อเลี้ยงดิน<br />

และพืชพันธุ์ของระบบนิเวศที่เกิดใหม่ อีกทั้ง บ้านหลังนี้ยังมี<br />

ระบบเก็บน้ำาจากฝักบัวอาบน้ำาและอ่างล้างหน้ามาช่วยรดน้ำา<br />

ต้นไม้ที่ปลูกใหม่ ระบบรดน้ำายังใช้เซ็นเซอร์และเทคโนโลยี<br />

to the site. The design reverses the site back to<br />

its original topography. Where the soil is removed<br />

to build the flat area of the house's car park,<br />

man-made ravines are created. The house is<br />

raised on stilts over the new landscape. Ravines<br />

help preserve the soil moisture. And the wild<br />

landscape is irrigated by rainwater and grey<br />

water, collected through the inward-sloping roof<br />

and from showers and sinks, respectively. The<br />

irrigation system also employs sensors and data<br />

technology to monitor soil moisture. By restoring<br />

the natural condition, the area belongs, and with<br />

the help of new technologies, Rambla Climate-<br />

House demonstrates that the future green is not<br />

only about large developments, but small houses<br />

can play a part, too.<br />

If architecture could reverse the destroyed ecology,<br />

might future cities reverse the material preferences,<br />

too? Thatch and clay may be associated with the<br />

rural landscape, while concrete, glass, and steel<br />

are for the modern cities. In the future, this may<br />

change.<br />

13-14<br />

Rambla Climate House<br />

Photo: © José Hevia<br />

13<br />

Photo: © José Hevia<br />

14


30<br />

theme<br />

เก็บสถิติเพื่อตรวจสอบความชื้นในดิน กล่าวโดยสรุปคือ<br />

แนวคิดหลักของ Rambla Climate-House คือการฟื้นฟู<br />

สภาพแวดล้อมแต่เดิมของพื้นที่ เพราะธรรมชาติเดิมคือ<br />

สภาพที่เหมาะสมกับระบบนิเวศของตรงนี้ที่สุด และด้วยพลัง<br />

เสริมจากเทคโนโลยีสมัยใหม่ บ้านหลังนี้ ก็ได้แสดงให้เห็นว่า<br />

อนาคตสีเขียวไม่เพียงเป็นเรื่องของการพัฒนาขนาดใหญ่<br />

เท่านั้น แต่บ้านหลังเล็ก ๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน<br />

หากสถาปัตยกรรมสามารถพลิกฟื้นระบบนิเวศที่ถูกทำาลาย<br />

ไปแล้วให้กลับมาได้ มุมมองต่อวัสดุก่อสร้างของเมืองใน<br />

อนาคต ก็อาจจะพลิกกลับไปในทางตรงกันข้ามได้เหมือนกัน<br />

ยกตัวอย่างเช่น บ้านหลังคามุงจากและบ้านดินในปัจจุบันอาจ<br />

เป็นภาพของภูมิทัศน์ชนบท ในขณะที่คอนกรีต กระจก และ<br />

เหล็ก เป็นวัสดุที่สื่อถึงเมืองสมัยใหม่ แต่ในอนาคต ภาพจำ า<br />

ของวัสดุอาจจะเปลี่ยนแปลงไปก็ได้<br />

During the <strong>2023</strong> UIA World Congress of Architects<br />

in Copenhagen, installations and pavilions pop up<br />

around the city. Among them is an exhibition called<br />

‘From 4 to 1 Planet’, which looks at an ecological<br />

approach for affordable housing. One of the showcases<br />

is ‘Thatched Brick Pavilion’ designed by<br />

Leth & Gori, Rønnow Arkitekter and the Centre for<br />

Industrialised Architecture (CINARK). The pavilion<br />

proposes that the material combination of thatch<br />

and clay blocks, with thatch on the exterior, provides<br />

great insulation and fire protection. Scientific figures<br />

of thermal and acoustic properties aside, the<br />

pavilion also shows that such mundane materials,<br />

when designed properly, can create a pleasant<br />

domestic architecture.<br />

<strong>15</strong><br />

16<br />

<strong>15</strong><br />

Rambla Climate House<br />

ผังหลังคา<br />

16<br />

Rambla Climate House<br />

ผังพื้นชั้น 1<br />

17<br />

Rambla Climate House<br />

ผังพื้นชั้น Ground<br />

17


TOWARDS A GREEN FUTURE<br />

31<br />

18<br />

Photo: © Kim Høltermand<br />

18<br />

Thatched Brick Pavilion<br />

ในระหว่างการประชุม UIA World Congress of Architects ที่<br />

เมืองโคเปนเฮเกนในปี 2566 งานศิลปะจัดวางและพาวิลเลียน<br />

ต่าง ๆ ได้ปรากฏขึ้นทั่วเมือง หนึ่งในนั้นคือนิทรรศการ 'From<br />

4 to 1 Planet' ซึ่งสำารวจแนวทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม<br />

สำาหรับโครงการที่อยู่อาศัยราคาย่อมเยา หนึ่งในผลงาน<br />

จัดแสดงคือ ‘Thatched Brick Pavilion’ หรือ 'พาวิลเลียนอิฐ<br />

มุงจาก' ซึ่งออกแบบโดย Leth & Gori, Rønnow Arkitekter<br />

และ Centre for Industrialised Architecture (CINARK)<br />

พาวิลเลียนนี้ได้นำาเสนอการผสมผสานการสร้างบ้านมุงจาก<br />

กับบล็อกดินเหนียว โดยการมุงจากไว้ด้านนอกของบ้าน<br />

พาวิลเลียนอิฐมุงจากเสนอว่าวัสดุคู่นี้เป็นฉนวนที่ดีเยี่ยม<br />

และมีค่าการป้องกันอัคคีภัยที่ดีกว่าการก่ออิฐที่นิยมใช้ใน<br />

การก่อสร้างบ้านปัจจุบันเสียอีก แต่นอกจากค่าตัวเลขทาง<br />

วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับคุณสมบัติทางความร้อนและเสียงแล้ว<br />

พาวิลเลียนนี้ยังแสดงให้เห็นว่าวัสดุธรรมดา ๆ ราคาถูก เมื่อ<br />

ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมแล้ว ก็จะสามารถสร้างบ้าน<br />

ที่ร่วมสมัยและมีบรรยากาศภายในที่น่ารื่นรมย์ได้เช่นกัน<br />

อนาคตมีสําหรับทุกคน<br />

และบางทีอนาคตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็อาจเริ่มต้นจาก<br />

บางสิ่งที่เล็กกว่าบ้านเสียอีก<br />

Yasmeen Lari สถาปนิกหญิงชาวปากีสถานเพิ่งได้รับรางวัล<br />

อันทรงเกียรติ Royal Gold Medal จาก Royal Institute of<br />

British Architects (RIBA) กรรมการเชิดชูผลงานออกแบบ<br />

ตลอดหลายสิบปีของ Lari โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทำางาน<br />

ร่วมกับชุมชนผู้ด้อยโอกาสในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา โครงการ<br />

ของเธอมักใช้วัสดุคาร์บอนต่ำา อย่างปูนขาว ปูนปลาสเตอร์<br />

ไม้ไผ่ ดิน และมักจะมีการฝึกอบรมผู้คนในชุมชนให้สร้าง<br />

บางสิ่งบางอย่างด้วยตนเอง<br />

The Future is For Everyone<br />

And perhaps the greener future can start with<br />

something even smaller than a house.<br />

Yasmeen Lari, a female Pakistani architect just<br />

won the prestigious Royal Institute of British<br />

Architects (RIBA) Royal Gold Medal. Over the<br />

last 20 years, she has been working with underprivileged<br />

communities. Her projects often employ<br />

low-carbon materials such as lime, plaster,<br />

bamboo, earth and often involve training people<br />

in communities to build themselves.<br />

One of Lari’s projects tackles the fact that the<br />

poor communities use firewood to cook on open<br />

fires. That means more trees need to be cut down<br />

for firewood. The smoke also pollutes the air,<br />

which is bad for the environment and for health<br />

of the community. It also increases the risk of<br />

fires in houses.<br />

Lari proposes a new model of stove called<br />

Chulah Cookstove. It is made of locally sourced<br />

mud and lime-plaster and raised on a platform<br />

so that it will not be washed away by floods.<br />

Chulah Cookstove is more than a simple stove.<br />

Storage for cooking utensils, a hand-washing<br />

area, a network of ducts, a fire chamber and a<br />

chimney are part of the design which can be built<br />

by women. No more firewood, the stove is fuelled<br />

by agricultural waste such as cow dung and<br />

sawdust bricks. Moreover, Lari deals with the<br />

process of disseminating Chulah Cookstove to<br />

communities. ‘Barefoot entrepreneurs’ who


32<br />

theme<br />

19<br />

Thatched Brick Pavilion<br />

19<br />

Photo: © Kim Høltermand


TOWARDS A GREEN FUTURE<br />

33<br />

หนึ่งในโครงการของ Lari เกิดมาจากวิถีชีวิตการทำ าอาหารของ<br />

กลุ่มชุมชนผู้มีรายได้น้อย ที่ใช้ฟืนในการปรุงอาหารบนเตา<br />

เปิดโล่ง ทำาให้เกิดควันที่เป็นมลภาวะทางอากาศ ส่งผลเสียต่อ<br />

สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของผู้คนในชุมชนเอง อีกทั้ง ทำาให้<br />

เกิดการตัดไม้จำานวนมากเพื่อนำามาทำาเป็นฟืน และยังเพิ่ม<br />

ความเสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ในบ้านตนเองอีกด้วย Lari<br />

ได้เสนอเตารุ่นใหม่ชื่อ Chulah Cookstove โดยทำาขึ้นจากดิน<br />

โคลนและปูนขาวที่หาได้ในท้องถิ่น เตารุ่นใหม่นี้มีลักษณะ<br />

เป็นแท่น เพื่อไม่ให้เตาถูกพัดพาไปกับกระแสน้ำาหากเกิด<br />

อุทกภัย Chulah Cookstove ยังเป็นมากกว่าแค่เตา แต่<br />

พร้อมไปด้วยพื้นที่จัดเก็บอุปกรณ์เครื่องครัว ที่ล้างมือ ท่อ<br />

อากาศและปล่องไฟ เตาไม่ได้ใช้พลังงานจากฟืนตามวิถี<br />

ปฏิบัติเดิม แต่ใช้พลังงานจากขยะในการเกษตร เช่น มูลวัว<br />

และอิฐขี้เลื่อย และที่สำาคัญคือ สามารถสร้างได้ด้วยแรงของ<br />

แม่บ้านของแต่ละครัวเรือนเอง นอกจากนี้ Lari ไม่เพียง<br />

ออกแบบ แต่ยังวางระบบการเผยแพร่องค์ความรู้ในการสร้าง<br />

เตา Chulah Cookstove สู่ชุมชน โดยการเผยแพร่องค์ความรู้<br />

เป็นงานที่ดำาเนินการโดยกลุ่มคนที่เรียกว่า Barefoot entrepreneurs<br />

ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ได้รับการอบรมจากอีกโครงการ<br />

ชื่อ Barefoot Social Architecture ที่ก่อตั้งโดย Lari เช่นกัน<br />

กลุ่มคนพวกนี้ จะไปสร้างการรับรู้ถึงผลเสียของการทำ าอาหาร<br />

แบบเดิม และฝึกอบรมแม่บ้านในชุมชนให้สร้างเตาโมเดลใหม่<br />

นี้ด้วยตัวเอง จากวัสดุที่สนับสนุนค่าใช้จ่ายโดย Heritage<br />

Foundation of Pakistan ที่ Lari เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง ผลลัพธ์คือ<br />

ชุมชนปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ส่งผลดีกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น<br />

และสมาชิกของ Barefoot entrepreneurs เอง ก็ได้รับรายได้<br />

จากมูลนิธิ Heritage Foundation of Pakistan ด้วย<br />

are the result of Lari’s another project called<br />

Barefoot Social Architecture Programme, raise<br />

awareness and train housewives in rural communities<br />

to build. These ‘entrepreneurs’ get paid<br />

by the Heritage Foundation of Pakistan, another<br />

organisation co-founded by Lari. The Foundation<br />

also supports the cost of materials.<br />

The Green Games of the Future<br />

In less than a year, Paris will host the Olympic<br />

Games. On the Games’ official website, Paris<br />

2024 promises to be ‘both spectacular and<br />

sustainable’ as it determines to deliver half of<br />

the carbon footprint of the previous Olympic<br />

Games. There is a Committee for the Games<br />

Ecological Transformation, comprising experts<br />

from biodiversity, circular economy, energy,<br />

digital technology, temporary construction and<br />

so on. A range of specific sporting arenas<br />

spreading over several venues are required for<br />

the world’s grandest sports competition. Paris<br />

2024 says they will, nevertheless, minimise<br />

new construction. Instead of building massive<br />

stadiums, 95% of their venues will make use<br />

of existing ones or will transform the majestic<br />

Parisian landmarks like the Eiffel Tower into<br />

sporting venues. Over the next few months,<br />

it shall be exciting to see how this environmental<br />

ambition unfolds and how innovative architectural<br />

design might reshape mega-events.<br />

20<br />

Chulah Cookstove<br />

เกมสีเขียวแห่งอนาคต<br />

ปารีสจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในอีกไม่ถึง<br />

หนึ่งปี ในเว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ Paris 2024 ได้<br />

ให้คำามั่นสัญญาว่าการจัดการแข่งขันครั้งนี้จะ "ทั้งยิ่งใหญ่<br />

อลังการและยั่งยืน" เนื่องจากกีฬาโอลิมปิกครั้งนี้ มีความ<br />

มุ่งมั่นที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงครึ่งหนึ่งของการ<br />

แข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งก่อน ๆ สำาหรับวิธีการที่จะนำาไปสู่<br />

เป้าหมายนั้น ที่แน่ ๆ คือ Paris 2024 ได้มีการจัดตั้งคณะ<br />

กรรมการที่ชื่อว่า ‘Committee for the Games Ecological<br />

Transformation’ แปลได้ว่า คณะกรรมการเพื่อการแปลง<br />

โฉมสิ่งแวดล้อมของการจัดโอลิมปิกครั้งนี้ คณะกรรมการ<br />

ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญหลากหลายด้าน เช่น ด้านความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพ เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน พลังงาน<br />

เทคโนโลยีดิจิทัล การสร้างสิ่งก่อสร้างชั่วคราว เป็นต้น และ<br />

ถึงแม้การแข่งขันกีฬาที่ยิ่งใหญ่อย่างโอลิมปิก จะต้องการ<br />

พื้นที่แข่งขันที่เฉพาะเจาะจง ออกแบบมาตรงตามมาตรฐาน<br />

ของแต่ละประเภทกีฬา การสร้างใหม่จากศูนย์จึงน่าจะง่าย<br />

ที่สุด แต่ Paris 2024 ประกาศว่า จะลดการก่อสร้างใหม่ให้<br />

20<br />

Photo: © Yasmeen Lari, Heritage Foundation of Pakistan


34<br />

theme<br />

‘Holistic’ and ‘Respectful’, these two words are meaningful.<br />

We need to be ‘holistic’ and ‘respectful’ in our approach. And<br />

with this frame of mind, regardless of the scale of the projects,<br />

we all can contribute to the green future.<br />

21-22<br />

Chulah Cookstove<br />

Photo: © Yasmeen Lari, Heritage Foundation of Pakistan<br />

21<br />

น้อยที่สุด โดย 95% ของสนามแข่งขัน จะใช้สนามกีฬาที่มี<br />

อยู่เดิมมาปรับปรุงใหม่ให้ได้มาตรฐานตามกำาหนด หรือจะ<br />

เปลี่ยนสถานที่สำาคัญอันงดงามของปารีส อย่างหอไอเฟล ให้<br />

เป็นสนามแข่งกีฬา ด้วยแนวทางนี้แล้ว ในอีกไม่กี่เดือนข้าง<br />

หน้า คงจะหน้าตื่นเต้นไม่น้อยที่จะได้เห็นว่าเป้าหมายด้านสิ่ง<br />

แวดล้อมนี้ จะคลี่คลายออกมาผ่านวิธีการใด รวมไปถึงการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมที่เปี่ยมไปด้วยนวัตกรรม จะเปลี่ยน<br />

โฉมหน้าของงานแข่งขันกีฬาขนาดยักษ์ไปอย่างไรบ้าง<br />

อนาคต “จําเป็ นต้อง” เป็ นสีเขียว<br />

ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา 'อนาคตสีเขียว' ได้กลายเป็นทอล์คออฟ<br />

เดอะทาวน์ เป้าหมายของเราตอนนี้จากความตกลงปารีสคือ<br />

การควบคุมอุณหภูมิให้ไม่สูงขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียสเหนือ<br />

ระดับก่อนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม หากสังคมอุตสาหกรรม<br />

ของเราในปัจจุบัน เกี่ยวข้องกับคำาสำาคัญอย่างเครื่องจักร<br />

สิ่งก่อสร้างใหม่ การแข่งขัน พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล<br />

และความห่างไกลธรรมชาติ บางทีเราอาจนึกถึงคำาสำาคัญที่<br />

ตรงกันข้ามในการออกแบบสถาปัตยกรรมให้มากขึ้น นั่นคือ<br />

การออกแบบอย่าง Passive design การ Upcycling การ<br />

ทำางานร่วมกัน พลังงานสะอาด และการอยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ<br />

The Future MUST be Green<br />

In recent years, ‘green future’ has become the talk<br />

of the town. Our goal now from the Paris Agreement<br />

is to not exceed 1.5 °C above pre-industrial levels.<br />

If the current industrialised society is associated<br />

with machine, new built, competition, fossil fuels<br />

and being removed from nature. We could perhaps<br />

engage some of the opposite qualities in our architecture:<br />

passive design, upcycling, collaboration,<br />

renewable energy, and nature.<br />

And perhaps we can learn from the 2019 Sustainability<br />

Manifesto by Foster + Partners which<br />

states that the company ‘has long believed in<br />

design being holistic and respectful of the needs<br />

of people and planet’. ‘Holistic’ and ‘Respectful’,<br />

these two words are meaningful. We need to<br />

be ‘holistic’ and ‘respectful’ in our approach.<br />

We shall be holistic in integrating nature and<br />

architecture; holistic in considering the construc-


TOWARDS A GREEN FUTURE<br />

35<br />

และบางที เราอาจจะเรียนรู้ได้จากแถลงการณ์ด้านความยั่งยืน<br />

(Sustainability Manifesto) เมื่อปี 2562 ของ Foster +<br />

Partners ที่ระบุว่าบริษัท “เชื่อมั่นมาอย่างยาวนาน ในการ<br />

ออกแบบที่บูรณาการเป็นองค์รวม และเคารพต่อความต้องการ<br />

ทั้งของผู้คนและของโลก” สองคำ าสำาคัญที่มีความหมายอย่างยิ่ง<br />

คือ “ความเป็นองค์รวม” และ “ความเคารพ” เราจำาเป็นต้องมี<br />

สองคำานี้ในแนวคิดและแนวปฏิบัติของเรา เราควรบูรณาการ<br />

ธรรมชาติเข้ากับสถาปัตยกรรมแบบองค์รวม เราควรคำ านึงถึง<br />

กระบวนการก่อสร้างแบบเป็นองค์รวม คือตั้งแต่ต้นจนจบ ไปจน<br />

ถึงการดำารงอยู่ของอาคารเมื่อเวลาผ่านไป เราควรเคารพต่อ<br />

พลังแห่งธรรมชาติ อย่างแสงอาทิตย์และสายลม และออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมให้สอดคล้องกับพลังของธรรมชาตินั้น ๆ เรา<br />

ควรเคารพต่อระบบนิเวศที่อยู่มาก่อนหน้าเรา เคารพทรัพยากร<br />

ที่เรามีอยู่แล้ว พิจารณาว่าสามารถปรับปรุงอะไรได้ แทนที่จะ<br />

ทำาลายและเริ่มใหม่จากศูนย์ และเราควรเคารพและทำ างานแบบ<br />

องค์รวมร่วมกับสาขาวิชาอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น นักนิเวศวิทยา<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านดิน อาสาสมัครหมู่บ้าน หรือแม่บ้านในชนบท<br />

และด้วยทัศนคตินี้ ไม่ว่าโครงการออกแบบจะมีขนาดเท่าใด<br />

ก็ตาม เราทุกคนก็สามารถมีส่วนร่วมในอนาคตสีเขียวได้<br />

Photo: © Yasmeen Lari, Heritage Foundation of Pakistan<br />

tion, from start to finish, to how the building<br />

might sustain over time. We shall respect the<br />

force of nature: the sun and the winds and design<br />

accordingly. We shall respect the ecology that<br />

comes before us; the existing resources we have<br />

and see what we can improve instead of starting<br />

over. And we shall respect and work holistically<br />

with other disciplines: ecologists, soil experts,<br />

rural women to name a few. And with this frame<br />

of mind, regardless of the scale of the projects,<br />

we all can contribute to the green future.<br />

22<br />

นวันวัจน์ ยุธานหัส<br />

จบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาตรีและปริญญาโท<br />

จากคณะสถาปั ตยกรรม-<br />

ศาสตร์ที่ Bartlett School<br />

of Architecture, University<br />

College London<br />

และเป็ นภัณฑารักษ์ผู้ช่วย<br />

ของ Thai Pavilion ในงาน<br />

Venice Architecture<br />

Biennale ครั้งที่ 17 เมื่อ<br />

ปี ค.ศ. 2021 ปั จจุบัน<br />

นวันวัจน์สอนที่คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร และ<br />

แชร์ความสนใจในการ<br />

บอกเล่าเรื่องราวที่มีค่า<br />

ผ่านพื้นที่กับนักออกแบบ<br />

รุ่นใหม่ที่ International<br />

Programme in Communication<br />

Design<br />

(CommDe) จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

Nawanwaj<br />

Yudhanahas<br />

studied Bachelor’s<br />

and Master’s degrees<br />

in Architecture at the<br />

Bartlett School of Architecture<br />

in London.<br />

She was an assistant<br />

curator for the Thai<br />

Pavilion at the 17th<br />

Venice Architecture<br />

Biennale in 2021. She<br />

currently teaches at<br />

the Faculty of Architecture<br />

at Silpakorn<br />

University and shares<br />

her passion for telling<br />

meaningful stories via<br />

space and materials<br />

with students at the<br />

International Programme<br />

in Communication<br />

Design (Comm-<br />

De), Chulalongkorn<br />

University.<br />

Bibliography<br />

3XN Architects. “Quay Quarter Tower.” https://3xn.com/project/<br />

quay-quarter-tower-2.<br />

Arup. “Glass Facade System With Integrated Algae Photobioreactors<br />

for Heat and Biomass Generation.” www.arup.com/<br />

projects/bioenergy-facade.<br />

Arup. “People Nature and Technology: An Integrated Vision for Net<br />

Zero Building Design in Asia - Arup.” www.arup.com/perspectives/people-nature-and-technology-an-integrated-vision-fornet-zero-building-design-in-asia.<br />

Arup. “SolarLeaf.” www.arup.com/projects/solar-leaf.<br />

Arup. “The World’s First Green Building Facade With Microalgae<br />

- Arup.” YouTube, 14 July 20<strong>15</strong>, www.youtube.com/<br />

watch?v=t3OddaOgo5Q.<br />

Bioregional. “BedZED – the UK’s First Major Sustainable Community<br />

– Bioregional.” Bioregional, www.bioregional.com/<br />

projects-and-services/case-studies/bedzed-the-uks-first-largescale-eco-village.<br />

Cutieru, Andreea. “Arup Designs Carbon Neutral Tower in Hong<br />

Kong.” ArchDaily, 17 Dec. 2021, www.archdaily.com/973785/<br />

arup-designs-carbon-neutral-tower-in-hong-kong.<br />

Foster + Partners. www.fosterandpartners.com/news/cop25-foster-plus-partners-launches-its-sustainability-manifesto.<br />

Frearson, Amy. “From 4 to 1 Planet Showcases Climate-friendly<br />

Homes of the Future.” Dezeen, 18 July <strong>2023</strong>, www.dezeen.<br />

com/<strong>2023</strong>/07/18/from-4-to-1-planet-pavilions-climate-friendly-homes.<br />

Frearson, Amy. “Rambla Climate-House Shows How Suburban<br />

Homes Can Support Biodiversity.” Dezeen, 13 Jan. <strong>2023</strong>, www.<br />

dezeen.com/<strong>2023</strong>/01/13/rambla-climate-house-biodiversity-andres-jaque-and-miguel-mesa-del-castillo.<br />

Levy, Natasha. “Earthen Stove by Yasmeen Lari Lets Women in<br />

Rural Pakistan Cook in an Eco-friendly Way.” Dezeen, 5 Nov.<br />

2021, www.dezeen.com/2021/11/05/stove-design-eco-cookingyasmeen-lari.<br />

Paris 2024. “Paris 2024 - Environmental Ambition.” Paris 2024,<br />

www.paris2024.org/en/a-pioneering-ambition-for-the-environment.<br />

Paris 2024. “The Committee for the Games Ecological Transformation.”<br />

Paris 2024, www.paris2024.org/en/games-ecologicaltransformation-committee.


36<br />

theme / review<br />

Sowing<br />

the<br />

Seeds<br />

1<br />

In Nan province, Integrated Field (IF) and North Forest Studio have transformed<br />

the vast land into a forested area to cultivate and nurture a new<br />

woodland and create a space that can positively affect the community,<br />

breathing new life into the ecosystem.<br />

Text: Nuttawadee Suttanan<br />

Photo Courtesy of Integrated Field (IF) and W Workspace except as noted


2<br />

01<br />

ทัศนียภาพโดยรวมของ<br />

โครงการป่าทำามา<br />

02<br />

ภาพมุมสูง ร้านอาหาร<br />

ป่ากำากิ๋น


38<br />

theme / review<br />

ป่ายางกว่า 500 ไร่ ที่มีแม่น้ำาน่านไหลผ่าน ใน<br />

ตำาบลเมืองจัง อำาเภอภูเพียง จังหวัดน่าน เป็น<br />

พื้นที่เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ และพื้นที่ให้คน<br />

น่านได้มาใช้ร่วมกัน ที่รู้จักกันในชื่อ “ป่าทำามา”<br />

ซึ่ง ธนพลพจน์ โรจน์ณัฐกุล และก่อเกียรติ กิตติ-<br />

โสภณพงศ์ จาก Integrated Field (IF) ในฐานะ<br />

สถาปนิกผู้ออกแบบโครงการ ได้ถ่ายทอดเรื่อง<br />

ราวของ “ป่าทำามา” ไว้ว่าเป็นการทำางานร่วมกัน<br />

ของผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชาชีพ ที่เริ่มต้น<br />

จากการวางผังแม่บทและปรับภูมิทัศน์ของพื้นที่<br />

กว่า 500 ไร่ ให้เตรียมพร้อมสำาหรับการพัฒนา<br />

พื้นที่ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยมีป่าเหนือ<br />

สตูดิโอ และเจ้าของโครงการรับหน้าที่ในการ<br />

เริ่มวางผังแม่บทและปรับภูมิทัศน์พื้นที่ ส่วน<br />

Integrated Field (IF) รับหน้าที่ในส่วนของงาน<br />

ออกแบบที่พักและร้านอาหารป่ากำากิ๋น ทั้งงาน<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรม งานภูมิสถาปัตยกรรม<br />

ตกแต่งภายใน และงานออกแบบ Brand Identity<br />

และ Environmental graphic<br />

พื้นที่ส่วนหนึ่งของโครงการคือป่ายางที่เรียงตัวอยู่<br />

อย่างหนาแน่นแต่สวยงาม เป็นทางเข้าหลักของ<br />

โครงการ และอีกส่วนหนึ่งคือพื้นที่ที่เกิดจากการ<br />

ปรับใหม่ ด้วยเจ้าโครงการตั้งใจจะพัฒนาให้เป็นป่า<br />

และพื้นที่เชิงการเกษตร ต้นไม้ทุกต้นที่ปลูกขึ้นที่นี่<br />

จึงไม่ใช่เพียงการปลูกต้นไม้จำ านวนมาก ๆ ลงไปให้<br />

เกิดเป็นป่า แต่เกิดจากเลือกสรรพืชพรรณท้องถิ่น<br />

และจัดวางให้อยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสมในผังโครงการ<br />

