28.03.2024 Views

ASA Journal 16/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Out of the Blocks<br />

<strong>2023</strong>.Nov-Dec<br />

The Architectural <strong>Journal</strong> of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


02<br />

advertorial<br />

Pareena Decor<br />

ในยุุคของการระดมไอเดียุหรือ Co-Creation เพื่่อต่่อยุอด<br />

แนวคิดจากฝ่่ายุใดฝ่่ายุหน่งหรือหลายุ ๆ ฝ่่ายุที่่เกียุวข้อง<br />

เพื่่อนำามาพื่ัฒนาสร้างสรรค์ผลิต่ภััณฑ์์ โดยุเฉพื่าะการระดม<br />

ไอเดียุระหว่างแบรนด์หรือเจ้าของธุุรกิจกับนักออกแบบนัน<br />

ถืือเป็นหน่งในแนวที่างที่่ได้รับความนิยุมและหลายุแบรนด์<br />

ผ้ผลิต่ให้ความสนใจ<br />

เช่่นเดียุวกับ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena Decor) แบรนด์<br />

ผลิต่ภััณฑ์์เฟอร์นิเจอร์และของต่กแต่่งจากวัสดุไม้ไผ่ ไม้สัก<br />

และหวายุ ที่่นอกจากจะชัักช่วนให้นักออกแบบหลายุ ๆ รายุ<br />

ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงไอเดียุเพื่่อนำามาใช้้พื่ัฒนา<br />

ผลิต่ภััณฑ์์ใหม่ ๆ ของแบรนด์อยู่เสมอแล้ว พื่ารีน่า เด็คคอร์<br />

(Pareena Decor) ยัังใส่ใจถึึงเส้นสายุของแนวคิดในการ<br />

ออกแบบเป็นสำค ัญ จนนำามาส้่การบริการรับผลิต่ต่ามแบบ<br />

ที่่นักออกแบบต้้องการ เพื่่อให้เกิดผลิต่ภััณฑ์์หรือเฟอร์นิเจอร์<br />

ที่่ต่อบโจที่ยุ์งานออกแบบที่างสถืาปัต่ยุกรรมและการต่กแต่่ง<br />

ได้อย่่างสมบ้รณ์ต่ามแนวคิดต่ังต้้น<br />

อีกทั้้งในกระบวนการพื่้ดคุยุและรับฟังมุมมองจากแนวคิดของ<br />

นักออกแบบที่่ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena Decor) ได้ที่ำามา<br />

ต่ลอดน้ ยัังเป็นการต่่อยุอดผลิต่ภััณฑ์์ทั้้งที่างต่รงและที่างอ้อม<br />

ซึ่่งที่ำาให้คอลเลคช่ันต่่าง ๆ ของเฟอร์นิเจอร์ที่่ถููกผลิต่ออกมา มี<br />

การพื่ัฒนาอย่่างต่่อเน่องทั้้งด้านความงามและความเหมาะสม<br />

ของการใช้้งาน อย่่างเช่่น ผลิต่ภััณฑ์์ Day Bed คอลเลคช่ันใหม่<br />

ล่าสุดที่่ถููกผลิต่ออกมาต่ามความต้้องการของผ้้ใช้้งานจริงและ<br />

ยัังได้รับการต่่อยุอดจากนักออกแบบคนสนิที่ ด้วยุแนวคิด<br />

มัลติิฟังช่ันหรือการออกแบบ Day Bed ที่่มักถููกใช้้งานแค่<br />

เพื่ียุงต่อนกลางวันให้สามารถืใช้้งานได้ทั้้งกลางวันและกลางคืน<br />

ภัายุใต้้คอนเซึ่ปต์์ Day and Night โดยุเสริมไอเดียุในส่วน<br />

ของโต๊๊ะปรับระดับที่่สามารถืปรับข่น-ลง ได้ต่ามการใช้้งาน<br />

และฟังก์ช่ันบานไหลเพื่่อปรับระดับแสงในช่่วงกลางวันได้<br />

ต่ามต้้องการ ซึ่่งไอเดียข้้างต้้นที่ำาให้ Day Bed คอลเลคช่ันน้<br />

สามารถนำำามาพื่ัฒนาต่่อยุอดไปได้ถึึง 3 ร้ปแบบการใช้้งาน<br />

หรือ 3 ซึ่ีรีส์ ในอนาคต่<br />

จากต่รงน้จะพื่บว่าแนวที่างการระดมไอเดียุหรือรับฟังความ<br />

ต้้องการจากนักออกแบบของ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena<br />

Decor) ไม่เพื่ียุงแต่่นำามาส้่ผลิต่ภััณฑ์์ใหม่ ๆ ของแบรนด์ที่่<br />

ใส่ใจทั้้งคุณภัาพื่และความงามภัายุใต้้เสน่ห์ของงานหัต่ถืกรรม<br />

เที่่านัน แต่่ยัังที่ำาให้ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena Decor)<br />

กลายุเป็นที่่ร้จ ักในแวดวงนักออกแบบทั้้งในไที่ยุและต่่างประเที่ศ<br />

มากข่น ต่ลอดจนการได้รับความยุอมรับเป็นอย่่างดีในกลุ่ม<br />

ล้กค้าหลายุ ๆ โครงการที่่ต้้องการนำาเฟอร์นิเจอร์ไปใช้้ต่กแต่่ง<br />

ในสถืานที่่ต่่าง ๆ ต่ังแต่่ บ้าน โรงแรม รีสอร์ต่หร้ ไปจนถึึง<br />

ห้างสรรพื่สินค้า ในเวลาเดียุวกัน<br />

pareena21.com


PAREENA 03


The Architectural <strong>Journal</strong> of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

<strong>2023</strong><br />

NOV-DEC<br />

OUT OF THE<br />

BLOCKS<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> JOURNAL<br />

COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Committee<br />

Assoc. Prof. ML. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Bhumibhat Promboot<br />

Kan Trichan<br />

Korrakot Lordkam<br />

Kullaphut Senevong Na Ayudhaya<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

Pirak Anrakyawachon<br />

Pornpas Siricururatana, Ph.D.<br />

Surawit Boonjoo<br />

Takumi Saito<br />

Warut Duangkaewkart<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Jirawadee Kositbovornchai<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Napisit Woranaipinit<br />

Special Thanks<br />

BodinChapa Architects<br />

EKAR Architects<br />

Junsekino Architect and Design<br />

Ketsiree Wongwan<br />

La Biennale di Venezia<br />

Muslim Architect for Architecture<br />

pbm (Progressive Building<br />

Management)<br />

Research Studio Panin<br />

Rungkit Charoenwat<br />

Spaceshift Studio<br />

Studio Miti<br />

Wittaya Panitkun<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright <strong>2023</strong><br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