โดยป่าเหนือสตูดิโอและเจ้าของโครงการมีจุดมุ่ง-<br />

หมายคือการคืน “ป่า” ให้กับเมือง และเป็นที่มา<br />

ของชื่อโครงการ “ป่าทำามา” ที่มาจาก “ป่าที่ทำา<br />

ขึ้นมาตั้งแต่ต้นกล้า”<br />

เมื่อเริ่มพัฒนาพื้นที่โครงการป่าทำามา ไม่ใช่เพียง<br />

แค่การสร้างป่า แต่ยังมีการพัฒนาพื้นที่ที่สามารถ<br />

ช่วยเหลือเพื่อนบ้านข้างเคียง เกิดเป็นฝายใน<br />

โครงการป่าทำามา ที่เป็นการทำางานร่วมกัน<br />

ระหว่างเอกชนและภาครัฐในการพัฒนาขยาย<br />

แม่น้ำาน่าน เนื่องจากฝายจะช่วยชะลอการไหล<br />

ของน้ำาและลดการกัดเซาะพื้นที่ริมน้ำ า นับเป็นการ<br />

ทำาเพื่อสาธารณะประโยชน์ รวมทั้งฟื้นฟูพัฒนา<br />

ระบบนิเวศริมแม่น้ำาน่าน ภาพเวิ้งน้ำาในโครงการ<br />

ป่าทำามา จึงเป็นภาพของน้ำาในฝายที่ไหลมาจาก<br />

แม่น้ำาน่านนั่นเอง<br />

ส่วนแนวคิดของการออกแบบสถาปัตยกรรม คือ<br />

การดึงความงามของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นผสม-<br />

ผสานกับสถาปัตยกรรมร่วมสมัย ทั้งร้านอาหาร<br />

และห้องพักทั้ง 9 หลัง จึงมีกลิ่นอายของความ<br />

เรียบง่ายแบบบ้านเรือนพื้นถิ่น ที่ถูกปรับแต่ง<br />

คัดสรรส่วนที่เหมาะสมกับพื้นที่ เป็นงานออกแบบ<br />

ที่มีรูปแบบเฉพาะตัวของ “ป่าทำามา” เริ่มตั้งแต่<br />

ต้นไม้ในผังโครงการที่ปลูกจากต้นกล้า จึงไม่ใช่<br />

ไม้ใหญ่ที่สวยสมบูรณ์นับตั้งแต่วันแรก แต่ค่อย ๆ<br />

เติบโตเหมือนไม้ในสวนหน้าบ้านที่เราคุ้นเคย หรือ<br />

ลักษณะหลังคาสูงของบ้านพื้นถิ่นในจังหวัดน่าน<br />

ที่ให้ทั้งความมืดและความสว่าง แม้กระทั่งรูปทรง<br />

ของงานสถาปัตยกรรม ก็ได้รับแรงบันดาลใจจาก<br />

รูปทรงของหินแม่น้ำาในฝายของโครงการ<br />

“ป่ากำากิ๋น” ร้านอาหารในโครงการป่าทำามาที่<br />

ถูกตั้งชื่อให้สอดคล้องกับชื่อโครงการ โดยการ<br />

เล่นคำากับภาษาเหนือ และเป็นสถาปัตยกรรม<br />

หลังแรกที่เกิดขึ้นในโครงการ โดยมีจุดเริ่มต้น<br />

จากความต้องการให้ “ป่าทำามา” เป็นที่รู้จัก<br />

จนในปัจจุบัน “ป่ากำากิ๋น” กลายเป็นอีกจุดหมาย<br />

หนึ่งที่คนน่าน และนักท่องเที่ยวจากต่างจังหวัด<br />

นึกถึงเมื่อเดินทางมายังจังหวัดน่าน<br />

ความน่าสนใจของการออกแบบร้านป่ากำากิ๋น คือ<br />

บริเวณทางเข้ามีเสาไม้ขนาดใหญ่รองรับหลังคา<br />

ที่ได้แรงบันดาลใจจากเสาเรือนพื้นถิ่นแต่มีสัดส่วน<br />

ที่แตกต่างออกไป ส่วนพื้นที่ทางเข้าที่นอกจาก<br />

เป็นทางเข้าร้านอาหารยังเป็นส่วนต้อนรับสำาหรับ<br />

ผู้มาพักในโครงการ ด้วยการออกแบบให้ความรู้สึก<br />

เหมือนเป็นอาคารชั้นเดียวเมื่อมองจากภายนอก<br />

แต่เมื่อเข้ามาในตัวอาคาร จะพบว่ามีพื้นที่ชั้นล่าง<br />

เป็นพื้นที่นั่งเล่นที่ได้รับลมเย็นจากธรรมชาติ และ<br />

กลายเป็นมุมยอดนิยมสำาหรับผู้ที่มาใช้บริการป่า<br />

กำากิ๋น พื้นที่นั่งรับประทานอาหาร และส่วนของบาร์<br />

มีการออกแบบให้สามารถเปิดหน้าต่างได้โดยรอบ<br />

อาคารรับลมธรรมชาติได้ ส่วนฝ้าของอาคารยัง<br />

มีการใช้วัสดุหวายเทียม ล้อกับรูปแบบการใช้เสื่อ<br />

หวายมาทำาฝ้าของวัดที่พบเห็นได้ในต่างจังหวัด<br />

บริเวณพื้นที่ Patamma Hideaway Resort<br />

ประกอบด้วยห้องพักทั้งหมด 9 หลัง รูปแบบ<br />

Lagoon Viila 8 หลัง และห้องพักแบบ Sky Loft<br />

Villa 1 หลัง วางตัวเรียงรายอยู่ริมน้ำ า หากมองจาก<br />

ผังบริเวณโครงการ ห้องพักทั้ง 9 หลัง เหมือน<br />

ก้อนหินขนาดใหญ่ที่ถูกจับเรียงกัน 9 ชิ้น ซี่ง<br />

รูปทรงอาคารนี้ได้แรงบันดาลใจจากรูปทรง<br />

ของหินแม่น้ำาที่พบที่โครงการ การจัดวางผังพื้น<br />

ที่ตั้งใจให้สอดคล้องกับต้นไม้ที่ปลูกมาก่อนหน้า<br />

เพื่อให้สถาปัตยกรรมและต้นไม้กลมกลืนและ<br />

ส่งเสริมกันและกัน ความคาดหวังหนึ่งของ<br />

นักออกแบบ คือเมื่อเวลาผ่านไป หากต้นไม้<br />

เหล่านั้นเติบโตจนสูงใหญ่ อาคารทั้ง 9 หลัง<br />

จะสามารถกลมกลืนอยู่เป็นส่วนหนึ่งของทิวไม้<br />

ใหญ่ได้เป็นอย่างดี<br />

ในการจัดวางห้องพักริมน้ำา สิ่งแรกที่ต้องคำาถึง<br />

จึงเป็นระดับขึ้นลงของแม่น้ำาน่าน การออกแบบ<br />

อาคารจึงออกแบบให้เป็นอาคารใต้ถุนสูง โดย<br />

คำานึงถึงสถิติระดับน้ำาในแม่น้ำาน่านเป็นตัวแปร<br />

สำาคัญในการกำาหนดความสูงของใต้ถุน หาก<br />

แม่น้ำาน่านไหลเข้ามาท่วมจนถึงบริเวณใต้ถุน<br />

ของอาคาร พื้นที่ส่วนของห้องงานระบบของ<br />

อาคารก็จะไม่ถูกน้ำาท่วมไปด้วย<br />

รูปแบบอาคารห้องพักทั้ง 9 หลัง ได้แนวคิดจาก<br />

รูปแบบเรือนพื้นถิ่นภาคเหนือ โดยเฉพาะรูปทรง<br />

หลังคาสอบ ทรงสูง สถาปนิกนำาเอาแนวคิดนี้เป็น<br />

ส่วนหนึ่งในออกแบบสถาปัตยกรรมให้กลายเป็น<br />

รูปแบบเฉพาะตัว การออกแบบผังบริเวณของ<br />

ห้องพักแต่ละหลังกำาหนดให้มีทางเข้าจากด้านข้าง<br />

ทำาให้ผังบริเวณมีลักษณะเหมือนเหมือนบ้าน 2 หลัง<br />

ที่ใช้ทางเข้าเดียวกัน โดยการเข้าถึงจะไม่สามารถ<br />

ตรงมาจากร้านอาหารหรือล็อบบี้ได้ทันที แต่ต้อง<br />

ลงไปตามถนนด้านล่าง และเข้าถึงได้จากบริเวณ<br />

เนินดินปลูกพันธุ์ไม้ท้องถิ่นที่ถมสูงไว้ข้างหลัง<br />

อาคาร เพื่อสร้างความเป็นส่วนตัวให้แก่บริเวณ<br />

ห้องพัก ถนนเส้นนี้เป็นถนนสำาหรับเชื่อมต่อพื้นที่<br />

ส่วนต่อขยายอื่น ๆ ของผังแม่บทที่จะเกิดขึ้นใน<br />

ภายหลัง เมื่อผ่านเนินดินขึ้นไปจะเป็นทางแยก<br />

ขึ้นอาคารห้องพัก 2 หลัง และมีการวางเส้นทาง<br />

การเดินให้อาคารพักแต่ละหลังสามารถเดินเชื่อม<br />

ถึงกัน รวมถึงเดินลงไปที่พื้นที่ใต้ถุนบ้านได้ หาก<br />

มองจากทางเข้าด้านหลังจะรู้สึกว่าเป็นอาคาร<br />

ชั้นเดียว แต่หากมองจากอีกฝั่งของโครงการจะ<br />

เห็นเป็นอาคาร 2 ชั้น ใต้ถุนสูง และเมื่อเข้ามาใน<br />

ตัวพื้นที่ห้องพัก จะให้ความรู้สึกเหมือนส่วนของ<br />

ห้องพักกำาลังลอยอยู่ท่ามกลางต้นไม้และผืนน้ำ า<br />

การออกแบบห้องพักแบบ Lagoon Villa เน้นรับ<br />

แสงธรรมชาติและมองเห็นภูมิทัศน์โดยรอบได้<br />

โดยแสงที่ส่องเข้ามาจะไม่ได้สว่างมากนัก ส่วน<br />

ห้องพักแบบ Sky Loft Villa เป็นห้องพักเพียงหลัง<br />

เดียวที่มีผังต่างจากห้องอื่น เนื่องจากถูกออกแบบ<br />

ให้มีชั้นลอยเป็นส่วนของเตียงนอนที่มีหลังคา<br />

โปร่งแสง (Skylight) เปิดรับแสง และห้องนั่งเล่น<br />

อยู่บริเวณด้านล่าง มุมมองจากตำาแหน่งที่ตั้งของ<br />

ห้องพักห้องนี้จะตรงกับบริเวณป่างิ้วที่เป็นพื้นที่<br />

ดินที่งอกใหม่พอดี


SOWING THE SEEDS<br />

39<br />

ผนังอาคารทั้งห้องพักและร้านอาหาร เป็นการ<br />

ก่อสร้างด้วยผนังดินอัด (Rammed Earth)<br />

ใช้วิธีการเดียวกันกับการทำาผนังคอนกรีตหล่อ<br />

โดยดินที่ใช้ในการก่อสร้างเป็นดินที่ขุดจากฝาย<br />

ในโครงการ ลักษณะของดินที่ได้จึงไม่ใช่ผนังดิน<br />

อัดสีส้มที่หลายคนคุ้นตา แต่ให้สีที่เป็นธรรมชาติ<br />

กลมกลืนกับพื้นที่โดยรอบ ความยากของงานนี้<br />

คือการเตรียมงานระบบที่ต้องเรียบร้อยตั้งแต่<br />

ในส่วนของแบบ รวมไปถึงปัญหาหน้างานที่อาจ<br />

เกิดขึ้น และทำาให้ต้องมีการปรับแก้หน้างานได้<br />

โครงสร้างหลังคาของส่วนห้องพักเป็นโครงสร้าง<br />

เหล็กทั้งหมด โดยมีรายละเอียดในการทำางาน<br />

ที่ละเอียดและท้าทาย เนื่องจากการออกแบบ<br />

ผนังอาคารเป็นผนังดินอัด โครงสร้างจึงต้องถูก<br />

ออกแบบให้ผนังดินอัดนี้สามารถรับน้ำาหนักของ<br />

หลังคาได้ การขึ้นรูปโครงสร้างหลังคาที่มีความ<br />

โค้งโดยเหล็ก นับเป็นงานที่ยากและมีความซับซ้อน<br />

ในการทำางานจึงต้องเริ่มจากการทำาต้นแบบ 1 หลัง<br />

แล้วจึงยกขึ้นไปวาง หลังจากนั้นจึงทำาซ้ำาแบบเดิม<br />

กับหลังต่อ ๆ ไป หลังคาทุกหลังใช้วัสดุมุงหลังคา<br />

แบบ Shingle Roof ซึ่งมีความทนทาน ป้องกัน<br />

ความร้อนจากแสงแดดได้ดี พร้อมให้พื้นผิวสัมผัส<br />

ที่ดูมีมิติ นอกจากวัสดุมุงหลังคาที่ต้องพิถีพิถันใน<br />

การเลือกแล้ว วิธีการปูหลังคายังมีความเฉพาะตัว<br />

คือการวางแนวให้ขนานไปกับขอบหลังคาซึ่งเป็น<br />

ขั้นตอนที่ใช้เวลาค่อนข้างมาก<br />

ทุกรายละเอียดของงานออกแบบ ตั้งแต่เครื่อง<br />

เรือน อ่างอาบน้ำา มือจับ ราวกันตก โคมไฟ<br />

หรือแม้กระทั่งกุญแจสำาหรับบ้านพัก เป็นการ<br />

ออกแบบขึ้นมาใหม่สำาหรับโครงการโดยเฉพาะ<br />

ส่วนของการตกแต่งภายในห้องพักยังได้รับ<br />

แรงบันดาลใจจากเรือนพื้นถิ่นที่มักจะมีพื้นที่<br />

สำาหรับแขวนสิ่งของต่าง ๆ เช่น พื้นที่แขวนโคม<br />

แต่งหน้า แขวนกระจก หรือชั้นวางของ<br />

การออกแบบของป่าทำามาที่เน้นการเลือกใช้วัสดุ<br />

ที่เน้นความยั่งยืน และความเหมาะสมในการดูแล<br />

รักษา รวมทั้งการออกแบบ Environmental<br />

graphic ที่ปรากฏตั้งแต่รูปแบบตัวอักษร ไปจน<br />

ถึงการเลือกใช้สี กราฟิค มีการปรับวิธีคิดและ<br />

นำาอัตลักษณ์ของพื้นที่มาใช้ ซึ่งนอกจากจะเป็น<br />

การออกแบบที่ IF เลือกหยิบความเป็น “พื้นถิ่น”<br />

มาจัดวางใหม่ร่วมกับความ “ร่วมสมัย” ใน<br />

แนวทางของ IF เอง ยังสะท้อนถึงการออกแบบ<br />

อย่างเคารพบริบทธรรมชาติเดิม และการใช้<br />

ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ให้ส่งเสริม<br />

คุณภาพของงานสถาปัตยกรรมแห่งนี้ ล้วนแสดง<br />

ให้เห็นถึงภาพการอยู่ร่วมอย่างเกื้อกูลกันของ<br />

มนุษย์และสภาพแวดล้อม<br />

03<br />

ทัศนียภาพของโครงการ<br />

ป่าทำามา<br />

3


4


04<br />

ภาพมุมสูงโครงการป่า<br />

ทำามา ครอบคลุมพื้นที่<br />

Patamma Hideaway<br />

Resort และร้านป่ากำากิ๋น


42<br />

theme / review<br />

One of the paramount goals of the North Forest Studio and<br />

its owner is to bring forestland back to the town. The name<br />

Patamma (the handmade woodland) epitomizes the genesis<br />

of the forest, sprouting forth from an abundance of youthful<br />

saplings that have been meticulously sown.<br />

In the Mueng Jang subdistrict of Phu Pieng district<br />

in Nan province, Thailand, lies an expansive rubber<br />

tree forest where the Nan River meanders through,<br />

offering visitors the opportunity to immerse themselves<br />

in the wonders of nature and the history<br />

of the land. Named “Patamma,” the project has<br />

Thanapolpoj Rochnattakul and Korkiat Kittisoponpong<br />

of Integrated Field (IF) helming the design<br />

direction, translating its story through a collaborative<br />

endeavor between experts from various professional<br />

fields. The design of the masterplan and landscape<br />

architecture for the expansive 197-acre site meticulously<br />

prepares it for forthcoming short-term and<br />

long-term developments. The tasks were carried<br />

out under the direction of North Forest Studio and<br />

the project owner. Integrated Field (IF), meanwhile,<br />

was assigned the role of crafting the architectural<br />

design, landscape architecture, interior decoration,<br />

brand identity, and environmental graphics for the<br />

project’s resort and restaurant, Pa Kam Kin.<br />

A substantial element of the project lies in the<br />

exquisitely verdant rubber tree forest greeting visitors<br />

at the entrance, while another parcel of land<br />

has been rearranged, following the owner’s vision<br />

to transform it into a forested area with agricultural<br />

plots. The trees that have been planted are not<br />

merely intended to achieve a large quantity and<br />

“create” a manmade forest, but rather represent<br />

a careful curation of indigenous flora, with each<br />

species cultivated in a designated area that suits<br />

its unique characteristics. One of the paramount<br />

goals of the North Forest Studio and its owner is<br />

to bring forestland back to the town. The name<br />

Patamma (the handmade woodland) epitomizes<br />

the genesis of the forest, sprouting forth from an<br />

abundance of youthful saplings that have been<br />

meticulously sown.<br />

05<br />

ทัศนียภาพมุมสูงของ<br />

โครงการครอบคลุม<br />

พื้นที่ Patamma<br />

Hideaway Resort<br />

และร้านป่ากำากิ๋น<br />

5


SOWING THE SEEDS<br />

43<br />

6<br />

06<br />

Patamma Hideaway<br />

Resort<br />

07<br />

ทัศนียภาพของตอนกลาง<br />

ของโครงการป่าทำามา<br />

7


44<br />

theme / review<br />

8<br />

08<br />

บริเวณทางเข้าร้าน<br />

ป่ากำากิ๋น<br />

09<br />

ร้านป่ากำากิ๋น<br />

10<br />

9


SOWING THE SEEDS<br />

45<br />

RESTAURANT PLAN<br />

11<br />

The developmental strategy employed for Patamma<br />

aims to not only cultivate and nurture a new woodland<br />

but also create a space that can have positive<br />

effects on the community. The project exemplifies a<br />

harmonious partnership between a visionary private<br />

owner and the public sector, working in tandem to<br />

sustainably improve Nan River, its surrounding areas<br />

and communities. In addition, the construction of<br />

meticulously designed weirs serves as a catalyst<br />

for efficiently regulating the river’s flow while simultaneously<br />

breathing new life into the ecosystem. The<br />

design of the project draws inspiration from the vast<br />

expanse of the flowing currents of the Nan River.<br />

The architectural design concept beautifully weaves<br />

together the essence of vernacular architecture and<br />

contemporary design, blending them into the visuals<br />

and functions of the restaurant and nine luxurious<br />

villas of the resort. The architectural composition<br />

eloquently embodies the quintessence of a vernacular<br />

home in the southern region, integrating<br />

bespoke elements that align with the project’s<br />

inherent character to craft a beautifully unique design<br />

language. Patamma is a creation that emerged from<br />

a masterplan that was meticulously developed and<br />

designed to be a home for young, freshly grown<br />

trees. These saplings exhibit a lengthy growth<br />

process, gradually transforming into exquisite<br />

specimens, akin to a front yard garden of one’s<br />

home that fosters a profound sense of attachment<br />

over the passage of time. The elevated roof, a<br />

quintessential architectural feature of vernacular<br />

dwellings in Nan province, renders a harmonious<br />

balance of shade and natural light. The architectural<br />

form takes cues from the organic contours of the<br />

river weir, seamlessly integrating the physicality<br />

of pebbles found in the river bed within its design.<br />

“Pa Kam Kin,” whose name is a clever play on words<br />

in the northern Thai language, is a restaurant nestled<br />

within Patamma’s premises. As the first architectural<br />

creation to ever be built on the land, the restaurant is<br />

intended to bring new heights of recognition among<br />

both locals and travelers to the project. Since its<br />

inception, “Pa Kam Kin” has emerged as one of the<br />

province’s prominent destinations that attracts Nan<br />

locals and travelers alike.<br />

10<br />

บริเวณด้านล่างของ<br />

ร้านป่ากำากิ๋น<br />

11<br />

ผังอาคารร้านป่ากำากิ๋น


46<br />

theme / review<br />

One of the interesting elements of the design of<br />

Pa Kam Kin is its incorporation of large wooden<br />

columns that support the roof. Despite the difference<br />

in proportions, the design of these columns unmistakably<br />

draws inspiration from the structural elements<br />

of Nan’s vernacular homes. The entryway functions as<br />

both the resort’s reception area and the restaurant’s<br />

entrance. The building’s exterior gives the impression<br />

of a single-level structure. Upon entering, the space<br />

unveils an additional floor below, featuring a seating<br />

area that seamlessly connects with the invigorating<br />

natural breeze. This particular area of the space has<br />

quickly become a favored spot among visitors, adding<br />

to the project’s popularity. The dining area and bar<br />

feature windows that naturally invite natural airflow<br />

into the space. The ceiling is made of artificial rattan,<br />

creating a visual harmony with the traditional use of<br />

rattan mats as a common feature in the architectural<br />

design of rural temples.<br />

Patamma Hideaway Resort features a collection of<br />

nine villas, with eight being the luxurious Lagoon Villa<br />

type and one being the Sky Loft Villa 1, thoughtfully<br />

situated alongside the scenic waterscape. According<br />

to the area plan, the nine villas appear to be a<br />

carefully arranged cluster of stones, alluding to the<br />

shape of pebbles typically found on the riverbed<br />

flowing through the property. The area plan has<br />

been designed to ensure a harmonious coexistence<br />

between the newly constructed structures and the<br />

existing trees. One of the design team’s aspirations<br />

is for the trees to flourish, gradually enveloping the<br />

villas within their expanding canopies over time.<br />

12<br />

12,14<br />

พื้นที่ภายในร้านป่ากำากิ๋น<br />

13<br />

พื้นที่นั่งภายในร้านป่ากำ ากิ๋น<br />

13


AT THE HEART OF IT<br />

47<br />

14


48<br />

theme / review<br />

2 BEDROOM MEZZANINE<br />

2 BEDROOM GROUND FLOOR<br />

<strong>15</strong><br />

The architects demonstrate the work’s high regard for<br />

pre-existing nature and the innovative and constructive<br />

use of local materials to improve the quality of the<br />

architecture, all representing a well-balanced coexistence<br />

between humans and the environment.<br />

16<br />

<strong>15</strong><br />

ผังห้องพัก Patamma<br />

Hideaway Resort<br />

16<br />

พื้นที่ทางเดินระหว่างวิลล่า<br />

Patamma Hideaway<br />

Resort<br />

17<br />

Patamma Hideaway<br />

Resort<br />

17


SOWING THE SEEDS<br />

49<br />

18<br />

18<br />

ภายในห้องพักแบบ<br />

Lagoon Villa<br />

Placing the villas adjacent to the river requires an<br />

understanding of the fluctuating water levels. The<br />

villas’ architecture takes the form of a stilt structure,<br />

with its height carefully determined based on<br />

recorded statistics of the Nan River’s water levels.<br />

In the event of rising water and potential flooding,<br />

the elevated structure ensures that the area housing<br />

each building’s system remains unaffected.<br />

Stylistically, the architecture of the nine villas is an<br />

evident adaptation of the vernacular abodes found<br />

in the northern region of Thailand, specifically the<br />

distinctive tapered and tall roof structure. Vernacular<br />

reinterpretation seems to be the underlying concept<br />

of the design. The entrance of each villa in the area<br />

plan is strategically positioned on the side, creating<br />

a layout where a pair of villas share a common<br />

entrance. Access to the villas is not available directly<br />

from the restaurant or lobby, but instead through a<br />

roadway below and a thoughtfully designed and<br />

constructed hill at the rear of each villa. The landscape,<br />

adorned with native plants, ensures that each<br />

villa enjoys a serene and secluded atmosphere. The<br />

path links to adjacent areas, including the designated<br />

potential expansions of the project. Beyond the hill,<br />

there is an additional route that guides visitors towards<br />

two other villas. The architect has envisioned<br />

a network of walkways that seamlessly connect all<br />

the buildings, descending to the area beneath the<br />

elevated floor. From the rear entrance, the buildings<br />

appear as single-story edifices, while from a<br />

different perspective, the villas stand as two-story<br />

stilt structures with elevated floors. Upon stepping<br />

into the villa, visitors will experience a sensation of<br />

weightlessness as the entire space appears to hover<br />

naturally above a serene body of water, surrounded<br />

by an aquatic mass and verdant landscape. The<br />

lagoon villa’s design places a strong emphasis on<br />

the abundant infusion of natural light and seamless<br />

connection to the surrounding terrain. The interior<br />

space of the lagoon villas boasts exceptional control<br />

over the permeation of light. The Sky Loft Villa,<br />

meanwhile, stands out from other villas due to its<br />

unique layout. It features a mezzanine level where the<br />

bedroom is situated beneath a skylight, while the<br />

living area is conveniently located on the ground floor,<br />

offering a stunning view of the recently expanded<br />

forest of red cotton trees.


50<br />

theme / review<br />

Rammed earth, a building technique comparable<br />

to cast concrete wall construction, is employed<br />

for the construction of the walls of the villas and<br />

the restaurant. The earth used for the project<br />

was sourced from the area around the weir inside<br />

the property, causing the hue to be less of the<br />

orange tone that most people are accustomed to<br />

but rather a more natural earth tone that blends<br />

in wonderfully with the surrounding environment.<br />

The most difficult aspect of this method was<br />

preparing the entire operation, from the working<br />

drawings to the possible on-site problems,<br />

allowing for on-site adjustments and solutions<br />

to be possible.<br />

19<br />

Each villa’s roof structure is entirely made of steel.<br />

Given the nature of the rammed earth walls, which<br />

are required and built to sustain the weight of the<br />

roof, the details are challenging and elaborate.<br />

The complicated construction of the arched steel<br />

structure was achieved through the use of a prefabricated<br />

prototype, which was then erected on<br />

site before the process was repeated with the other<br />

villas. All of the roofs are made of the shingle roof<br />

material, which provides longevity and efficient<br />

19<br />

ทัศนียภาพโดยรอบ<br />

Patamma Hideaway<br />

Resort<br />

20<br />

บริเวณระเบียงด้านนอก<br />

วิลล่า Patamma Hideaway<br />

Resort<br />

21-24<br />

พื้นที่ภายในวิลล่า<br />

Patamma Hideaway<br />

Resort<br />

20


SOWING THE SEEDS<br />

51<br />

21<br />

22<br />

23<br />

24<br />

solar shielding while offering dimensional texture<br />

and finish. Aside from the carefully selected roofing<br />

material, the technique itself had to be done in a<br />

particular way in order for the pattern to line with<br />

the roof’s edges, making the construction even<br />

more time-consuming.<br />

Every component of the design, from the furnishings<br />

to the bath tub, knobs, railings, lamps, and even<br />

the keys to the villas, is specifically designed for<br />

the project. With vernacular residential architecture<br />

as the apparent inspiration, the interior decoration<br />

of the villas frequently includes details of<br />

nooks and corners where furniture pieces are<br />

hung, such as the vanity set with lights, a mirror,<br />

a shelf, and so on.<br />

Patamma’s design emphasizes the use of sustainable<br />

materials that are easy to maintain. The environmental<br />

graphic design of the project, from the typeface to the<br />

color palette to the graphic elements, reflects a<br />

creative adaptation of local wisdom and identity.<br />

IF not only integrates and rearranges these ‘local’<br />

aspects to their own interpretation of ‘contemporary’<br />

design. The team demonstrates the work’s high<br />

regard for pre-existing nature as well as the innovative<br />

and constructive use of local materials to improve<br />

the quality of the architecture, all of which represent<br />

a well-balanced coexistence between humans and<br />

the environment.<br />

integratedfield.com<br />

Project: Patamma Architecture & Interior Design & Landscape Architecture: IF (Integrated Field) Masterplan &<br />

Landscape detail: North Forest Studio Lighting Designer: APLD Structural Engineer: WOR M&E Engineer: EXM<br />

Brand Identity and Environmental graphic: InFO<br />

ณัฐวดี สัตนันท์<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันกำาลัง<br />

ศึกษาต่อระดับปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น ที่คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร พร้อมกับการ<br />

ทำาบริษัทชื่อ “สนใจ” ที่<br />

ทำางานเรื่องการพัฒนา<br />

เมือง การให้คนเป็ นศูนย์-<br />

กลางและกระบวนการ<br />

มีส่วนร่วมในรูปแบบที่<br />

หลากหลาย<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

completed her bachelor’s<br />

degree in archaeology<br />

and is currently pursuing<br />

PhD in vernacular<br />

architecture at<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University.<br />

She is also a partner<br />

of “SONJAI”, a studio<br />

working on urban development,<br />

people-centered<br />

and participatory<br />

process in various<br />

means.


52<br />

theme / review<br />

Think<br />

Tank<br />

1<br />

In Tha Chalom, Arsom Silp Institute’s team of architects has renovated<br />

an old water tower into a new public library.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo Courtesy of Arsomsilp Community and Environmetal Architect and Sirirath Somsawat<br />

except as noted


01<br />

หอเก็บน้ำของเทศบาล<br />

นครสมุทรสาครที่ถูก<br />

ปรับปรุงใหม่เป็นห้องสมุด<br />

02<br />

โครงสร้างเหล็กของ<br />

ห้องสมุดเก๋งเรือที่ถูก<br />

ออกแบบให้เกาะลดหลั่น<br />

อยู่กับโครงสร้างคอนกรีต<br />

เสริมเหล็กเดิม<br />

2


54<br />

theme / review<br />

ชุมชนตลาดท่าฉลอม หรือตลาดท่าจีน ภายใต้<br />

การดูแลของเทศบาลนครสมุทรสาครในปัจจุบัน<br />

เป็นชุมชนที่เกิดขึ้นมาจากการเป็นท่าเรือประมง<br />

ที่มีชุมชนชาวจีนและชาวไทยตั้งถิ่นฐานมาอย่าง<br />

ยาวนาน เมื่อท่าฉลอมมีสัดส่วนของประชากรแฝง<br />

แรงงานต่างชาติมากขึ้นจากภาคอุตสาหกรรม<br />

การประมงที่ขยายตัว สัดส่วนของประชากรใน<br />

ชุมชนเปลี่ยนแปลงไป ทำให้โครงสร้างของชุมชน<br />

มีสัดส่วนของกลุ่มผู้สูงอายุสูงขึ้น เพราะกลุ่มวัย<br />

แรงงานชาวไทยอยู่ในพื้นที่อื่น และชุมชนเองขาด<br />

พื้นที่สาธารณะที่รองรับความต้องการพื้นฐานของ<br />

คนในชุมชนทุกช่วงวัย และทุกกลุ่ม ภายหลังจาก<br />

การระดมความคิดเห็นจากคนในชุมชน พบว่ามี<br />

ความต้องการที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ห้องสมุด<br />

พื้นที่ออกกำลังกาย จุดต้อนรับนักท่องเที่ยว พื้นที่<br />

ทำกิจกรรมกลางแจ้ง และต้องสะท้อนอัตลักษณ์<br />

ความเป็นท่าฉลอมไปในเวลาเดียวกัน ดังนั้นจึง<br />

นำมาสู่โครงการห้องสมุดเก๋งเรือลอยฟ้าท่าฉลอม<br />

จากความต้องการพื้นที่สาธารณะของชุมชน<br />

“เราเริ่มต้นจากการรับฟังความคิดเห็นจากการ<br />

สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน เพื่อหา<br />

ความต้องการพื้นฐานจากผู้ใช้ในชุมชน ไปพร้อม<br />

กับการพูดคุยกับภาคีเครือข่าย โดยได้ความ<br />

อนุเคราะห์จากเทศบาลนครสมุทรสาครในการ<br />

อำนวยความสะดวกด้านพื้นที่ตั้ง บุคลากร และ<br />

งบประมาณส่วนใหญ่ในการดำเนินงานโครงการ<br />

ครั้งนี้” คุณอิสริยา ปุณโณปถัมภ์ สถาปนิกชุมชน<br />

จากสถาบันอาศรมศิลป์กล่าวถึงขั้นตอนการทำงาน<br />

ที่ตั้งโครงการบนพื้นที่ขนาด 2 ไร่ 2 งาน ของ<br />

ศูนย์บริการสาธารณสุข ซึ่งมีหอเก็บน้ำเดิมที่เคย<br />

ถูกใช้หล่อเลี้ยงชุมชนตั้งอยู่ โดยในอดีตโครงสร้ าง<br />

ดังกล่าวเป็นหอเก็บน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค<br />

เดิมของเทศบาล และถูกทิ้งร้างมากว่า 35 ปี<br />

ด้วยความหวังว่าจะให้โครงการดังกล่าวเป็นพื้นที่<br />

สาธารณะของชุมชน ผ่านการออกแบบให้เป็น<br />

ห้องสมุดสาธารณะ เนื่องด้วยการใช้ประโยชน์ที่ดิน<br />

ของชุมชนท่าฉลอมส่วนใหญ่เป็นพื้นที่อุตสาหกรรม<br />

ท่าเรือ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์จากการประมง<br />

พื้นที่สาธารณะในเมืองมีอยู่อย่างจำกัด และความ<br />

มุ่งหมายอีกประการของโครงการคือการสร้าง<br />

พื้นที่สำหรับรองรับต่อการเกิดกิจกรรมใหม่ ๆ ของ<br />

ชุมชน เช่น กิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชน ที่ชุมชน<br />

ท่าฉลอมกำลังดำเนินนโยบายพัฒนาชุมชนจาก<br />

รากฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ามกลางสภาวะวิกฤติ<br />

จากอุตสาหกรรมประมงเดิมที่กำลังซบเซา<br />

ในแง่ของรูปแบบสถาปัตยกรรม ด้วยความ<br />

ต้องการของชุมชนให้อาคารสะท้อนถึงตัวตน<br />

ความเป็นท่าฉลอม ชาวบ้านจึงลงความเห็นกัน<br />

ว่าอัตลักษณ์เด่นของท่าฉลอม คือเรือประมง เรือ<br />

เป็นหัวใจสำคัญของท่าฉลอม ทีมนักออกแบบ<br />

จึงออกแบบคลี่คลายรูปทรงของเก๋งเรือให้เกาะ<br />

อยู่ในโครงสร้างเดิมของหอเก็บน้ำ โดยคำนึงถึง<br />

รูปทรงของช่องเปิด ขนาด และสัดส่วนของเก๋ง<br />

เรือจริง<br />

ด้านโครงสร้างของหอเก็บน้ำ ทีมผู้ออกแบบได้<br />

ค้นหาแบบก่อสร้างของหอเก็บน้ำเดิม แต่ไม่<br />

สามารถค้นหาพบเนื่องจากสถาปัตยกรรมก่อสร้าง<br />

มานานแล้ว ดังนั้นจึงต้องตรวจประเมินสภาพ<br />

อาคาร โดยได้รับความช่วยเหลือจากทีมวิศวกร<br />

โยธาของทางเทศบาลนครสมุทรสาครในการช่วย<br />

ประเมิน นำมาซึ่งการออกแบบโครงสร้างเหล็ก<br />

ติดตั้งเข้าไปกับส่วนโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

เดิม ซึ่งโครงสร้างเดิมถูกออกแบบไว้สำหรับรับ<br />

น้ำหนักของน้ำปริมาณมาก การเสริมโครงสร้าง<br />

เหล็กเข้าไปในโครงสร้างเก่าจึงไม่เป็นปัญหา<br />

ต่อการคำนวณการรับแรงของการใช้สอยตาม<br />

รูปแบบโครงสร้างใหม่แต่อย่างใด ด้วยเหตุนี้<br />

ทีมผู้ออกแบบ และทีมวิศวกร จึงลงความเห็น<br />

ร่วมกันในการพัฒนาโครงสร้างเหล็กขึ้นในส่วน<br />

ของปริมาตรที่ว่างของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กเดิม<br />

ของหอเก็บน้ำ<br />

ในส่วนของงานออกแบบภูมิทัศน์ทีมผู้ออกแบบได้<br />

วางผังบริเวณ “ลานบ้านท่าฉลอม” อันประกอบ<br />

ด้วยพื้นที่หลายส่วน คือ ลานกีฬาไทย ลานโพงพาง<br />

ลานเดินกะลา ลานโป๊ะยก เหยียด ลานทำการบ้าน<br />

ลานไต้ก๋งน้อย (สนามเด็กเล่น) บ่อทราย ซึ่ง<br />

เป็นพื้นที่ลานกิจกรรมที่ถูกออกแบบให้เป็นพื้นที่<br />

รองรับกิจกรรมในแต่ละฐาน ส่วนลานกิจกรรม<br />

กลางแจ้ง และสนามเด็กเล่น เป็นพื้นที่ออกกำลัง<br />

กายกลางแจ้งที่ทีมออกแบบได้ออกแบบภูมิทัศน์<br />

และเฟอร์นิเจอร์ลอยตัวของเครื่องเล่นเอาไว้วาง<br />

บนโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กของโครงสร้าง<br />

ถังเก็บน้ำใต้ดินเดิม เรียกว่ า “สนามเด็กเล่นไต้ก๋ง<br />

น้อย” พื้นที่ดังกล่าวเป็นลานกิจกรรมกลางแจ้งที่<br />

ชุมชนต้องการให้เป็นพื้นที่ออกกำลังกาย ลู่วิ่ง<br />

รอบพื้นที่ของโครงการ ส่วนสนามกีฬากลางแจ้งนี้<br />

เชื่อมต่อกับส่วนม้านั่งไม้โค้งชั้นล่างสุดของหอ<br />

เก็บน้ำ ในพื้นที่ส่วนนี้ผู้ออกแบบได้กำหนดให้เป็น<br />

พื้นที่ใต้ถุนของห้องสมุดสำหรับนั่งพักผ่อน พูดคุย<br />

ระหว่างวัน<br />

บันไดพื้นที่ชั้น 2 เป็นพื้นที่ส่วนการเรียนรู้<br />

อเนกประสงค์สำหรับเด็ก ถูกออกแบบให้เป็น<br />

บันไดเวียนขึ้นไปที่ชั้น 3 ซึ่งเป็นส่วนพื้นที่นั่งอ่ าน<br />

หนังสือ ห้องสมุด ทำการบ้าน ก่อนที่จะขึ้นบันได<br />

ไปสู่จุดชมวิวด้านบนสุดของโครงการ ที่จะมอง<br />

เห็นทัศนียภาพของชุมชนท่าฉลอมจากพื้นที่ของ<br />

หอเก็บน้ำเดิม มุมมองดังกล่าวเปิดให้เห็นคุ้งน้ำ<br />

ท่าเรือประมง พื้นที่พักอาศัยเกือบทั้งหมดของ<br />

ท่าฉลอม ซึ่งนับว่าเป็นรูปแบบโครงการปรับปรุง<br />

พื้นที่สร้างจุดชมวิวที่น่าสนใจ โดยไม่จำเป็นต้อง<br />

สร้างอาคารหอชมทัศนียภาพใหม่แต่อย่างใด<br />

ในส่วนของการออกแบบภายในนักออกแบบได้<br />

ออกแบบองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับเรือ ไม่ว่า<br />

จะเป็น เชือกเรือ เสากระโดงเรือ พังงาเรือจำลอง<br />

อุปกรณ์บนเรือ เพื่อสร้างให้เกิดกระบวนการ<br />

เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของเรือให้กับเด็ก ๆ<br />

นักท่องเที่ยว หรือผู้ที่มาเยี่ยมชม<br />

จากมุมมองของการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

เพื่อความยั่งยืน โครงการห้องสมุดสาธารณะ<br />

ชุมชนท่าฉลอมนี้ เป็นหนึ่งในรูปแบบการพัฒนา<br />

พื้นที่บราวน์ฟิลด์ (Brownfield development)<br />

ซึ่งเป็นการปรับปรุงสถาปัตยกรรม เพื่อการ<br />

ใช้งานอุตสาหกรรม หรือเพื่อตอบสนองต่อ<br />

วัตถุประสงค์ของเงื่อนไขทางสังคมในบริบท<br />

แบบหนึ่ง เมื่อเงื่อนไขและบริบททางสังคม<br />

เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้สถาปัตยกรรมเดิมถูก<br />

ทิ้งร้าง การฟื้นฟูสถาปัตยกรรมเก่า ตลอดจน<br />

การออกแบบภูมิทัศน์เพื่อตอบสนองต่อเงื่อนไข<br />

ทางสังคมแบบใหม่นี้ จึงน่าจะเป็นแนวโน้มใน<br />

อนาคตของการฟื้นฟูและพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน<br />

ด้วยการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานเดิม<br />

ที่มีศักยภาพ มาพัฒนาใหม่เป็นสถาปัตยกรรม<br />

เพื่อสาธารณะ<br />

“การนำเอาโครงสร้างของหอเก็บน้ำเก่ามาใช้<br />

ปรับปรุงเพื่อตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอยใหม่<br />

เป็นโครงการที่ให้ผลลัพธ์ได้น่าสนใจ เพราะเรา<br />

ได้พลิกฟื้นสิ่งปลูกสร้างเก่าให้กลับมามีชีวิต<br />

ที่ตอบสนองวิถีชีวิตในปัจจุบัน และสร้ างแรง-<br />

บันดาลใจให้เกิดกับผู้ใช้อาคารได้อย่างสร้างสรรค์”<br />

อิสริยา ปุณโณปถัมภ์ กล่าวเสริมท้ายถึงการ<br />

ถอดบทเรียนที่ได้จากการออกแบบปรับปรุง<br />

พื้นที่โครงการห้องสมุดเก๋งเรือลอยฟ้าท่าฉลอม


THINK TANK<br />

55<br />

03<br />

ภาพมุมสูงของโครงการ<br />

อยู่บริเวณที่ดินติดกับ<br />

วงเวียนท่าฉลอม ใจกลาง<br />

ของชุมชนท่าฉลอม<br />

04<br />

ผังบริเวณของโครงการ<br />

3<br />

11<br />

12<br />

3<br />

3<br />

6<br />

5<br />

4<br />

SITE PLAN<br />

5 M<br />

2 <strong>15</strong><br />

1. MAIN ENTRANCE<br />

2. THE BOAT LIBRARY /<br />

VIEWING POINT<br />

3. MASSAGE WALKWAY<br />

4. EXERCISE COURT<br />

5. GATHERING PLAZA<br />

6. GATHERING PLAZA<br />

7. TAI KONG PLAYGROUND<br />

8. HAND WASHING SPOT<br />

9. THA CHALOM PLAZA<br />

10. BODY STRETCHING COURT<br />

11. SUB ENTRANCE<br />

12. JOGGING TRACK<br />

13. SEATING AREA<br />

14. THE TERRACE<br />

<strong>15</strong>. BIKE / MOTORBIKE PARKING<br />

16. FLAG POLE<br />

17. WALKWAY<br />

10<br />

13<br />

9<br />

12<br />

14<br />

17<br />

8<br />

16<br />

7<br />

1<br />

4


56<br />

theme / review


THINK TANK<br />

57<br />

A range of amenities, including<br />

a library and workout space,<br />

a tourist greeting center, and an<br />

outdoor recreational area, were<br />

decided through community member<br />

participation; future improvements<br />

should be consistent with Tha-<br />

Chalom’s identity. As a result of the<br />

community’s need for public space,<br />

the Tha Chalom Sky Boat Library<br />

concept was born.<br />

Tha Chalom Market Community, alternatively<br />

known as Tha Chin Market, is a municipalitysupervised<br />

community that originated as a fishery<br />

port and is presently under the jurisdiction of<br />

Samut Sakhon. Long ago, the Chinese and Thai<br />

communities established themselves in the region.<br />

The proportionate population has changed in<br />

Tha Chalom due to the influx of foreign laborers<br />

from the expanding fishing industry, which has<br />

increased the proportionate population. This<br />

results in a greater proportion of older individuals<br />

in the community structure, as Thais of working<br />

age have relocated to other regions. Additionally,<br />

the community requires additional public space<br />

that accommodates individuals of all ages and<br />

demographics. Through community member input,<br />

it was determined that a variety of amenities were<br />

required, including a library and exercise area,<br />

a tourist reception area, and an outdoor activity<br />

area; further developments should be consistent<br />

with Tha Chalom’s identity. Consequently, the<br />

Tha Chalom Sky Boat Library initiative arose in<br />

response to the community’s demand for public<br />

space.<br />

05<br />

ห้องสมุด และพื้นที่อเนก-<br />

ประสงค์ในโครงสร้างเหล็ก<br />

ถูกบรรจุอยู่ในปริมาตร<br />

ที่ว่างของเสาคอนกรีต<br />

เสริมเหล็กเดิมของหอ<br />

เก็บน้ำ<br />

5<br />

“We began by soliciting feedback, establishing<br />

a community engagement procedure to identify<br />

the fundamental requirements of community<br />

members, and consulting with network partners.”<br />

“The Samut Sakhon Municipality assisted us in<br />

securing the site, personnel, and the majority of<br />

the funding necessary to execute this endeavor,”<br />

explained Isariya Poonnopatham, a community<br />

architect from the team of Arsom Silpa Institute,<br />

regarding the operational procedures.


58<br />

theme / review<br />

Viewing Point<br />

4TH FLOOR PLAN<br />

VIEWING POINT<br />

06<br />

ผังพื้นของห้องสมุด<br />

เก๋งเรือ<br />

07<br />

ภาพตัดของห้องสมุด<br />

เก๋งเรือ<br />

Terrace<br />

The Boat Library<br />

Roof Line<br />

3RD FLOOR PLAN<br />

THE BOAT LIBRARY<br />

Balcony<br />

The Boat Library<br />

Roof Line<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

THE BOAT LIBRARY<br />

Relaxing Area<br />

Roof Line<br />

6<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

RELAXING AREA<br />

SECTION<br />

7


THINK TANK<br />

59<br />

8<br />

08<br />

พื้นที่ใต้ถุนของห้องสมุด<br />

สำหรับนั่งพักผ่อน พบปะ<br />

พูดคุย<br />

The site of the project is situated on a 2-rai 2-ngan<br />

section of the Public Health Service Center, which<br />

once supplied the community with water from its<br />

original tower. The structure, formerly the municipal<br />

water tower designated for internal use, has been<br />

deserted for over three-and-a-half decades. In an<br />

effort to create a communal space, the structure<br />

was intentionally planned as a public library. This<br />

is because the Tha Chalom community’s land is<br />

predominantly utilized for industrial purposes,<br />

including a port and a fishery product processing<br />

facility. Limited public space exists within the city.<br />

Additionally, the project endeavors to establish<br />

a venue that can facilitate emerging community<br />

endeavors, including community tourism, when the<br />

community is attempting to implement its development<br />

policies rooted in local culture amidst a<br />

stagnant fisheries industry crisis.<br />

The community had an architectural inclination<br />

towards the building’s embodiment of Tha Chalom’s<br />

identity. Consequently, community members reached<br />

a consensus that the fishing boat constitutes the<br />

unique identifier of Tha Chalom; the essence and<br />

beating heart of Tha Chalom are the boats. In light<br />

of this, the design team devised a method for<br />

disassembling the ship’s sedan to accommodate<br />

the water tower’s original structure. This involved<br />

considering the shape and size of the openings<br />

and the proportion of the actual boat’s cabin.


60<br />

theme / review<br />

Concerning the water tower’s structure, the design<br />

team initially attempted to locate construction plans<br />

for the original tower but was unsuccessful due to<br />

the tower’s antiquity as a structure. As a result, an<br />

inspection of the building’s condition is required.<br />

A group of civil engineers from the Samut Sakhon<br />

Municipality assisted them with the evaluation, which<br />

prompted the suggestion that a steel structure be<br />

added to the original reinforced concrete structure.<br />

Since the initial structure was intended to support<br />

the weight of large volumes of water, it is acceptable<br />

to incorporate the steel structure into the old<br />

structure in order to calculate the forces that can<br />

be applied to the new structure. Consequently, the<br />

design and engineering groups agreed to fabricate<br />

a steel framework within the void created by the<br />

initial reinforced concrete column of the water tower.<br />

9<br />

09<br />

บันไดเวียนที่เข้าถึงพื้นที่<br />

ส่วนนั่งอ่านหนังสือ และ<br />

ห้องสมุด<br />

10<br />

พื้นที่อเนกประสงค์ภายใน<br />

สำหรับทำกิจกรรมของเด็ก<br />

ที่ยังคงมีเสาคอนกรีตเดิม<br />

ของหอเก็บน้ำอยู่<br />

The community members reached a consensus that the fishing<br />

boat constitutes the unique identifier of Tha Chalom; the essence<br />

and beating heart of Tha Chalom are the boats. In light of this, the<br />

design team devised a method for disassembling the ship’s sedan<br />

to accommodate the water tower’s original structure. This involved<br />

considering the shape and size of the openings and the proportion<br />

of the actual boat’s cabin.<br />

11<br />

โครงสร้างเหล็กที่ถูก<br />

ออกแบบให้มีระยะของ<br />

การลดหลั่นจากโครงสร้าง<br />

คานเหล็กยื่นที่แตกต่างกัน<br />

10


61<br />

11


62<br />

theme / review<br />

12<br />

ส่วนพื้นที่นั่งอ่านหนังสือ<br />

ห้องสมุด ทำการบ้านที่<br />

พื้นที่ใช้สอยภายในชั้น 3<br />

13<br />

ทัศนียภาพของระเบียง<br />

บริเวณชั้น 3 และส่วนชม<br />

วิวท่าฉลอมที่ชั้น 4<br />

12<br />

Concerning the landscape design, the design<br />

team had proposed various sections of “Ban Tha<br />

Chalom yard” as follows: The Thai sports yard,<br />

The Pong Phang yard, The bowl walking yard,<br />

The raised pontoon yard, The stretching yard,<br />

The assignment yard, and The Tai Kong Noi yard<br />

which is a playground features a sandpit, an area<br />

specifically designed to facilitate activities at<br />

each base. The design team constructed floating<br />

furniture and an outdoor activity area within the<br />

former underground water storage tank structure,<br />

“Tai Kong Noi Playground.” These exercises are<br />

accompanied by landscape elements and outdoor<br />

activity areas. The playground itself is a reinforced<br />

concrete structure. The area is designated<br />

for outdoor activities, and the community desires<br />

that it be transformed into a running track encircling<br />

the project site. This outdoor arena is connected<br />

to the curved wooden benches at the base<br />

of the water tower. The designer has arranged a<br />

designated space beneath the library for daytime<br />

seating, socializing, and informal conversations.<br />

13


THINK TANK<br />

63<br />

14<br />

สนามเด็กเล่นไต้ก๋งน้อย<br />

วางอยู่บนโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กของ<br />

ถังเก็บน้ำใต้ดินเดิมของ<br />

หอเก็บน้ำ<br />

14<br />

For children, the staircase on the second floor<br />

serves as a versatile learning space. The staircase<br />

is conceptualized as a spiral that ascends to the<br />

third floor, where one will find a library, study area,<br />

and homework area. From there, one will ascend to<br />

the observation terrace situated atop the undertaking,<br />

from which one can enjoy the view of the<br />

Tha Chalom community from the vicinity of the<br />

former water tower. The riverbank, fishing pier, and<br />

nearly all residential areas of Tha Chalom are visible<br />

from this vantage point. This endeavor aims to<br />

enhance the vicinity and establish a captivating<br />

vantage point without constructing an additional<br />

observatory structure.<br />

Regarding the interior design, the designers incorporated<br />

ship-related components—including ship<br />

ropes, masts, rudders, and other boat equipment—<br />

to educate children, travelers, and visitors about<br />

the intricacies of ships.<br />

The Tha Chalom Community Public Library project<br />

can be classified as a brownfield development from<br />

a sustainable architecture standpoint. Brownfield<br />

development refers to architectural construction<br />

intended for industrial purposes or in response to<br />

the demands of social conditions within a specific<br />

context. The initial architectural design was discontinued<br />

after a transformation in social conditions<br />

and contextual factors. As a result, a forthcoming<br />

trend in sustainable urban rehabilitation and development<br />

is expected to be the restoration of historic<br />

architecture and landscape design in light of these<br />

new social conditions. This approach capitalizes<br />

on the potential of pre-existing infrastructure to be<br />

repurposed into public architecture.<br />

“The project, adapting the old water tower’s structure<br />

to accommodate its new functions, has yielded<br />

noteworthy outcomes since we have renovated<br />

historic structures to facilitate their adaptation<br />

to the modern way of life and to provide building<br />

occupants with innovative inspiration,” Isariya<br />

Poonnopatham shared the insights gained from<br />

the renovation of the Tha Chalom project’s design.<br />

arsomsilp.ac.th<br />

Project: Tha Chalom Sky Boat Library Client: Samutsakhon Municipality Location: Tha Chalom Public Health Service Center<br />

Architect: Arsomsilp Community And Environmental Architect Co.,Ltd. Project Team: Prayong Posriprasert, Chaiwat Mekdee,<br />

Isariya Poonnopatham, Teerapat Krudnguen, Naruemol Poldongnok, Siyapak Numthai Structural Engineer: Samutsakhon<br />

Municipality Contractor: Shinaphak Concrete Co.,Ltd. Land Area: 4,000 Sq.m. Building Area: 100 Sq.m. Completion: 2021<br />

Materials: Steel, Aluminum<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

ปั จจุบันเป็ นหัวหน้านักวิจัย<br />

สำารวจภาคสนามให้กับ<br />

Maritime Asia Heritage<br />

Survey Thailand Project<br />

มหาวิทยาลัยเกียวโต<br />

ประเทศญี่ปุ ่น และนักศึกษา<br />

ปริญญาเอกสาขาสถา-<br />

ปั ตยกรรมพื้นถิ ่น คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สนใจศึกษามรดกทาง<br />

วัฒนธรรมและขณะนี้<br />

กำาลังทำาวิจัยเกี่ยวกับ<br />

สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง<br />

ในพื้นที่ภูมิทัศน์วัฒนธรรม<br />

มลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is a Field Team Leader<br />

of the Maritime Asia<br />

Heritage Survey Thailand<br />

Project, Kyoto<br />

University, Japan, and<br />

a vernacular architecture<br />

Ph.D. candidate<br />

at Silpakorn University.<br />

His research on the<br />

built environment of<br />

the Malay cultural<br />

landscape is being<br />

done out of a passion<br />

for cultural heritage.


64<br />

theme / review<br />

Here,<br />

There,<br />

and<br />

Everywhere<br />

AMA Design Studio and Urbanis have designed an office building using<br />

a vertical landscape that functions as a forest, imbuing the building’s<br />

functional space with a beautiful, natural ambiance while complementing<br />

its energy efficiency and providing thermal comfort to users.<br />

Text: Rangsima Arunthanavut<br />

Photo Courtesy of AMA Design Studio and Rungkit Charoenwat except as noted


1<br />

01<br />

ฟาซาดอาคารที่ถูกออกแบบ<br />

ให้เกิดช่องเปิดเพื่อสอดรับ<br />

กับหลักการไหลเวียนของ<br />

แสง และลม


66<br />

theme / review<br />

นอกจากอาคารสำานักงานยุคใหม่จะมีแนวคิดที่เป็น<br />

มิตรต่อวิถีการทำางานของเหล่ามนุษย์เงินเดือนแล้ว<br />

ในยุคปัจจุบันอาคารเหล่านี้ยังหันมาใส่ใจและเลือก<br />

ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมธรรมชาติ จนเกิด<br />

เป็นอาคารประหยัดพลังงานที่ดีต่อทั้งมนุษย์และ<br />

สิ่งแวดล้อม ซึ่งหนึ่งในอาคารที่ว่านี้ คืออาคาร<br />

สำานักงานแห่งใหม่ของ OSD Company Limited<br />

บริษัทด้านเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีอายุกว่า 20 ปี<br />

ผลงานการออกแบบจากทีมสถาปนิก AMA Design<br />

Studio และภูมิสถาปนิกจาก URBANIS<br />

เดิมทีบริษัท OSD Company Limited เคยตั้งอยู่<br />

ในอาคารทาวน์โฮมหลายหลังที่เกิดจากการขยับ<br />

ขยายไปตามช่วงเวลา จนกระทั่งบริษัทเริ่มเติบโต<br />

และถึงเวลามองหาสถานที่ใหม่ที่เพียงพอต่อความ<br />

ต้องการของพนักงาน จึงนำามาซึ่งโครงการออกแบบ<br />

สำานักงานแห่งใหม่บนที่ดินในซอยรามอินทรา 20<br />

โจทย์ของการออกแบบเริ่มต้นจากสองเจ้าของผู้-<br />

บริหารที่มาพร้อมความต้องการให้อาคารแห่งใหม่<br />

สะท้อนภาพลักษณ์องค์กร สามารถรองรับลูกค้า<br />

จัดกิจกรรมประจำาปี และเปิดรับกลุ่มนักศึกษาจาก<br />

มหาวิทยาลัยที่จะมาเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาเชิง<br />

ปฏิบัติการ และที่สำาคัญคือพนักงานต้องอยู่สบาย<br />

ท่ามกลางพื้นที่ธรรมชาติ ซึ่งเป็นความชอบส่วนตัว<br />

ของทางเจ้าของ ช่วยสร้างพื้นที่คลายเครียดที่ไม่ใช่<br />

เพียงแค่นั่งโต๊ะทำ างาน แต่ยังมีพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ<br />

เพื่อกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้มากขึ้น<br />

“ด้วยความที่เจ้าของไม่ได้ต้องการพื้นที่สีเขียวที่แค่<br />

มองแล้วสวย แต่เขาต้องการพื้นที่ส่วนกลาง เพื่อ<br />

การพักผ่อนของพนักงาน ที่ทั้งสามารถมองเห็น<br />

และสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ในไอเดียเริ่มต้น<br />

เราเลยมองว่า เราจะแบ่งพื้นที่สีเขียวนี้ กระจาย<br />

ออกและแทรกไปในแต่ละชั้น ด้วยการเรียงพื้นที่<br />

ใช้สอยทั้งหมดไว้ตรงกลางของอาคาร ก่อนจะห่อ<br />

หุ้มด้วยพื้นที่สีเขียว รวมถึงจะมีการคว้านพื้นที่<br />

ตรงกลางบางส่วน เพื่อแทรกพื้นที่สีเขียวลงไปอีก<br />

ชั้น ซึ่งเรามองว่าไอเดียนี้สามารถตอบโจทย์ความ<br />

ต้องการได้ค่อนข้างครบ ในขณะที่ยังใช้พื้นที่อาคาร<br />

ได้อย่างคุ้มค่า”<br />

พื้นที่ใช้สอยแต่ละส่วนที่เกี่ยวเนื่องถูกออกแบบให้อยู่<br />

บริเวณใกล้กัน จัดเรียงภายในอาคาร 4 ชั้นรวมถึง<br />

ดาดฟ้า โดยทีมสถาปนิกออกแบบชั้น 1 ให้เปิดโล่ง<br />

และยกส่วนของพื้นที่สำานักงานไปที่ชั้นบน ทำาให้<br />

ชั้น 1 กลายเป็นพื้นที่ใช้สอยที่ค่อนข้างสาธารณะ<br />

เพื่อใช้ในการต้อนรับลูกค้า และมีลักษณะคล้าย<br />

ใต้ถุนที่สามารถแทรกพื้นที่สีเขียวได้อย่างเต็มที่<br />

เปิดให้ลมธรรมชาติไหลเวียนได้เกือบตลอดเวลา<br />

ซึ่งห้องประชุมทั้ง 3 ห้องในโซนด้านขวาของชั้น<br />

ยังกระจายตัวเสมือนลอยอยู่บนบ่อน้ำ าท่ามกลาง<br />

ภูมิทัศน์ ที่นอกจากจะช่วยสร้างบรรยากาศในการ<br />

ทำางานแล้ว ยังกลายเป็นภาพประทับใจในการ<br />

ต้อนรับแขกผู้มาเยือนได้เป็นอย่างดี<br />

ในส่วนของชั้น 2 เป็นพื้นที่สำ านักงาน แบ่งเป็น<br />

แผนกต่าง ๆ ตั้งแต่ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ายธุรการ<br />

ฝ่ายขาย โดยห้องทำางานของทุกฝ่ายจะถูกกั้นด้วย<br />

กระจกเพื่อเปิดมุมมองให้สามารถมองเห็นพื้นที่<br />

สีเขียวเป็นจุดพักสายตา และในขณะเดียวกันก็ยัง<br />

สามารถมองเห็นการทำางานของฝ่ายอื่น ๆ ได้ด้วย<br />

เช่นกัน ส่วนบริเวณปีกขวาของชั้นเป็นโซนห้อง<br />

ทำางานของสองผู้บริหารรวมถึงห้องรับรองแขก<br />

ซึ่งเป็นทิศทางที่สามารถมองเห็นวิวยอดไม้สีเขียว<br />

จากบริบทรอบด้านได้สวยงามที่สุด<br />

ชั้น 3 เป็นโซนระบบปฏิบัติการช่างที่รวมพื้นที่<br />

ทำางานของฝ่ายวิจัยและพัฒนา ห้องเซิร์ฟเวอร์<br />

ห้องมอนิเตอร์ และห้องทดสอบอุปกรณ์ ที่สามารถ<br />

เปิดให้นักศึกษาเข้ามาเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสัมมนา<br />

เชิงปฏิบัติการได้ ในขณะที่ชั้น 4 เป็นห้องประชุม<br />

ขนาดใหญ่สำาหรับจัดเลี้ยง ห้องออกกำ าลังกาย<br />

สำาหรับพนักงาน และส่วนสำานักงานฝ่ายบัญชีที่<br />

แยกตัวมาอยู่ที่ชั้นนี้ เนื่องจากรูปแบบการทำ างาน<br />

ไม่ต้องข้องเกี่ยวกับฝ่ายอื่น ๆ และต้องการความ<br />

เป็นส่วนตัว ต่อเนื่องจากบริเวณชั้น 4 มีทางเดิน<br />

เชื่อมสู่สวนดาดฟ้าที่สามารถใช้งานเป็นพื้นที่<br />

จัดเลี้ยงกลางแจ้ง หรือบางเวลาก็กลายเป็นพื้นที่<br />

พักผ่อนหย่อนใจที่พนักงานสามารถมารับลม ชม<br />

ธรรมชาติเพื่อเปลี่ยนบรรยากาศได้บ้างในวันทำ างาน<br />

ความพิเศษ คือที่บริเวณชั้น 2 ชั้น 3 และชั้น 4 นี้<br />

ถูกออกแบบโดยแทรกพื้นที่สีเขียวเข้าไปโดยรอบ<br />

ของอาคาร ส่วนบริเวณใจกลางเป็นทางเดินขนาด<br />

ใหญ่ทำาหน้าที่แจกจ่ายไปยังพื้นที่ใช้สอยส่วนต่าง ๆ<br />

ซึ่งบริเวณทางเดินนี้เองที่ภูมิสถาปนิกมีการออกแบบ<br />

พื้นที่บางส่วนให้กลายเป็นพื้นที่ส่วนกลางกึ่งกลางแจ้ง<br />

ที่พนักงานสามารถมานั่งพักผ่อน นั่งคุย หรือนำ า<br />

แล็ปท็อปมานั่งทำางานเปลี่ยนบรรยากาศได้ตาม<br />

สะดวก นอกจากนี้พื้นบางส่วนของทางเดินยัง<br />

ออกแบบเจาะช่องเปิด เพื่อเชื่อมอาคารหลายชั้นถึง<br />

กันในแนวตั้ง ทำ าให้ในทุก ๆ ชั้น เราสามารถมองเห็น<br />

กิจกรรมที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่ส่วนกลาง ซึ่งนอกจาก<br />

จะทำาให้อาคารโปร่ง โล่ง วิธีนี้ยังช่วยสร้างปฏิสัมพันธ์<br />

ให้กับพนักงานระหว่างแผนกได้มากขึ้นอีกด้วย<br />

ถึงแม้ว่าอาคารหลังนี้จะมีการสอดแทรกธรรมชาติ<br />

ไว้มากมายเพื่อให้เกิดภาวะน่าสบายในการใช้งาน<br />

เพื่อป้องกันความร้อนอีกหนึ่งชั้น สถาปนิกได้<br />

ออกแบบให้มีผนังตะแกรงเหล็กเจาะรู (Perforated<br />

Aluminium Sheet) เป็นเกราะกำาบังชั้นนอกสุด<br />

ของอาคาร โดยทำาหน้าที่ป้องกันแสงแดด ความ<br />

ร้อน ป้องกันฝน และยังช่วยบดบังมุมมอง ซึ่งเส้น<br />

สายที่ใช้ยังได้แรงบันดาลใจมาจากแผงวงจรไฟฟ้า<br />

ที่ต่อเนื่องไปไม่สิ้นสุด สะท้อนภาพลักษณ์องค์กร<br />

ที่เกี่ยวข้องกับด้านเทคโนโลยี โดยมีทั้งส่วนที่ปิด<br />

ทึบ เปิดโล่ง และกึ่งเปิด แต่ละรูปแบบอ้างอิงตาม<br />

พื้นที่ใช้สอยที่ซ่อนอยู่ภายใน อย่างเช่น ผนังกรอบ<br />

อาคารเปิดให้เห็นส่วนกลางของสำานักงาน หรือ<br />

ห้องออกกำาลังกาย ในขณะที่พื้นที่ที่ต้องการความ<br />

เป็นส่วนตัว อย่างห้องประชุม หรือห้องผู้บริหาร<br />

ผนังอาคารจะถูกออกแบบให้ปิด และมีช่องเล็ก ๆ<br />

ทำาหน้าที่กรองแสง ระบายอากาศ และบดบังสายตา<br />

จากภายนอก<br />

“อาคารนี้ไม่ได้กันฝน 100% แต่ส่วนที่เป็น<br />

สำานักงานต่าง ๆ แน่นอนว่าสามารถกันฝนได้เต็ม<br />

รูปแบบ ซึ่งส่วนที่เรายอมให้เปียกได้ คือพื้นที่ที่<br />

เวลาฝนตกเราไม่ได้ใช้มัน เช่น พื้นที่ส่วนกลางที่<br />

พนักงานออกมานั่งพักผ่อน ถ้ามองผิวเผินอาจจะ<br />

เห็นว่าอาคารนี้ค่อนข้างเปิด แต่จริง ๆ เราพยายาม<br />

ออกแบบให้ช่องเปิดขนาดใหญ่สลับกัน เราไม่ได้<br />

เปิดหมดทุกด้าน ถ้าเปิดกว้างที่ด้านหนึ่ง อีกด้าน<br />

จะผสมเป็นพื้นที่ปิดเพื่อช่วยลดแรงลม และป้องกัน<br />

ฝนสาด ซึ่งเราก็ยังมีการวางระบบระบายน้ำ าซ่อน<br />

อยู่โดยรอบของอาคารด้วย”<br />

นอกจากนั้นทีมภูมิสถาปนิกจาก URBANIS ยัง<br />

ออกแบบสวนแนวตั้ง เพื่อทำาหน้าที่ปกป้องพื้นที่<br />

ทำางานภายในจากแดด ลม ฝน และฝุ่น เราจึงได้<br />

เห็นพืชพรรณนานาชนิดร้อยเรียงในระดับต่าง ๆ<br />

ตั้งแต่พื้นที่ว่างระหว่างผนังอาคารโปร่งภายนอก<br />

และห้องกระจกภายใน โถงที่ว่างส่วนกลาง รวม<br />

ไปถึงสวนหลังคา เปรียบเสมือนการดึงเอาป่า<br />

ธรรมชาติเข้ามาสร้างบรรยากาศภายในอาคาร<br />

จากแนวคิดทั้งหมด บทสรุปของอาคารแห่งนี้จึง<br />

ไม่ใช่แค่สำานักงานที่เป็นมิตรกับเหล่าพนักงาน<br />

เพียงเท่านั้น แต่ยังใส่ใจ และสอดแทรกกระบวนการ<br />

คิดที่เป็นมิตรกับวัตถุดิบธรรมชาติ การันตีด้วย<br />

รางวัล ASEAN Energy Awards 2021 จากการเป็น<br />

อาคารอนุรักษ์พลังงานที่ออกแบบให้มีช่องเปิด<br />

ภายในอาคารทั้งทางแนวตั้ง และแนวนอน เพิ่มการ<br />

ไหลเวียนของธรรมชาติ ลดอุณหภูมิภายในอาคาร<br />

ผ่านต้นไม้ และบ่อน้ำา ทำาให้ผู้ใช้งานสามารถอยู่ใน<br />

ทุกพื้นที่ของอาคารได้ในสภาวะน่าสบาย โดยไม่<br />

จำาเป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศตลอดเวลา นี่จึง<br />

เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของอาคารสำานักงานยุคใหม่<br />

และอาคารประหยัดพลังงานที่น่าสนใจ


HERE, THERE, AND EVERYWHERE<br />

67<br />

02<br />

ออฟฟิศแห่งใหม่ของ OSD<br />

Company Limited บริษัท<br />

ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร<br />

ผลงานการออกแบบจาก<br />

ทีมสถาปนิก AMA Design<br />

Studio และภูมิสถาปนิก<br />

จาก URBANIS<br />

2


68<br />

theme / review<br />

ELEVATION 1<br />

3<br />

บริษัท เซ็นทรัลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนซัลแทนต์ จํากัด<br />

COPYRIGHT 2016 by AMA DESIGN STUDIO<br />

C<br />

2.05<br />

ELEVATION 2<br />

4<br />

03-04<br />

รูปด้านอาคาร


HERE, THERE, AND EVERYWHERE<br />

69<br />

The owners weren’t just looking for aesthetically pleasing<br />

landscapes and green spaces but also to establish a shared<br />

space that would provide employees with enjoyable and<br />

relaxing experiences. They aimed to achieve this through<br />

a design that would create a seamless flow and visual consistency,<br />

which would in turn promote human interactions.<br />

5<br />

Modern office buildings have not only embraced<br />

a user-centric approach in their design, accommodating<br />

the diverse needs and behaviors of their<br />

users, but they have also ingeniously harnessed<br />

the inherent benefits of the surrounding natural<br />

environment. The culmination of meticulous design<br />

and sustainable practices has yielded a series of<br />

energy-efficient edifices that seamlessly harmonize<br />

with their surroundings while prioritizing the wellbeing<br />

of people and the planet. OSD Company<br />

Limited stands as a shining example of an office<br />

building that has embraced sustainability-oriented<br />

principles. AMA Design Studio and URBANIS<br />

have been selected to be the minds behind the<br />

design of the new operational headquarters of a<br />

prominent communication technology organization,<br />

which boasts a remarkable two-decade legacy.<br />

OSD Company Limited, in its earlier stages, found<br />

its operational base within a series of townhouses,<br />

gradually transitioning to larger spaces as the<br />

company experienced continual expansion. In<br />

response to the burgeoning workforce and their<br />

increasing needs, a new relocation became an<br />

unavoidable necessity, leading to the construction<br />

of an entirely new office building on a parcel of<br />

land nestled within the bustling Soi Ramindra 20<br />

Street.<br />

Developed from the brief provided by the two<br />

executives of the company, the design aims to<br />

embody the identity and integrity of the organization<br />

while seamlessly meeting the needs of a<br />

diverse range of users. The building is designed<br />

to adeptly accommodate visiting clients, annual<br />

activities, and providing a welcoming environment<br />

for university students who actively engage in<br />

workshops hosted by the company. Above all,<br />

the design prioritizes the needs and well-being<br />

of the invaluable employees. The primary focus<br />

was to seamlessly integrate natural elements into<br />

the architecture, following the owners’ personal<br />

preferences, thereby fostering a peaceful and<br />

reinvigorating atmosphere. The final result is an<br />

architectural creation meticulously crafted to<br />

deliver functional workspaces and an array of<br />

recreational areas curated to invoke creativity<br />

and inspiration.<br />

05<br />

พื้นที่ชั้น 1 ออกแบบ<br />

ให้เป็นฟังก์ชันสำาหรับ<br />

ต้อนรับลูกค้า ลักษณะ<br />

คล้ายใต้ถุนที่เปิดให้แสง<br />

ลมธรรมชาติไหลเวียน<br />

ได้เกือบตลอดทั้งวัน<br />

สอดแทรกด้วยห้องประชุม<br />

3 ห้องที่กระจายตัวเสมือน<br />

ลอยอยู่บนบ่อน้ำาท่ามกลาง<br />

แลนด์สเคป กลายเป็นมุม<br />

ที่สร้างบรรยากาศในการ<br />

ต้อนรับแขกผู้มาเยือนได้<br />

เป็นอย่างดี


70<br />

6<br />

06<br />

ภายในอาคารถูกออกแบบ<br />

ให้มีพื้นที่ส่วน Skylight<br />

Roof เพื่อเปิดรับแสง<br />

ธรรมชาติเข้าสู่ตัวอาคาร<br />

ระหว่างวัน


HERE, THERE, AND EVERYWHERE<br />

71<br />

“The owners weren’t just looking for aesthetically<br />

pleasing landscapes and green spaces. Their<br />

goal was to establish a shared space that would<br />

provide employees with enjoyable and relaxing<br />

experiences. They aimed to achieve this through<br />

a design that would create a seamless flow and<br />

visual consistency, which would in turn promote<br />

human interactions. We divide the green spaces<br />

and distribute them across each floor. The functional<br />

spaces are centrally located within the building<br />

and surrounded by lush green spaces. A portion<br />

of the core was transformed into an additional<br />

level of green space. We believed that the entire<br />

concept could effectively fulfill all the requirements<br />

while also maximizing the functionality of each<br />

space to its fullest potential.”<br />

7<br />

07<br />

บริเวณใจกลางของพื้นที่<br />

แต่ละชั้นมีลักษณะเป็น<br />

คอร์ริดอร์ขนาดใหญ่<br />

ทำาหน้าที่แจกจ่ายไปยัง<br />

ฟังก์ชันต่าง ๆ และยังมี<br />

การออกแบบฟังก์ชัน<br />

บางส่วนให้กลายเป็นพื้นที่<br />

Semi outdoor Sharing<br />

Space เพื่อให้กลายเป็น<br />

พื้นที่พักผ่อนของเหล่า<br />

พนักงาน<br />

08<br />

ห้องทำางานทุกฝ่ายถูกกั้น<br />

ด้วยกระจกเพื่อเปิดมุมมอง<br />

ให้สามารถมองเห็นพื้นที่<br />

สีเขียวเป็นจุดพักสายตา<br />

และในขณะเดียวกันก็<br />

ยังสามารถมองเห็นการ<br />

ทำางานของฝ่ายอื่น ๆ ได้<br />

ด้วยเช่นกัน้<br />

8


72<br />

theme / review<br />

9<br />

09<br />

ฟาซาดตะแกรงเหล็กเจาะรู<br />

(Perforated Aluminium<br />

Sheet) ทำาหน้าที่เป็น<br />

เกราะกำาบังชั้นนอกสุดของ<br />

อาคารเพื่อป้องกันความ<br />

ร้อนอีกหนึ่งชั้นทั้งยังช่วย<br />

บดบังมุมมอง ส่วนที่มา<br />

ของเส้นสายได้แรงบันดาล<br />

ใจจากแผงวงจรไฟฟ้าที่<br />

ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด สะท้อน<br />

ภาพลักษณ์องค์กรที่<br />

เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี<br />

10<br />

ที่บริเวณชั้นบนสุดเป็นสวน<br />

ดาดฟ้าที่สามารถใช้งาน<br />

เป็นพื้นที่จัดเลี้ยงเอาท์ดอร์<br />

หรือเป็นพื้นที่พักผ่อน<br />

หย่อนใจสำาหรับพนักงาน<br />

The spaces with similar functions are grouped<br />

together in the same cluster, occupying all four<br />

floors of the building as well as the rooftop. The<br />

design of the first floor is intended to create an<br />

open and spacious atmosphere. The upper floors<br />

of the building are dedicated to office spaces,<br />

while the first floor serves as a public and common<br />

area primarily used for welcoming clients. The<br />

openness of the first floor’s layout resembles that<br />

of a space underneath an elevated floor of a stilt<br />

house, hence the all-day natural ventilation and<br />

airflow. The three meeting rooms on the right side<br />

of the floor are designed to create an illusion that<br />

makes it appears as if the structures were floating<br />

above the pond, with the beautiful landscape<br />

surrounding them. The design not only creates a<br />

pleasant work environment for the company staff<br />

but also leaves a positive first impression on outside<br />

visitors.<br />

The office space begins on the second floor,<br />

accommodating various departments such as<br />

customer services, administration, sales, and<br />

more. Glass partitions separate the departments,<br />

allowing employees to have visual access to the<br />

green spaces whenever they desire a break from<br />

their computer screens or want to observe activities<br />

in other departments. The right wing of the second<br />

floor is home to two private offices for the executives,<br />

as well as a reception room. This wing<br />

offers the best view of the tree canopies and the<br />

surrounding neighborhood outside.<br />

The operating zone is situated on the third floor<br />

and encompasses various facilities, such the<br />

Research and Development (R&D) office unit, the<br />

server room, and the monitor room. Situated in this<br />

cluster is the equipment testing room, which is also<br />

used to host workshops for student participation.<br />

The large meeting room and a staff fitness facility<br />

are located on the fourth floor. The accounting<br />

department also sits on the fourth level due to its<br />

need for privacy and its independence from other<br />

departments. From this floor, a walkway provides<br />

access to the rooftop garden. This garden serves as<br />

a venue for outdoor gatherings and a recreational<br />

space where employees may take breaks from<br />

their duties while enjoying the pleasures of fresh<br />

air and natural surroundings.


10<br />

73


74<br />

theme / review<br />

Fitted<br />

Lifted<br />

Inside / Under / Over<br />

Fitted Lifted Inside / Under / Over 11


HERE, THERE, AND EVERYWHERE<br />

75<br />

The building’s optimized natural ventilation and lowered<br />

interior temperature, with the strategic placement of trees<br />

and a pond, further complements its energy efficiency.<br />

These elements work together to facilitate the provision<br />

of thermal comfort to users, reducing the dependence on<br />

air-conditioning systems and establishing the building<br />

as an inspiring example of energy-efficient modern office<br />

architecture.<br />

11<br />

ภาพแสดงทิศทางของ<br />

แสงแดด และหลักการ<br />

ระบายอากาศของอาคาร<br />

The architectural design’s distinct inclusion of<br />

green spaces on the second, third, and fourth<br />

floors strategically positions them as green nodes<br />

throughout the building. At the center of the layout<br />

sits a spacious corridor that provides access to<br />

other functional spaces. The team responsible for<br />

landscape architecture designed a section of the<br />

pathway to serve as a semi-outdoor communal area.<br />

The space is intended to provide employees with<br />

an opportunity to unwind, engage in conversation,<br />

and maybe work on their laptops if they so choose.<br />

Certain parts of this walkway have been intentionally<br />

designed into voids, serving as vertical<br />

connectors between different floors within the<br />

building. The common space is visible from each<br />

floor, allowing individuals to observe the ongoing<br />

activities. The layout not only fosters a spacious,<br />

open shared space but also facilitates interdepartmental<br />

contact among staff.<br />

The functional program incorporates several natural<br />

components that are designed to enhance the<br />

thermal comfort of the building and its occupants.<br />

The architectural team designs a building envelope<br />

made of perforated aluminum sheets, which serve<br />

as an external layer that protects the interior spaces<br />

from sunlight, heat, and rain while also offering<br />

a degree of privacy for the areas that need it. The<br />

metal shell incorporates design elements that are<br />

reminiscent of the continuous lines found on electrical<br />

circuits, alluding to the company’s image and<br />

contribution to the technological sector. The varying<br />

extents of the shell’s openness are designed to<br />

correspond with the interior spaces, where some<br />

necessitate full enclosure while others require<br />

complete or partial openness. For example, the<br />

architectural structure allows visual access to<br />

both the communal area and the fitness facility.<br />

In settings that demand more seclusion, such as<br />

meeting rooms or executive offices, enclosed walls<br />

are built with limited openings. This strategic<br />

arrangement serves to effectively regulate sunlight<br />

while still facilitating ventilation and shielding the<br />

spaces from external visual intrusion.<br />

“This building does not provide complete protection<br />

against rainfall; nonetheless, it is important to note<br />

that the office areas within the building are totally<br />

shielded. However, certain places are designated<br />

to withstand exposure to the rain during periods of<br />

non-use, namely the communal spaces that the<br />

staff use during their free time. At first glance, the<br />

building may appear to possess a high degree of<br />

openness. However, our design approach involves<br />

the deliberate integration of a distinct arrangement<br />

of sizable openings while intentionally opting against<br />

complete openness on all sides. In order to mitigate<br />

excessive airflow and protect the interior spaces<br />

from rainfall, one side remains open while the other<br />

is enclosed. Additionally, we designed a built-in<br />

water drainage system on the outer perimeter of<br />

the structure.”<br />

The landscape architecture team at URBANIS<br />

designs a vertical garden as a means of safeguarding<br />

the indoor workstations against various<br />

environmental factors such as sunshine, wind, rain,<br />

and dust. The vertical garden visually intertwines<br />

itself into the building’s different floor levels, as<br />

well as the perforated aluminum shells, office<br />

spaces and rooms with glass partitions, and the<br />

void in the central common area, as well as the<br />

rooftop garden. The vertical landscape functions<br />

as a forest, imbuing the building’s functional space<br />

with a beautiful, natural ambiance.