<strong>2023</strong>.Nov-Dec<br />

Out of the Blocks<br />

Photo: Ketsiree Wongwan


06<br />

message from the president<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชููปถัมภ์์<br />

ประจำป ี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สััมพลััง<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

สวััสดีีครัับ สมาชิิกสมาคมสถาปนิิกสยามฯ และผู้้ที่่ติิดีติามวัารัสารั<br />

อาษาทีุ่กที่่านิ ก่อนิที่่จะกล่าวถ ึงธีีมงานิในิฉบับ ผู้มขอถือโอกาสนิี<br />

ปรัะชิาสัมพัันิธี์และเชิิญชิวันิทีุ่กที่่านิเขาร่่วัมงานิสถาปนิิก’67 ซึ่่ ง<br />

เป็ นิงานิใหญ่ปรัะจำป ี ของสมาคมฯ ในป ี นิีจะจัดีขึ นิภายใต้้แนิวัคิดี<br />

Collective Language : สัมผู้ัส สถาปั ตย ์ ที่่จะแสดีงถึงอัตล ักษณ์์<br />

ของการัสือสารัดีวัยภาษาที่่ไร้้ขอบเขติของสถาปนิิกและนัักออกแบบ<br />

เป็นิการัเนินิยำาถึงควัามสำค ัญของงานิสถาปั ติยกรัรัม และการั<br />

ออกแบบที่่สัมผู้ัสได้้ โดียผู้้คนิจากทั่่วัทีุ่กมุมโลก ยิงไปกว่่านิันิในป ี<br />

พั.ศ. 2567 นิี สมาคมสถาปนิิกสยามฯ ไดีส่งเสริิมวิิชิาชีีพัสถาปั ติย-<br />

กรัรัมใหเป็ นิที่่รั้จักแก่คนิที่ัวัไปมาเป็ นิรัะยะเวัลา 90 ปี พัอดีี จึงเป็ นิ<br />

โอกาสอันิดีีที่่งานิสถาปนิิกปี นิีนิอกจากจะเป็ นพื้้นิที่่ที่่เชิือมโยงผู้้คนิ<br />

ทั่่วัโลกในิแวัดีวังสถาปั ติยกรัรัมแลวันิันิ ยังเป็ นพื้้นิที่่ที่่รัวับรัวัม<br />

เรัืองรัาวัการัสื อสารัที่างสถาปั ติยกรัรัมติลอดีรัะยะเวัลา 90 ปี ของ<br />

การก ่อติังสมาคมฯ ใหผู้้คนิได้้เฉลิมฉลองและติรัะหนัักถึงที่ิศที่างในิ<br />

อนิาคติรั่วัมกันิ รัวัมถึงจะมีการจ ัดส ัมมนิา นิิที่รัรัศการั การัแสดีง<br />

ผู้ลงานิการัออกแบบ และเที่คโนิโลยีการก ่อสร้้างในิงานอ ีกดีวัย งานิ<br />

สถาปนิิก’67 จัดีขึนิรัะหว่่างวัันิที่่ 30 เมษายนิ – 5 พัฤษภาคม 2567<br />

ณ์ ชิาเลนิเจอร์์ฮอลล์ 1-3 อิมแพ็็ค เมืองที่องธีานีี<br />

สำาหรัับวัารัสารัอาษา ฉบับที่่ <strong>16</strong> ซึ่่ งเป็ นิฉบับที่่เผู้ยแพัรั่ในิรัะหว่่าง<br />

ช่่วังปลายปี 2566 ถึงต้้นป ี 2567 ดีวัยธีีม “Out of the Blocks”<br />

เนิือหาในิฉบับนิีเป็ นิเรัืองเกียวก ับการันิำาวััสดุุก่อรููปแบบต่่างๆ มาใช้้<br />

ในิงานิออกแบบสถาปั ติยกรัรัม เพัือใหเกิดีการัใช้้งานิที่่ติอบโจที่ย์<br />

กับปรัะโยชินิ์ ใช้้สอยอาคารั และยุคสมัย ไปจนถ ึงการันิำาเสนิอควัามงาม<br />

และควัามน่่าสนิใจในิรั้ปแบบใหม่ ๆ ผู้่านล ูกเล่นิ และองค์ปรัะกอบ<br />

ของสถาปั ติยกรัรัม คาดีวั่าเนิือหาจากวัารัสารัฉบับนิีจะเป็ นิปรัะโยชินิ์<br />

เป็ นิแนิวัที่างและแรังบันิดีาลใจให้้ทุุกที่่านิได้้นำำาไปสร้้างสรัรัค์ผู้ลงานิ<br />

ออกแบบและต่่อยอดีการัที่ำางานิได้้ต่่อไปครัับ<br />

อุุปนายก<br />

นิเวศน์ วะสีีนนท์์<br />

จีีรเวช หงสักุุลั<br />

ไพท์ยา บััญชากิิตติกุุลั<br />

ชุตยาเวศ สิินธุุพันธุ์์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์์ อัังกุสัิทธิ์์<br />

รุงโรจน ์ อ่่วมแก้้ว<br />

เลขาธิิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิิราโสัภณ<br />

นายทะเบียน<br />

คมสััน สักุุลัอัำานวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลัปริพลั ตังตรงจิิตร<br />

ปฏิิคม<br />

เฉลิิมพลั สัมบััติยานุชิต<br />

ประชูาสัมพันธ์์<br />

กุุลัธุิดา ท์รงกิิตติภักด ี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้้าว ปาณินท์์<br />

ดร.วสุุ โปษ์ยะนันทน ์<br />

เฉลิิมพงษ์์ เนตรพฤษร ัตน์<br />

อด ุลย ์ แก้้วดี<br />

ผศ.ณธุท์ัย จัันเสัน<br />

ธุนพงษ์์ วิชคำาหาญ<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุลั้านนา<br />

ปรากุาร ชุณหพงษ์์<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุอัีสัาน<br />

วีรพลั จีงเจร ิญใจี<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุท์ักุษ์ิณ<br />

ดร.กุาญจน ์ เพียรเจร ิญ<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุบัูรพา<br />

คมกุฤต พานนสถ ิตย์<br />

กรรมการทีปรึกษา<br />

การบริการ<br />

สม ิตร โอับัายะวาทย ์<br />

ในิฐานิะของนิายกสมาคมฯ ผู้มขอขอบคุณ์สมาชิิกทีุ่กที่่านอ ีกครัังที่่<br />

ติิดีติามวัารัสารัอาษามาอย่างต่่อเนิือง และใหควัามไวัวัางใจในิ<br />

การัเลือกผู้มมาที่ำางานิใหกับสมาคมฯ รัวัมถึงใหควัามร่่วัมมือกับ<br />

กิจกรัรัมต่่าง ๆ ที่่ที่างสมาคมฯ ไดีจัดีขึนิเป็ นิอย่างดีี ผู้มขอฝากสมาชิิก<br />