76<br />

theme / review<br />

12<br />

พืชพรรณนานาชนิดร้อย<br />

เรียงในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่<br />

พื้น ที่ว่างระหว่างผนัง<br />

อาคารรวมไปถึงสวน<br />

ดาดฟ้า เปรียบเสมือนการ<br />

ดึงเอาป่าธรรมชาติเข้า<br />

มาสร้างบรรยากาศภายใน<br />

อาคาร<br />

13<br />

พื้นที่สวนชั้นดาดฟ้า<br />

ของอาคาร


HERE, THERE, AND EVERYWHERE<br />

77<br />

The underlying concepts and ideas birth the design<br />

that transcends mere user convenience. It harmoniously<br />

incorporates natural components and<br />

embraces an environmentally conscious approach<br />

as an integral aspect of its existence. As a testament<br />

to its passive energy design endeavor, the ASEAN<br />

Energy Awards 2021 recognized the project for its<br />

exceptional arrangement of vertical and horizontal<br />

openings, which results in the building’s optimized<br />

natural ventilation and lowered interior temperature.<br />

The project’s landscape architecture’s strategic<br />

placement of trees and a pond further complements<br />

its energy efficiency. These elements work together<br />

to facilitate the provision of thermal comfort to<br />

users, reducing the dependence on air-conditioning<br />

systems and establishing the building as an<br />

inspiring example of energy-efficient modern office<br />

architecture.<br />

รังสิมา<br />

อรุณธนาวุฒิ<br />

จบการศึกษาภูมิสถาปั ตย-<br />

กรรม จากมหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ ปั จจุบัน<br />

เป็ นนักเขียนเกี่ยวกับงาน<br />

ออกแบบในสื่อสถาปั ตย-<br />

กรรม<br />

Rangsima<br />

Arunthanavut<br />

graduated from the<br />

Department of Landscape<br />

Architecture,<br />

Kasetsart University.<br />

She is currently a<br />

writer on design in<br />

architectural media.<br />

amadesignstudio.net<br />

13<br />

12<br />

Project: OSD Company Limited Incorporating Greenery Architect and Interior space planing:<br />

AMA design studio Interior design: Kham studio Landscape design: Urbanis Engineering design:<br />

CEC. Owner: OSD Company Limited Design Team: Chatchai Assawawasukee, Tuangtip Aenleng,<br />

Korakot Prisawong, Kochakorn Khiewim, Sathok Tunyapakornsiri, Ekachai Pattamasattayasonthi,<br />

Sutthiphong Atikomnunta and Phanlapon Limchalasyothin


78<br />

theme / review<br />

One<br />

For All,<br />

All<br />

For<br />

One<br />

The design of the new Council of Engineers Thailand building is based<br />

on the notion of ‘a place for all’ and strives to include sustainability<br />

in multiple areas of its existence beyond architectural design and<br />

engineering systems.<br />

Text: Bhumibhat Promboot<br />

Photo Courtesy of Ativich Studio and DOF SkyIGround except as noted


1<br />

01<br />

มุมมองจากภายนอก<br />

อาคารสภาวิศวกร<br />

แสดงส่วนพื้นที่สีเขียว<br />

ที่เชื่อมต่อตัวอาคารกับ<br />

ชุมชนโดยรอบ


่<br />

80<br />

theme / review<br />

บนกรอบแนวคิด “A place for all” เพื่อที่จะ<br />

มุ่งเน้นและยกระดับการออกแบบที่คำานึงถึง<br />

ความยั่งยืนในทุกภาคส่วน ผ่านแนวคิดทางการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรม และการออกแบบระบบ<br />

วิศวกรรมรวมเข้าไว้ด้วยกัน คือที่มาของแนวคิด<br />

และเป้าหมายการออกแบบอาคารสภาวิศวกร<br />

แห่งใหม่ ตั้งอยู่ริมถนนลาดพร้าวในย่านโชคชัย 4<br />

ที่กำาลังต้อนรับการเปลี่ยนแปลงมาใช้ระบบ<br />

ขนส่งแบบรางเดี่ยว หรือโมโนเรล ซึ่งจะส่งผล<br />

ให้สามารถเดินทางเข้าถึงย่านได้สะดวกสบาย<br />

มากขึ้น ดังนั้นเพื่อรองรับการปรับตัว เปลี่ยนแปลง<br />

ของย่านเดิม และตอบรับการขยายตัวใหม่ ๆ ที่<br />

กำาลังจะเกิดขึ้นตามมาภายหลังจากการพัฒนา<br />

ระบบขนส่งและผังเมือง การออกแบบอาคาร<br />

สภาวิศวกรหลังนี้จึงเปรียบเสมือนจุดเริ่มต้น และ<br />

หมุดหมายใหม่ของการพัฒนาพื้นที่โดยรอบอย่าง<br />

ยั่งยืน และให้เท่าทันยุคสมัยที่กำาลังเปลี่ยนแปลง<br />

ตึกแถวหลายคูหาเดิม ติดริมถนนลาดพร้าว<br />

ได้ถูกรื้อทิ้งออกไป เพื่อให้เป็นที่ตั้งของอาคาร<br />

สภาวิศวกรแห่งใหม่นี้ เป็นพื้นที่ให้บริการ<br />

วิชาชีพวิศวกรรมในประเทศไทย ทั้งเรื่องเกี่ยวกับ<br />

ใบประกอบวิชาชีพ การสอบใบประกอบวิชาชีพ<br />

และการออกใบอนุญาตต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริการ<br />

พื้นฐาน และหน้าที่หลักของสภาวิศวกรแห่ง<br />

ประเทศไทยเนื่องด้วยความเปลี่ยนแปลงทาง<br />

ด้านวิถีชีวิตและเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว<br />

ส่งผลให้รูปแบบและการใช้งานอาคารมีการ<br />

ปรับปรุงและจัดการพื้นที่ให้สามารถปรับเปลี่ยน<br />

ให้รูปแบบไม่ตายตัว สอดคล้องกับการเกิดขึ้น<br />

ของช่วงการแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่<br />

ส่งผลกระทบครั้งใหญ่ต่อวิถีชีวิต สังคม สภาพ-<br />

แวดล้อมและเศรษฐกิจที่รุนแรง ทำาให้ช่วงเวลา<br />

ระหว่างการออกแบบสภาวิศวกรแห่งนี้ ได้มี<br />

การปรับรูปแบบครั้งใหญ่ถึงสองครั้ง คือ ช่วงที<br />

ได้เกิดโรคระบาดขึ้น และภายหลังจากการแพร่<br />

ระบาดของ COVID-19 ภายหลังจากการเปิด<br />

ใช้งานอาคารสภาวิศวกรแล้วนั้น พื้นที่บางส่วน<br />

ภายในอาคารมีการเปลี่ยนแปลง และยกเลิก<br />

การใช้งานเดิม จากที่เคยออกแบบไว้จนถึงช่วงที่<br />

ก่อสร้างแล้วเสร็จ<br />

อาคารรูปทรงเปิดที่ดูลอยเหนือขึ้นจากพื้น<br />

(High Zone) มีพื้นที่สวนขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อ<br />

ระหว่างพื้นทางเท้า และอาคารสภาวิศวกร<br />

(Low Zone) มีพื้นที่ใช้สอยอาคารรวมประมาณ<br />

9,000 ตารางเมตร บนความสูง 7 ชั้น โดย<br />

เป็นอาคารประเภท Mixed Use ที่มีทั้งส่วน<br />

บริการวิชาชีพ สำานักงาน ห้องสมุด ห้องประชุม<br />

และคาเฟ่ รวมเข้าไว้ด้วยกัน ในบริเวณพื้นที่<br />

โครงการ ผู้ออกแบบได้แบ่งอาคารออกเป็น 2<br />

อาคาร คืออาคารหลักซึ่งเป็นส่วนของการใช้งาน<br />

ทั่วไป และอาคารจอดรถแบบอัตโนมัติอยู่ทาง<br />

ด้านหลังของพื้นที่โครงการ โดยทีม Ativich<br />

Studio รับหน้าที่เป็นสถาปนิกผู้รับผิดชอบหลัก<br />

ในการออกแบบโครงการนี้<br />

ภายในอาคารความสูง 7 ชั้น ถูกแบ่งพื้นที่<br />

แยกย่อยออกเป็น Low Zone ซึ่งประกอบไป<br />

ด้วย โถงสำาหรับผู้เดินทางโดยรถยนต์ คาเฟ่<br />

ร้านอาหาร ร้านค้า และห้องควบคุม ส่วนพื้นที่<br />

High Zone ประกอบไปด้วยโถงทางเข้า Service<br />

Centre สำานักงาน ห้องสมุด ห้องสัมมนา ห้อง<br />

ประชุม และห้องสำาหรับจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ<br />

หรือบรรยาย ด้วยแนวคิดหลักเรื่อง “A place<br />

for all” ทาง Ativich Studio ได้ทดลองแทรก<br />

พื้นที่ส่วนกลาง ไปยังพื้นที่ใช้สอยต่าง ๆ เพื่อ<br />

สร้างปฎิสัมพันธ์ใหม่ ๆ กับผู้มาใช้งานอาคาร<br />

เช่น การเปิดพื้นที่ชั้นหนึ่งที่ติดริมถนนลาดพร้าว<br />

ให้เป็นพื้นที่สาธารณะ โดยผู้ออกแบบยกระดับ<br />

พื้นที่โถงต้อนรับ และส่วนงานบริการวิชาชีพ<br />

ให้สูงขึ้นไปจากระดับถนน (High Zone) เพื่อ<br />

เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนโดยรอบ ผ่านการ<br />

สร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ของการมาใช้งาน<br />

พื้นที่ภายในบริเวณอาคาร ซึ่งลักษณะของพื้นที่<br />

จะเป็นทางเดินทอดยาวควบคู่ตลอดไปกับแนว<br />

พุ่มไม้ในระดับสายตา เป็นการไล่ระดับจาก<br />

พื้นทางเท้าพาดผ่านสูงขึ้นไป จนถึงระดับของ<br />

โถงทางเข้าหลักของอาคาร พื้นที่ส่วนนี้ทาง<br />

ผู้ออกแบบยังเสริมการใช้งานด้วยที่นั่งภายนอก<br />

อาคารหรือ Amphitheater ตรงส่วนด้านหน้า<br />

ของโถงทางเข้า ให้คนทั่วไปสามารถเข้าไปใช้<br />

งานได้ ทั้งสำาหรับการนั่งพักผ่อน พูดคุย อ่าน<br />

หนังสือ จนไปถึงนอนงีบหลับ ซึ่งเป็นความตั้งใจ<br />

ของผู้ออกแบบและทางสภาวิศวกรที่เห็นร่วม<br />

ตรงกัน เพื่อให้พื้นที่ในส่วนนี้เสมือนเป็นพื้นที่<br />

เปิด สำาหรับชุมชนใกล้เคียงให้เข้ามาใช้งานได้<br />

อย่างทั่วถึง จากบริบทของย่านเดิมที่เป็นที่อยู่<br />

อาศัยค่อนข้างหนาแน่น การเพิ่มพื้นที่สาธารณะ<br />

สีเขียวนี้ จึงช่วยสร้างปอดให้กับเมืองหรือชุมชน<br />

ได้หายใจมากขึ้น สามารถส่งผลให้เกิดสุขภาวะ<br />

ที่ีดีตามมา<br />

อีกแนวทางหนึ่งที่ทางผู้ออกแบบต้องการลด<br />

ผลกระทบของการสร้างอาคารใหม่ ด้วยแนวคิด<br />

เรื่อง Urban Ventilation เข้ามาใช้ในการจัดวาง<br />

โซนของอาคาร จัดการแยกส่วนอาคารออก<br />

เป็นสองอาคาร เพื่อเปิดพื้นที่ระหว่างตรงกลาง<br />

ให้เป็นพื้นที่เปิดโล่ง และใช้เป็นทางสัญจรของ<br />

รถยนต์ อีกนัยหนึ่ง การแยกอาคารออกจากกัน<br />

เป็น 2 ส่วนในโครงการนี้ ยังทำาให้ขนาด และ<br />

สัดส่วนของอาคารสภาวิศวกรใกล้เคียงกับ<br />

บริเวณรอบข้าง โดยเป็นการตระหนักถึงพลวัต<br />

ของบริบทแวดล้อม ดังนั้นสถาปนิกจึงไม่ใช่<br />

เพียงแค่ออกแบบสภาพแวดล้อมเฉพาะในตัว<br />

อาคาร หรือในบริเวณพื้นที่อาคารเท่านั้น แต่ยัง<br />

สามารถเป็นส่วนหนึ่งของสภาพแวดล้อมโดย<br />

ไม่ได้แยกขาดออกจากกัน การที่สถาปนิก<br />

ต้องการสร้างปฏิสัมพันธ์กันในทุกองคาพยพ<br />

ของระบบนิเวศของเมืองและชุมชน ยังส่งผลให้<br />

ตัวอาคารไม่มีการติดตราสัญลักษณ์ขององค์กร<br />

หรือป้ายขนาดใหญ่บนอาคาร เพื่อให้อาคาร<br />

สภาวิศวกรนั้นอยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืน และ<br />

สร้างความเป็นมิตรทางสายตาแก่ชุมชนข้างเคียง<br />

ด้วยสภาวิศวกรต้องการให้อาคารเป็นพื้นที่<br />

สำาหรับทุกคน ไม่จำากัดเพศ วัย และอาชีพ ซึ่ง<br />

เป็นเป้าหมายหลักตั้งแต่แรกเริ่มที่สภาวิศวกร<br />

ได้ตั้งโจทย์ให้ทางสถาปนิกทำาการออกแบบ<br />

พื้นที่ในเชิงสร้างสรรค์ มีการแลกเปลี่ยนองค์-<br />

ความรู้และนวัตกรรมต่าง ๆ ในทุกแขนงวิชา ทั้ง<br />

วิศวกรรม สถาปัตยกรรม และภูมิปัญญาพื้นถิ่น<br />

ที่ไม่ได้จำากัดแค่เฉพาะกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง<br />

เท่านั้น แต่รวมไปถึงผู้ที่สนใจศึกษาทุกภาคส่วน<br />

ได้เข้ามาร่วมกันแบ่งปันพื้นที่นี้ด้วยกัน รูปแบบ<br />

และลักษณะของตัวอาคารจึงประกอบไปด้วย<br />

3 แนวคิดหลัก คือ พื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่<br />

ด้วยหลักการออกแบบอย่างยั่งยืน และพื้นที่<br />

สำานักงานรูปแบบใหม่ที่เน้นเรื่องความยืดหยุ่น<br />

ในการใช้งาน และมีนำาระบบโมดูลาร์เข้ามาใช้ใน<br />

การออกแบบ สุดท้ายคือการออกแบบพื้นที่ใช้<br />

งานภายในให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง<br />

ทั้งในเชิงความร่วมมือ หรือให้เป็นพื้นที่<br />

สาธารณะได้ในอนาคตอย่างสะดวก โดยไม่<br />

กระทบการใช้งานพื้นที่เดิม ฉะนั้นรูปแบบและ<br />

องค์ประกอบของอาคารจึงเป็นการผสานองค์<br />

ความรู้และเทคนิคในหลายแขนงวิชาให้เข้ากับ<br />

วิถีชีวิตร่วมสมัยไว้ด้วยกัน<br />

จากภาพแรกของอาคารสภาวิศวกร หากมอง<br />

จากริมถนนลาดพร้าวเข้ามาจะพบกับสวนขนาด<br />

ใหญ่ที่สอดแทรกทางเดินเท้าเข้าไปยังตัวอาคาร<br />

ซึ่งเป็นส่วนของ Low Zone ที่ผู้ออกแบบตั้งใจ<br />

ให้สวนแห่งนี้เป็นเสมือนส่วนต้อนรับหลักของ


ONE FOR ALL, ALL FOR ONE<br />

81<br />

02<br />

รูปด้านอาคารแสดง<br />

ส่วนพื้นที่สีเขียวภายใน<br />

บริเวณอาคารสภาวิศวกร<br />

2<br />

อาคาร โดยใช้หลักการออกแบบอย่างยั่งยืน<br />

เช่น การเลือกใช้ไม้ยืนต้นกับไม้พุ่ม มาเป็นองค์-<br />

ประกอบหลัก แทนที่จะเลือกปลูกหญ้าให้เป็น<br />

พื้นที่สีเขียว เนื่องจากไม้ยืนต้นกับไม้พุ ่มมีอัตรา<br />

การบริโภคทรัพยากรน้ำาที่น้อยกว่า และสามารถ<br />

ดูแลรักษาจัดการพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

และยั่งยืนมากกว่าการปลูกหญ้า ซึ่งทางสถาปนิก<br />

ยังได้ออกแบบระบบสุขาภิบาลให้มีการนำาน้ำาเสีย<br />

จากการอุปโภคบริโภค เข้ามาใช้ในการรดน้ำา<br />

ต้นไม้ในพื้นที่ส่วนนี้อีกด้วย ช่วยสร้างการ<br />

หมุนเวียนทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเป็นระบบ<br />

หากมองเลยเหนือพื้นที่สีเขียวขึ้นไป จะสามารถ<br />

มองเห็นรูปทรงของอาคารสภาวิศวกรที่ผิว<br />

ภายนอกมีลักษณะโปร่ง ไม่ทึบ และหุ้มตัว<br />

อาคารในส่วนชั้นบนแบบเต็มพื้นที่ ซึ่งพื้นผิว<br />

อาคารส่วนนี้ทำาหน้าที่ปิดล้อมส่วน High Zone<br />

ของอาคารสภาวิศวกรเอาไว้ ทางผู้ออกแบบได้<br />

เลือกใช้วัสดุปิดผิวภายนอกเป็นแผ่นอลูมิเนียม<br />

เจาะรู และกั้นด้วยผนังกระจกใสตัดแสงด้านใน<br />

อีกส่วนหนึ่ง ซึ่งการออกแบบระบบนี้คือ Doubleskin<br />

façade เพื่อช่วยลดความร้อนเข้าสู่ตัว<br />

อาคาร แผ่นอลูมิเนียมเจาะรูทำาหน้าที่ทั้งป้องกัน<br />

แสง และความร้อนที่เข้าสู่อาคาร ทั้งยังสามารถ<br />

ช่วยระบายอากาศได้พร้อม ๆ กัน ทำาให้อาคาร<br />

สามารถหายใจได้ และให้แสงธรรมชาติสามารถ<br />

ผ่านเข้ามายังภายในอาคารได้อีกด้วย ระบบ<br />

Double-skin façade ยังช่วยลดภาระการทำางาน<br />

ของทั้งระบบแสงสว่างภายในอาคาร และระบบ<br />

ปรับอากาศ ซึ่งจะช่วยยืดอายุการใช้งาน และการ<br />

ซ่อมบำารุงให้ลดน้อยลง<br />

เนื่องด้วย façade ของอาคารสภาวิศวกร ที่<br />

สามารถมองเห็นได้ชัดเจนจากพื้นที่โดยรอบ<br />

ผู้ออกแบบจึงต้องการสร้างปฎิสัมพันธ์เพิ่มเติม<br />

กับชุมชน นอกเหนือจากเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้<br />

กับชุมชนแล้วนั้น คือการใช้พื้นที่ façade ทาง<br />

ด้านหน้าโดยการติดตั้งจอ LED รูปแบบโปร่ง<br />

ขนาด 8 x 8 เมตร เพื่อแสดงข้อมูลต่าง ๆ แบบ<br />

Real-Time ให้เป็นแหล่งข้อมูลแก่ชุมชนโดยรอบ<br />

หรือผู้ที่สัญจรผ่านไปมา เช่น การรายงานสภาพ-<br />

อากาศประจำาวัน ทั้งอุณหภูมิ ฝนตก แดดออก<br />

การรายงานค่าฝุ่น PM 2.5 ที่เสมือนเป็นข้อมูล<br />

ในชีวิตประจำาวันที่ทุกคนตระหนักถึง รวมทั้ง<br />

สามารถแจ้งข้อมูลเตือนภัยฉุกเฉินเพื่อตอบรับ<br />

กับยุคสมัย และแสดงผลของข้อมูลเพื่อใช้ใน<br />

การประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นใน<br />

อนาคตได้อีกทางหนึ่ง ฉะนั้นการเลือกใช้วัสดุ<br />

อาคารจึงต้องสอดรับกับแนวคิดความยั่งยืน<br />

ทั้งทางสังคม และการใช้งานเป็นสำาคัญ โดย<br />

ผสมผสานกับเทคโนโลยี และวัสดุใหม่ ๆ<br />

ควบคู่กันไป<br />

สถาปนิกยังเลือกใช้วัสดุอาคารที่ผลิตในประเทศ<br />

เป็นส่วนใหญ่ เพื่อลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์จาก<br />

การนำาเข้าวัสดุจากต่างประเทศ และมีการใช้<br />

วัสดุเช่น ผ้าทอต่าง ๆ ที่ใช้เส้นใยจากกระบวนการ<br />

รีไซเคิล สำาหรับงานตกแต่งภายใน และเฟอร์นิ-<br />

เจอร์อีกด้วย ส่วนงานภูมิสถาปัตยกรรมได้มี<br />

การนำาวัสดุ เช่น คอนกรีตซึมน้ำา ซึ่งเป็นนวัตกรรม<br />

ใหม่เข้ามาใช้ในโครงการนี้ด้วยเช่นกัน<br />

ในหลักการออกแบบอย่างยั่งยืน เมื่อพิจารณา<br />

จากอาคารสภาวิศวกรนั้น ประกอบไปด้วยมิติที่<br />

หลากหลาย นอกเหนือจากทางสถาปัตยกรรม<br />

และวิศวกรรม ยังมีมิติทางสังคม ชุมชน ระบบ<br />

ผังเมือง และจิตวิทยา และหากตรวจสอบจาก<br />

เกณฑ์ของการประเมินอาคารเขียว ก็จะพบว่า<br />

ทีมออกแบบให้ความสำาคัญกับข้อกำาหนดในการ<br />

พิจารณาหลายประเด็น เช่น การใช้ทรัพยากรน้ำา<br />

อย่างคุ้มค่า การใช้ประโยชน์จากที่ดิน การเลือก<br />

ใช้วัสดุและอุปกรณ์ให้เหมาะสม การลดการใช้<br />

พลังงาน การคำานึงถึงสภาพแวดล้อมโดยรอบ<br />

และความเป็นนวัตกรรมอาคาร แต่ก็ยังเป็นข้อ<br />

กำาหนดที่ถูกสร้าง หรือมีกรอบคิดมาจากบริบท<br />

แวดล้อมที่ต่างกัน การนำามาปรับใช้ และต่อยอด<br />

แนวคิด จึงเป็นส่วนสำาคัญต่อกระบวนการของ<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืนต่อไป<br />

ในอนาคต<br />

เมื่อโลกเริ่มตอบสนองและเปลี่ยนแปลงอย่าง<br />

รวดเร็ว และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ดังเช่นเหตุการณ์<br />

แพร่ระบาดของโรค COVID-19 การเปลี่ยน-<br />

แปลงของสภาพภูมิอากาศอย่างฉับพลัน หรือ<br />

การพัฒนาระบบ Artificial Intelligence อย่าง<br />

ก้าวกระโดด ส่งผลให้กระบวนการออกแบบทั้ง<br />

ทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมต้องปรับตัว<br />

กันขนานใหญ่ การออกแบบและก่อสร้างของ<br />

อาคารสภาวิศวกรหลังนี้ ก็อยู่คาบเกี่ยวระหว่าง<br />

ช่วงที่โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน<br />

ความร่วมมือจากทุกองคาพยพจึงเป็นสิ่งจำาเป็น<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมไม่ได้มีเพียงแค่<br />

เจ้าของโครงการและผู้ออกแบบเท่านั้น แต่<br />

ต้องการการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมจากผู้ที่<br />

ได้รับผลกระทบทั้งหมด เพื่อรับมือกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงที่อาจคาดการณ์ได้ยากขึ้น นิยาม<br />

ของการออกแบบอย่างยั่งยืนจึงไม่ใช่การออกแบบ<br />

เพื่อให้อาคารอยู่ยืนนานที่สุด หรือการรักษา<br />

ให้คงไว้โดยไม่เปลี่ยนแปลง แต่สถาปัตยกรรม<br />

ยั่งยืนแห่งอนาคตต้องมองเห็น และสามารถรับมือ<br />

กับการเปลี่ยนแปลงที่ผันผวน โดยต้องเปิดรับ<br />

ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ผ่านความหลากหลาย และ<br />

ลื่นไหลไปตามการปรับเปลี่ยนของสภาพแวดล้อม<br />

ที่ไม่หยุดนิ่ง


82<br />

theme / review<br />

The architectural composition of the Council of Engineers Thailand<br />

building serves as a poignant representation of a fresh beginning<br />

and a significant juncture in the area’s sustainable development.<br />

This design harmoniously aligns with ever-evolving society and the<br />

global landscape, signifying a profound step forward.<br />

3<br />

03<br />

มุมมองจากรถไฟรางเดี่ยว<br />

และตัวอาคารสภาวิศวกร<br />

ที่แสดงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ<br />

ภายในย่าน<br />

04<br />

ภาพพื้นที่สีเขียวภายใน<br />

บริเวณอาคารสภาวิศวกร<br />

4


ONE FOR ALL, ALL FOR ONE<br />

83<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

2 M<br />

1. FRONT DROP-OFF<br />

2. AUTOMATED PARKING<br />

3. LOBBY<br />

4. STAIR HALL<br />

5. RETAIL<br />

6. CAFETERIA<br />

7. RESTAURANT<br />

8. CENTRAL UPS ROOM<br />

9. UPS ROOM SERVER<br />

10. SERVICE AREA<br />

11. FIRE ESCAPE<br />

12. TRANFOMER AND MDB<br />

13. PUMP ROOM<br />

14. GABAGE ROOM<br />

<strong>15</strong>. RING MAN UNIT<br />

16. GENERATOR<br />

16<br />

6<br />

7<br />

14<br />

<strong>15</strong><br />

12<br />

8<br />

4<br />

10<br />

11<br />

1<br />

9<br />

13<br />

3<br />

2<br />

5<br />

5<br />

Encapsulated by the ‘a place for all’ concept, the<br />

inception and purpose of the architecture of the<br />

new Council of Engineers Thailand aims to create<br />

a work of architecture that incorporates sustainability<br />

into various aspects of its existence, including<br />

architectural design and engineering systems.<br />

On the bustling Ladprao Road, in the Chok Chai<br />

See neighborhood of Bangkok, stands a stunning<br />

structure following the arrival of a monorail route,<br />

which has kicked off an exciting period of accessibility,<br />

seamlessly connecting the neighboring<br />

municipalities to this vibrant locale. In anticipation of<br />

forthcoming transformations within the community,<br />

including the imminent expansion accompanying<br />

the development of a public transportation system<br />

and urbanization, the architectural composition of<br />

the Council of Engineers Thailand building serves<br />

as a poignant representation of a fresh beginning<br />

and a significant juncture in the area’s sustainable<br />

development. This design harmoniously aligns with<br />

ever-evolving society and the global landscape,<br />

signifying a profound step forward.<br />

05<br />

ผังบริเวณอาคารแสดง<br />

พื้นที่ส่วนอาคารสำานักงาน<br />

และอาคารจอดรถอัตโนมัติ<br />

ที่แยกออกจากกันเป็น<br />

คนละอาคาร


6


06<br />

ภาพมุมสูงแสดงพื้นที่<br />

สีเขียวที่เชื่อมต่อส่วนทาง<br />

เดินเข้าชั้นล่างต่อเนื่องไป<br />

ยังชั้นอื่น ๆ ของอาคาร


86<br />

theme / review<br />

07<br />

ไดอะแกรมแสดงความ<br />

สัมพันธ์และการจัดการ<br />

บริบทแวดล้อมกับรูปแบบ<br />

ของอาคารและพื้นที่สีเขียว<br />

08<br />

รูปด้านข้างและด้านหน้า<br />

อาคาร<br />

7<br />

8<br />

ELEVATION 1 ELEVATION 2


ONE FOR ALL, ALL FOR ONE<br />

87<br />

Several units of shophouses have been dismantled<br />

to make space for the new Council of Engineers<br />

Thailand building. This building will provide a wide<br />

range of services to engineering professionals in<br />

Thailand, including engineering license exams,<br />

permit issuing, and other essential services that<br />

are central to the council’s role. The design and<br />

functions of buildings are constantly evolving to<br />

keep up with rapidly changing technologies and<br />

lifestyles. This allows for better and more flexible<br />

spatial management. Furthermore, the design<br />

underwent two significant revisions due to the<br />

immense impacts of the COVID-19 pandemic on<br />

people’s lifestyles, society, and the environment.<br />

These revisions included a pre-pandemic version<br />

and a post-pandemic version. After the building<br />

was completed, some modifications were made<br />

to the interior program, resulting in the elimination<br />

of certain original functions.<br />

The architectural composition features an elevated,<br />

open shape seemingly emerging from the floor<br />

to the High Zone, with a garden that seamlessly<br />

connects the walkway with the council building<br />

located in the Low Zone. The architectural composition<br />

in question boasts a grand total of 9,000<br />

square meters of functional space, distributed<br />

across seven stories to accommodate a diverse<br />

range of activities, encompassing a harmonious<br />

blend of mixed-use programs. Within its walls,<br />

one can find areas dedicated to professional<br />

services, offices, a library, and even a charming<br />

café. The architectural ensemble comprises two<br />

distinct structures. The primary edifice, known as<br />

the main building, houses the essential functional<br />

program. In harmonious juxtaposition, the second<br />

structure, the automatic parking building, occupies<br />

the rear of the premises. The Ativich Studio has<br />

been appointed as the principal design team for<br />

this project.<br />

9<br />

09<br />

บรรยากาศภายในของ<br />

พื้นที่โถงต้อนรับ


88<br />

10


ONE FOR ALL, ALL FOR ONE<br />

89<br />

11<br />

10<br />

พื้นที่นั่งอเนกประสงค์<br />

ภายในส่วนของห้องสมุด<br />

และ Service Center<br />

11<br />

พื้นที่ double voloume<br />

ภายในส่วนของห้องสมุด<br />

และ Service Center<br />

The architectural composition within the seven-story<br />

building creates distinct zones to accommodate<br />

the functional program. The first area is called the<br />

Low Zone, which has been carefully designed to<br />

meet the needs of visitors who arrive in their own<br />

vehicles. It includes a reception lobby, a café, a<br />

restaurant, and a control room. The High Zone is<br />

home to several important facilities, including the<br />

entrance lobby of the service center, an office, a<br />

library, a seminar room, meeting rooms, and a room<br />

specifically designed for hosting workshops and<br />

lectures. The concept of “a place for all” is reflected<br />

in the design of communal spaces that are integrated<br />

into other functional areas. These spaces<br />

were specifically created to encourage interactions<br />

among users. The public space adjacent to Ladprao<br />

Road is on the first floor. The design team has raised<br />

the floor of the lobby and professional service zone<br />

to be above ground level, making them part of the<br />

High Zone. This change has been made with the<br />

intention of increasing green space for the surrounding<br />

community and providing users with new<br />

experiences in how they engage with the building.<br />

The space is designed with a walkway that runs<br />

alongside rows of barrier plants, which are grown to<br />

a height that is at eye level. The walkway gradually<br />

ascends, leading up to the main entrance of the<br />

building. The design team has incorporated outdoor<br />

seating in the form of an amphitheater at the front<br />

of the entrance hall. This space is open to everyone<br />

and provides a comfortable area for lounging,<br />

socializing, reading books, or even taking a nap. The<br />

designer convinced the owner to agree to transform<br />

the space into an open, public area that warmly<br />

welcomes community members to interact and have<br />

fun with. With the area’s high population density,<br />

the birth of public green space, which serves as an<br />

urban lung, allows people to take a deep breath and<br />

experience better well-being in their daily lives.<br />

The design team has taken a mindful approach<br />

in their endeavor to mitigate the ecological ramifications<br />

associated with the construction of the<br />

building. The urban ventilation concept takes center<br />

stage in the design, seamlessly integrated into the<br />

building’s zoning. This innovative approach gives<br />

rise to a breathtaking ensemble comprising two<br />

interconnected structures. A colossal open space<br />

unites both of the structures, serving as a passage<br />

for vehicles. The presence of two distinct buildings<br />

brings a sense of scale and proportion, gracefully<br />

harmonizing with the neighboring built structures and<br />

seamlessly integrating within the dynamic fabric of<br />

the surrounding context. The design team undertakes<br />

the task of crafting not just a mere environment within<br />

the building’s interiors but also melding the structures<br />

into the context of which they are a part. The design<br />

team has masterfully crafted an urban ecosystem<br />

that is effortlessly fused into the surrounding community.<br />

The deliberate absence of any logos, symbols,or<br />

grand signage that typically adorn buildings<br />

serves to foster a sense of coexistence between the<br />

structure and its community while simultaneously<br />

offering a visually pleasing and welcoming presence<br />

to all who encounter it.


90<br />

theme / review<br />

The visionary minds at the Council of Engineers<br />

Thailand intend for the project to be a space for<br />

individuals from diverse walks of life. In pursuit of<br />

this objective, the design team and owner went<br />

through constructive exchanges of knowledge,<br />

blending the realms of engineering, architecture,<br />

and vernacular wisdom. The project extends its<br />

warm embrace to a diverse array of individuals,<br />

transcending the boundaries of specific groups and<br />

beckoning those from every sector who possess<br />

an ardent curiosity for the knowledge, services,<br />

and experiences that the council has to offer. The<br />

building’s style and physical characteristics are<br />

influenced by three key elements: the large green<br />

space designed with sustainability in mind; the<br />

office space, whose design manifests impressive<br />

flexibility and clever use of modular systems; and<br />

the interior functional spaces that can accommodate<br />

future modifications and applications without<br />

disrupting the existing functionality. One can say<br />

that the style and components of the building are<br />

realized through the integration of various bodies<br />

of knowledge and techniques from different disciplines<br />

into people’s contemporary way of life.<br />

12<br />

13


ONE FOR ALL, ALL FOR ONE<br />

91<br />

12<br />

บันไดหลักของอาคารที่<br />

เป็นบันไดทอดเดี่ยวยาว<br />

ต่อเนื่องขึ้นไปในแต่ละชั้น<br />

อาคาร<br />

13<br />

บรรยากาศภายในพื้นที่<br />

ส่วนสำานักงาน อาคาร<br />

สภาวิศวกร<br />

In this project, the involvement of all stakeholders<br />

is paramount. It demonstrates that a sustainable<br />

architecture for the future needs to foresee and handle<br />

changes that may be unexpected and volatile. It needs<br />

to be open to new possibilities through diversity and<br />

adapt to a constantly evolving world.<br />

14<br />

14<br />

โต๊ะประชุมรูปสามเหลี่ยม<br />

ภายในห้องประชุมของ<br />

สภาวิศวกร ที่สามารถ<br />

นั่งมองเห็นกันได้จาก<br />

ทุกมุมมอง<br />

A sizable garden with a walkway leading into the<br />

Low Zone of the building greets visitors as they<br />

enter the premise from Ladprao Road. The design<br />

team envisioned the garden to function as the<br />

building’s primary reception area. In embracing<br />

a sustainable ethos, the landscape design predominantly<br />

features an array of trees and shrubs,<br />

chosen for their reduced water consumption and<br />

more manageable and eco-friendly upkeep as<br />

opposed to traditional grassy areas. The sanitary<br />

systems have been meticulously designed to ensure<br />

the optimal treatment and reuse of wastewater for<br />

the nourishment of the growing trees and plants.<br />

Gazing upward from the verdant garden, the architectural<br />

composition of the structure unveils an<br />

expansive, punctured facade built with perforated<br />

aluminum panels that envelops the uppermost<br />

section of the edifice, also known as the High Zone.<br />

Heat-absorbing glass serves as an extra layer<br />

within the double-skin façade, effectively filtering<br />

and preventing excessive heat from infiltrating the<br />

building. The perforated aluminum panels’ dual<br />

purpose is to provide the interior spaces with a<br />

shield against the harsh rays of the sun while also<br />

facilitating passive ventilation. Simultaneously,<br />

these panels act as conduits for an ample presence<br />

of natural light. The double-skin façade effectively<br />

alleviates the strain that would otherwise be placed<br />

on the lighting and air conditioning systems, thereby<br />

prolonging their lifespan and reducing the frequency<br />

of maintenance required.


<strong>15</strong><br />

92<br />

theme / review


ONE FOR ALL, ALL FOR ONE<br />

93<br />

<strong>15</strong><br />

Double Skin Facade<br />

ที่ทำาหน้าที่ทั้งกรองแสง<br />

และลดความร้อนเข้าสู่<br />

ตัวอาคาร


94<br />

theme / review<br />

16<br />

16<br />

จอภาพแสดง infographic<br />

บน façade ของอาคาร<br />

สภาวิศวกร ที่สามารถ<br />

ปรับเปลี่ยนไปตามช่วง<br />

เวลาได้<br />

17<br />

ภาพบรรยายกาศของ<br />

อาคารสภาวิศวกรแห่งใหม่<br />

ที่มีส่วนช่วยสร้างพื้นที่<br />

สาธารณะให้ภายในย่าน<br />

Given the building’s prominent façade, the design<br />

team devised a strategy to foster meaningful engagement<br />

between the structure and the surrounding<br />

community. In addition to the lush green space, the<br />

front-facing façade boasts a magnificent 8x8-meter<br />

LED screen. This cutting-edge display showcases<br />

real-time information, providing passersby and<br />

community members with daily weather updates,<br />

including temperature, rain forecasts, and PM 2.5<br />

levels. Furthermore, this dynamic screen serves as<br />

a platform for emergency notices, ensuring that<br />

crucial information reaches individuals swiftly and<br />

efficiently. By embracing the rapid generation and<br />

distribution of information, the design aligns with<br />

the demands of today’s world, enabling the assessment<br />

of future scenarios with remarkable speed and<br />

effectiveness. The selection of materials employed<br />

corresponds with the functions and concepts of<br />

social sustainability principles, along with the creative<br />

integration of technology and material innovations.<br />

The architecture team wisely chose to employ locally<br />

sourced materials, thereby minimizing the carbon<br />

footprint associated with international transportation.<br />

The architects have made a deliberate choice to<br />

incorporate recycled materials, such as the fabrics<br />

used in interior decoration and furniture. Meanwhile,<br />

landscape architecture’s use of materials such as<br />

permeable concrete is reflective of its endeavor to<br />

employ and embrace new materials that are more<br />

innovative and sustainable.


ONE FOR ALL, ALL FOR ONE<br />

95<br />

The architecture of the Council of Engineers Thailand<br />

embodies a multitude of sustainable design<br />

principles that extend beyond the realms of architecture<br />

and engineering, encompassing social<br />

dimensions, community, urban planning, and even<br />

psychology. In its display of adherence to green<br />

building criteria, the design of this project showcases<br />

a comprehensive approach that considers<br />

various requirements. From the efficient utilization<br />

of water and land to the careful selection and use<br />

of materials and tools, as well as the minimization<br />

of energy consumption, the design demonstrates<br />

a dedicated consideration for the surrounding<br />

environment. In addition, the overall innovativeness<br />

of the building further highlights its commitment to<br />

sustainable practices. In the field of sustainable<br />

architecture, the design process is greatly influenced<br />

by an array of criteria derived from various contexts.<br />

It is imperative to not only apply these criteria but<br />

also to further develop ideas and concepts in order<br />

to shape the future of sustainable architecture.<br />

In an era characterized by rapid global advancements<br />

and escalating disruptions, both the fields of<br />

architectural and engineering design are undergoing<br />

profound transformations. From the profound effects<br />

of the COVID-19 pandemic and the urgent challenges<br />

posed by climate change to the progressive<br />

breakthroughs in artificial intelligence, architectural<br />

and engineering design are forced to go through<br />

major adaptation. The Council of Engineers Thailand<br />

project was conceived and executed during<br />

a period of immense societal instability, making<br />

collaborative efforts from all parties involved absolutely<br />

crucial.<br />

In the context of architectural design, it is essential<br />

to acknowledge that the involvement of all stakeholders<br />

is paramount. This is because the final<br />

outcome must be equipped to handle unforeseen<br />

changes or scenarios that may prove challenging<br />

to anticipate. Sustainable design goes beyond<br />

simply creating structures with the longest lifespan<br />

or maintaining everything in its original form.<br />

A sustainable architecture of the future needs<br />

to foresee and handle changes that may be<br />

unexpected and volatile. It needs to be open to<br />

new possibilities through diversity and adapt to<br />

the constantly evolving world.<br />

fb.com/ativichstudio/<br />

ภูมิภัทร พรหมบุตร<br />

ปั จจุบันทำงานเป็ นสถาปนิก<br />

และอาจารย์พิเศษ ที่คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ในภาควิชาสถาปั ตยกรรม<br />

และภาควิชานวัตกรรม<br />

การออกแบบผลิตภัณฑ์<br />

เชิงบูรณาการ ภูมิภัทร<br />

จบการศึกษาปริญญาตรี<br />

หลักสูตรสถาปั ตยกรรม<br />

ศาสตรบัณฑิต จากคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

และปริญญาโทจาก<br />

Staedelschule Architecture<br />

Class ประเทศ<br />

เยอรมนี ภูมิภัทรมี<br />

ประสบการณ์ทำงานใน<br />

ตำแหน่ง สถาปนิก ทั้งใน<br />

ประเทศไทยและประเทศ<br />

ญี่ปุ ่ น และยังมีผลงานเขียน<br />

บทความทางสถาปั ตย-<br />

กรรมบนเว็บไซต์ art4d.<br />

Bhumibhat<br />

Promboot<br />

is currently an architect<br />

and a guest instructor<br />

for the Architecture<br />

Programme and the<br />

Integrated Product<br />

Design Innovation Programme<br />

at Kasetsart<br />

University. He holds the<br />

bachelor of architecture<br />

degree from Kasetsart<br />

University and the<br />

Master of Arts in Architecture<br />

from Staedelschule<br />

Architecture<br />

Class in Germany.<br />

Bhumibhat has past<br />

experience as architect<br />

in architecture firms<br />

in Thailand and Japan.<br />

He is also a part-time<br />

writer at art4d.<br />

17<br />

Project: The New Headquarter of Council of Engineers Thailand Client: Council of Engineer Thailand City: Bangkok Country: Thailand Area: 9,900 + 1,200 m² Year: 2019-2022<br />

Conceptual Designer: ativich + Atelier of Architects Architects: ativich + Team SQ Landscape Designer: 8.18 studio Interior Designer: Team SQ Structural Engineer: Team<br />

Consulting & Management Electrical & Telecommunications: Pornprasert Techamaytheekul Fire Protection Engineers: Next2nd Innovation Mechanical Engineer: Next2nd Innovation<br />

Lighting Engineers: Lighting studio Green Building Design Consultant: Africvs Construction General Contractor: Siam Multi Cons Construction Managers: Stonehenge<br />

Inter Automated parking system: GPARK - Shinmaywa TREES consultant: EMO-D


96<br />

theme / review<br />

Big and<br />

Green<br />

Not only notable for its grand scale<br />

and skillfully utilizing its prime location<br />

along the main road with its<br />

unique structural proportions, the<br />

AIA East Gateway Building designed<br />

by Creative Crews demonstrates<br />

how a high rise can incorporate environmentally<br />

friendly and sustainable<br />

issues.<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo Courtesy of Creative Crews<br />

and W Workspace except as noted<br />

1


2<br />

01<br />

มุมมองสู่ Tower จาก<br />

สวนชั้นดาดฟ้า<br />

02<br />

ทางเข้าอาคารที่ต้องผ่าน<br />

สวนเสริมความร่มรื่น


98<br />

theme / review<br />

กระแสความยั่งยืน การเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม<br />

ดูจะเป็นแนวโน้มที่ถูกพูดถึงในการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม ด้วยสภาพการณ์ที่ผลักดันให้<br />

มนุษย์ต้องฉุกคิดว่าเราไม่ได้อยู่เพียงเผ่าพันธุ์<br />

เดียวในโลก แนวคิดนี้คือการคิดถึงโลกใน<br />

อนาคตข้างหน้าว่าจะเป็นโลกที่เราต้องการได้<br />

ด้วยการออกแบบอย่างไร<br />

อาคาร AIA EAST GATEWAY บนถนนบางนา<br />

เส้นทางสำาคัญไปยังระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ<br />

ภาคตะวันออกไทย โดดเด่นด้วยปริมาตร<br />

ขนาดใหญ่ริมถนนที่มีการจัดการกับสัดส่วน<br />

อาคารได้แปลกตา ออกแบบโดย Creative Crews<br />

ประกอบไปด้วยพื้นที่ให้เช่าทั้งส่วนร้านค้า และ<br />

สำานักงาน ส่วนอาคารสูงคือส่วนหลัก ซึ่งรองรับ<br />

กิจกรรมสำานักงานให้เช่า พื้นที่ชั้น 1 ถึง 4<br />

เป็นพื้นที่พาณิชยกรรม ส่วนของชั้น 5 เป็น<br />

พื้นที่ส่วนของนันทนาการ ไม่ว่าจะเป็นฟิตเนส<br />

พื้นที่ในส่วนของชั้น 4 และชั้น 5 ออกแบบให้<br />

เป็นกึ่งภายนอกภายใน ทำาให้มีการไหลเวียน<br />

ของอากาศได้ดี รูปทรงของอาคารที่แบ่งออก<br />

เป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือส่วนอาคารสูง และส่วน<br />

ที่เป็นฐานอาคารจอดรถ ซึ่งเป็นการแยกส่วน<br />

การใช้สอยอย่างชัดเจนจากระบบเสาที่มีความ<br />

แตกต่างกัน เป็นการเริ่มคิดจากหน่วยย่อยที่<br />

ระยะ 1.75 เมตร แล้วขยายจนเต็มช่วงเสาใน<br />

ที่สุด จากนั้นต่อยอดระบบนี้ไปทุกช่วงอาคาร<br />

การออกแบบส่วนอาคารสูง เป็นการคิดให้ใช้<br />

พื้นที่ได้มากที่สุด โดยมีพื้นที่กรอบอาคารที่<br />

2,000 ตารางเมตร ผลลัพธ์ที่ได้ทำาให้ส่วน<br />

อาคารสูงมีสัดส่วนที่ดูหนา สถาปนิกจึงใช้วิธี<br />

ลดทอนขนาดด้วยการสร้างรูปทรงอาคารที่ดู<br />

ไม่เป็นระเบียบ ทำาให้อาคารมีมิติที่น่าสนใจขึ้น<br />

ในส่วนของการลดขนาดรูปทรง โดยการ<br />

ออกแบบให้มีส่วนยุบยื่นจนเกิดรูปแบบอาคาร<br />

ที่ดูมีความเคลื่อนไหวจาก รูปทรง และ แผง<br />

กันแดด ในจังหวะสลับกันไปมา ทั้งแนวตั้ง<br />

และแนวนอน มีการใช้เทคนิคลดหลั่นรูปทรง<br />

อาคาร พร้อมเติมพื้นที่สีเขียวด้วยไม้ยืนต้น<br />

ในแง่การออกแบบจึงช่วยลดความใหญ่โตของ<br />

ผืนผนัง ในแง่ความรู้สึกสร้างความร่มรื่นภายใน<br />

สำานักงานได้ โดยการป้องกันความร้อนจาก<br />

ภายนอกด้วยแผงกันแดดที่มีขนาดยื่นออกมา<br />

จากผนัง 40 เซนติเมตร ซึ่งเป็นระยะที่สถาปนิก<br />

ได้คิดมาจากระยะของกระเช้าทำาความสะอาด<br />

กระจกภายนอก ทุกส่วนทุกระยะคือความพอดี<br />

ของการใช้สอย<br />

การใช้พื้นที่สีเขียวในอาคารเป็นไปด้วยการปรับ<br />

ให้เหมาะสมระหว่างผู้ออกแบบและเจ้าของงาน<br />

เพราะมีประเด็นในเรื่องของการบำารุงรักษามา<br />

เกี่ยวข้อง การออกแบบโดยใช้ต้นไม้พืชพันธุ์<br />

มาเป็นส่วนหนึ่งของ façade จึงเป็นวิธีการเติม<br />

ไม้ยืนต้นแบบสลับกันไปในจำานวนที่ไม่มากของ<br />

แต่ละด้าน มีการเติมพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่จาก<br />

การออกแบบวางให้อยู่บนฐาน และชั้น 4 ใต้<br />

ส่วนอาคารสูง พื้นที่ตรงนี้เป็นการทำางานร่วม<br />

กันของสถาปนิกและภูมิสถาปนิกที่จะเพิ่ม<br />

พื้นที่สีเขียวให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการทำางาน<br />

และการพักผ่อน หลังจากชีวิตการทำางานของ<br />

ผู้คนที่อยู่ในอาคารอย่างคร่ำาเคร่ง พื้นที่ส่วนนี้<br />

สามารถเสริมด้วยสระน้ำา ต้นไม้ยืนต้น ที่ดูแล<br />

รักษาได้ง่ายและคุ้มค่าที่สุด ความต้องการ<br />

ของอาคารจึงผ่านการเจรจาลงในส่วนนี้ด้วย<br />

ความประหยัดกว่า เมื่อเทียบกับส่วนอื่น ๆ<br />

ทั้งในเรื่องราคาค่าก่อสร้าง และการบำารุงรักษา<br />

พื้นที่สีเขียวบนส่วนฐานของอาคารมีไว้รองรับ<br />

กิจกรรมเพื่อสุขภาพกาย และใจของคนเมือง<br />

ไม่ว่าจะเป็นลานวิ่ง สระว่ายน้ำา พื้นที่พักผ่อน<br />

พนักงานที่ทำางานที่นี่ สามารถมาใช้พื้นที่นี้ได้<br />

หลายส่วนโดยไม่มีค่าใช้จ่าย เมื่อนึกถึงเรื่องความ<br />

ยั่งยืน ไม่ใช่เพียงแค่การลดการใช้พลังงานด้วย<br />

การออกแบบพึ่งพาเครื่องกลเพียงอย่างเดียว<br />

แต่เป็นการคิดถึงตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบ<br />

ในเรื่องของการลดการใช้วัสดุ หรือใช้ให้เป็น<br />

ประโยชน์สูงสุด รวมไปถึงการคิดถึงเรื่องการ<br />

ซ่อมบำารุงให้มีความประหยัด เหมาะสม ลดการ<br />

ใช้พลังงาน การออกแบบที่ยกระดับคุณภาพ<br />

ชีวิตของผู้คนในสังคมให้ดีขึ้นด้วยเช่นกัน<br />

บริเวณทางเข้าหลักของอาคารเป็นภูมิทัศน์<br />

ที่ใช้บ่อน้ำาขนาดใหญ่เป็นสิ่งเชื้อเชิญให้ผู้คน<br />

เข้ามาใช้ในอาคาร แต่ในขณะเดียวกันในแง่<br />

ของการใช้สอย จะเป็นพื้นที่สำาหรับหน่วงน้ำา<br />

เวลาที่มีน้ำาท่วมจากฝนตกหนักในเขตบางนา<br />

ลักษณะรูปตัดของบ่อหน่วงน้ำามีลักษณะเป็น<br />

ขั้นบันไดลึกลงไป 90 เซนติเมตร โดยให้ขอบ<br />

ด้านบนเป็นพื้นที่ซึมน้ำาได้ มีระบบการจัดการ<br />

น้ำาให้เป็น bio-pond สำาหรับทั้งการระบายน้ำา<br />

และบำาบัดน้ำาด้วยวิธีธรรมชาติ แทนที่จะเลือก<br />

ใช้ระบบเครื่องกลสำาหรับการบำาบัด นอกจาก<br />

นี้ทางเข้าอาคารยังเป็นลานขนาดใหญ่เพื่อให้<br />

เกิดลมพัดผ่าน จนลดอุณหภูมิและสร้างความ<br />

ร่มรื่นให้กับอาคาร แล้วยังเปิดโอกาสให้คน<br />

ภายนอกสามารถเข้ามานั่งพักผ่อนได้<br />

ตลอดการสัมภาษณ์ คำาที่ถูกหยิบยกขึ้นมา<br />

เสมอคือ “optimum” ในส่วนท้ายของการ<br />

สัมภาษณ์ จึงจบลงด้วยการชักชวนให้สถาปนิก<br />

ผู้ออกแบบกล่าวทิ้งท้ายถึง “optimum”<br />

ในมุมมองของแต่ละคน โดยคุณชลัญเกียรติ<br />

สุขะธรรมโม และคุณปุยฝ้าย คุณาวัฒน์<br />

สองสถาปนิกจากทีมออกแบบอาคารนี้ได้<br />

กล่าวไว้ว่า<br />

“เป็นจุดที่ทุกคนทุกส่วนสบายใจ เป็นทางออก<br />

ของทุกคนที่ลูกค้าสถาปนิก วิศวกร ยอมรับได้<br />

เพื่อให้ดีที่สุด”<br />

อาคาร AIA East Gateway ได้รับการรับรอง<br />

ระดับ Gold จาก LEED และ WELL ด้วย<br />

รูปทรงของอาคารช่วยลดปริมาณแสงอาทิตย์<br />

ที่มากเกินไป และการออกแบบที่ “ซ้อนกัน”<br />

ช่วยเพิ่มพื้นที่ด้านหน้าอาคาร ซึ่งร่วมกับ<br />

การติดตั้งแผงกันแดดอะลูมิเนียม จึงช่วยลด<br />

แสงจ้าโดยตรง ในขณะเดียวกันยังช่วยการ<br />

กระจายแสงธรรมชาติไปทั่วพื้นที่ของสถานที่<br />

ทำางาน ส่วนของพื้นที่สีเขียวบนอาคารช่วย<br />

เพิ่มความน่าสบายให้กับผู้ใช้งานอาคาร<br />

“คิดว่าเป็นหน้าที่ของสถาปนิกนะ ที่จะต้องเป็น<br />

ผู ้ไกล่เกลี ่ย เป็นผู้ที่เจรจาต่อรองผลประโยชน์<br />

ของทุกคนให้เข้ากัน ให้ทุกอย่างอยู่ในจุดที่<br />

สมดุล ไม่ใช่เป็นคนที่ไม่ฟังใครแล้วไปชวน<br />

เขาทะเลาะ เราเป็นคนที่เห็นภาพรวม ที่จะนำา<br />

ทุกคนไป ทำาให้การใช้ทรัพยากร วัสดุก่อสร้าง<br />

อยู่ในจุดที่ประหยัดที่สุด ก่อสร้างเร็วที่สุด ซึ่ง<br />

เป็นประเด็นของเรื่องความยั่งยืน”


TALL BUILDING SHOULD BE GREEN<br />

99<br />

3<br />

03<br />

ภาพมุมสูงจากด้านหลัง<br />

อาคาร มีฉากหลังเป็น<br />

ทางยกระดับ<br />

04<br />

รูปด้าน 1 และ 2 แสดง<br />

การจัดองค์ประกอบ<br />

ที่แก้สัดส่วน Tower ให้<br />

ลดความหนัก<br />

4<br />

ELEVATION 1<br />

10 M<br />

ELEVATION 2<br />

10 M


100<br />

theme / review<br />

5


TALL BUILDING SHOULD BE GREEN<br />

101<br />

05<br />

ครีบบังแดดที่ยื่นออกมา<br />

40 เซนติเมตร ตามการ<br />

ใช้งาน<br />

06<br />

ทางเข้าที่ชั้น 1 ภายใน<br />

อาคาร สายตาถูกชักนำา<br />

ด้วยจอ LED ขนาดใหญ่<br />

Having faced unexpected events and circumstances,<br />

humanity is compelled to come to terms with the<br />

reality that we are not the sole inhabitants of this<br />

planet. The premise sparks a dialogue on sustainability<br />

and environmental awareness in architectural<br />

design, as it centers on envisioning a future world<br />

through design.<br />

Located in the vibrant Bangna suburb of Bangkok,<br />

along the route to Thailand’s bustling eastern<br />

economic corridor, stands the remarkable AIA East<br />

Gateway Building. The architecture is notable for its<br />

grand scale, skillfully utilizing its prime location along<br />

the main road with its unique structural proportions.<br />

The AIA East Gateway Building is designed by<br />

Creative Crews. The project, which showcases a<br />

meticulously curated collection of retail and office<br />

spaces, consists of the main tower, which accommodates<br />

rentable office spaces, and the commercial<br />

quarter, which occupies the spaces on the first to<br />

fourth floors. The fifth floor is home to a range of<br />

recreational amenities, including a state-of-the-art<br />

fitness center, while the fourth and fifth floors<br />

incorporate semi-outdoor spaces, enabling effective<br />

natural ventilation. The architectural composition<br />

of the building consists of two distinct masses:<br />

the tower and the podium of the parking structure.<br />

The two masses are thoughtfully designed to<br />

ensure clear separation from the adjacent structure,<br />

achieved through the implementation of a distinct<br />

column system. The column span commences at<br />

a range of 1.75 meters before gradually expanding<br />

to its complete extent. The system is integrated<br />

throughout the entire building.<br />

6


102<br />

theme / review<br />

7<br />

07<br />

สเปซที่เปิดโล่งเชื่อม<br />

ส่วนนันทนาการของ<br />

ชั้น 4 และ 5<br />

The tower’s design is rooted in the concept of<br />

optimizing and utilizing the 2,000-square-meter<br />

usable area. The outcome is an architectural<br />

form characterized by a substantial and robust<br />

proportion. The design team devises a seemingly<br />

randomized pattern to make the building more<br />

visually captivating while effectively toning down<br />

its imposing scale. The mass is designed to<br />

create the illusion of being smaller and more<br />

three-dimensional through the use of recessed<br />

and protruding elements. The design showcases<br />

a dynamic architecture, featuring carefully<br />

calculated intervals of masses and fins in both<br />

horizontal and vertical orientations. The subtractive<br />

technique is utilized, resulting in voids within the<br />

structure that are subsequently filled with lush<br />

green spaces with thriving trees. In terms of<br />

design, the incorporation of these voids serves<br />

to reduce the overall bulkiness of the walls, while<br />

the addition of green elements introduces a<br />

visually appealing and lively atmosphere to the<br />

office spaces. Protecting the building’s exterior<br />

from heat is achieved through the use of fins<br />

that protrude 40 centimeters from the walls, a<br />

measurement that the design team determines<br />

based on the size of a platform used for cleaning<br />

windows in high-rise buildings. Such detail<br />

demonstrates how each range and proportion<br />

is carefully designed to ensure ease of function<br />

and maintenance.<br />

The intention to optimize the green space is achieved by<br />

focusing on this particular portion of the property, thanks<br />

to the lower construction and maintenance costs compared<br />

to if a similar landscape were to be built in other parts of the<br />

building. The podium’s green space is thoughtfully designed to<br />

cater to the lifestyles and well-being of today’s city dwellers.


TALL BUILDING SHOULD BE GREEN<br />

103<br />

8<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

10 M<br />

4TH FLOOR PLAN<br />

10 M<br />

5TH FLOOR PLAN<br />

10 M<br />

08<br />

แปลนส่วน podium<br />

อาคารที่ชั้น 1 4 และ 5<br />

09<br />

พื้นที่เชื่อมชั้น 4 และ 5<br />

ด้วยบันไดพร้อมที่นั่งพัก<br />

9


104<br />

10


105<br />

10<br />

พื้นที่ส่วนนันทนาการ<br />

ของอาคาร


106<br />

theme / review<br />

11<br />

11<br />

แผนภาพแสดง<br />

การใช้น้ำาในอาคาร<br />

ด้วยความคุ้มค่า<br />

There is a noticeable optimization in the utilization<br />

of green spaces. The collaborative and compromising<br />

process between the design team and<br />

the owner has resulted in a design that takes into<br />

account maintenance issues. The design seamlessly<br />

integrates carefully chosen trees and plants into<br />

the façade, incorporating a balanced selection of<br />

evergreen trees on both sides. A sprawling, verdant<br />

expanse graces the uppermost level of the podium<br />

and the fourth floor beneath the majestic tower.<br />

The architecture and landscape architecture teams<br />

collaborated to curate an additional green space,<br />

enhancing the overall working environment. This<br />

space provides a tranquil spot for individuals to<br />

unwind and recharge during their demanding work<br />

schedules. The verdant area has ample room to<br />

incorporate more aquatic features and foliage. The<br />

intention to optimize the green space is achieved by<br />

focusing on this particular portion of the property,<br />

thanks to the lower construction and maintenance<br />

costs compared to if a similar landscape were to<br />

be built in other parts of the building. The podium’s<br />

green space is thoughtfully designed to cater to the<br />

lifestyles and well-being of today’s city dwellers.<br />

It offers a variety of amenities, such as running<br />

tracks, a swimming pool, and recreational areas.<br />

Employees of the companies that are renting the<br />

building’s office spaces can enjoy complimentary<br />

access to a wide range of facilities. In the realm<br />

of sustainability, this project strives to not only<br />

minimize the use of active design elements but<br />

also optimize every aspect of the design process<br />

to reduce excessive material use and increase their<br />

effectiveness in order to achieve the most beneficial<br />

functionalities. The design takes into account both<br />

cost and energy-saving maintenance, along with<br />

its contribution to improving people’s quality of life.


TALL BUILDING SHOULD BE GREEN<br />

107<br />

12<br />

ลู่วิ่งออกกำาลังกาย<br />

บน podium อาคาร<br />

13<br />

สวนพักผ่อนบน<br />

podium อาคาร<br />

12<br />

“It is the architect’s responsibility to envision the grand<br />

scheme that will guide everyone towards the desired end<br />

result. …All of these elements center around a genuine<br />

awareness and comprehension of sustainability.”<br />

13


108<br />

theme / review<br />

14<br />

14<br />

สระว่ายน้ำาบน podium<br />

อาคาร


TALL BUILDING SHOULD BE GREEN<br />

109<br />

The building’s primary entrance unveils itself as a<br />

landscape, featuring a large waterscape that warmly<br />

welcomes individuals inside with its verdancy. The<br />

landscape not only boasts visual appeal but also<br />

functions as a water basin. The wetland is designed<br />

to have 90-centimeter-deep sunken ground with<br />

steps to accommodate excess water in the case of<br />

heavy rain. The upper edge of the pond is designed<br />

as a bio-pond, which efficiently absorbs water<br />

through natural drainage and treatment processes,<br />

eliminating the need for mechanical systems.<br />

The expansive green terrain at the entrance of the<br />

building allows for abundant natural ventilation,<br />

resulting in a cooler interior temperature and a<br />

delightful, flourishing environment for the overall<br />

architectural structure. The semi-public characteristics<br />

of the area welcome outsiders to make use<br />

of its presence, which is what the design team and<br />

owner intended.<br />

During the interview, the terms “optimum,” “optimize,”<br />

and “optimization” were frequently mentioned. As<br />

the discussion drew to a close, we asked Chalankiat<br />

Sukathummo and Puiphai Khunawat, the talented<br />

architects from the project’s architecture team,<br />

about their personal interpretations of the term<br />

‘optimum.’<br />

“It’s that stage where every involved party is satisfied—a<br />

solution that the client, the architects, and<br />

the engineering team mutually agree and accept,<br />

knowing that this is the best possible result.”<br />

The AIA East Gateway project is LEED and WELLcertified<br />

gold. The building shape reduces excessive<br />

solar gains, and the “stacked” shape achieved<br />

allows for increased façade area, which, along<br />

with the aluminum fins, helps deflect direct glare<br />

while redistributing natural light throughout the<br />

workplace. Having greenery on the building helps<br />

improve comfort for the occupants.<br />

“I think it is the architect’s responsibility to manage<br />

negotiations, ensuring that the interests and benefits<br />

of all stakeholders are mutually fulfilled, resulting<br />

in a well-balanced outcome. Being a pessimistic<br />

individual and instigating conflicts will hinder your<br />

ability to contribute to a project. We are the ones<br />

who envision the grand scheme that will guide<br />

everyone towards the desired end result, utilizing<br />

resources and construction materials efficiently,<br />

all while adhering to a cost-effective budget and<br />

completing the project in the shortest possible time.<br />

All of these elements center around a genuine<br />

awareness and comprehension of sustainability.”<br />

creative-crews.com<br />

<strong>15</strong><br />

ภาพมุมสูงจากด้านหน้า<br />

ที่มีฉากหน้าเป็นทางยก<br />

ระดับเหนือถนนบางนา<br />

สาโรช พระวงค์<br />

เป็ นสถาปนิก นักเขียน<br />

สนใจในสถาปั ตยกรรม<br />

สมัยใหม่ถึงสถาปั ตยกรรม<br />

ร่วมสมัย ปั จจุบันเป็ น<br />

อาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี<br />

Xaroj Phrawong<br />

Architect and writer<br />

who is interested in<br />

modern an contem<br />

porary architecture<br />

now he is a lecturer<br />

at Faculty of Architecture,<br />

RMUTT.<br />

<strong>15</strong><br />

Architects: Creative Crews Design Team: Chalankiat Sukhathummo, Nattaphon Limsupawanich Clients: AIA Group Limited Location: Bang Na,<br />

Bangkok Area: 135600 m² Year: 2022 Engineering: Meinhardt Engineering Landscape Design: Shma Company Limited LEED Consultants:<br />

Africvs. Co.Ltd Quantity Surveyors: AECOM Contractors: Thai Obayashi Corporation Limited Project Managers: Mentabuild Co., Ltd


110<br />

materials<br />

Sustainable<br />

Building<br />

Materials<br />

for a Net Zero<br />

Emissions Future<br />

Text: Associate Professor Dr. Pattaranan Takkanon


SUSTAINABLE BUILDING MATERIALS FOR A NET ZERO EMISSIONS FUTURE<br />

111<br />

Now is the time when the world faces a global<br />

chaos of climate change so critical that every<br />

region must urgently reduce greenhouse gas emissions.<br />

The construction industry is a key defendant<br />

as a major energy consumer and emitter<br />

of huge amounts of carbon dioxide. According to<br />

the 2022 Global Status Report for Buildings and<br />

Construction of the United Nations Environment<br />

Programme, after the outbreak of COVID-19, the<br />

construction industry has recovered and is responsible<br />

for 34 percent of global energy consumption.<br />

It also emitted 37 percent of carbon dioxide from<br />

energy and related processes in 2021, the highest<br />

amount in history. It reached 10 GtCO2, 5 percent<br />

more than in 2020 and 2 percent higher than<br />

before the COVID-19 outbreak in 2019.<br />

ในวัันที่่ โลกเผชิิญกับภาวัะโลกรวัน เกิดการเปล่ยนแปลงสภาพภูมิิอากาศ จนทีุ่กภูมิิภาคต้้องลดการ<br />

ปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเร่งด่วัน อุต้สาหกรรมก ่อสร้างเป็ นจำาเลยสำค ัญในฐานะที่่เป็ นผู้บริโภค<br />

พลังงานรายใหญ่และปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ปริมิาณมิหาศาล โดยภายหลังการระบาดของ<br />

COVID-19 อุต้สาหกรรมก ่อสร้างได้ฟื้้ นตััวัและมิ่ส่วันในการบริโภคพลังงานของโลกถึึงร้อยละ 34<br />

และยังปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากพลังงานและกระบวันการที่่เก่ยวข ้องคิดเป็ นร้อยละ 37<br />

ในปี 2021 ซึ งเป็ นปริมิาณสูงที่่สุดในประวััติิศาสตร ์ โดยสูงถึึง 10 GtCO2 มิากกว่่าช่่วังปี 2020 ถึึง<br />

ร้อยละ 5 และสูงกว่่าช่่วังก่อนการระบาดของ COVID-19 ในปี 2019 ถึึงร้อยละ 2


112<br />

materials<br />

ทิศทางการออกแบบสถาปัตยกรรมและการก่อสร้างในปัจจุบันจึงมุ่งหน้า<br />

สู่การใช้พลังงานเป็นศูนย์ การเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)<br />

หรือไปจนถึงการปลดปล่อยสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) โดย<br />

คาร์บอนที่เกิดจากช่วงการใช้พลังงานในอาคาร ปัจจุบันมีองค์ความรู้<br />

และเทคโนโลยีด้านการออกแบบประหยัดพลังงานและการใช้พลังงาน<br />

ทดแทน​ที่ช่วยลดส่วนนี้ได้ไม่ยาก แต่คาร์บอนที่มาจากวัสดุก่อสร้างและ<br />

ช่วงการก่อสร้างอาคาร หรือคาร์บอนแฝง (Embodied Carbon) ยังเป็น<br />

ส่วนที่ลดได้ยากกว่า เพราะต้องมีการปรับเปลี่ยนตั้งแต่ขั้นตอนการได้<br />

มาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต การขนส่ง การใช้งาน ตลอดจนกระทั่งการ<br />

กำาจัดหรือนำากลับมาใช้ใหม่ อันเป็นการคิดตลอดวัฏจักรชีวิตของวัสดุ<br />

ตามวิธีการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment, LCA) ของ<br />

ผลิตภัณฑ์และอาคาร<br />

วัสดุก่อสร้างจึงมีบทบาทสำาคัญในการปลดปล่อยหรือดูดซับคาร์บอน ​<br />

วงการอุตสาหกรรมก่อสร้างได้พยายามพัฒนานวัตกรรมวัสดุและเปลือก<br />

อาคารมากมายเพื่อเป็นวัสดุยั่งยืน ส่งเสริมอนาคตการปลดปล่อยสุทธิ<br />

เป็นศูนย์ โดยสามารถแบ่งออกเป็น<br />

1. วัสดุก่อสร้างที่เป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutral<br />

Building Materials) คือ วัสดุที่ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์<br />

ที่ปลดปล่อยออกมาเท่ากับที่ดูดซับจากบรรยากาศ<br />

2. วัสดุก่อสร้างที่ปริมาณคาร์บอนติดลบ (Carbon Negative<br />

Building Materials) คือ วัสดุที่ดูดซับคาร์บอนได้เป็นปริมาณ<br />

มากกว่าที่ปลดปล่อยออกมา<br />

สำาหรับวัสดุก่อสร้างประเภทที่สองสามารถทำ าได้โดยการประยุกต์ 3 เรื่อง<br />

ร่วมกัน คือ การใช้แหล่งพลังงานยั่งยืน ระบบวิศวกรรมที่ใช้พลังงานอย่าง<br />

มีประสิทธิภาพ และการใช้เทคโนโลยีดักจับ และกักเก็บคาร์บอน<br />

<strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> ฉบับนี้ขอแนะนำาให้รู้จักวัสดุก่อสร้างที่ปริมาณคาร์บอน<br />

ติดลบ (Carbon Negative) 6 ประเภท ได้แก่ โลหะที่นำากลับมาใช้ใหม่<br />

(Recycled metals) อิฐคาร์บอนต่ำา (Low-carbon bricks) กระเบื้อง<br />

รักษ์โลก (Green tiles) ไม้เพื่อโครงสร้าง (Structural timber) เฮมพ์<br />

คอนกรีตหรือคอนกรีตใยกัญชง (Hempcrete) และคอนกรีตรักษ์โลก<br />

(Green or Carbon Negative Concrete)<br />

โลหะที่่นำากลับมิาใชิ้ ใหมิ่ (Recycled metals)<br />

กระบวนการผลิตโลหะปลดปล่อยคาร์บอนออกมาเป็นจำานวนมาก การนำา<br />

โลหะกลับมาใช้ใหม่จึงเป็นการลดการใช้พลังงานและการปล่อยคาร์บอน<br />

ได้โดยไม่ทำาให้ลดคุณสมบัติของโลหะลง ยิ่งการใช้ซ้ำาโดยไม่ต้อง<br />

ผ่านกระบวนการนำากลับไปใช้ใหม่ยิ่งลดคาร์บอนได้มากขึ้น อย่างการ<br />

ใช้โครงสร้างเสาและคานเหล็กซ้ำา หรือการนำาตู้คอนเทนเนอร์มาใช้ซ้ำา<br />

เป็นโครงสร้างอาคาร<br />

อิฐคาร์บอนต้ำ า (Low-carbon bricks)<br />

อิฐเป็นหนึ่งในวัสดุที่มีใช้กันมานานและยังคงเป็นวัสดุหลักในการก่อสร้าง<br />

การเผาอิฐที่อุณหภูมิมากกว่า 1000ºC เป็นการใช้พลังงานจากฟอสซิล<br />

อย่างมหาศาล สิ้นเปลืองแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอย่างที่ต้องมีบ่อขุดดิน<br />

The current trend in architectural design and construction is<br />

toward zero energy use, carbon neutrality, and even net zero<br />

emissions. Concerning the carbon emitted by building energy<br />

usage, there is currently knowledge and technology in energysaving<br />

design and the use of renewable energy that can help<br />

minimize this portion. However, the carbon emitted by construction<br />

materials and during building construction, known<br />

as embodied carbon, is more difficult to reduce because it<br />

necessitates changes in the processes of acquiring raw<br />

materials, manufacturing, transportation, use, and disposal<br />

or reuse, all of which must be considered throughout the life<br />

cycle of materials according to the Life Cycle Assessment<br />

(LCA) method of products and buildings.<br />

As a result, construction materials have an important role in<br />

either releasing or absorbing carbon. The construction industry<br />

has attempted to develop many innovative materials and<br />

building envelopes to be sustainable materials, promoting<br />

a net zero emissions future. These materials can be divided<br />

into two categories: carbon-neutral building materials, which<br />

emit the same amount of carbon dioxide as is absorbed from<br />

the atmosphere, and carbon-negative building materials, which<br />

absorb more carbon than they emit.<br />

For the latter type of building material, this can be done by<br />

applying three things together: using sustainable energy<br />

sources, energy-efficient engineering systems, and carbon<br />

capture and storage technology.<br />

In this issue of the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>, we will discuss some types<br />

of carbon-negative construction materials: recycled metals,<br />

low-carbon bricks, green tiles, structural timber, hemp concrete<br />

or hempcrete, and green or carbon-negative concrete.<br />

Recycled metals<br />

The metal manufacturing process releases large amounts of<br />

carbon. Recycling metals thus reduces energy use and carbon<br />

emissions without compromising the metal’s properties. The<br />

more it is reused without going through the recycling process,<br />

the more carbon can be reduced. Some examples are reusing<br />

steel columns and beam structures or reusing containers as<br />

building structures.<br />

Low-carbon bricks<br />

Brick is one of the materials used for a long time and is still<br />

the main construction material. Firing bricks at temperatures<br />

over 1000ºC uses enormous amounts of fossil energy. It wastes<br />

natural resources, such as having a pond dug in the ground<br />

for many raw materials. Producing low-carbon bricks using<br />

renewable materials and reducing the firing process is an<br />

important principle in reducing the energy and carbon content<br />

of this type of construction material. Since 2009, bricks have<br />

been produced from fly ash, a by-product of burning coal to<br />

produce electricity. It can use up to 40 percent of fly ash


SUSTAINABLE BUILDING MATERIALS FOR A NET ZERO EMISSIONS FUTURE<br />

113<br />

2<br />

1<br />

3<br />

5<br />

4<br />

Photo Reference<br />

1. Kenoteq.com<br />

2-5. Regional House Edeghem โดย BC architects จาก archdaily.com/896828/regional-house-edeghem-bc-architects?ad_medium=office_landing&ad_name=article