ทีุ่กที่่านิติิดีติามข่าวัสารัและใหควัามสนิใจกับกิจกรัรัมของสมาคมฯ<br />

แบบนิีกันิติ่อไปเรัือย ๆ เพัือร่่วัมกันิเป็ นส ่วันิหนิึงในิการข ับเคลือนิวัิชิาชีีพั<br />

ของเรัา และวังการัสถาปั ติยกรัรัมไที่ยของเรัาต่่อไปในิอนิาคติครัับ


08<br />

message from the president<br />

Hello to all Association of Siamese Architects members<br />

under Royal Patronage and readers of the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>.<br />

First and foremost, I’d like to invite everyone to attend<br />

Architect’67, the <strong>ASA</strong>’s annual significant event. This<br />

year’s theme is Collective Language: Touching Architecture,<br />

highlighting the uniqueness of interacting with<br />

architects and designers’ boundless language. It also<br />

underlines the significance of architecture and designs<br />

that people worldwide experience. Furthermore, in<br />

2024, the Association of Siamese Architects will have<br />

promoted the profession of architecture to the general<br />

public for exactly 90 years. As a result, it is an excellent<br />

opportunity for this year’s Architect Expo; in addition<br />

to being a space that connects people from all over the<br />

world in the field of architecture, it is also an area that<br />

collects stories of architectural communication<br />

over the past 90 years of the association’s founding,<br />

allowing people to celebrate and realize the future<br />

together. The event will include seminars, exhibitions,<br />

design work, and construction technology. Architect '67<br />

will take place from April 30 to May 5, 2024, at<br />

Challenger Hall 1-3, IMPACT Muang Thong Thani.<br />

For the <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>, Issue <strong>16</strong>, published between the<br />

end of <strong>2023</strong> and the beginning of 2024, the theme is<br />

“Out of the Blocks.” This issue's content focuses on<br />

the use of brick materials in architectural design to<br />

produce a use that responds to the building’s function<br />

and time while also presenting its beauty and intrigue<br />

in new ways through features and architectural<br />

components. This issue’s material will be helpful; it is<br />

a guideline and inspiration for everyone looking to<br />

create designs and expand their work.<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Executive Committee<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Tanapong Witkhamhan<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Dr.Kam Phiancharoen<br />

Chairman of<br />

Eastern Region (Burapa)<br />

Komkrit Panonsatit<br />

Advisory Committee<br />

Smith Obayawat<br />

As president of the <strong>ASA</strong>, I would like to thank all<br />

members for their continued support of our <strong>ASA</strong><br />

<strong>Journal</strong> and for allowing me to work for the association,<br />

including participating in different activities<br />

that the <strong>ASA</strong> has successfully arranged. I encourage<br />

all members to stay current on the latest news and<br />

the <strong>ASA</strong>’s activities. I hope it continues in this manner<br />

so that we can all work together to advance our<br />

profession and the Thai architecture industry in the<br />

future.


10<br />

foreword<br />

Photo: Spaceshift Studio<br />

วัสดุก่อเป็นหนึ่งในรูปแบบการก่อสร้างที่เก่าแก่มีมาแต่โบราณ ตั้งแต่การใช้<br />

หิน อิฐ และคอนกรีตบล็อก หรือบล็อกแก้ว ที่มีพัฒนาการของเทคนิคการก่อ<br />

และรูปแบบของวัสดุมาโดยตลอด ด้วยคุณสมบัติที่ทนทานต่อทุกสภาพอากาศ<br />

และก่อสร้างได้ในแทบทุกภูมิประเทศ เราจึงได้เห็นสถาปัตยกรรมจากวัสดุ<br />

ก่อที่หลากหลาย ซึ่งอีกปัจจัยสำาคัญ คือ เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของ<br />

ช่างผู้สร้าง และผู้ออกแบบเอง ที่ได้ผสานความเชื่อ วัฒนธรรม ทรัพยากร<br />

ท้องถิ่น มาต่อยอดไปกับความเป็นไปได้ของเทคนิคการก่อสร้างในแต่ละบริบท<br />

วารสารอาษา Out of the Blocks ฉบับนี้ นำาเสนอเรื่องของการก่อร่าง<br />

ขึ้นรูปของต่างวัสดุก่อที่ผ่านการทดลอง คิดค้นเทคนิค โดยการออกแบบที่<br />

สร้างสรรค์ใหม่ ๆ ของสถาปนิก ร่วมกับงานวิศวกรรม และงานช่าง หรือ<br />

ด้วยพัฒนาการของเทคโนโลยีการก่อสร้าง ทำาให้เกิดผลงานสถาปัตยกรรม<br />

น่าสนใจ ที่นำามาเผยแพร่ไว้ในฉบับนี้ ทั้งประเภทบ้านพักอาศัยโดย Research<br />

Studio Panin และ Muslim Architect for Community อาคารสำานักงาน<br />

Studio Miti และ pbm รวมถึงโรงแรมโดย Ekar Architects ในส่วนของ<br />

<strong>ASA</strong> Professional ยังมีโอกาสพูดคุยกับ จูน เซคิโน ผู้ก่อตั้ง Junsekino<br />

Architect and Design ที่มีการทดลองใช้เทคนิคใหม่ ๆ กับวัสดุก่อในงาน<br />

ออกแบบมาอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกับ BodinChapa Architects อีกหนึ่ง<br />

สตูดิโอที่เลือกใช้วัสดุท้องถิ่นมาสร้างสรรค์อาคารร่วมสมัยได้อย่างโดดเด่น<br />

เมื่อความผันผวนยังคงเกิดขึ้นได้เสมอ ท่ามกลางทรัพยากรที่กำาลังค่อย ๆ<br />

เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงข้อจำากัดต่าง ๆ ซึ่งอาจจะส่งผลกับการอยู่อาศัย<br />

ของมนุษย์ และสภาพแวดล้อมทางกายภาพหรือไม่ อย่างไร คงเป็นประเด็น<br />

ที่แวดวงสถาปนิกเรายังต้องผลักดันให้เกิดการคิดค้น โดยเฉพาะการ<br />

คิดนอกกรอบเดิม เพื่อค้นหาแนวทางใหม่ ๆ ต่อไปให้กับงานออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม ที่ต้องเตรียมพร้อมรับมือกับฉากทัศน์ของอนาคตที่ยังคง<br />

ไม่แน่นอน เมื่อเวลานั้นมาถึง<br />

Masonry building materials, such as stones, bricks, concrete blocks,<br />

and glass blocks, have been used since ancient times. These materials<br />

have properties that make them resistant to all weather conditions<br />

and suitable for construction in various terrains. Over time, construction<br />

techniques and the form of these materials have evolved.<br />

We have observed architectural structures constructed using a<br />

diverse range of construction materials. Another crucial determinant<br />

is the ingenuity of the builders and architects responsible for their<br />

design, which amalgamates beliefs, culture, and local resources to<br />

enhance the boundless potential of construction methods in any<br />

specific context.<br />

This issue of <strong>ASA</strong>, Out of the Blocks, focuses on the creation and<br />

testing of different masonry building materials. It showcases the<br />

innovative designs of architects, which combine engineering and<br />

craftsmanship, as well as advancements in construction technology.<br />

The issue features various architectural works, including house<br />

designs by Research Studio Panin and Muslim Architect for Community,<br />

office buildings by Studio Miti, a hotel by Ekar Architects, and<br />

a mixed-use building by pbm. <strong>ASA</strong> Professional features an article<br />

showcasing the innovative practices of Jun Sekino, the founder of<br />

Junsekino Architect and Design, who consistently explores new<br />

approaches in architectural use of material. Additionally, the professional<br />

studio highlights BodinChapa Architects, an emerging studio<br />

that utilizes local materials to construct remarkable modern<br />

architecture.<br />

Despite the gradual and drastic changes in resources and various<br />

limitations that can impact human habitation and the physical<br />

environment, volatility can still arise. This presents a challenge<br />

that architects must address by pushing for innovation. It is crucial<br />

for architects to think out of the box, explore beyond conventional<br />

methods, and continuously explore new approaches to architectural<br />

design. Architects must anticipate and address future eventualities<br />

that remain unpredictable until they occur.


11


<strong>2023</strong><br />

NOV-DEC<br />

OUT OF THE<br />

BLOCKS<br />

around<br />

The Laboratory<br />

of the Future:<br />

Venice Architecture<br />

Biennale<br />

<strong>2023</strong><br />

<strong>16</strong><br />

theme / review<br />

An Old City,<br />

A New Vision<br />

EKAR Architects designed a<br />

60-room hotel in the old city<br />

of U Thong to revitalize the<br />

narratives and recollections<br />

of the past, employing architectural<br />

design language to<br />

communicate a vanishing<br />

history by using orange bricks<br />

to form a composition of<br />

rectangular window frames<br />

based on the characteristics<br />

of pagoda bases in the area.<br />

Photo: Spaceshift Studio<br />

theme / review<br />

Public, Private<br />

and In-between<br />

In MC House, designed by<br />

Research Studio Panin, aims to<br />

balance its surroundings and<br />

provide private living spaces. It<br />

features a functional program<br />

with art-focused spaces and<br />

outdoor access, blending vernacular<br />

and industrial characteristics<br />

through brickwork<br />

techniques.<br />

52<br />

Photo Courtesy of Peter Rich Architect /<br />

Light Earth Designs LLP<br />

theme<br />

Out of Block<br />

What does ‘block’ indicate?<br />

How does this word define<br />

the material or immaterial<br />

objects in architecture?<br />

Where does thinking about<br />

‘block’ today take us? In<br />

this article, Takumi Saito<br />

and Pornpas Siricururatana<br />

discuss the power and potential<br />

of blocks as a significant<br />

material in architecture.<br />

40<br />

Photo: Rungkit Charoenwat<br />

theme / review<br />

Old Bricks,<br />

New House<br />

Designed and constructed by<br />

the Group of Muslim Architects<br />

for the Community, the Na<br />

Satun House is a simple, rhythmic<br />

brick-patterned house<br />

designed to accommodate<br />

extended families in Satun<br />

Province. Surrounded by limestone<br />

mountains and palm<br />

trees, the house features alternating<br />

open and enclosed<br />

spaces, solids and voids, and a<br />

roof made from cement tiles.<br />

66<br />

20<br />

Photo: Sunman Mukam


theme / review<br />

Light Here,<br />

Light There<br />

pbm’s design for Where’s<br />

House Warehouse results in a<br />

program and structure that are<br />

both distinctive and functional.<br />

Through the use of glass blocks,<br />

the project intends to infuse<br />

a warehouse and office space<br />

with a resort-like atmosphere.<br />

Photo: Spaceshift Studio<br />

80<br />

Photo: Spaceshift Studio<br />

material<br />

Brick: As a<br />

Building<br />

Material<br />

Brick is an essential building<br />

material with a lengthy history<br />

extending back thousands of<br />

years. They are famed for their<br />

durability and strength and<br />

have been employed in construction<br />

since ancient. This<br />

article discusses the history<br />

and evolution of bricks in<br />

architectural construction.<br />

professional<br />

Junsekino<br />

Architect and<br />

Design<br />

Led by Jun Sekino, Junsekino<br />

Architect and Design explore<br />

diverse material possibilities<br />

through design experimentation<br />

pushing material limits,<br />

and promoting interaction.<br />

The practice aligns with the<br />

rapidly changing architectural<br />

language in the digital age.<br />

130<br />

professional<br />

BodinChapa<br />

Architects<br />

144<br />

theme / review<br />

Smart Cut<br />

In designing their new office,<br />

Studio MITI found inspiration<br />

in reimagining and repurposing<br />

the lightweight concrete blocks’<br />

physical properties to create<br />

something new and different,<br />

whether in form, installation,<br />

or application.<br />

98<br />

Photo: Ketsiree Wongwan<br />

Photo Courtesy of SNK nda<br />

chat<br />

Rungroth<br />

110<br />

Aumkaew<br />

<strong>ASA</strong> spoke with the Vice President<br />

Renco<br />

of the Association of Siam<br />

Architects and regional affairs<br />

126<br />

supervisor, regarding the executive<br />

committee’s policy and<br />

Green Charcoal<br />

vision concerning the regional<br />

127<br />

division.<br />

YiBrick<br />

128 148<br />

the last page<br />

152


14 <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

Wonder of Well-Being<br />

City 2022<br />

OUT<br />

NOW!<br />

The Association of Siamese<br />

Architects held "WOW-Wonder<br />

of Well-Being City 2022,"<br />

collaborating with various<br />

institutions and organizations<br />

to explore urban development<br />

approaches. The event<br />

included academic seminars<br />

and recreational activities,<br />

aiming to create a livable city<br />

for everyone. This special<br />

publication, produced by <strong>ASA</strong><br />

Platform, is the official catalog<br />

summing up all the interesting<br />

activities in the <strong>ASA</strong> WOW<br />

2022.<br />

WOW-Wonder of Well-Being City<br />

2022 เป็ นงานที่สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับหน่วยงาน<br />