114<br />

materials<br />

6<br />

7<br />

9<br />

8<br />

Photo Reference<br />

6-8. renuteq.com/single-post/structural-engineered-bamboo-airport-terminal-roof<br />

9. hempthai.com/research/hempcrete<br />

10. hemptradepro.com/product/cannabric/<br />

10


SUSTAINABLE BUILDING MATERIALS FOR A NET ZERO EMISSIONS FUTURE<br />

1<strong>15</strong><br />

เพื่อเป็นวัตถุดิบมากมาย การผลิตอิฐคาร์บอนต่ำาโดยใช้วัสดุทดแทนและ<br />

ลดกระบวนการเผาจึงเป็นหลักสำาคัญในการลดพลังงานและคาร์บอน<br />

ของวัสดุก่อสร้างประเภทนี้ นับตั้งแต่ปี 2009 มีการผลิตอิฐจากเถ้าลอย<br />

ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการเผาถ่านหินเพื่อผลิตไฟฟ้า โดยสามารถ<br />

ใช้เถ้าลอยได้ถึงร้อยละ 40 และมีส่วนผสมของผงแก้วละเอียด เหล็ก<br />

ซิลิกา และอลูมิเนียม อิฐชนิดนี้จึงมีคาร์บอนแฝงต่ำากว่าอิฐที่มีอยู่ทั่วไป<br />

นอกจากนี้ตัวอย่างในสหราชอาณาจักรพบว่าจากความพยายามของผู้ผลิต<br />

อิฐที่ผ่านมาทำาให้การปลดปล่อยคาร์บอนของอิฐลดลง 8 กิโลกรัมคาร์บอน-<br />

ไดออกไซด์เทียบเท่าต่อตารางเมตร (CO 2<br />

e/m 2 ) เมื่อเทียบกับปี 20<strong>15</strong><br />

และโดยเฉลี่ยอิฐปัจจุบันมีค่า 26 kg CO 2<br />

e/m 2 เมื่อเทียบกับอิฐดินเผา<br />

ทั่วไปที่มีค่า 27.3 kg CO 2<br />

e/m 2<br />

กระเบื้องรักษ์ โลก (Green tiles)<br />

กระเบื้องเซรามิกชนิดนี้ทำาจากการนำาแก้วกลับมาใช้ใหม่ร้อยละ 50<br />

และร่วมกับแร่ชนิดอื่น ๆ เป็นวัสดุที่สามารถใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก<br />

อาคาร นอกจากนี้ในประเทศไทยเองก็มีผู้พัฒนากระเบื้องอนุรักษ์<br />

สิ ่งแวดล้อม (Eco Collection) โดยลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติใหม่ใน<br />

การผลิตถึงร้อยละ 80 ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการ<br />

ขนส่งได้ร้อยละ 75 ซึ่งเทียบเท่ากับการปลูกต้นไม้ใหญ่กว่า 944 ต้น<br />

และลดการใช้น้ำาใหม่ได้ร้อยละ 25 ด้วยการหมุนเวียนน้ำากลับมาใช้ซ้ำา<br />

ไมิ้เพื่อโครงสร้าง (Structural timber)<br />

วัสดุจากไม้กำาลังกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง และในอนาคตอันใกล้<br />

จะยิ่งมีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากไม้เป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์<br />

โดยธรรมชาติ เป็นวัสดุก่อสร้างที่ปริมาณคาร์บอนติดลบ ทั้งนี้เราสามารถ<br />

ใช้ไม้ได้ทั้งในลักษณะที่เป็นโครงสร้างเสา-คาน โครงถัก และเป็น<br />

ผิวเปลือกอาคาร เช่น การใช้ไม้ไผ่วิศวกรรม (Engineered Bamboo)<br />

ซึ่งได้รับการพิจารณาเป็นเหล็กรักษ์โลกสำาหรับศตวรรษที่ 21 เลยทีเดียว<br />

โดยเป็นวัสดุชีวภาพที่นำ ากลับมาใช้ใหม่ได้อย่างรวดเร็ว และกักเก็บคาร์บอน<br />

ได้มากกว่าไม้ป่าที่ขนาดเท่ากันถึงร้อยละ 35-50 เพราะไม้ไผ่เป็นไม้<br />

โตเร็ว ใช้เวลาเพียง 4-5 ปีก็สามารถนำามาใช้งานได้ต่างจากไม้เนื้อแข็ง<br />

ที่ต้องใช้เวลามากกว่า 60 ปีเพื่อเติบโต และเมื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์<br />

วัสดุก่อสร้างแล้วก็เป็นวัสดุที่กักเก็บคาร์บอนได้มากด้วย โดยสามารถ<br />

ดักจับคาร์บอนได้ 80 เมตริกตันต่อพื้นที่ 1 เฮกเตอร์ (เท่ากับ 10,000<br />

ตารางเมตร หรือ 6 ไร่ 1 งาน)<br />

เฮมิพ์คอนกร่ต้หรือคอนกร่ต้ใยกัญชิง (Hempcrete)<br />

เฮมพ์ (Hemp) หรือ กัญชง เป็นพืชล้มลุกอายุสั้น ที่นิยมปลูกกันมาก<br />

ทางภาคเหนือในประเทศไทย เติบโตได้ง่าย มีเส้นใยเหนียวนุ่ม น้ำ าหนักเบา<br />

หากลอกเส้นใยออกจากลำาต้นของกัญชงทั้งหมด แกนลำาต้นที่เหลืออยู่<br />

‘แกนเฮมพ์’ จะมีน้ำาหนักเบา มีรูกลวง มีสีขาวอมน้ำาตาล และมีคุณสมบัติ<br />

ในการดูดซับกลิ่น น้ำา หรือน้ำามันได้ดี ไม่เป็นอาหารของปลวกและแมลง<br />

และไม่มีฝุ่น จีงสามารถนำาไปพัฒนาต่อเป็นวัสดุอาคารได้ โดยผสมแกน<br />

เฮมพ์หรือเส้นใยเฮมพ์กับปูนไลม์และน้ำ าจะได้เป็นเฮมพ์กรีต (Hempcrete)<br />

หรือเฮมพ์-ไลม์ (Hemp-Lime) หากผสมร่วมกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์<br />

และมวลรวมธรรมชาติจะมีชื่อเรียกเป็น เฮมพ์คอนกรีต (Hemp Concrete)<br />

and is a mixture of fine glass powder, iron, silica, and aluminum.<br />

Therefore, this type of brick has lower embodied carbon than<br />

other bricks. Additionally, for example, in the UK, past brick<br />

manufacturers’ efforts have reduced the carbon footprint<br />

of bricks by 8 kilograms of carbon dioxide equivalent per<br />

square meter (CO 2<br />

e/m 2 ) compared to 20<strong>15</strong>. On average,<br />

current bricks have a value of 26 kg CO 2<br />

e/m 2 compared to<br />

general-fired clay bricks with a value of 27.3 kg CO 2<br />

e/m 2 .<br />

Green tiles<br />

This ceramic tile is made from 50 percent recycled glass and<br />

other minerals. It is a material that can be used for both<br />

interiors and exteriors. In Thailand, there is a developer of<br />

environmentally friendly tiles (Eco Collection), which reduces<br />

the use of new natural resources in production by 80 percent,<br />

reduces carbon dioxide emissions from transportation by<br />

75 percent, which is equivalent to planting more than 944 trees,<br />

and reduces new water use by 25 percent by recycling water<br />

for reuse.<br />

Structural timber<br />

Wood materials are becoming popular again and, in the near<br />

future, will become even more important as wood is a natural<br />

carbon sink. It is a construction material with a negative carbon<br />

content. We can use wood in many forms, such as columns,<br />

beams, trusses, and building envelopes, including engineered<br />

bamboo, considered green steel for the 21st century. Engineered<br />

bamboo is a biological material that can be recycled<br />

quickly and can store 35–50 percent more carbon than forest<br />

trees of the same size because bamboo is a fast-growing wood<br />

that takes only 4-5 years to be used, unlike hardwood, which<br />

takes more than 60 years to mature. When developed into a<br />

construction material product, it is also a material that can<br />

store a lot of carbon; engineered bamboo can capture<br />

80 metric tons of carbon per 1 hectare of area (equal to<br />

10,000 square meters or six rai one ngan).<br />

Hemp concrete or hempcrete<br />

Hemp is a short-lived herbaceous plant. It is very popularly<br />

grown in the northern region of Thailand. It is easy to grow<br />

and has tough, soft, lightweight fibers. If all the fibers are<br />

peeled from the hemp stem, the remaining stem core, known<br />

as the hemp core, is light, hollow, and brownish-white and<br />

can absorb odors, water, or oil well. It is not food for termites<br />

and insects and does not contain dust, so it can be developed<br />

as a building material. Mixing hemp cores or fibers with lime<br />

cement and water makes it hempcrete or hemp-lime. If mixed<br />

with Portland cement and aggregate, it is called hemp<br />

concrete. It can be compressed or molded and is very strong<br />

when exposed to air for long periods. Hempcrete is mainly<br />

used in wall construction, flooring, and structural and insulating<br />

materials that support a small load. When mixed with<br />

coal ash, hempcrete has lightweight and low-density pro-


116<br />

materials<br />

สามารถอัดหรือหล่อขึ้นรูปได้ มีความแข็งแรงมากเมื่อสัมผัสกับอากาศ<br />

เป็นระยะเวลานาน ส่วนมากใช้ทำาเป็นวัสดุก่อสร้าง ประเภทวัสดุก่อผนัง<br />

วัสดุเทพื้น วัสดุโครงสร้าง และวัสดุฉนวนที่รับน้ำาหนักบรรทุกไม่มาก<br />

เฮมพ์คอนกรีตผสมเถ้าถ่านหิน มีคุณสมบัติ คือ น้ำาหนักเบา ความ<br />

หนาแน่นต่ำา มีคุณสมบัติเป็นฉนวน คลายความร้อนได้เร็ว ดูดซับเสียง<br />

ดูดซับกลิ่น ไม่ลามไฟ และสามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดี<br />

นอกจากนี้ยังมีประเภทที่หล่อและอัดขึ้นรูปเป็นบล๊อก สามารถก่อ-ฉาบ-<br />

ตกแต่งผิว โดยใช้ปูนก่อ-ปูนฉาบทั่วไปที่มีขายตามท้องตลาดได้ มีตัวอย่าง<br />

ผลงานนวัตกรรมระดับรางวัลเวที NSTDA Investors’ Day 2018 ที่มี<br />

ความโดดเด่นด้านความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม น้ำาหนักเบา เป็นฉนวน<br />

กันความร้อน ไม่ลามไฟ ดูดซับเสียง กลิ่นและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์<br />

ได้ประมาณร้อยละ 50 ของปริมาตร<br />

คอนกร่ต้รักษ์ โลกหรือ Green or Carbon Negative Concrete<br />

คอนกรีตรักษ์โลกผลิตจากวัสดุที่เป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมหรือ<br />

วัสดุที่นำากลับมาใช้ใหม่ทดแทนซีเมนต์ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำาหรับคอนกรีต<br />

โดยทั่วไป เช่น การใช้เถ้าลอย ตะกรันจากการเผาไหม้ อย่างตะกรัน<br />

ทองแดงถูกนำามาแทนมวลรวม (Aggregate) หรือทรายในการผสม<br />

คอนกรีต หรือสามารถนำาเศษวัสดุจากการก่อสร้างกลับมาใช้ใหม่ได้<br />

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาทิ คอนกรีตคาร์บอนต่ำาจาก CarbiCrete เป็น<br />

คอนกรีตที่ใช้เศษเหลือจากอุตสาหกรรมเหล็ก เช่น ตะกรันเหล็ก กากแร่<br />

มาทดแทนซีเมนต์ และใช้เทคโนโลยีการฉีดคาร์บอนไดออกไซด์ในก้อน<br />

คอนกรีตระหว่างการบ่มเพื่อเร่งให้คอนกรีตแข็งตัว ซึ่งนอกจากจะช่วย<br />

กักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ในคอนกรีตแล้ว ยังช่วยเพิ่มความแข็งแรง<br />

ให้กับคอนกรีตอีกด้วย<br />

11<br />

โดยรวม การเลือกใช้วัสดุยั่งยืน มีปริมาณคาร์บอนต่ำาหรือติดลบ จึงเป็น<br />

แนวทางหนึ่งที่จะนำาไปสู่เป้าหมาย การปลดปล่อยสุทธิเป็นศูนย์ภายใน<br />

ปี 2050 อันเป็นเป้าหมายที่ทุกคนทุกภาคส่วนจะต้องร่วมมือกัน วงการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมและอุตสาหกรรมก่อสร้างจึงควรเร่งพัฒนา<br />

นวัตกรรมการออกแบบควบคู่กับนวัตกรรมวัสดุยั่งยืนต่อไป<br />

12<br />

Photo Reference<br />

11,<strong>15</strong>. Regional House Edeghem โดย BC architects จาก archdaily.com/896828/regional-houseedeghem-bc-architects?ad_medium=office_landing&ad_name=article<br />

12. dezeen.com/2021/06/<strong>15</strong>/carbon-capturing-concrete-carbicrete<br />

13-14. ผลงานวิจัยโดย ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ สินศิริ และคณะจากสำานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีสุรนารี จาก<br />

nstda.or.th/investorsday/2018/projects/detail/9/index.html13. mooneydemolition.co.uk/<br />

materials/cambridge-white-bricks/


SUSTAINABLE BUILDING MATERIALS FOR A NET ZERO EMISSIONS FUTURE<br />

117<br />

13<br />

14<br />

perties, insulating properties, quickly releases heat, absorbs<br />

sound, absorbs odors, does not spread fire, and can absorb<br />

carbon dioxide gas well. Some types are cast and extruded<br />

into blocks that can be built or plastered to decorate the<br />

surface using general construction cement and plaster available<br />

on the market. Some examples of hempcrete innovations<br />

received awards from the NSTDA Investors’ Day 2018. They<br />

are outstanding in being environmentally friendly, light, and<br />

heat-insulating; they do not spread and can absorb sound,<br />

odor, and carbon dioxide gas by approximately 50 percent<br />

of their volume.<br />

Green or carbon-negative concrete<br />

Green concrete is made from industrial by-products or<br />

recycled materials that replace cement, a common raw material<br />

for concrete, such as fly ash and slag from combustion. For<br />

example, copper slag is used instead of aggregate or sand<br />

in concrete mixes. Scrap materials from construction can also<br />

be reused. Examples of these products include low-carbon<br />

concrete from CarbiCrete, which is concrete that uses waste<br />

from the steel industry, such as steel slag and mineral slag,<br />

to replace cement and uses technology to inject carbon dioxide<br />

into the concrete block during curing to accelerate the hardening<br />

of the concrete. In addition to helping to store carbon<br />

dioxide in the concrete, it also helps increase the strength<br />

of the concrete.<br />

Utilizing sustainable materials that have a negative or minimal<br />

carbon footprint is one approach to achieving the objective.<br />

To reach net-zero emissions by 2050, collaboration is required<br />

across all sectors. It is imperative that the construction industry<br />

and the architectural design community maintain their momentum<br />

in the advancement of sustainable material developments<br />

and design innovations.<br />

<strong>15</strong><br />

รองศาสต้ราจารย์<br />

ดร.ภัที่รนันที่์ ที่ักขนนที่์<br />

จากมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์<br />

ปั จจุบันเป็ นอาจารย์ประจำา<br />

ภาควิชานวัตกรรมอาคาร<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

มีความเชี่ยวชาญในการ<br />

ออกแบบสภาพแวดล้อม<br />

เขตร้อน วัสดุก่อสร้าง<br />

การควบคุมความร้อน และ<br />

การจำาลองด้วยคอมพิวเตอร์<br />

สำ าหรับการออกแบบ<br />

ดร.ภัทรนันท์เป็ นสมาชิกของ<br />

คณะกรรมการอาคารเขียว<br />

และสถาบันอาคารเขียว<br />

แห่งประเทศไทย และมีผลงาน<br />

ทางวิชาการมากมายทั้งการ<br />

บรรยายและการเขียนหนังสือ<br />

Pattaranan Takkanon,<br />

a Ph.D. in Architecture<br />

from the University of<br />

Queensland, is an associate<br />

professor at Kasetsart<br />

University Faculty of<br />

Architecture. She has<br />

expertise in tropical environment<br />

design, building<br />

materials, thermal control,<br />

and computer simulation<br />

for performance-based<br />

design. She is a member<br />

of the Green Building Committee<br />

and the Thailand<br />

Green Building Institute<br />

and has authored a number<br />

of books and delivered<br />

numerous lectures.


118<br />

materials<br />

Carbon<br />

Craft<br />

Tiles<br />

Carbon Craft Design ทีมสถาปนิกและนัก<br />

ออกแบบในมุมไบ ประเทศอินเดีย ผลิตกระเบื้อง<br />

จาก “คาร์บอนแบล็ค” ซึ่งเป็นของเสียที่เกิดจาก<br />

การเผาเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยจะใช้ของเสียที่<br />

บริษัทต่าง ๆ ต้องทำาเป็นวัตถุดิบ ในระหว่าง<br />

กระบวนการทางอุตสาหกรรม สิ่งเหล่านี้จะ<br />

ถูกทิ้งหรือเผามากยิ่งขึ้น โครงการสร้างสรรค์<br />

ที่นำาโดยสถาปนิก Tejas Sidnal ใช้เทคโนโลยี<br />

และงานฝีมือเพื่อเปลี่ยนของเสียนี้ให้กลายเป็น<br />

ของตกแต่งที่ป้องกันไม่ให้เกิดการเผาไหม้<br />

อีกครั้ง ในการทำาอิฐนั้น คาร์บอนแบล็คจะ<br />

ถูกขึ้นรูป ตัด และผสมกับซีเมนต์ การทำา<br />

กระเบื้องดินเผาเป็นศิลปะที่มีมายาวนานมาแต่<br />

โบราณ กระบวนการผลิตได้รับความช่วยเหลือ<br />

จากศิลปินท้องถิ่น ทำาให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่สามารถ<br />

ขายได้ นำาขยะกลับมาใช้ใหม่ และเสริมสร้าง<br />

ความเข้มแข็งให้กับชุมชนช่างฝีมือ<br />

Carbon Craft Design, a team of architects<br />

and designers based in Mumbai,<br />

utilizes the unavoidable secondary<br />

outputs of various businesses as the<br />

primary substance to manufacture tiles<br />

composed of “carbon black,” a residual<br />

substance produced from burning fossil<br />

fuels. In the industrial process, this<br />

material is disposed of or incinerated.<br />

Architect Tejas Sidnal’s pioneering<br />

project employs technology and skilled<br />

artistry to reuse this byproduct, halting<br />

its combustion and transforming it into<br />

a decorative component. The tiles are<br />

manufactured through molding, trimming,<br />

and blending carbon black with<br />

cement. The art of producing cement<br />

tiles has a history that spans two cen<br />

turies. The production procedure was<br />

determined with the participation of<br />

local craftspeople. The outcome is a<br />

financially feasible product that repurposes<br />

discarded materials and strengthens<br />

the artisan community.<br />

carboncraftdesign.com


119<br />

Finite<br />

Concrete substitute<br />

Finite เป็นวัสดุคอมโพสิตที่สร้างขึ้นโดย Carolyn<br />

Tam, Hamza Oza, Matteo Maccario และ<br />

Saki Maruyama ทีมนักศึกษาจาก Imperial<br />

College London เพื่อใช้ทดแทนคอนกรีต โดย<br />

ใช้ทรายทะเลทรายซึ่งมีอยู่มากมาย แทนที่<br />

จะใช้ทรายขาวละเอียดที่หาได้ยากในการ<br />

ก่อสร้างแบบทั่วไป โดยทรายทะเลทรายเป็น<br />

สารที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ซึ่งเป็นอีกหนึ่ง<br />

ความพยายามที่จะหาวัสดุทดแทนคอนกรีต<br />

เพื่อความยั่งยืนในอนาคต สารยึดเกาะอินทรีย์<br />

ของ Finite นี้ยังช่วยให้คอนกรีตสลายตัวได้<br />

เช่นเดียวกับการรวบรวมและนำากลับมาใช้ใหม่<br />

ในหลายวงจรชีวิต จึงช่วยลดการใช้วัสดุให้<br />

เหลือน้อยที่สุด<br />

Finite, a composite material created<br />

by students Carolyn Tam, Hamza Oza,<br />

Matteo Maccario, and Saki Maruyama<br />

at Imperial College London, is a substitute<br />

for concrete. It utilizes desert sand,<br />

which is abundant, instead of the scarce<br />

fine white sand traditionally used in<br />

construction. It serves as a biodegradable<br />

substance that simultaneously<br />

helps prevent the planet from facing<br />

future sustainability challenges. Finite’s<br />

organic binders enable the decomposition<br />

of concrete, as well as its collection<br />

and reuse for several life-cycles,<br />

hence minimizing material consumption.<br />

materialfinite.com


120<br />

materials<br />

Soil Block<br />

Concrete substitute<br />

Karen Kerstin Poulain, a young architect<br />

in Mexico, investigates the potential of<br />

constructing with soil by introducing a<br />

novel approach: the technique of pouring<br />

it. The outcome is a composite material<br />

with properties similar to concrete, displaying<br />

high resistance to compression<br />

and cracking. The composite is formed<br />

by combining tepetate, water, and rice<br />

husks, resulting in a production process<br />

that requires minimal energy input. In<br />

addition to substituting concrete, a material<br />

that requires a significant amount<br />

of energy and contributes to eight percent<br />

of world CO2 emissions, Karen<br />

Kerstin Poulain’s alternative also has the<br />

advantage of decreasing agricultural<br />

waste.<br />

raizarquitectura.mx<br />

Karen Kerstin Poulain สถาปนิกรุ่นใหม่ใน<br />

เม็กซิโก ได้ศึกษาศักยภาพของการก่อสร้าง<br />

ด้วยดินโดยนำาเสนอแนวทางใหม่ จากเทคนิค<br />

การเทดิน ผลลัพธ์ที่ได้คือวัสดุคอมโพสิตที่มี<br />

คุณสมบัติใกล้เคียงกับคอนกรีต มีความทนทาน<br />

ต่อแรงอัดและการแตกร้าวสูง คอมโพสิตนี้<br />

เกิดจากการผสมเทเปเทต หรือดินเหนียว<br />

ท้องถิ่น น้ำา และแกลบเข้าด้วยกัน ส่งผลให้<br />

กระบวนการผลิตใช้พลังงานน้อยที่สุด นอกเหนือ<br />

จากการทดแทนคอนกรีตซึ่งเป็นวัสดุที่ต้องใช้<br />

พลังงานจำานวนมากและมีส่วนในการปล่อย<br />

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 8 ของโลกแล้ว<br />

ทางเลือกใหม่ของ Karen Kerstin Poulain<br />

ยังมีข้อได้เปรียบในการลดของเสียทางการ<br />

เกษตรอีกด้วย


<strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

Wonder of Well-Being<br />

City 2022<br />

121<br />

OUT<br />

NOW!<br />

The Association of Siamese<br />

Architects held "WOW-Wonder<br />

of Well-Being City 2022,"<br />

collaborating with various<br />

institutions and organizations<br />

to explore urban development<br />

approaches. The event<br />

included academic seminars<br />

and recreational activities,<br />

aiming to create a livable city<br />

for everyone. This special<br />

publication, produced by <strong>ASA</strong><br />

Platform, is the official catalog<br />

summing up all the interesting<br />

activities in the <strong>ASA</strong> WOW<br />

2022.<br />

WOW-Wonder of Well-Being City<br />

2022 เป็ นงานที่สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับหน่วยงาน<br />

และองค์กรต่างๆ เพื่อสํารวจแนวทาง<br />

การพัฒนาเมือง ภายในงานมีทั้งสัมมนา<br />

วิชาการและกิจกรรมสันทนาการเพื่อ<br />

สร้างเมืองน่าอยู่สําหรับทุกคน หนังสื อ<br />

ฉบับพิเศษนี้ เป็ นสู จิบัตรอย่างเป็ น<br />

ทางการที่สรุปกิจกรรมที่น่าสนใจทั้งหมด<br />

ใน <strong>ASA</strong> WOW 2022<br />

Download the e-book here


122<br />

PROFESSIONAL<br />

Green<br />

Dwell<br />

In the world of sustainable design, which is generally<br />

interwoven with the energy and environmental aspects of<br />

building, human sustainability frequently falls off track.<br />

Combining these three elements can develop a design based<br />

on an awareness of human dependency and negotiation<br />

with nature. Similarly, an architectural design trajectory<br />

that considers every dimension of architecture and treats<br />

it as a physical structure with an interactive relationship<br />

with nature and human users has laid the conceptual<br />

groundwork for a parallel approach to sustainable design<br />

and good quality of life. This is the path that the Bangkokbased<br />

consultancy GreenDwell has taken. Raksak<br />

Sukonthatam and Sirithip Hantaweewongsa, architects<br />

and LEED-accredited professionals, founded this architecture<br />

and sustainable consulting firm for quality dwelling with<br />

an attempt to propel and integrate multiple dimensions<br />

of sustainable design into every process and facet<br />

of green architecture.<br />

Text: Surawit Boonjoo<br />

Photo Courtesy of Green Dwell, TravelKanuman and Jinnawat Borihankijanan


1<br />

01<br />

บรรยากาศบริเวณ<br />

สนามเด็กเล่นภายใน<br />

Raintree International<br />

School


124<br />

professional<br />

2 3<br />

02<br />

ศิริที่ิพย์ หาญที่วีวงศา<br />

ผู้ก่อตั้ง GreenDwell<br />

03<br />

รักศักดิ์ สุคนธะตามร์<br />

ผู้ก่อตั้ง GreenDwell<br />

ความย่งยืนของมนุษย์ บ่อยคร่งเป็นสิงที่่ตกหล่นไปจาก<br />

ขอบเขตของแนวคิดการออกแบบอย่างย่งยืน ซึ่่งม่กย่ดโยง<br />

เฉพาะกรอบมุมมองด้านพล่งงานและสิงแวดล้อมของ<br />

สถาปัตยกรรม แต่ด้วยการเร่ยงร้อยรวมทั้้งสามมิติเข้าไว้<br />

อย่่เสมอ ก็จะสามารถผล่กด่นส่่การออกแบบบนความเข้าใจ<br />

ของการสอดประสานระหว่างการพ่งพาและต่อรองของ<br />

มนุษย์ก่บธรรมชาติ เฉกเช่นก่บที่ิศที่างการออกแบบที่่<br />

พิจารณาทีุ่กมิติของสถาปัตยกรรมในสถานะโครงสร้างที่่<br />

ม่ปฏิิส่มพ่นธ์เก่ยวเน่องก่บทั้้งความเป็นไปของธรรมชาติ<br />

และกิจกรรมของผ่้ใช้งานอาคาร อ่นเป็นฐานรากที่างความคิด<br />

ร่ปแบบค่่ขนานระหว่างการออกแบบอย่างย่งยืนและการ<br />

เสริมสร้างคุณภาพช่วิตอ่นด่ น่คือแนวที่างการที่ำางานของ<br />

GreenDwell ออฟฟิศออกแบบสถาปัตยกรรมและให้<br />

คำาปร่กษาเพือความย่งยืนและความเป็นอย่่ที่่ด่ ซึ่่งก่อต่ งโดย<br />

สองสถาปนิกและ LEED AP แตน - ร่กศ่กดิ สุคนธะตามร์<br />

และ เงา - ศิริที่ิพย์ หาญที่ว่วงศา ผ่้พยายามข่บเคลือน<br />

หลากมิติของการออกแบบอย่างย่งยืนในทีุ่กกระบวนการ<br />

ของสถาปัตยกรรมส่เข่ยว<br />

“หลัังจากที่่เรีียนจบ(รีะดัับปริิญญาโที่)แล้้ว พอเรีาอย่<br />

ที่่สหรััฐอเมริิกาเป็ นรีะยะเวลัาหน่ ง เรีาจ่งตััดส ินใจ<br />

สมัครีงานต่่อที่่ฮ่่องกง เน่องด้้วยรีะยะที่างที่่ขยับเข้าใกล้้<br />

ปรีะเที่ศไที่ยมากยิงข่ น แลัะในขณะนันเรีาก็มองวา<br />

ฮ่่ องกงม่ความตั่นตััวที่างด้้าน sustainable design<br />

จ่งเลืือกที่ำางานกันที่่นัน โดัยคุณรัักศักดัิที่ำางานเป็ น<br />

สถาปนิก ในขณะที่่ดิิฉัันที่ำางานในออฟฟิ ศสถาปนิก แต่่<br />

อย่ในสวนงานที่่ดููแลั sustainable design resource<br />

โดัยลัักษณะของโครีงการีตัาง ๆ ที่่เรีาได้้ที่ำาจะเป็ น<br />

รููปแบบ mixed-use ซึ่่ งการก ่อสร้้างหลััก ๆ จะเกิดัข่ น<br />

ที่่ปรีะเที่ศจ่น ตัลัอดัช่่วงการีที่ำางานถ่งแม้เรีาจะอย่กัน<br />

คนลัะบริิษัที่แตัก็ได้้เห็นถ่งปั ญหาเดีียวกัน ที่่ sustainable<br />

design ถ่กตััดัลังในแตัลัะช่่วงของกรีะบวนการี<br />

การีที่ำางานกรีะทั่่งเหลืือในจุดั ๆ หน่ ง ซึ่่ งช่่วยที่ำาให้เรีา<br />

เข้าใจถ่งหลัากหลัายปั จจัยทั้้งที่่สามารีถควบคุมได้้แลัะ<br />

ไมได้้ ปรีะกอบกับปรีะสบการณ ์ที่่สังสมมาอยางเพ่ยงพอ<br />

จากทั้้งสองบริิษัที่ จ่งคิดว ่าจะกลัับมาเปิ ดัออฟฟิ ศ<br />

ออกแบบของพวกเรีาเอง โดัยอาจจะเรีิมในสเกลัที่่<br />

เล็็กกอน อยางเช่่นบ้าน” ศิริิที่ิพย์พ่ ดัถ่งจุดัเรีิมต้้น<br />

ของ GreenDwell<br />

หล่งจากร่กศ่กดิ และศิริที่ิพย์ สำาเร็จการศ่กษาในระด่บ<br />

ปริญญาตร่จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์-<br />

มหาวิที่ยาล่ย ทั้้งสองได้เดินที่างไปศ่กษาต่อในระด่บ<br />

ปริญญาโที่ย่งประเที่ศสหร่ฐอเมริกา โดยร่กศ่กดิเลือกศ่กษา<br />

ด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่่ University of Michigan ขณะที่่<br />

ศิริที่ิพย์ปร่บเปล่ยนมุ่งเน้นศ่กษาเฉพาะที่างด้าน sustainable<br />

design ที่่ Texas A&M University ระหว่างการศ่กษาในระด่บ<br />

ปริญญาโที่ เธอสามารถสอบผ่านใบประกาศน่ยบ่ตร LEED<br />

AP และเป็นผ่้เช่ยวชาญด้านอาคารเข่ยว และสำาหร่บร่กศ่กดิ<br />

เขาได้ร่บในระหว่างที่ำางานที่่ฮ่่องกง<br />

เมือจบการศ่กษาระด่บปริญญาโที่ สองสถาปนิกได้ต่ดสินใจ<br />

ที่ำางานในประเที่ศสหร่ฐอเมริกาเป็นเวลา 2 ปี และที่่ฮ่่องกง<br />

อ่กราว 1 ปีกว่า ตลอดช่วงระหว่างการส่งสมประสบการณ์<br />

การที่ำางาน ทั้้งสองได้เลือกเริ มต้นวิชาช่พในออฟฟิศออกแบบ<br />

ที่างด้านสถาปัตยกรรมส่เข่ยว ประกอบก่บความคิดใน<br />

การวางแผนช่วิตสำาหร่บอนาคต ทั้้งค่จึึงต่ดสินใจเดินที่าง<br />

กล่บมาย่งประเที่ศไที่ยในช่วงอายุ 30 ปี และร่วมก่นก่อต่ง<br />

GreenDwell ข่นในปี 2552 ด้วยความต่งใจแรกเริมในการ<br />

ที่ำบ ้านส่เข่ยว พร้อมก่บการที่ดลองข่บเคลือน sustainable<br />

design ให้คงอย่ทีุ่กช่วงขณะของสถาปัตยกรรม


GREENDWELL<br />

125<br />

4<br />

“After receiving master’s degrees and spending some time in the United States,<br />

we decided to seek jobs in Hong Kong because it is much closer to Thailand.<br />

We also noticed how Hong Kong was becoming more aware of and embracing<br />

environmental design, so it was an obvious choice for us. Raksak was an<br />

architect, and I worked for an architecture firm in a department called Sustainable<br />

Design Resource. We were assigned to work on largely mixed-use projects<br />

in China. Throughout our time in Hong Kong, even though we worked at different<br />

companies, we encountered a similar issue in which sustainable design was<br />

being reduced to the point where we were able to recognize that there were<br />

factors that we could and could not control. With the experiences we’d gained<br />

from working at two different companies, we thought it might be time for us to<br />

open our own office and start with small-scale projects like houses,” Sirithip<br />

recounted the genesis of GreenDwell.<br />

04<br />

ภาพการเยี่ยมชมและ<br />

เรียนรู้ที่่ the Research &<br />

Innovation for Sustainability<br />

Center (RISC)<br />

05<br />

ภาพกิจกรรมการบรรยาย<br />

“LEED and Sustainable<br />

Architecture” ณ<br />

Lamptitude<br />

Raksak and Sirithip completed their undergraduate studies at Chulalongkorn University’s Faculty<br />

of Architecture before continuing their education in the United States. Raksak chose the<br />

University of Michigan for his master’s degree in architecture, while Sirithip chose Texas A&M<br />

University to focus on sustainable design study. Sirithip passed the LEED Professional Exams<br />

while she was still a post-graduate student, paving the way for her to become a green building<br />

expert. Raksak later passed the same examination while working in Hong Kong.<br />

Following graduation, the two architects worked in the United States for another two years<br />

before relocating to Hong Kong for another year. During their early professional careers, the<br />

two chose to work for offices specializing in green architecture. Raksak and Sirithip decided to<br />

return to their home country of Thailand when they were both in their early thirties and cofounded<br />

GreenDwell in 2009 with the initial intention of designing green homes alongside experimenting<br />

with “invoking sustainable design throughout the entire process” with their experiences and a<br />

plan for their future careers.<br />

“We’ve discovered that incorporating sustainable design from the beginning of a project makes green design<br />

much easier to implement. It can also result in significant cost savings when designers or architects approach<br />

architectural and green design collaboratively with a strong understanding of issues such as ventilation<br />

and scale because they can maximize a building’s potential and efficiency and ultimately improve users’<br />

well-being. Once we understood the entire process and how everything is intertwined, we incorporated<br />

them into our design. People’s knowledge and awareness of sustainable design were still quite restricted<br />

fifteen years ago. Because we are both LEED AP, we began designing small-scale projects and consulting<br />

on green building standards for large-scale buildings. Even if the projects were small in scale, we would<br />

always try to incorporate sustainable design, even if the owners did not specifically request it. Since the<br />

beginning, this has been our approach and mindset.” Raksak remembered.<br />

5<br />

“Invoke sustainable design throughout the entire process.”<br />

GreenDwell offers two types of services: architectural design and green building standard<br />

consultation (LEED, Green Mark, or TREES). The firm has a staff of 23 people who are responsible<br />

for four divisions: 12 architects who oversee architectural design, 5 interior designers who<br />

handle the studio’s projects, 3 members of the sustainable design team, and 3 others who<br />

handle administrative tasks such as accounting, human resources, and marketing. While the<br />

three primary divisions, architectural design, interior design, and sustainable design, are<br />

managed as separate entities with their own specific scope of services, sustainable design<br />

is always included in every architectural design process.