และองค์กรต่างๆ เพื่อสํารวจแนวทาง<br />

การพัฒนาเมือง ภายในงานมีทั้งสัมมนา<br />

วิชาการและกิจกรรมสันทนาการเพื่อ<br />

สร้างเมืองน่าอยู่สําหรับทุกคน หนังสื อ<br />

ฉบับพิเศษนี้ เป็ นสู จิบัตรอย่างเป็ น<br />

ทางการที่สรุปกิจกรรมที่น่าสนใจทั้งหมด<br />

ใน <strong>ASA</strong> WOW 2022<br />

Download the e-book here


15


<strong>16</strong><br />

around<br />

1 Photo: michelle äärlaht


VENICE ARCHITECTURE BIENNALE <strong>2023</strong><br />

The Laboratory of<br />

the Future: Venice<br />

Architecture Biennale<br />

<strong>2023</strong><br />

Photo Coutesy of La Biennale di Venezia <strong>2023</strong>,<br />

Kéré Architecture, AMAA, Mikael Olsson and michelle äärlaht<br />

17<br />

นิทรรศการสถาปัตยกรรมระดับนานาชาติเวนิส ครั้งที่ 18<br />

ในปี <strong>2023</strong> ที่เพิ่งจบไปด้วยยอดผู้เข้าชมในช่วงระยะเวลากว่า<br />

6 เดือน ที่ 285,000 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มของนักศึกษา<br />

และเยาวชน ในการจัดงานในครั้งนี้ค่อนข้างแตกต่างจาก<br />

ปีที่ผ่าน ๆ มา โดยภายใต้หัวข้อ “The Laboratory of the<br />

Future” เน้นการนำาเสนอมิติของ “ผู้สร้างการเปลี่ยนแปลง”<br />

(Agents of Change) ซึ่งเป็นครั้งแรกที่นิทรรศการเน้นหนัก<br />

ในเรื่องราวของทวีปแอฟริกา และชาวแอฟริกันพลัดถิ่น<br />

ซึ่งกระจายอยู่ทั่วโลกในตอนนี้ โดย Lesley Lokko ภัณฑารักษ์<br />

ของงานเองให้นิยามวัฒนธรรมของแอฟริกันไว้ว่าเป็น<br />

The 18 th Venice International Architecture Exhibition<br />

<strong>2023</strong> was completed recently, attracting a total<br />

of 285,000 visitors over six months, predominantly<br />

including students and young individuals. This time,<br />

the event was organized with a distinct approach<br />

compared to previous years. It revolved around the<br />

theme “The Laboratory of the Future” and placed<br />

a strong emphasis on showcasing the various<br />

aspects of “Agents of Change.” Notably, this exhibition<br />

was the first to specifically highlight Africa<br />

and the dispersed African diaspora across the<br />

globe. Curator Lesley Lokko characterizes African<br />

01<br />

ผลงานออกแบบโครงสร้าง<br />

ไม้ในชื่อ Kwaeε หรือที่<br />

แปลว่าป่า (ในภาษาหลัก<br />

ของGhana) ออกแบบโดย<br />

ADJAYE ASSOCIATES<br />

02<br />

LESLEY LOKKO<br />

ภัณฑารักษ์ในการจัดงาน<br />

ภายใต้ธีม The Laboratory<br />

of the Future<br />

Photo: Murdo Mcleod<br />

2 2


18<br />

around<br />

Photo Coustesy of Kéré Architecture<br />

3 4<br />

Photo Coustesy of Kéré Architecture<br />

03-04<br />

นิทรรศการ Counteract<br />

โดย KÉRÉ ARCHITEC-<br />

TURE ถ่ายทอดความรู้<br />

และภูมิปัญญาในงาน<br />

ก่อสร้างของสถาปัตยกรรม<br />

ท้องถิ่นจากแถบแอฟริกา<br />

ตะวันตก<br />

วัฒนธรรมที่ลื่นไหล Lesley Lokko เป็นผู้ก่อตั้ง African<br />

Futures Institute ในอักกรา ประเทศกานา เมื่อปี 2563<br />

ในฐานะโรงเรียนสถาปัตยกรรมระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้<br />

เธอยังได้รับรางวัลมากมายจากการมีส่วนร่วมในงานด้าน<br />

การศึกษาด้านสถาปัตยกรรม โดยในปี 2558 ได้ก่อตั้ง<br />

สถาปัตยกรรมระดับบัณฑิตวิทยาลัยในโจฮันเนสเบิร์ก<br />

และร่วมสอนในสถาบันการศึกษาของสหราชอาณาจักร<br />

สหรัฐอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย และแอฟริกา<br />

ในหัวข้อการจัดงานครั้งนี้ Lesley Lokko ตั้งคำาถามถึงการ<br />

สร้างความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดจากการอภิปราย ความคิด<br />

การสนทนา ข้อโต้แย้งเก่า ข้อเสนอ และความเข้าใจใหม่ ๆ<br />

จากเรื่องราวหลายเรื่องที่สะท้อนถึงความงดงามของความคิด<br />

บริบท แรงบันดาลใจ และความหมายที่ทุกเสียงที่ตอบสนอง<br />

ต่อปัญหาของยุคสมัย โดยเฉพาะการชวนให้เกิดการ<br />

ตั้งคำาถามว่าเราอยากจะพูดอะไร? สิ่งที่เราพูดจะเปลี่ยนแปลง<br />

อะไรอย่างไร? และที่สําคัญที่สุด สิ่งที่เราพูดจะโต้ตอบสิ่งที่<br />

‘คนอื่น’ พูดอย่างไร เพื่อให้นิทรรศการไม่ใช่เรื่องราวเดียว<br />

แต่จากหลายแง่มุม เพื่อเป็นการสลายความเป็นศูนย์กลาง<br />

ในการเล่าเรื่องราวโดยเฉพาะจากมุมมองของผู้ที่เหนือกว่า<br />

culture as dynamic and adaptable. In 2020, she<br />

established the African Futures Institute in Accra,<br />

Ghana, as a graduate school specializing in architecture.<br />

Lokko has garnered multiple accolades<br />

for her services to architectural education. In 2015,<br />

she established the Architecture Graduate School<br />

in Johannesburg and collaborated as an instructor<br />

in educational institutions across the UK, USA,<br />

Europe, Australia, and Africa.<br />

Lokko raised the question of how to generate transformative<br />

impact by exchanging ideas, conversations,<br />

and diverse perspectives. Lokko emphasized<br />

the importance of engaging with a wide range of<br />

narratives that capture the richness of thought,<br />

context, inspiration, and significance. Ultimately,<br />

Lokko encouraged participants to consider what<br />

messages they wished to convey in response to<br />

the pressing issues of our era. How will our verbal<br />

expressions have an impact on any alterations or<br />

modifications? Primarily, how will our statements<br />

align with the opinions expressed by others? - To<br />

avoid presenting the exhibition as a singular narrative,<br />

it is important to approach it from multiple<br />

perspectives and disrupt the conventional storytelling<br />

structure that revolves around a single core<br />

viewpoint, particularly that of the superior.


VENICE ARCHITECTURE BIENNALE <strong>2023</strong><br />

19<br />

รูปแบบในนิทรรศการแบ่งออกเป็น นิทรรศการในอาคารหลัก<br />

Giardini และ Arsenale ที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมแอฟริกัน<br />

ยุคหลังอาณานิคม และการพลัดถิ่น คือในหัวข้อ Force<br />

Majeure และ Dangerous Liaisons รวมถึงอีก 4 โครงการ<br />

พิเศษที่เป็นการนำาเสนอร่วมกับภัณฑารักษ์ ในเรื่องเกี่ยวกับ<br />

Food, Agriculture & Climate Change และ Gender &<br />

Geography เรื่องราวเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและความทรงจำ า<br />

ใน Mnemonic และผลงานพิเศษจาก Guests from the<br />

Future ในภาพรวมของงานมีจำานวนผู้เข้าร่วมจัดแสดง<br />

ผลงาน 89 คน มากกว่าครึ่งมาจากแอฟริกาหรือชาวแอฟริกัน<br />

พลัดถิ่น โดยมีความสมดุลทางเพศที่ 50/50 และอายุเฉลี่ย<br />

ของผู้เข้าร่วมทั้งหมดคือ 43 ปี ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ในทุกส่วน<br />

ของการจัดแสดงของ The Laboratory of the Future มากกว่า<br />

70% มาจากสถาปนิกวิชาชีพที่ดําเนินการโดยบุคคลหรือ<br />

ทีมขนาดเล็กมาก สถิติเหล่านี้สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลง<br />

ครั้งใหญ่ในวัฒนธรรมการผลิตสถาปัตยกรรมโดยรวม<br />

และการเปลี่ยนแปลงที่มากขึ้นในการมีส่วนร่วมในการจัด<br />

นิทรรศการระดับนานาชาตินี้<br />

The exhibition is organized into separate exhibitions<br />

in the main Giardini and Arsenale buildings that<br />

explore African architecture, decolonization, and<br />

diaspora. These exhibitions are titled “Force Majeure”<br />

and “Dangerous Liaisons.” Additionally, four other<br />

special projects are presented in collaboration<br />

with the curators, focusing on topics such as<br />

Food, Agriculture & Climate Change, Gender &<br />

Geography, architecture and memory in “Mnemonic,”<br />

and special works by “Guests from the Future.”<br />

In total, the event had over 89 exhibitors. 50%<br />

originate from Africa or the African diaspora. The<br />

gender balance is 50/50. The average age of all<br />

participants was 43 years. Over 70% of The Laboratory<br />

of the Future exhibits were curated from<br />

submissions by practices working individually or<br />

in a very small team, marking the first instance of<br />

such a high participation rate. These data indicate<br />

a significant transformation in the culture of architectural<br />

production and a further evolution in<br />

participation in this global exhibition.<br />

labiennale.org/en/architecture/<strong>2023</strong><br />

05<br />

นิทรรศการผลงานของทีม<br />

AMAA COLLABORATIVE<br />

ARCHITECTURE OFFICE<br />

FOR RESEARCH AND<br />

DEVELOPMENT นำาเสนอ<br />

การเปลี่ยนแปลง Calvarina<br />

ฐานปฏิบัติการเก่าของนาโต้<br />

ในอิตาลี มาเป็นศูนย์อบรม<br />

การรับมือกับสถานการณ์<br />

ฉุกเฉิน และทดสอบ<br />

นวัตกรรมใหม่ ๆ ในอนาคต<br />

ที่รับผิดชอบโดยองค์กร<br />

Security<br />

Photo: Mikael Olsson courtesy of AMAA<br />

5


20<br />

theme<br />

Out<br />

of<br />

Block<br />

01<br />

บล็อกที่ส่วนผสมกว่า 63%<br />

ผลิตจากขยะจำาพวกคอนกรีต<br />

และแก้ว ของเทศบาลเมือง<br />

Gent ที่ถูกพัฒนาขึ้น โดย<br />

Carmody Groarke ร่วมกับ<br />

Design Museum Gent<br />

และ BC Materials / Local<br />

Works Studio / TRANS<br />

architects / sogent เพื่อ<br />

ใช้ในส่วนต่อเติม ของ Design<br />

Museum Gent


“ ‘Block’ is a term in transparency.<br />

It is a geometrical concept prior to material.<br />

Processing and construction are bound by<br />

this certain geometry, positioning it at the<br />

juncture of past labor and future motion.<br />

Looking merely at the result, a solid material<br />

with thickness brings robust differences to<br />

the environment. Yet, if we look across time,<br />

block is a generous and embracing system,<br />

placing architecture in the movement of time”<br />

Text: bsides: Takumi Saito, Pornpas Siricururatana<br />

Photo Courtesy of Carmody Groarke<br />

1


22<br />

Physicality - Transparency<br />

บล็อกหมายถึงอะไรกันแน่ บล็อกช่วยกำาหนดนิยามของ<br />

วัสดุ และความคิดในวงการสถาปัตยกรรมอย่างไร การคิด<br />

เกี่ยวกับบล็อกในวันนี้ จะพาเราไปที่ใด<br />

‘บล็อก’ เปรียบเหมือนคำาโปร่งแสง มันเป็นแนวคิดทาง<br />

เรขาคณิตก่อนที่จะเป็นวัสดุ วัตถุดิบที่ถูกแปรเป็นรูปทรง<br />

เรขาคณิต ถูกพาไปที่พื้นที่งานก่อสร้างในฐานะบล็อก<br />

มันคือวัสดุรับน้ำาหนักที่มีความหนา มีพื้นผิวสัมผัสหลายด้าน<br />

พร้อมที่จะเป็นส่วนหนึ่งของการก่อสร้าง มันคือสภาวะที่<br />

การแปรรูปและการก่อรูป ถูกมัดรวมกันด้วยเรขาคณิต<br />

บางอย่าง<br />

คำานามอย่าง Tile, Sheet, Panel เป็นคำาที่หมายถึงสถานะ<br />

ทางเรขาคณิตของวัสดุ เช่นเดียวกันกับบล็อก ถ้าเราย้อนไป<br />

มองที่รากศัพท์ จะพบว่าต้นกำาเนิดของคำาเหล่านี้ เชื่อมโยง<br />

กับคำากริยาเช่นเดียวกันกับ บล็อก ที่หมายถึง การกั้น อันเป็น<br />

เจตนาและผลของการกระทำา ที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่บล็อก<br />