126<br />

professional<br />

รัักศักดัิเล่่าวา “เรีาพบวาการีบ่รีณาการี sustainable<br />

design นับตัังแต่่เรีิมต้้นโครีงการีที่ำาให้การีที่ำา<br />

กรีีน สามารีถดำำาเนินการีตัอได้้งาย อ่กทั้้งลัดัในสวน<br />

งบปรีะมาณ โดัยการีใช้้สถาปั ตัยกรีรีมไปกับการีบ่รีณา<br />

การีรีวมไปกับการีออกแบบโดัยผู้่้ออกแบบที่่ม่ความเข้าใจ<br />

ไมวาจะในเรี่องการีรีะบายอากาศ ขนาดัอาคารี เพ่อ<br />

สงเสริิมศักยภาพการีที่ำางานที่่ดีีให้กับอาคารีแลัะสงผู้ลั<br />

ที่่ดั่ข่ นต่่อผู้่้อย่อาศัย พอเข้าใจทั้้งหมดัน่เรีาจ่งมาเรีิม<br />

ที่ดัลัองที่ำาดั่ ย้อนกลัับไปเม่อ <strong>15</strong> ปี ที่่แล้้วคนก็ยังคงม่<br />

ความตั่นตััวเรี่อง sustainable design อยางจำก ัดั<br />

ด้้วยเรีาเป็ น LEED AP จ่งเรีิมต้้นทั้้งในสวนงานออกแบบ<br />

ขนาดัเล็็ก แลัะงานให้คำาปรึึกษา (มาตัรีฐานอาคารีเข่ยว)<br />

ที่่จะเป็ นโครีงการีขนาดัใหญ ในสวนงานการีออกแบบ<br />

แม้จะม่ขนาดัเล็็กเรีาก็พยายามบููรณาการี sustainable<br />

design เข้าไปในการีออกแบบแม้เจ้าของโครีงการี<br />

ไมได้้ร้้องขอ จ่งเป็ นแนวที่างของ GreenDwell มา<br />

นั บแต่่แรีกเรีิม”<br />

“Invoked sustainable design throughout the<br />

entire process”<br />

ออฟฟิศ GreenDwell แบ่งร่ปแบบการบริการเป็นสองส่วน<br />

คืองานออกแบบที่างสถาปัตยกรรมและงานให้คำาปร่กษา<br />

ด้านมาตรฐานอาคารเข่ยว (LEED, Green Mark หรือ<br />

TREES) ด้วยแรงข่บเคลือนของเหล่าที่่มงานทั้้งหมดกว่า<br />

23 คน ผ่้ร่บผิดชอบด่แลใน 4 ส่วนงาน ซึ่่งประกอบด้วย<br />

ที่่มสถาปนิกด่แลงานออกแบบสถาปัตยกรรม จำานวน 12 คน<br />

ที่่มน่กออกแบบภายในจำานวน 5 คน สำาหร่บส่วนงานสต่ดิโอ<br />

อ่กทั้้งที่่มที่่ปร่กษาที่างด้าน sustainable design จำานวน<br />

3 คน และในส่วนงานธุรการ ด่แลงานบ่ญช่ งานบริหาร<br />

จ่ดการบุคคล และการตลาด อ่กจำานวน 3 คน กลุ่มงานหล่ก<br />

ด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมและตกแต่งภายใน รวมไปถ่ง<br />

ในส่วน sustainable design ทั้้งหมดแม้จะแยกส่วนงานก่น<br />

ร่บผิดชอบภายใต้ร่ปแบบการให้บริการอย่างช่ดเจน แต่<br />

ในทีุ่กกระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม แนวที่าง sustainable<br />

design ก็จะถ่กนำามาบ่รณาการร่วมก่นเสมอ<br />

“เม่อม่โครีงการีเข้ามา เรีาจะเรีิมต้้นจากการีเข้าไป<br />

สัมภาษณ์ลููกค้าทั้้งในแงของคุณภาพแลัะปริิมาณกอน<br />

ถ้าหากเป็ นบ้าน เรีาก็จะต้้องที่รีาบรููปแบบการีใช้้ช่่วิตั<br />

ของสมาชิิกแตัลัะคนกอนวาเป็ นเช่่นไรี ม่ความต้้องการี<br />

อยางไรี หรืือถ้าหากเป็ นออฟฟิ ศ ก็ต้้องมาดั่วา ม่สิงที่่<br />

พ่งพอใจหรืือสิงที่่ต้้องการีในแตัลัะแผู้นกเป็ นอยางไรี<br />

บ้าง สิงเหล่่าน่นับเป็ น layer หน่ งของข้อมููล แต่่เม่อ<br />

เรีาเน้นในเรี่องของ sustainable design ก็จะมีีทีีมที่่<br />

เช่่ยวช่าญในเรี่องดัังกล่่าวซึ่่ งก็จะเป็ นที่่มที่่ที่ำาในสวนงาน<br />

ให้คำาปรึึกษา เข้ามาช่่วยดููแลน ำข ้อมููลหลัังการีเข้าไป<br />

สัมภาษณ์มาที่ำาการว ิเครีาะห์แลัะปรีะสานงานก่ งหน่ ง<br />

ไปกับที่่มออกแบบตัลัอดักรีะบวนการี” (ศิริิที่ิพย์)<br />

หล่งจากได้ร่บชุดข้อม่ลเบืองต้นมา ในช่วงของ pre-design<br />

ที่างที่่มที่่ด่แลส่วน sustainable design ก็จะเริมต้นส่งเคราะห์<br />

ข้อม่ลทั้้งหมด ผ่านการสร้างแบบจำาลองที่ิศที่างลม แสง<br />

รวมไปถ่งการวิเคราะห์สิงแวดล้อมทั้้งภายในและภายนอก<br />

พืนที่่ของโครงการ เพือให้ได้ชุดข้อม่ลและแนวที่างในการ<br />

ออกแบบ การจ่ดวาง zoning ของอาคาร ทั้้งร่กศ่กดิและ<br />

ศิริที่ิพย์มองว่า กระบวนการน่น่บเป็นหน่งในส่วนริเริม<br />

สำคััญที่่สามารถช่วยส่งเสริมให้อาคารประหย่ดพล่งงานได้<br />

โดยการเข้าใจถ่งที่ิศที่างของธรรมชาติที่่ดำาเนินอย่ภายใน<br />

06<br />

ภาพกิจกรรมการบรรยาย<br />

“New Innovation for<br />

Sustainable & Resilient<br />

Design” ซึ่่งจัดขั้นโดย<br />

TOTO<br />

6


GREENDWELL<br />

127<br />

“When a project is assigned, we usually start by talking with the client about the qualitative and quantitative<br />

aspects of the work. We’ll want to know about each resident’s lifestyle and needs if it’s a house. If it is an<br />

office, we must consider the preferences and requirements of each department. These are referred to as<br />

layers of information. However, once the emphasis is placed on sustainable design, we have a team of<br />

experts who specialize in providing consults. And their job entails analyzing the information we obtain<br />

from these conversations with a client, and they will work alongside the design team throughout the<br />

process,” Sirithip explained.<br />

After receiving the primary data, the sustainable design team begins synthesizing all of the<br />

data with simulated wind and light directions and analysis of the project’s interior and exterior<br />

environments. This procedure produces information and guidelines that will be used in the<br />

design and zoning development. Raksak and Sirithip see the process as one of the first steps<br />

toward creating an energy-efficient building based on an in-depth understanding of the local<br />

climate. It also permits the construction of the building to be modified accordingly. A design is<br />

created by overlaying various sources of data. Following the completion of the zoning development,<br />

the design team proceeds to construct a number of variations before bringing in the<br />

consulting team to look at the project’s sustainability.<br />

7<br />

“The sustainable design team will constantly check in. This is referred to as<br />

“green research-integrated design.” It only sometimes happens in sequential<br />

order. Still, we incorporate the ‘green’ as an intrinsic component of the design<br />

development and the presentation, including after the client provides input,<br />

and we need to improve the design in the following stages. The consultation<br />

team will participate in a very collaborative approach so that the design team<br />

and the owner are constantly informed about how sustainable design is being<br />

operated and its efficacy to the project,” Sirithip explained.<br />

07<br />

ภาพการลงพื้นที่่ตรวจสอบ<br />

ขณะการก่อสร้าง<br />

08<br />

ภาพการเยี่ยมชมโชว์รูม<br />

กระเบื้อง ไฟ และ<br />

เฟอร์นิเจอร์ที่่ AMO<br />

“Integrated sustainable design for well-being”<br />

It’s fascinating to see how GreenDwell’s “green research-integrated design” (g.r.i.d) approach<br />

has assisted the design team and project owners in envisioning what users will be experiencing<br />

through simulation tools devised to examine and verify the level of efficacy of the design, ensuring<br />

that it will bring about positive impacts and improvements to people’s quality of life as well as<br />

satisfying user experiences. This is in tandem with the studio’s uncompromising commitment to<br />

minimizing negative environmental impacts. All of these things have been a part of GreenDwell’s<br />

operations, embodying the studio’s character and identity from its name, which is the combination<br />

of the essences they aspire to integrate and create, particularly in the effort to bring<br />

about the best possible well-being for the people who use their buildings. Such motivation<br />

and practice are consistent with their interests in three architectural genres: residential,<br />

corporate, and education.<br />

8<br />

“Our priority is to work with owners who recognize the value of sustainable<br />

design and well-being. We’ve always attempted to be a part of projects whose<br />

owners share our vision because the most important reason for creating architecture<br />

is to offer users the highest potential quality of life. The projects we’ve<br />

done, particularly school, office, and residential buildings, are structures where<br />

people spend a significant amount of time on a daily basis, and they highlight<br />

the influences of architecture on people’s quality of life,” Raksak explained.


128<br />

professional<br />

พืนที่่และปร่บโครงสร้างของอาคารให้สอดร่บเข้าไปก่บสิงที่่<br />

ดำาเนินอย่เพ่ยงเที่่าน่น และภายหล่งการนำชุุดข้อม่ลต่าง ๆ<br />

เหล่าน่มาซึ่้อนช่นก่นก็จะเกิดเป็นงานออกแบบอาคารใน<br />

ลำดัับถ่ดมา คือหล่งจากได้ที่ิศที่าง zoning ของอาคาร ที่่มงาน<br />

น่กออกแบบก็จะพ่ฒนาออกแบบต่วเลือกต่าง ๆ ก่อนที่่มที่่<br />

ปร่กษาจะเข้ามาประสานร่วมพิจารณาการที่ำางานที่างด้าน<br />

ความย่งยืนของอาคาร<br />

“ที่่ม sustainable design จะเข้ามาปรีะสานอย่เรี่อย ๆ<br />

เรีาจ่งเรีียกกรีะบวนการีที่ำางานในจุดัน่ของเรีาวา green<br />

research-integrated design โดัยการีเข้ามาร่่วม<br />

ที่ำางานนันไมได้้ ไล่่เรีียงลำำาดัับอยางต่่อเน่องกันไป แต่่<br />

เรีาเอาเรี่องกรีีนเข้ามาปรีะสานตัลัอดัในเวลัาที่่ที่ำาการี<br />

นำาเสนอแบบ หรืือภายหลัังได้้รัับการีตัอบกลัับจากลููกค้า<br />

แลัะจะปรัับพัฒนาแบบในขันถัดัไปอยางไรี ที่างที่่มที่่ให้<br />

คำาปรึึกษาก็เข้ามาร่่วมกันที่ำางานกันไปอยางต่่อเน่อง<br />

เช่่นนัน เฉัพาะนันทั้้งที่่มนักออกแบบแลัะเจ้าของอาคารี<br />

ก็จะที่รีาบอย่เสมอวา ณ จุดันัน ๆ ของกรีะบวนการีในแง<br />

ของการีดัำาเนินการีแลัะปรีะสิที่ธิิภาพของ sustainable<br />

design เป็ นเช่่นไรบ ้าง” (ศิริิที่ิพย์)<br />

ออฟฟิ ศ แลัะบ้าน ซึ่่ งจะเป็ นงานที่่เก่ยวข้องกับผู้่้เก่ยวข้อง<br />

กับอาคารีที่่จะใช้้งานเป็ นรีะยะเวลัายาวนานหลัาย ๆ<br />

ช่ัวโมงต่่อหน่ งวัน ซึ่่ งสถาปั ตัยกรีรีมจะม่ผู้ลัตัอคุณภาพ<br />

ช่่วิตัเป็ นอยางมาก” (รัักศักดัิ)<br />

เน่องด้วยที่่ศนะ “สถาปัตยกรรมส่งเสริมคุณภาพช่วิต”<br />

ของสองผ่้ก่อต่งที่่ต้องการสร้างเสริมคุณภาพช่วิตที่่ด่ อ่กทั้้ง<br />

ผลล่พธ์ในด้านต่าง ๆ ที่่ส่งสุดซึ่่งจะสามารถที่ำาให้เกิดข่น<br />

ต่อทั้้งผ่้อย่่อาศ่ย/ผ่้ใช้งานอาคารและสิงแวดล้อม จนอาจ<br />

สามารถกล่าวได้ว่า การออกแบบสถาปัตยกรรมสำาหร่บ<br />

พวกเขาได้เกินเลยกว่าว่ตถุในเชิงโครงสร้าง ส่การก้าวนำา<br />

ให้ความใส่ใจไปย่งสิงที่่สถาปัตยกรรมจะช่วยให้ก่อกำาเนิดข่ น<br />

ในหลากหลายมิติ โดยเฉพาะอย่างยิงในส่วนที่่เข้าไปม่<br />

ผลต่อร่ปแบบพฤติกรรมการอย่อาศ่ยและใช้งานของผ่้คน<br />

ซึ่่งม่กถ่กตอกยำาตลอดช่วงการพ่ดคุยถ่ง “คุณภาพช่วิต<br />

ของคนในอาคารมาเป็นอ่นด่บแรก” โดยโครงการออกแบบ<br />

Raintree International School ก็น่บเป็นโครงการที่่สามารถ<br />

สะที่้อนมุมมองต่าง ๆ ในข้างต้น ซึ่่งสอดแที่รกต่ งแต่จุดเริมต้น<br />

ของโครงการ กระทั่่งโรงเร่ยนเปิดดำาเนินการสอนออกมา<br />

ได้อย่างน่าสนใจ<br />

“Integrated sustainable design for well being”<br />

น่าสนใจอย่างยิงด้วย “กระบวนการออกแบบที่่บ่รณาการ<br />

ร่วมก่บการวิจ่ยอ่นเป็นมิตรต่อสิงแวดล้อม/ green researchintegrated<br />

design” (g.r.i.d) ซึ่่งเป็นแนวที่างการที่ำางาน<br />

ร่ปแบบเฉพาะของ GreenDwell กระบวนน่จะช่วยให้ที่่ม<br />

ออกแบบและเจ้าของโครงการสามารถร่บร่้ถ่งประสบการณ์<br />

ที่่ผ่้ใช้งานอาคารจะได้ส่มผ่ส ผ่านเครืองมือจำาลองภาพที่่<br />

เข้ามาม่ส่วนในการตรวจสอบประสิที่ธิภาพที่่จะช่วยที่ำาให้<br />

แน่ใจว่า การที่ำางานออกแบบของพวกเขาน่ นกำลัังเสริมสร้าง<br />

คุณภาพช่วิตที่่ด่ พร้อมไปก่บประสบการณ์อ่นน่าพ่งพอใจ<br />

ของผ่้ใช้งานอาคารและผ่้อย่่อาศ่ย รวมไปถ่งการลดผลกระที่บ<br />

ด้านลบต่อสิงแวดล้อมให้เหลือน้อยที่่สุด อ่นเป็นปร่ชญา<br />

ในการดำาเนินของของออฟฟิศแห่งน่ ซึ่่งสามารถเข้าใจได้<br />

อย่างช่ดเจนน่บต่งแต่ชื อที่่ประกอบสองส่วนความคิดที่่พวกเขา<br />

ต้องการข่บเน้นเข้าไว้ด้วยก่น โดยเฉพาะอย่างยิงในการ<br />

ผล่กด่นให้เกิดสุขภาวะที่่ด่ต่อผ่้ใช้งานอาคารและผ่้อย่อาศ่ย<br />

ซึ่่งสอดร่บไปก่บความสนใจต่อสามร่ปแบบอาคารของพวก<br />

เขาเช่นก่น อ่นได้แก่ บ้าน ออฟฟิศ และโรงเร่ยน<br />

“เรีาโฟกัสการีที่ำางานกับอาคารีที่่เจ้าของให้ความสำค ัญ<br />

กับเรี่อง sustainable design แลัะ well being เรีา<br />

พยายามจะเลืือกผู้ลัักดัันโครีงการีที่่เจ้าของโครีงการม ี<br />

ความคิดัเห็นไปในที่ิศที่างเดีียวกันกับเรีา วาสิงที่่สำค ัญ<br />

ที่่สุดัในการีสร้้างอาคารค ือคุณภาพช่่วิตัที่่ดีีของผู้่้ใช้้งาน<br />

อาคารีหรืือผู้่้อย่อาศัย โดัยเรีาก็จะม่งานปรีะเภที่โรีงเรีียน<br />

9


GREENDWELL<br />

129<br />

10 11<br />

09<br />

พื้นที่่สนามเด็กเล่นของ<br />

Raintree International<br />

School<br />

10<br />

มุมมองของการวางแนว<br />

อาคารเรียนของ Raintree<br />

International School ที่่<br />

สอดรับไปกับกลุ่มต้นไม้<br />

ใหญ่ที่่มีแต่เดิม<br />

11<br />

บริเวณด้านหน้าพื้นที่่<br />

ที่างเข้าสู่อาคารเรียน<br />

Raintree International<br />

School<br />

With the two founders’ conviction in “architecture for a better quality of life” and its ability<br />

to improve the well-being of people and the environment, one can say that for GreenDwell,<br />

architectural design has gone beyond tangible structural components and objects. It impacts<br />

several other aspects, particularly those that affect people’s behaviors and how they use and<br />

interact with architecture. This was brought up during our conversation with them regarding<br />

the ‘prioritization of people’s quality of life in architectural design.’ Raintree International School’s<br />

design embodies such a vision, with sustainable design incorporated from the very beginning<br />

of the project and the school’s interesting incorporation and implementation of the concept in<br />

its curriculum.<br />

Raintree International School’s nursery and kindergarten curricula are developed alongside<br />

the owner’s intention for the school to be a place that brings its learners the best possible<br />

quality of life through an approach and on a premise where children are encouraged to experience<br />

a self-taught process in addition to the knowledge and lessons imparted to them by<br />

parents and instructors. Sirithip underlined that facilitating a positive atmosphere is critical<br />

to the student’s motivation and desire to learn, using a method that places the children at the<br />

center of the learning process. The project’s site is home to many growing trees, something<br />

the architecture team and the owner agreed to do their best to preserve.<br />

Considering the school’s urban location, designing a functional program where children<br />

could run about and through clusters of trees under their verdant canopies was undoubtedly<br />

challenging. Due to the site’s somewhat narrow shape, achieving such a complicated task<br />

required the design team to collaborate with the tree doctors. It also necessitates the design<br />

team to simulate wind directions and other scenarios that might occur if new structures were<br />

to be built in the future. The analytical speculation is integrated into analyzing the locations<br />

of all the large trees growing on the site before the layout and architecture were developed to<br />

correspond with the preexisting natural conditions, natural airflow, and skylights.<br />

“We’ve realized that we can play a role in encouraging certain mindsets in children. Our design never<br />

obstructs children’s access to and interactions with nature. Simply by doing so, architecture can create<br />

a world where children can learn uniquely, develop empathy and compassion for others, and ultimately<br />

be content and happy. They will be able to understand and recognize that their existences are not at the<br />

center of the universe but that many other things, such as nature, are far larger than them. And, as long<br />

as the building does not strive to isolate children from nature, they can appreciate encounters with other<br />

living species, whether an animal or a worm, as fascinating discoveries.” Sirithip added.


130<br />

PROFESSIONAL<br />

712


GREENDWELL<br />

131<br />

12<br />

ภาพมุมสูงแสดงเส้นแนวที่่<br />

ลื่นไหลของการเรียงต่อกัน<br />

ระหว่างกลุ่มอาคารเรียน<br />

ของ Raintree International<br />

School ไปกับการเรียงตัว<br />

ของต้นไม้


132<br />

professional<br />

13<br />

Raintree International School เป็นโรงเร่ยนที่่เปิดสอน<br />

ในระด่บเนิร์สเซึ่อร่และอนุบาล ซึ่่งเจ้าของโครการต้องการ<br />

ข่บเน้นให้เป็นโรงเร่ยนที่่เสริมสร้างคุณภาพช่วิตที่่ด่ให้ก่บ<br />

ผ่้เร่ยน ผ่านแนวคิดที่่เปิดโอกาสให้เด็ก ๆ สามารถสอน<br />

ตนเองได้ โดยไม่จำาเป็นต้องได้ร่บความร่้จากคุณคร่หรือ<br />

ผ่้ปกครองเพ่ยงเที่่าน่น ด้วยความคิดเช่นน่เด็กได้กลายเป็น<br />

ศ่นย์กลางของการเร่ยนร่้ ศิริที่ิพย์กล่าวเน้นยำต่่อว่า การสร้าง<br />

สิงแวดล้อมที่่ด่จ่งม่บที่บาที่สำคััญอย่างยิงต่อการกระตุ้น<br />

ให้เกิดความอยากค้นหาและการเร่ยนร่้ในด้านต่าง ๆ แต่เดิม<br />

พืนที่่ของโครงการเต็มไปด้วยต้นไม้จำานวนมาก ทั้้ งสถาปนิก<br />

และเจ้าของโครงการได้ม่ความเห็นตรงก่นที่่จะร่กษาต้นไม้<br />

เดิมเอาไว้ให้ได้มากที่่สุด<br />

ด้วยต้องการให้เป็นโรงเร่ยนในเมืองแต่สามารถให้เด็ก ๆ<br />

เข้าไปวิงเล่นใต้ต้นไม้ได้ หากแต่ก็น่บเป็นงานที่่ค่อนข้างยาก<br />

เช่นก่น เน่องจากล่กษณะของพืนที่่ซึ่่งค่อนข้างแคบ นำาไปส่<br />

การที่ำางานร่วมก่บหมอต้นไม้ในลำด ับต่อมา ซึ่้อนที่่บไปก่บ<br />

การสร้างแบบจำาลองที่ิศที่างลม ความเป็นไปได้ต่าง ๆ ที่่จะ<br />

เกิดข่ นเมื อม่การสร้างต่กขนาบในอนาคต พร้อมก่บการนำามา<br />

วิเคราะห์ก่บกลุ่มต้นไม้ใหญ่ภายในพืนที่่ ก่อนการวางผ่ง<br />

และออกแบบร่ปล่กษณ์ของอาคารให้ลืนไหลเคลือนไหว<br />

สอดคล้องไปก่บที่ิศที่างลมและกระจกจากเพดานจรดพืน<br />

เพือเปิดกว้างข่บเน้นธรรมชาติโดยรอบ<br />

“เรีาพบวา เรีาสามารีถม่สวนช่่วยในการีเสริิมสร้้าง<br />

mindset บางอยางให้กับเด็็ก ๆ ด้้วยการีที่ำางานของ<br />

สถาปั ตัยกรีรีมของเรีาไมได้้เข้าไปปิ ดักันการีเข้าถ่งของ<br />

เด็็ก ๆ ต่่อธิรีรีมช่าติิ จริิง ๆ แคน่ เลัยก็สามารีถที่ำาให้เด็็ก<br />

ม่โลักที่่จะเรีียนรู้้ในรููปแบบของตันเอง แลัะที่ำาให้พวกเขา<br />

เกิดัความเห็นอกเห็นใจผู้่้อ่น เกิดัความรี่้ส่กม่ความสุข<br />

ในการีใช้้ช่่วิตัของพวกเขา อ่กทั้้งยังจะสามารีถเข้าใจวา<br />

ตััวตันของพวกเขาไมใช่ศ่นย์กลัางของจักรีวาลั โดัย<br />

ยังม่สิ งอ่น ๆ อยางธิรีรีมช่าติิม่ยิ งใหญกวาพวกเขา แลัะ<br />

เม่อสถาปั ตัยกรีรีมไมได้้ปิ ดักันพวกเขากับธิรีรีมช่าติิแล้้ว<br />

เด็็ก ๆ เขาก็จะมองวาเรี่องเล็็ก ๆ อยางการีที่่เขาไปเจอ<br />

สัตว ์หรืือหนอนตััวใหมก็นับเป็ นการค ้นพบครีังใหมที่่<br />

นาตั่นเต้้นแล้้ว” (ศิริิที่ิพย์)<br />

เห็นได้ว่าด้วยความเข้าใจต่อความเป็นไปของธรรมชาติใน<br />

ด้านต่าง ๆ ก็จะสามารถนำาไปส่่การออกแบบสถาปัตยกรรมที่่<br />

เข้ามาม่ส่วนในการส่งเสริมให้เกิดการเร่ยนร่้ในมิติอ่นมากมาย<br />

ได้ด้วยเช่นก่น Ai’s House อ่กโครงการออกแบบบ้าน<br />

ขนาดเล็กที่่ขนาบข้างด้วยอาคารโดยรอบ การวางผ่งอาคาร<br />

ของบ้านหล่งน่ได้สอดร่บไปก่บที่ิศที่างของลมอ่นเน่องมาจาก<br />

การวิเคราะห์จากแบบจำาลอง โดยในขณะเด่ยวก่นก็ไม่ได้<br />

วางต่วปิดก่นที่ิศที่างลมของอาคารโดยรอบด้วยเช่นก่น<br />

ร่วมไปก่บการที่ำางานพิจารณาที่ำาความเข้าใจและวางแผน<br />

รองร่บการเปล่ยนแปลงการใช้งานเมือเปล่ยนไปตามแต่ละ<br />

ช่วงว่ยของผ่้อย่่อาศ่ยและอายุการใช้งานโดยรวมของอาคาร<br />

“บ้านหลัังน่เป็ นบ้านที่่ผู้่้อย่อาศัยสามารีถพักผู้อน<br />

หยอนใจได้้อยางสะดัวกสบายแลัะสามารีถตัอบโจที่ย์<br />

การีใช้้งานในด้้านอ่น ๆ ของพวกเขาได้้ อยางเม่อตัอน<br />

โควิดั-19 แพรีรีะบาดัที่่ผู้านมา ที่างเจ้าของบ้านก็คุยกับ<br />

เรีาวา บ้านหลัังน่เหม่อนกับเป็ นบ้านที่่เตัรีียมพ่นที่่<br />

รีองรัับการีรีวมตััวกันแลัะแยกกันเพ่อที่ำก ิจกรีรีม<br />

สวนตััว ด้้วยลัักษณะพ่นที่่เช่่นน่ที่่จะสามารีถตััดัขาดั<br />

แลัะเช่่อมต่่อกันได้้ ซึ่่ งสงเสริิมการีใช้้ช่่วิตัครีอบครััว<br />

ด้้วยเวลัาที่่ม่คุณภาพ น่ค่อสิงที่่เรีาต้้องการีให้เกิดัข่ น<br />

ในการีออกแบบของเรีา เพ่อที่่ผู้่้อย่อาศัยจะสามารีถ<br />

พักผู้อนแลัะใช้้งานอาคารีได้้อยางสะดัวกสบายตัลัอดั<br />

อายุการีใช้้งานของอาคารี” (ศิริิที่ิพย์)


GREENDWELL<br />

133<br />

Understanding the presence and beings of various components of nature can lead to the<br />

type of architectural design that allows for multiple dimensions of learning. Ai’s House is<br />

one of the studio’s small-scale residential construction projects. The layout is created to<br />

coincide with wind directions obtained by simulation and other erected structures surrounding<br />

the house. Meanwhile, the house’s layout does not obstruct the airflow of nearby<br />

buildings and is intended to accommodate future changes in function as the users and the<br />

house itself age.<br />

14<br />

“This is a home where residents can truly live and rest comfortably while making the best use of other<br />

functions. When the pandemic was at its peak, the owner described the house as a space that accommodates<br />

both shared and private activities due to the physical characteristics of the spaces, allowing<br />

for both connection and disconnection, enabling family members to have spaces where they can spend<br />

quality time together. We hope to achieve this with our design so that residents can rest and use a house<br />

or a building with maximum convenience throughout its lifecycle.” Sirithip explained.<br />

13<br />

พื้นที่่สีเขียวที่่วางตัว<br />

ขนาบกับอาคารเรียน<br />

ของ Raintree International<br />

School จาก<br />

มุมมองด้านหน้าที่างเข้า<br />

ชั้นเรียน<br />

14<br />

ภาพการลงพื้นที่่ตรวจสอบ<br />

ขณะการก่อสร้าง<br />

<strong>15</strong><br />

บริเวณพื้นที่่ภายในของ<br />

Ai’s House<br />

“Design and consultancy”<br />

Aside from incorporating sustainable design into every phase of the design process, GreenDwell<br />

also offers green building standard consultation (LEED, Green Mark, or TREES). This service<br />

scope is separated into two parts. Environmentally Sustainable Design (ESD) provides consultancy<br />

for project owners, designers, and engineers who seek to create buildings with more<br />

environmental potential. The consultation encompasses different aspects of a building as well<br />

as the simulation and synthesis of the obtained data. Meanwhile, the Green Building Consultancy<br />

focuses on providing advice to buildings that want to become green and be certified<br />

by internationally recognized green building standards.<br />

<strong>15</strong>


134<br />

professional<br />

16<br />

รายละเอียด façade อาคาร<br />

SL Estate Head Office<br />

17<br />

มุมมองบริเวณส่วนหน้า<br />

ของอาคาร SL Estate<br />

Head Office<br />

16<br />

“Design and consultancy”<br />

นอกจากส่วนงานออกแบบที่่นำาแนวที่าง sustainable design<br />

เข้าไปผนวกในทีุ่กข่นตอนด่งกล่าวในข้างต้นแล้ว อ่กหน่ง<br />

บริการของออฟฟิศแห่งน่คือ การให้คำาปร่กษาด้านมาตรฐาน<br />

อาคารเข่ยว (LEED, Green Mark หรือ TREES) ในส่วน<br />

งานน่ย่งแบ่งแยกย่อยอ่กเป็นสองส่วน คือ Environmentally<br />

Sustainable Design (ESD) ที่่จะให้คำาปร่กษาก่บทั้้ งเจ้าของ<br />

โครงการ รวมไปถ่งน่กออกแบบหรือที่่มวิศวกร ซึ่่งต้องการ<br />

อยากให้อาคารม่สมรรถภาพที่่ด่ข่นในแง่ที่่เป็นมิตรต่อ<br />

สิงแวดล้อม ไม่ว่าจะด้วยร่ปแบบการเข้าไปจ่ดการเฉพาะจุด<br />

ของอาคาร หรือสร้างแบบจำาลองและส่งเคราะห์ข้อม่ลต่าง ๆ<br />

ขณะที่่ส่วน Green Building Consultancy จะเป็นการให้<br />

คำาปร่กษาก่บอาคารที่่ต้องการเป็นอาคารเข่ยว โดยเฉพาะ<br />

อาคารที่่ต้องการเข้าเกณฑ์์ประเมินต่าง ๆ<br />

“อ่กหน่ งโครีงการี SL Estate Head Office ที่่ที่าง<br />

GreenDwell ได้้เข้าไปดููแลัที่ังในสวนการีออกแบบแลัะ<br />

ให้ปรึึกษาจะเป็ นโครีงการีออฟฟิ ศขนาดัไมใหญมาก<br />

ซึ่่ งเจ้าของโครีงการีตั้องการีให้เป็ นอาคารีปรีะหยัดั<br />

พลัังงาน เรีาจ่งตััดส ินใจนำาเข้าเกณฑ์์ตัรีวจวัดัการี<br />

ออกแบบอาคารีเข่ยว TREES สิงที่่เรีาได้้เรีียนรู้้จากการี<br />

รัับผู้ิดัช่อบดููแลถ ึงสองสวนงานในครีังน่ค่อ เรีาสามารีถ<br />

ผู้สานการีออกแบบแลัะควบคุมงบปรีะมาณในการี<br />

กอสร้้างอาคารีให้ ไมส่งไปกวาอาคารีโดัยทั่่วไปมากนักได้้<br />

แตัก็สามารีถม่ปรีะสิที่ธิิภาพในการีที่ำางานตัามที่่เรีา<br />

ตัังใจไว้ เพรีาะเกิดัจากการีรีวมกันที่ำางานนับตัังแต่่ต้้น”<br />

(ศิริิที่ิพย์)<br />

สอดร่บไปก่บแนวที่างการที่ำางานที่่วางไว้ในอนาคตของ<br />

GreenDwell ซึ่่งร่กศ่กดิและศิริที่ิพย์ก็ต่างต้องการผล่กด่น<br />

ข่บเคลือนให้เกิดข่นในลำด ับถ่ดไปน่นคือ พวกเขาต้องการ<br />

ที่ำาโครงการที่่ด่แลทั้้งการออกแบบและให้คำาปร่กษาที่่ผสานก่น<br />

มากยิงข่น ซึ่่งแต่เดิมม่ดำาเนินการเพ่ยงเล็กน้อยเพ่ยงเที่่าน่ น<br />

อ่กทั้้งย่งคาดหว่งที่่จะขยายล่กษณะของโครงการไปส่่อาคาร<br />

หลากหลายประเภที่ รวมไปถ่งการสร้างมาตรฐานเฉพาะ<br />

ของออฟฟิศข่นมาเอง โดยไม่ว่าอาคารที่่เข้ามาจะถ่กนำาเข้า<br />

เกณฑ์์อาคารเข่ยวหรือไม่ แต่จะต้องม่ข้อกำาหนดข่นตำา<br />

หรือผ่านมาตรฐานบางอย่างที่่พวกเขาได้ต่งข่นมา แนวคิด<br />

ทั้้งหมดน่ย่งคงย้อนกล่บไปเน้นยำถึึงความคาดหมายอ่นเป็น<br />

รากฐานของออฟฟิศแห่งน่อ่กคร่ง ที่่ต้องการผล่กด่นให้เกิด<br />

สุขภาวะที่่ด่ต่อผ่้ใช้งานอาคาร และลดผลกระที่บด้านลบ<br />

ต่อสิงแวดล้อมให้เหลือน้อยที่่สุด<br />

“สำาหรัับเรีา สถาปั ตัยกรีรีมเข้ามาม่สวนในการก ำาหนดั<br />

พฤติิกรีรีมของมนุษย์ ไมที่างตัรีงก็ที่างอ้อม เรีาจ่งไมได้้<br />

ออกแบบสถาปั ตัยกรีรีมในสถานะของวัตถ ุ แต่่เรีา<br />

ต้้องการีออกแบบสถาปั ตัยกรีรีมที่่สามารีถเสริิมสร้้าง<br />

คุณภาพช่่วิตัที่่ดีีแลัะสงผู้ลักรีะที่บอันดีีต่่อธิรีรีมช่าติิ”<br />

(รัักศักดัิ)


GREENDWELL<br />

135<br />

“SL Estate Head Office is another project for which GreenDwell manages both the design and the<br />

green building consultancy. The owner wanted this medium-sized workplace to be an energyefficient<br />

structure, so we proposed that it be certified as a green building according to TREES<br />

criteria. What we learned from handling the two aspects of the project is that, while we were<br />

able to combine design while managing cost within a margin that was not significantly higher<br />

than a standard building construction and delivering the intended outcomes and efficacy,<br />

sustainable design must be integrated into the work process from the start,” Sirithip explained.<br />

17<br />

สุรีะวิที่ย์ บุญจู<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันมีความ<br />

สนใจด้านงานศิลปะ<br />

วัฒนธรรม ทั้งแบบ<br />

ประเพณีและร่วมสมัย<br />

Surawit Boonjoo<br />

Graduated from the<br />

Faculty of Archeology,<br />

Silpakorn University.<br />

His interest currently<br />

is in art and culture,<br />

both traditional and<br />

contemporary.<br />

In line with GreenDwell’s future direction and something that both Raksak and Sirithip want to<br />

push forward, their role in future projects will be more integrated between design and green<br />

building consultancy, something that they have only been able to do in a small number of<br />

projects so far. They intend to diversify their portfolio and work on projects of many genres<br />

while setting a standard for the operation of their studio. “Whether or not the building will<br />

meet any green building criteria, we must establish a minimum threshold or standard for the<br />

designs we create. The idea stems from the studio’s core: simply the desire to improve user<br />

well-being while minimizing negative environmental repercussions.”<br />

“To us, architecture has indirectly and directly played its part in shaping human<br />

behaviors. So, we are not designing architecture as merely a physical object<br />

but something that can improve people’s quality of life and positively impact<br />

the environment,” Raksak concluded.