(ที่มาจากคำาว่า log อีกที) ถูกประกอบแล้ว บล็อกอยู่ ณ<br />

จุดตัดระหว่างแรงงานในอดีต และการเคลื่อนไหวในอนาคต<br />

ถ้าดูเฉพาะผลลัพท์ บล็อก นำามาซึ่งความหนักแน่น และ<br />

แข็งแกร่ง ให้กับสภาพแวดล้อม แต่ในอีกมุมหนึ่ง ถ้ามอง<br />

เข้าไปที่กระบวนการ บล็อกเป็นระบบที่โอนอ่อนและยืดหยุ่น<br />

กระบวนการก่อซ้ำา ๆ ในพื้นที่ก่อสร้าง เสียงเกรียงโลหะ ที่<br />

กระทำากับบล็อกเป็นจังหวะ เพื่อสร้างความเรียบและ ฉาก<br />

ไหลไปพร้อม ๆ กับการเคลื่อนไหวของร่างกายและ เวลา<br />

ต่างจากการก่อสร้างแบบอื่น อย่างการหล่อคอนกรีต หรือ<br />

การประกอบโครงสร้างเบา ที่สร้างความเปลี่ยนแปลง ใน<br />

เวลาอันสั้น ไม่ว่ารูปทรงเรขาคณิตที่สร้างเสร็จจะมีความ<br />

ปิดแค่ไหน แต่สุดท้าย บล็อกที่เหลือจากการก่อสร้างที่วาง<br />

อยู่ข้าง ๆ ประกอบกับเส้นรอยต่อในชิ้นงาน ก็จะทำาให้เห็น<br />

theme<br />

Physicality - Transparency<br />

What does ‘block' indicate? How does this word<br />

define the material or immaterial objects in the<br />

field of architecture? Where does thinking about<br />

‘block’ today take us?<br />

‘Block' is a word in transparency. It is a geometrical<br />

concept prior to material. It is a thick, load-bearing<br />

substance with several flat surfaces. Material is<br />

processed into its geometric form and brought to<br />

the site as block. The block is assembled as a<br />

part of the construction method. Processing and<br />

construction are bound by this certain geometry.<br />

Tiles, sheets, panels, etc., are words that refer to<br />

the same material's geometric state as blocks. Each<br />

noun refers to certain verbs as their origins of word;<br />

‘tile' derives from ‘to cover', ‘sheet' from ‘to project,'<br />

and ‘block' from ‘log’ and then 'to obstruct'. The<br />

purpose and action after its assembly are even<br />

indicated with in its origin. It is at the juncture of<br />

past labor and future motion.<br />

Block is a universal human construction that cuts,<br />

processes, stacks, and creates territories from the<br />

earth. If we only look at the result, a solid material<br />

with thickness brings robust differences to the<br />

environment. On the other hand, if we look across<br />

time, block is a generous and embracing system.<br />

The process on-site, the repeated stacking. The<br />

sound of the trowel holding back the mortar and<br />

tapping the block to level it resonates through<br />

the site. Unlike the rapid changes in concrete or<br />

panel construction methods, the structure rises<br />

slowly with flowing body and time. No matter how<br />

closed the completed geometry may be, there are<br />

02<br />

โรงงานอิฐ ที่ด่านเกวียน<br />

03<br />

ระหว่างการก่อสร้าง<br />

Mapungubwe Interpretation<br />

Centre ที่ Limpopo<br />

ประเทศ South Africa<br />

Photo: bsides<br />

2 3


OUT OF BLOCK<br />

23<br />

Photo Courtesy of Peter Rich Architect / Light Earth Designs LLP


24<br />

theme<br />

Photo: Photographic Collection of the International Basic Economy Corporation, Rockefeller Archive Center<br />

4


OUT OF BLOCK<br />

25<br />

“The entire building is assembled from parts roughly equal in<br />

size. All elements of the constructed architecture are comprehensively<br />

shaped based on their ‘way of being made’. A building<br />

which does not exceed the way it is made; its path is simply<br />

visible..”<br />

04<br />

การทดสอบ เครื่องทำา<br />

CINVA RAM โดย CINVA<br />

(Centro Interamericano<br />

de Vivienda) ที่ประเทศ<br />

โคลัมเบีย 1961<br />

ความเป็นไปได้ในการประกอบ “ต่อ” ของอาคาร ทำาให้เกิด<br />

ความเปิดบางอย่าง แม้กับรูปทรงที่ปิด บล๊อกไม่ได้ปรากฏขึ้น<br />

แค่ช่วงเวลาของการสร้างเสร็จเท่านั้น มันมีจุดเริ่มต้น มี<br />

ระยะเวลาของการประกอบ ของการลดเพิ่มเปลี่ยนแปลง<br />

สึกกร่อนและรื้อถอน “สถาปัตยกรรมเริ่มต้นเมื่อคุณวางอิฐ<br />

สองก้อนด้วยความระมัดระวัง” บล็อกวางสถาปัตยกรรม<br />

ลงไปในการเคลื่อนไหวของเวลา<br />

Association - Expansion<br />

บล็อก วิธีการก่อสร้างที่เป็นลำาดับ เป็นการทำาซ้ำา ๆ ที่มี<br />

ระเบียบ มันเป็นวิธีโลเทค ใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับ<br />

ภูมิภาค ชุมชน และบางครั้ง กับนโยบายที่เฉพาะ<br />

งาน Mapungubwe Interpretation Centre ในประเทศ<br />

แอฟริกาใต้ โดย Peter Rich Architects ใช้โครงสร้าง<br />

Timbrel Vaulting ที่สร้างจากอิฐดินดิบ (Sun-dried) ด้วย<br />

กรรมวิธีเก่าแก่ในพื้นที่ คนในพื้นที่จำานวนมาก ถูกฝึกให้<br />

สร้างอิฐเหล่านี้ เป็นการสร้างอาชีพและรายได้ ระหว่างการ<br />

ก่อสร้าง นอกจากนี้ ทักษะเหล่านี้ยังติดตัวพวกเขาไป<br />

หลังจากโครงการเสร็จสิ้น ปริมาณของอิฐที่ต้องใช้ใน<br />

โครงการขนาดใหญ่ สร้างความสัมพันธ์ แบบทันทีรอบ ๆ<br />

พื้นที่ ในหลาย ๆ มิติ<br />

โครงการร่วมกันสร้างใน ซอยลาดพร้าว 101 ที่เริ่มในปี 1978<br />

เป็นวิธีที่นำาความทั่วไป และความสร้างง่ายของคอนกรีต<br />

บล็อก เข้ามาช่วยเปิดกระบวนการก่อสร้าง ให้กับผู้อยู่อาศัย<br />

โดยมีเป้าหมายเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีรายได้น้อย สามารถ<br />

extra blocks prepared a little more than necessary,<br />

placed next to it, suggesting possible future<br />

‘assembly' along with the joints of the building.<br />

It's not just the moment of completion, but there is<br />

a beginning, a time of assembly, and beyond that,<br />

a time of additions, thinning, weathering, or even<br />

demolition. ‘Architecture starts when you carefully<br />

put two bricks together. There it begins.' Blocks<br />

position architecture in the movement of time."<br />

Association - Expansion<br />

Block, a sequential construction method, repetitional<br />

action with disciplines. This low-tech and<br />

easy technique resonates with a region, community,<br />

and a certain policy.<br />

The Mapungubwe Interpretation Centre in South<br />

Africa, designed by Peter Rich Architects, utilizes<br />

a Timbrel Vaulting structure made from sun-dried<br />

bricks, a method that revives a traditional local<br />

technique. Quite many locals were taught to make<br />

these bricks, providing them with not only employment<br />

and income during the construction but also<br />

with valuable skills beyond the scope of the project.<br />

A large quantity of bricks needed for the project’s<br />

size instantly forge relationships around the site in<br />

many dimensions.<br />

Initiated in 1978, the “Building Together” in Soi<br />

Ladprao 101 represents a low-tech approach that<br />

introduced the concept of ‘anywhere-ness’ using


26<br />

theme<br />

เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยได้ โดยให้ร่วมแรงสร้างบ้านด้วยตัวเอง<br />