136<br />

professional / studio<br />

Studio<br />

Locomotive<br />

Thanart Chanyu<br />

“Studio Locomotive” เริ่่มต้้นขึ้้ นได้้<br />

อย่่างไริ่?<br />

ผมจบการศึึกษาทางด้้านสถาปัตย์์ตกแต่งภาย์ใน<br />

จากคณะสถาปัตย์กรรม ศิิลปะและการออกแบบ<br />

สถาบันเทคโนโลยีีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาด้กระบัง หลังจากเรีย์นจบผมก็ได้้ทำางานใน<br />

สำนัักงานออกแบบทีกรุงทพฯ ในขณะทีผม<br />

ทำางานอย์่่ทีนัน ผมก็ได้้ทำางานร่วมทำางานกับ<br />

ทีมทีดููแลโปรเจกต์เกีย์วกับโรงแรมโด้ย์ฉพาะ<br />

ซึ่่งหลาย์โปรเจกต์ทีจัด้การกันตอนนันก็จะเป็น<br />

งานรีโนเวทเป็นส่วนใหญ่่ โด้ย์จะเป็นงานดีีไซึ่น์<br />

ร้านอาหารกับโรงแรมเป็นหลัก ผมก็ทำางานอย์่<br />

เป็นระย์ะ 5 ปีกว่า ๆ ประจวบกับมีงานโปรเจกต์<br />

เล็ก ๆ รีโนเวทโรงแรมเก่าแห่งหนึงทีภ่เก็ต ซึ่่ง<br />

ผมเองก็เป็นคนภ่เก็ต เข้ามาพอดีี ซึ่่งงานน้ก็มี<br />

ความยืืด้เย์ือประมาณหนึง จึงเปิด้โอกาสให้ผม<br />

ได้้กลับมาอย์่่ทีภ่เก็ตได้้ ดัังนันผมจึงตัดสิินใจ<br />

เลือกทีจะออกจากงานและมาตังออฟฟิศึเป็น<br />

ของตัวเอง และเมือเริมต้นทำาออฟฟิศึนัน<br />

คนเดีีย์วก็อาจจะทำาไม่ไหว ผมจึงชวนเพือนที<br />

เรีย์นจบลาด้กระบัง แต่เขาจะจบสายอีีเวนท์<br />

มาร่วมจัด้ตังด้้วยกััน ตอนแรกก็มีกันอย์่่แค่<br />

สองคน หลังจากนันก็เริมมีน้อง ๆ เข้ามา จาก<br />

ทำก ัน 2 คน ปัจจุบันก็มีกันอย์่ 9 คน<br />

มีการิ่จััด้การิ่แบ่่งหน้าที่่งานในแต่่ละส่่วน<br />

ขึ้องบ่ริ่่ษััที่อย่่างไริ่บ่้าง?<br />

ถ้าหากจะให้พ่ด้ถึงน้อง ๆ ในทีม น้อง ๆ ทีอย์่<br />

เกินกว่า 1 – 2 ปี ทุกคนก็จะมีโปรเจกต์ให้ดููแล<br />

เป็นของตัวเอง ทำางานกับผมและพาร์ทเนอร์<br />

ทีร่วมก่อตังด้้วยก ันมา โดยที ่โปรเจกต์ทีเข้ามา<br />

ผมยัังจะเป็นคนทีทำาในส่วน schematic design<br />

และเป็นคนวางทิศึทางของการดีีไซึ่น์ทังหมด้<br />

แต่ในส่วนของโปรดัักชัน ทำางานนำาเสนอต่าง ๆ<br />

น้องในทีมก็นำท ิศึทางทีผมวางไว้ไปพัฒนาต่อ<br />

สำาหรับน้องทีมีประสบการณ์แล้ว พอเข้าใจ<br />

ภาษาของออฟฟิศึ ออฟฟิศคิิด้อย่่างไรกับดีีไซึ่น์<br />

ก็จะได้้เริมทำางานในส่วนของการดีีไซึ่น์มากย์ิงขึน<br />

หลังจากนันน้อง ๆ ทีดููแลโปรเจกต์นัน ๆ ก็จะ<br />

มาดููแลในส่วนของแบบซึ่่งพาร์ทเนอร์ของผม<br />

ก็เข้ามาช่วย์ด้่ในส่วนคุณภาพของราย์ละเอีย์ด้<br />

กับวิธีีทำางานของแบบทีจะนำาไปสือสารกับช่าง<br />

ก็จะมีเพือนผมเข้ามาดููแลตรงน้เป็นหลัก และ<br />

เมือออกไปดููงานทีไซึ่ต์ ก็จะมีผมกับเพือนสลับ<br />

กันไป สำาหรับน้อง ๆ ทีดููแลโปรเจกต์นัน ๆ กัน<br />

ก็จะเป็นคนทีดููแลเป็นหลัก<br />

คุุณมีแนวที่างหริ่ือปริ่ัชญาในการิ่ที่ำางาน<br />

ออกแบ่บ่ขึ้อง “Studio Locomotive”<br />

หริ่ือไม่?<br />

ตอนเปิด้ออฟฟิศึผมก็มีความคิด้เกีย์วกับเรือง<br />

เราดีีไซึ่น์ไปทำาไม จนเริมทำางานมาเรือย์ ๆ<br />

ผมก็ตังคำาถามต่อเน่องมา แล้วผมก็เริมเชือว่า<br />

จริง ๆ แล้วการออกแบบของเราก็เป็นเหมือน<br />

ภาษาในการสือสาร ผมว่ามันไม่มีงานออกแบบ<br />

หรืองานสถาปัตย์กรรมอันไหนเลย์ทีไม่สือสาร<br />

ในจุด้ใดสัักจุด้เลย์ บทบาทหน้าทีของเราคือ<br />

การนำาความสามารถของเรา เก็บรวบรวม<br />

เอาสิงเหล่านันมานำาเสนอถ่าย์ทอด้ออกมาให้มี<br />

พลังมากทีสุด้ และสามารถนำาเสนอไปกับผ่้ที<br />

เราต้องการสนทนา ผมไม่ค่อย์เชือว่าจะมี<br />

งานออกแบบทีจะต้องทำาให้ทุกคนชอบหรือว่า<br />

ทำาให้ทุกคนร่้สึกดีีกับตอนทีเข้ามาอย์่่ แต่ว่า<br />

เราต้องร่้ว่าเราทำาเรืองน้เพือสือสารกับใคร และ<br />

เราก็มีหน้าทีทีนำาความร่้ความสามารถน้มาช่วย์<br />

ขย์าย์การสือสารเหล่านันผ่านประสบการณ์ไป<br />

ส่่กลุ่มเป้าหมาย์ทีเราอย์ากจะสือสารด้้วย์ สต่ด้ิโอ<br />

ของเราจึงไม่ได้้คิด้เป็นเรืองของร่ปแบบ หรือ<br />

การพย์าย์ามสร้างสไตล์ของตัวเอง แต่จะพย์าย์าม<br />

ทำางานโด้ย์คิดว่่าเราจะคุย์หรือสือสารเรืองน้<br />

กับใคร แล้วคนเหล่าน้จะต้องสือสารอย่่างไร<br />

เขาจึงจะประทับใจมากทีสุด้<br />

ช่วย่ย่กตััวอย่่างผลงานออกแบ่บ่ที่่รู้้้ส่้ก<br />

ที่้าที่าย่หริ่ือปริ่ะที่ับ่ใจัให้เริ่าฟัั งได้้หริ่ือไม่?<br />

เป็นงาน Hotel Gahn ทีเปิด้ไปช่วงโควิด้ครับ<br />

นับเป็นโปรเจกต์ทีมีความท้าทาย์ทังในเชิง<br />

ข้อจำกััด้ของพืนทีตั งเป็นอย่่างมาก เพราะตังอย์่่<br />

บริเวณปลาย์ของเขาหลัก และถึงแม้จะติด้<br />

ถนนใหญ่่แต่ก็ไม่มีวิวอะไรเลย์ ประกอบกับ<br />

ขนาด้ของทีดิินทีเล็ก จึงทำาให้ไม่สามารถมี<br />

ขนาดห ้อง รวมไปถึงสระว่าย์นำาขนาด้ใหญ่่ได้้<br />

เราจึงต้องคิดว ่าจะทำาอย่่างไรให้โรงแรมขนาด้<br />

เล็กน้สามารถอย์่รอด้ได้้ในพืนทีทีมีการแข่งขัน<br />

ส่ง เราจึงย้้อนกลับไปเริมต้นคิด้เรืองวิธีีการ<br />

ออกแบบว่าเราจะพููดด้้วย์ภาษาไหน กลุ่ม<br />

เป้าหมาย์เป็นใครทีเราอย์ากจะพููดด้้วย์ นำาไปส่่


การเลือกโฟกัสนำาเสนอเรืองวัฒนธีรรมแทน<br />

เรืองของทะเล จึงหยิิบเรืองของวัฒนธีรรม<br />

บาบ๋าย่่าหย์าทีมีต้นกำาเนิด้ในพืนทีมาปรับ<br />

ประยุุกต์นำาเสนอในงานออกแบบในราย์ละเอีย์ด้<br />

ส่วนต่าง ๆ ของโรงแรม โด้ย์เราไม่ได้้นำส ่วน<br />

ร่ปแบบการตกแต่งอย่่างป่นปั้นทีเป็นร่ปลักษณ์<br />

เปลือกนอกมาใช้ แต่เป็นการชีแนะเรืองของ<br />

ความเชือ อารมณ์ความร่้สึกทีเกิด้ขึนภาย์ใน<br />

พืนบ้าน สถาปัตย์กรรมร่ปแบบดัังกล่าวมา<br />

นำาเสนอถ่าย์ทอด้มากกว่าอีกโปรเจกต์เป็น Villa<br />

Qabalah ซึ่่งตังอย์่่ในบริเวณที เป็นกรีนโซึ่นของ<br />

ภ่เก็ต เมือล่กค้าให้เรานำาเสนอร่ปแบบพืนที<br />

เราจึงเสนอผ่านการสนทนาผ่านต้นไม้ ทำาพืนที<br />

ทีปกติเราจะไปขาย์พืนทีสนามหญ้้า แล้วเรา<br />

ก็ไม่มีเงินสำาหรับนำาไปจัด้การปล่กต้นไม้ให้<br />

STUDIO LOCOMOTIVE<br />

ล่กค้า เรานำาทีดิินบริเวณดัังกล่าวขึนมาอย์่่<br />

บริเวณด้้านบน ทีดิินในส่วนดัังกล่าวก็จะลด้ลง<br />

เราก็จะขาย์ทีดิินได้้มากย์ิงขึน แล้วทุกบ้านก็<br />

จะได้้สวน และย์ิงเราเพิมจำานวนย์่นิตมากขึน<br />

เท่าไรก็จะตามมาด้้วยจำำานวนต้นไม้บนด้าดฟ้้า<br />

ทีเพิมมากย์ิงขึน ซึ่่งเป็นเรืองท้าทาย์ของบริษัท<br />

มากทีนำาเสนอไอเดีีย์ในร่ปแบบน้ และการนำา<br />

ต้นไม้ไปไว้ด้าดฟ้้าก็จะตามด้้วย์การเพิมเงิน<br />

ค่าโครงสร้างทีรองรับนำาหนักทีมากขึน เป็น<br />

ความท้าทาย์ของเราทีกล้าจะลองทำาอะไรที<br />

ตลาด้ไม่ได้้นิย์มทำา และพย์าย์ามจะพิส่จน์ให้<br />

เห็นว่าวิธีีคิด้แบบน้ก็สามารถขาย์ได้้เช่นกัน โด้ย์<br />

ทีนักลงทุนก็ไม่ได้้ขาดท ุน รวมถึงพืนทีตรงน้<br />

ก็ยัังคงความน่าอย์่เพราะยัังมีต้นไม้และพืนที<br />

สีเขีย์วอย์่บ ้าง<br />

137<br />

คุุณได้้วางแผนหริ่ือต้ังเป้ าหมาย่ใน<br />

อนาคุต้ส่ำาหริ่ับ่ Studio Locomotive”<br />

ไว้อย่่างไริ่บ้้าง?<br />

จริง ๆ ตังเป้าไว้แต่แรกว่าเราจะเป็นออฟฟิศึ<br />

ขนาด้เล็กอย่่างน้ต่อไป โด้ย์พย์าย์ามทีจะมี<br />

จำานวนสมาชิกไม่เกิน 10 คน เพือทีเราจะ<br />

สามารถรับเลือกงานทีเราสนใจจริง ๆ อีกทัง<br />

ต่อไปเราก็อย์ากทำางานออกแบบทีนอกจาก<br />

ตอบรับความต้องการของผ่้ว่าจ้างแล้ว ก็ยััง<br />

ส่งผลต่อคนรอบข้างด้้วย์ และเมือโปรเจกต์<br />

เหล่าน้เริมเป็นจริงขึนเรือย์ ๆ ก็จะพย์าย์าม<br />

ผลักดัันให้เข้มข้นขึ น และเมือโปรเจกต์โรงแรม<br />

และร้านอาหารเริมอย์่ตััว ก็จะเริมทำาพืนที<br />

แกลเลอรีเพือจัด้แสด้งผลงานของศิิลปินใน<br />

ท้องถิน อันน้ก็จะเป็นเป้าหมาย์ทีไม่ได้้มีอะไร<br />

ย์ิงใหญ่่มาก<br />

Hotel Gahn<br />

Hotel Gahn<br />

Thai Brasserie by Blue Elephant


138<br />

professional / studio<br />

How did “Studio Locomotive”<br />

start?<br />

I got a degree in interior design from<br />

King Mongkut’s Institute of Technology<br />

in Ladkrabang’s Faculty of Design, Art,<br />

and Design. I worked in a design shop in<br />

Bangkok after I graduated. While working<br />

there, I was part of a team that handled<br />

hotel projects. Most of the projects we<br />

worked on then were renovations for<br />

restaurants and hotels. I worked there<br />

for more than five years. During that time,<br />

I also worked on a small job renovating<br />

an old Phuket hotel. Since I live in Phuket,<br />

it gave me a chance to go back there.<br />

So, I quit my job and started my own<br />

business. Since I thought it might be<br />

hard to start an office by myself, I asked<br />

a friend who had also graduated from<br />

KMITL to help me set up the studio.<br />

At first, there were only two of us, but<br />

then young people started coming.<br />

There used to be two people doing it.<br />

Now, there are nine.<br />

How do you arrange and manage<br />

work for each project?<br />

Regarding the team’s younger members<br />

—those who have been with us for more<br />

than 1-2 years—each will have their<br />

project to manage, but they will still<br />

report to me and my partner, who cofounded<br />

the studio with me. I will do the<br />

schematic design and overall design<br />

direction in each project. Still, throughout<br />

the production phase and presentations,<br />

the junior members of the team will<br />

adopt the direction that I set to continue<br />

developing. Those who have prior knowledge<br />

and understand our design<br />

approach will be assigned to our office’s<br />

design direction to further work on the<br />

design. After that, the team member in<br />

charge of that project would come to<br />

take care of the designs, and my partner<br />

and I came to help look at the quality of<br />

the details and the contractor’s manner<br />

of working. Regarding site monitoring,<br />

my partner and I will alternate, as will<br />

the team member in charge of that<br />

project.<br />

Do you have a design approach<br />

or philosophy for “Studio Locomotive”?<br />

When opening the office, I often think<br />

about why we design. Even when I began<br />

to work continuously, I kept asking this<br />

question. And then, I started to believe<br />

that our design is a communication<br />

Saffron Cruise by Banyan Tree Bangkok<br />

Our role is to bring our abilities, collect all<br />

we have, and present them most effectively,<br />

and with the best it can be, to present to<br />

those we communicate with.


STUDIO LOCOMOTIVE<br />

139<br />

language. There isn’t any design or<br />

architecture that doesn’t communicate<br />

in one way or another. Our role is to<br />

bring our abilities, collect all we have,<br />

and present them most effectively. And<br />

with the best it can be to present to<br />

those we communicate with. I don’t really<br />

believe that there is a design that makes<br />

everyone feel comfortable or that makes<br />

everyone feel good when they move in.<br />

But we need to know who we are doing<br />

this to communicate with, and we have<br />

to bring this knowledge to help extend<br />

those communications through experience<br />

to those target audiences. Our<br />

studio, therefore, does not focus on the<br />

form or try to create your style. But we<br />

try to work by thinking about who we<br />

will talk to or communicate with and<br />

then how to communicate with these<br />

people to impress them.<br />

Can you share an example of an<br />

impressive or remarkable design<br />

project?<br />

It’s the Hotel Gahn, which opened during<br />

COVID. Since it is located at one end<br />

of Khao Lak, it is a challenging project<br />

in terms of site constraints. Even though<br />

it’s on a major road, there’s no view.<br />

Because the land is small, having a huge<br />

room or a large swimming pool takes<br />

work. So it’s critical to understand<br />

how we can make this little hotel profitable<br />

in this competitive market. Then<br />

we started thinking about the design<br />

approach—what language we would<br />

use and who our target audience was.<br />

As a result, the decision was made to<br />

focus on culture rather than the sea.<br />

We chose the theme of Baba Yaya,<br />

which was born in the area and has<br />

been modified and presented in the<br />

design of various hotel portions without<br />

employing decoration styles such as<br />

stucco or classical elements, which are<br />

outward appearances. Instead, we used<br />

the abstract themes of faiths, beliefs,<br />

and feelings in the Phuket area as the<br />

story to tell.<br />

Another project is Villa Qabalah, located<br />

in Phuket’s green zone. When the client<br />

asked us to present the layout, we<br />

proposed a conversation through trees.<br />

We used the area where we usually go<br />

to sell lawns, but we didn’t have money<br />

to manage to plant trees for customers.<br />

So we brought the land up to the top<br />

so that the land in that area would be<br />

reduced, we could sell more land, and<br />

every house would have a garden. The<br />

more units we add, the more trees on the<br />

roof we will get. This is a big challenge<br />

for us to present ideas this way. Bringing<br />

trees to the top will add more money to<br />

the cost of the structure as it will have<br />

to support more weight, but for us, it’s<br />

a challenge to try something out of the<br />

box, different from the conventional<br />

marketing approaches, and to prove that<br />

this way of thinking can be sold as well.<br />

The investors retain business while the<br />

area is livable with more trees and<br />

green spaces.<br />

Villa Qabalah<br />

Do you have any plans or goals<br />

for Studio Locomotive in the<br />

future?<br />

From the start, it was always our plan<br />

to stay in a small studio like this. We<br />

try not to have more than ten members<br />

so we can choose projects we’re really<br />

interested in. In the future, we want to<br />

do design work that meets the owner’s<br />

needs and affects the people around it.<br />

And as these projects get closer to being<br />

real, we’ll try to push harder. When the<br />

hotel and restaurant projects start to<br />

settle down, they will start building a<br />

gallery to exhibit the work of local artists.<br />

This will be a simple goal for us.<br />

Studio-locomotive.com


140<br />

chat


NATHATAI CHANSEN<br />

141<br />

หน่ งในนโยบายของคณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชููปถัมภ์์<br />

ชุุดปั จจุบัน คือการสร้างกิจกรรมเมืองในทุกระดับ โดยจะเป็ นสถาปนิกหรือนักศ่กษาท่<br />

เร่ยนหลักสูตรสถาปั ตยกรรม มาทำก ิจกรรมต่อสังคมหรือต่อเมืองร่วมกัน ตังแต่ระดับ<br />

ชุุมชูน ระดับเทศบาล และระดับจังหวัด เพือร่วมกันขับเคลือนเมืองและชุุมชูนให้เป็ นไปตาม<br />

นโยบายของภ์าครัฐ รวมทังการส่งเสริมพัฒนาเมืองในแง่มุมต่าง ๆ เช่่นการม่ส่วนร่วม<br />

ในการทำาประชูาพิจารณ์ ในการขับเคลือนเมือง การร่วมแสดงความคิดเห็นและสร้าง<br />

นโยบายท่เก่ยวข้องกับเมือง เป็ นต้น<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน<br />

อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ฝ่ ายกิจกรรมเมือง และนโยบายสาธารณะ<br />

อาษา: ฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ<br />

ของคณะกรรมการบริหารชุดนี้มีวิสัยทัศน์และ<br />

นโยบายอย่างไร<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน: ตามนโยบายหลักของทางสมาคมฯ<br />

ในคณะกรรมการบริหารชุดของนายกชนะ สัมพลัง เราจะ<br />

เน้นเรื่องของการสร้างกิจกรรมในทุกระดับ โดยจะเป็นการ<br />

ร่วมกันหรือขอความร่วมมือจากสถาปนิกไปและนักศึกษา<br />

ที่เรียนหลักสูตรสถาปัตยกรรมทั่วไป ที่จะมาทำากิจรรม<br />

ต่อสังคมหรือต่อเมืองร่วมกันในทุก ๆ ระดับ ตั้งแต่ระดับชุมชน<br />

ระดับเทศบาล และระดับจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนเมืองและ<br />

ชุมชนให้เป็นไปตามนโยบายของภาครัฐ หรือแม้แต่การ<br />

ส่งเสริมในแง่มุมต่าง ๆ ที่สมาคมฯ ของเราอยากผลักดัน<br />

ด้วยการริเริ่มโครงการต่าง ๆ ขึ้นมา โดยใช้กำาลังคนจาก<br />

สมาคมฯ ของเราและนักศึกษาที่มีความสนใจมาช่วยกัน<br />

ขับเคลื่อนโครงการตรงนี้ให้ประสบผลสำาเร็จ<br />

อาษา: โครงการหรือส่วนงานในปั จจุบันที่ฝ่ าย<br />

กิจกรรมเมือง และนโยบายสาธารณะ ดูแลอยู่มี<br />

ส่วนใดบ้าง<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน: ณ ปัจจุบันก็จะมีอยู่ 2 ส่วนหรือ<br />

2 รูปแบบหลัก ๆ ที่ฝ่ายของเราดูแลอยู่ ส่วนแรกก็คือกิจกรรม<br />

ที่สมาคมฯ ของเราริ่เริมขึ้นมาเอง ซึ่งพอเราคิดโครงการ<br />

อะไรขึ้นมาแล้วเราก็จะทำาหน้าที่เป็นเหมือนสื่อกลางระหว่าง<br />

กลุ่มคนต่าง ๆ เช่น สถาปนิก นักศึกษา ชุมชน รวมถึง<br />

หน่วยงานของภาครัฐด้วย เพื่อจัดกิจกรรมนั้น ๆ ขึ้น สำ าหรับ<br />

อีกส่วนก็จะเป็นส่วนงานกิจวัตรที่เราจะทำาร่วมกับภาครัฐ<br />

อยู่แล้ว คือมันก็จะมีโครงการจากภาครัฐหลายส่วนที่มา<br />

ขอความร่วมมือจากสมาคมฯ ของเรา ให้เข้าไปช่วยให้<br />

คำาปรึกษา เพื่อหาแนวทางการพัฒนาเพื่อชุมชนและสังคม<br />

อาษา: หากให้ยกตัวอย่างโครงการที่ผ่านมา<br />

รวมถึงโครงการที่คาดว่าอาจจะมีการส่งต่อไป<br />

ยังคณะกรรมการชุดต่อไปเร็ว ๆ นี้ มีโครงการ<br />

ใดที่น่าสนใจบ้าง<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน: ตัวอย่างกิจกรรมและโครงการที่<br />

ผ่านมา เช่น เมืองเก่านาเกลือที่พัทยา ก็เป็นกิจกรรมหนึ่ง<br />

ที่มีประเด็นเกี่ยวกับเมืองและชุมชนโดยตรง ในงานก็จะมี<br />

กิจกรรมเวิร์คช็อป จัดอบรม และสร้างผลงานจัดแสดงขึ้น<br />

เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้กับประชาชนทั่วไปได้รับทราบและ<br />

การหาแนวทางพัฒนาเมืองร่วมกัน หรืออีกโครงการที่<br />

น่าสนใจก็น่าจะเป็นโครงการเชิงอนุรักษ์เมือง ตรงนี้เป็น<br />

โครงการที่สมาคมฯ เราริเริ่มขึ้นมาเองแต่ก็ไปร่วมมือกับ<br />

ทางภาครัฐด้วย เพื่อให้การดำาเนินงานและการขับเคลื่อน<br />

เป็นไปอย่างดี รวมถึงตอบวัตถุประสงค์ของโครงการได้<br />

พร้อม ๆ กัน เพราะโครงการอะไรก็ตามที่เข้าไปเกี่ยวข้อง<br />

กับเมืองและชุมชน เราก็จำาเป็นต้องมีกำาลังคนจากหลาย<br />

ภาคส่วนเข้ามาช่วย แค่สมาคมฯ สถาปนิก และนักศึกษาก็<br />

อาจจะไม่เพียงพอ


142<br />

chat<br />

อีกทั้งหลังจากที่เราได้ริเริ่มโครงการอนุรักษ์เมืองขึ้นมาแล้ว พอทางภาค<br />

รัฐได้เห็นว่าเรากำาลังตั้งใจทำาอะไร ก็กลายเป็นว่าภาครัฐบางภาคส่วน<br />

ก็ได้เข้ามาขอร่วมหารือด้วย อย่างเมืองเก่าแก่งคอย ก็มาหารือว่าจะทำา<br />

อย่างไรให้มีคนเข้าไปทำากิจกรรมหรือเข้าไปดูงานในส่วนนั้นเหมือนที่เรา<br />

เคยจัดกิจกรรมในพื้นที่อื่น ๆ บ้าง เราก็จะนำากลับมาวางแผนว่าจะจัด<br />

กิจกรรมรูปแบบไหนดี เช่น เป็นกิจกรรมเวิร์คช็อปหรือการจัดประกวด<br />

ถ้าอย่างการจัดประกวดทางสมาคมฯ ก็จะมีบทบาทหลักเป็นฝ่ายเชิญชวน<br />

คนเข้ามาทำาประกวดแบบและมาร่วมงานต่าง ๆ คืองานประเภทพวก<br />

นี้ก็จะมีเข้ามาเรื่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นคณะกรรมการบริหารชุดไหนนอกจาก<br />

งานที่เป็นกิจวัตรตามที่ได้แจ้งไปข้างต้นแล้ว ก็จะมีโครงการอื่น ๆ แทรก<br />

เข้ามาเรื่อย ๆ แบบนี้สลับไป<br />

อาษา: ด้วยที่กิจกรรมมีทั้งแบบกิจวัตรและที่แทรกเข้ามา<br />

ระหว่างปี เรื่อย ๆ อยากทราบว่าฝ่ ายกิจกรรมเมือง และ<br />

นโยบายสาธารณะ มีการจัดปฏิทินกิจกรรมอย่างไรบ้าง<br />

เพื่อให้สมาชิกสมาคมฯ ได้ติดตาม<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน: กิจกรรมที่เป็นส่วนกิจวัตรส่วนใหญ่จะเป็นพวก<br />

การทำาประชาพิจารณ์ของเมืองกับทางภาครัฐมากกว่าว่าการขับเคลื่อน<br />

เมืองจะไปในทิศทางไหน ซึ่งเราก็จะเข้าไปเป็นกรรมการในการแสดง<br />

ความคิดเห็นและร่วมสร้างนโยบายบางอย่างที่เกี่ยวกับเมือง คือจะเป็น<br />

ส่วนงานในระดับใหญ่ที่ทางสมาชิกอาจจะไม่ได้มาติดตามมากว่าเราก็<br />

เข้ามามีบทบาทตรงนี้อยู่ เช่น TOD ในการสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าความเร็วสูง<br />

ตรงนี้ภาครัฐเค้าก็ดึงเราเข้าไปร่วมหารือด้วยเหมือนกัน เพื่อหาข้อคิดเห็น<br />

ว่าหากรถไฟฟ้าวิ่งผ่านเมืองตรงนี้แล้วจะเป็นอย่างไร ทางสมาคมฯ เรา<br />

คิดเห็นอย่างไร และยังมีโครงการอื่น ๆ อีกที่เราต้องเข้าไปทำ าประชาพิจารณ์<br />

เดือน ๆ หนึ่งมีเฉลี่ยประมาณ 3 - 5 ครั้ง ที่เราต้องส่งตัวแทนเข้าร่วม<br />

ประชุมเป็นพันธกิจหลัก<br />

ส่วนกิจกรรมที่สมาชิกสามารถติดตามกันได้ขอเรียกว่าเป็นกิจกรรม<br />

เชิงแอคทีฟ เช่น พวกเวิร์คช็อป และกิจกรรมประกวดต่าง ๆ ในแต่ละปี<br />

ก็จะจัดขึ้นประมาณ 7 -10 กิจกรรม แบ่งเป็นกิจกรรมที่เน้นการมีส่วนร ่วม<br />

ของกลุ่มนักศึกษาประมาณ 2 - 3 กิจกรรม กิจกรรมทั่ว ๆ ไปอีก<br />

2 กิจกรรม และกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมใหญ่ประมาณ 3 - 5 กิจกรรม<br />

แล้วแต่ปีไป กิจกรรมที่เป็นเชิงแอคทีฟพวกนี้สมาชิกสมาคมฯ สามารถ<br />

เข้ามามีส่วนร่วมได้หมดเลย ซึ่งก็จะมีการประกาศผ่านสื่อของสมาคมฯ<br />

ให้ได้รับทราบกันแต่ละช่องทางอยู่แล้ว<br />

อาษา: ด้วยที่รูปแบบของกิจกรรมเมือง และนโยบาย<br />

สาธารณะ ดูหนักเน้นไปที่การขอความร่วมมือจากกลุ่ม<br />

นักศึ กษา และอาจครอบคลุมการทำางานในหลาย ๆ<br />

จังหวัด ตรงนี้ฝ่ ายกิจกรรมเมือง และนโยบายสาธารณะ<br />

ได้มีการทำางานร่วมกับกรรมาธิการส่วนภูมิภาคด้วย<br />

หรือไม่ อย่างไร<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน: มีแน่นอน โดยปกติเวลามีกิจกรรมอะไรนอกจาก<br />

เราจะประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อกลางแล้ว เราก็ยังกระจายข่าวและขอความ<br />

ร่วมมือจากส่วนภูมิภาคด้วยเหมือนกัน หรือแม้แต่เวลาส่วนภูมิภาค<br />

มีกิจกรรมอะไร ก็มีการติดต่อเข้ามาหารือกัน ช่วย ๆ กันตลอด อย่าง<br />

ฝั่งกรรมาธิการสถาปนิกบูรพาเมื่อปีที่แล้ว ก็ประสานมาทางเราให้ไป<br />

ช่วยดูโครงการนาเกลือที่พัทยา ซึ่งอันนี้เป็นกิจกรรมนักศึกษาโดยตรงเลย<br />

โดยจะเป็นการดึงสถาปนิกในพื้นที่และสถาปนิกส่วนอื่น ๆ เข้าไปเป็น<br />

เมนเทอร์ให้กับนักศึกษา<br />

อาษา: ก่อนเปลี่ยนผ่านคณะกรรมการบริหารชุดใหม่<br />

ฝ่ ายกิจกรรมเมือง และนโยบายสาธารณะ ยังมีกิจกรรม<br />

อะไรที่กำาลังจะจัดขึ ้นเร็ว ๆ นี้อีกไหม<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน: ถ้าเป็นเร็ว ๆ นี้ก็น่าจะเป็นกิจกรรมที่จังหวัดตรัง<br />

เป็นกิจกรรมเชิงพัฒนาชุมชน เราจะเข้าไปจัดเวิร์คช็อปให้กับสถาปนิก<br />

และนักศึกษาได้ทำากิจกรรมร่วมกัน โดยจะจัดขึ้นประมาณช่วงเดือน<br />

กุมภาพันธ์ แล้วก็จะมีโครงการจากทางกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

ที่ประสานเข้ามาด้วยเหมือนกัน เป็นโครงการเก็บข้อมูลรังวัดตัวอาคารที่<br />

มีคุณค่าในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ตรงนี้ก็กำาลังรอกำาหนดการอยู่ คงจะมี<br />

การประชาสัมพันธ์ทางสื่อสมาคมฯ ช่วงต้นปี 2567 ที่จะถึงนี้<br />

อาษา: ช่วยทิ ้งท้ายถึงนักศึกษา สถาปนิก และประชาชนทั่วไป<br />

เกี่ยวกับมุมมองของกิจกรรมพัฒนาเมืองและชุมชนสั้น ๆ<br />

ผศ. ณธทัย จันเสน: กิจกรรมพัฒนาเมืองและชุมชนก็คงตรงตัวอยู่แล้ว<br />

คือการมาร่วมกันขับเคลื่อนและสร้างประโยชน์ให้กับสังคมของเราใน<br />

แต่ละระดับ โดยนอกจากผู้ที่ประกอบวิชาชีพสถาปนิกอย่างเรา ๆ จะช่วย<br />

นำาองค์ความรู้ที่มีมาร่วมแสดงความคิดเห็นหรือหารือแนวทางและทิศทาง<br />

ต่าง ๆ แล้ว เราก็ยังอยากได้แนวคิดใหม่ ๆ จากคนรุ่นใหม่รวมถึงแรงกาย<br />

แรงใจจากกลุ่มนักศึกษามาร่วมกันพัฒนาเมืองของเราตรงนี้ด้วย โดย<br />

ไม่ได้เฉพาะเจาะจงว่าจะเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยใด จังหวัดอะไร<br />

ทุกคนก็สามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้ตามแต่ละโครงการที่จัดขึ้น<br />

หรือในบางโครงการก็ต้องการผู้มีประสบการณ์ในด้านอื่น ๆ มาช่วยกัน<br />

ขับเคลื่อน เช่น อาคารเก่าในจังหวัดต่าง ๆ ที่จะทำาการอนุรักษ์ เราก็จะมี<br />

หลายภาคส่วนมาช่วยกันตัดสินใจว่าจะบูรณะใหม่ ทุบทิ้ง หรือจะทำา<br />

อย่างไรต่อดี เพื่อให้ เกิดคุณค่าและความคุ้มค่ากับเมืองมากที่สุด พอเป็น<br />

อะไรที่ไปแตะกับเรื่องเมืองและชุมชน จริง ๆ ค่อนข้างละเอียดอ่อน<br />

เหมือนกันเพราะก็จะมีทั้งคนที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยบ้าง แต่อย่างไรก็ดี<br />

วัตถุประสงค์และนโยบายหลักของเราคือการสร้างประโยชน์เพื่อสังคม<br />

ดังนั้นเราต้องแสดงให้ทุกฝ่ายเห็นให้ชัดเจนว่าเรากำาลังตั้งใจจะทำาอะไร<br />

ก็อยากเชิญชวนสถาปนิกและนักศึกษาคนรุ่นใหม่มาร่วมกิจกรรมกัน<br />

เยอะ ๆ มาช่วยกันผลักดันและขับเคลื่อนภาพลักษณ์สังคมของเราให้<br />

ไปในทิศทางที่ดีขึ้น และต่อยอดแนวทางการพัฒนาเมืองทั้งโครงการ<br />

ของสมาคมฯ ก็ดี หรือโครงการอื่น ๆ ของภาคส่วนอื่นต่อไปข้างหน้า<br />

กันเรื่อย ๆ


143


144<br />

the last page<br />

จิณณวัตร<br />

บริหารกิจอนันต์<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง สาขาวิชาการ<br />

ถ่ายภาพ ปั จจุบันเป็ น<br />

ช่างภาพเฉพาะทางด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม<br />

Jinnawat<br />

Borihankijanan,<br />

graduated from the<br />

Faculty of Architecture,<br />

King Mongkut’s Institute<br />

of Technology, Ladkrabang,<br />

majoring in photography.<br />

Currently, he is<br />

a photographer specializing<br />

in architectural<br />

photography.<br />

Photo: Jinnawat Borihankijanan<br />

เวลาผ่านไป รู้สึกสาธารณะน้อยลง<br />

ความต้องการที่สวนทางกับทรัพยากรที่ใช้งานได้ ในการใช้ชีวิตที่<br />

ทุกอย่างถูกจับจอง บีบอัด และกักเก็บ น้ำาที่ดื่มได้อยู่ในขวด<br />

พลาสติก อากาศคุณภาพที่อยู่ในภายในอาคารที่เต็มไปด้วย<br />

เครื่องปรับอากาศ แม้แต่พื้นที่ยืน นั่ง หรือทำากิจกรรม ที่อาจจะ<br />

ต้องแลกมาด้วยเครื่องดื่มสักแก้ว จำาไม่ได้แล้วว่าครั้งสุดท้ายที่<br />

ไม่ได้จ่ายเพื่อสิ่งเหล่านี้คือเมื่อไหร่<br />

As time goes on, it feels less public.<br />

Demands that run counter to available resources in a life<br />

where everything is captured, compressed, and stored.<br />

Drinkable water is contained in plastic bottles—quality<br />

air in buildings filled with air conditioners. Even areas for<br />

standing, sitting, or doing activities, may have to be traded<br />

for a glass of coffee or drink. It’s been too long to remember<br />

the last time we didn’t have to pay for these things

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!