ระบบผนังรับน้ำาหนัก จากบล็อกประสาน (Interlocking<br />

Block System) ที่ไม่ต้องตั้งไม้แบบหล่อเสา และไม่ต้องใช้<br />

ปูนในการก่อ เป็นระบบที่เอื้อให้ผู้ที่ไม่มีประสบการณ์และ<br />

ทักษะในการก่อสร้าง สามารถเรียนรู้ และร่วมสร้างได้<br />

โรงงานช่วยตัวเอง (Self-Help factory) ถูกสร้างขึ้นใน<br />

พื้นที่ก่อสร้าง กลุ่มผู้อยู่อาศัยที่ไม่ได้รู้จักกันมาก่อน เข้ามา<br />

ทำางานด้วยกัน โดยใช้วัตถุดิบอย่าง ทราย หิน ซีเมนต์ เพื่อ<br />

สร้างวัสดุสำาหรับบ้านของตัวเอง 1 ปัจจุบัน โครงการร่วมกัน<br />

สร้างสร้างเสร็จมาแล้วกว่า 40 ปี มันน่าแปลกใจ ที่โครงการ<br />

ยังคงขนาดและกลิ่นอายที่พิเศษบางอย่าง ที่ทำาให้ต่างจาก<br />

พื้นที่รอบ ๆ ความพิเศษของมันอาจอยู่ที่วิธีการก่อสร้าง<br />

ที่แตกต่างจากระบบก่อสร้างเสาคาน และผนังก่อแบบ<br />

ทั่วไปอย่างสิ้นเชิง การที่บล๊อกทั้งหมดทำาหน้าที่เป็น<br />

ผนังรับน้ำาหนัก ทำาให้บ้านเหล่านี้ ยังคงอยู่โดยไม่มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ แม้เมืองแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลง<br />

ไปมาก กระบวนการก่อสร้าง และระบบการก่อสร้าง<br />

ของบล็อก สร้างความสัมพันธ์กับผู้คนและภูมิภาค ในวิธี<br />

ที่แตกต่างกันเมื่อเวลาผ่านไป<br />

concrete blocks, emphasizing immediacy and<br />

versality. Aimed at enable low-income individuals to<br />

become homeowners, the project involved residents<br />

directly in the construction process. It utilized a<br />

load-bearing wall system made from an original<br />

interlocking concrete block system, which elimi<br />

nated the need for wooden formwork typical in<br />

reinforced concrete (RC) or traditional masonry<br />

work. This system was especially suitable for those<br />

without construction experience. Residents, initially<br />

strangers, worked together in a self-help factory<br />

on-site, using raw materials like sand, stone, and<br />

cement to create building materials for their future<br />

homes 1 . More than four decades after its completion,<br />

it is surprising that the project still retains a distinctive<br />

character and scale amidst its surrounding.<br />

Probably its uniqueness lies in the construction<br />

method, which differs from the conventional postand-beam<br />

with masonry wall systems. The fact<br />

that all blocks work as load bearing elements has<br />

led these houses to remain without large modification,<br />

despite the surrounding city’s growth and<br />

05<br />

Can Lis<br />

06<br />

ระหว่างการก่อสร้าง<br />

Can Lis<br />

5<br />

Photo Credit : Aalborg University & Utzon Center / ©Utzon Archives<br />

5


OUT OF BLOCK<br />

27<br />

ความเชื่อมโยงระหว่างแรงงาน และชุมชนที่ถูกสร้างขึ้น<br />

ด้วยบล็อก สามารถขยายไปถึงประเด็นทางการเมือง ใน<br />

โคลอมเบีย แนวคิดนี้ได้รับการผสมผสานเข้ากับกลยุทธ์<br />

การนำาเสนอที่อยู่อาศัยทางเลือก ‘แนวคิดที่ตรงข้ามกับ<br />

กลุ่มนักพัฒนาเหล่านี้ คือแนวคิดที่ได้รับการสนับสนุนจาก<br />

ผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา ที่สนับสนุนวิธีการช่วยเหลือ<br />

ตัวเอง โดยการใช้เทคโนโลยีง่าย ๆ และการฟื้นฟูชุมชน...’ 2<br />

ในปี 1956 CINVA สมาคมร่วมระหว่าง รัฐบาลโคลอมเบีย<br />

และองค์กรของสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนา CINVA ram วิธีการ<br />

ผลิตบล็อกซีเมนต์-ดินที่ออกแบบโดยสถาปนิกชาวชิลี<br />

ราอูล รามิเรซ โดยเครื่องอัดนี้ช่วยให้สามารถผลิตบล็อกที่<br />

แข็งแรงจากทรายและซีเมนต์คนเดียวโดยไม่ใช้ไฟฟ้า ด้วย<br />

ความสามารถสูงถึง 500 ชิ้นต่อวันต่อทีม<br />

ปลายยุค 1960s ในเมือง LIMA ประเทศเปรู โปรเจกต์ PREVI<br />

สนามทดลองนานาชาติยุคบุกเบิกของการออกแบบที่อยู่อาศัย<br />

แบบ Low-rise-High-density เริ่มขึ้นเพื่อแก้ปัญหาบ้าน<br />

ขาดแคลน โดยนายกรัฐมนตรี (และสถาปนิก) Fernando<br />

Belaunde ภายใต้การดูแลของ Peter Land บ้านจำานวน<br />

changes. The construction process and the construction<br />

system of block, bonds people to the<br />

region in different ways.<br />

The connection between labor and community<br />

forged using blocks, can extend into the realm of<br />

politics, offer an alternative way of housing supply<br />

distinct from market-led capitalism. In Colombia,<br />

this idea was integrated with political strategies.<br />

“In frank opposition to these developmentalist ideas<br />

was a conception, promoted by experts from the<br />

United States, that defended self-help methods,<br />

the employment of simple technologies, and the<br />

recovery of community…” 2 In 1956, CINVA, an association<br />

involved by Colombian government and the<br />

organization of American States, developed the<br />

CINVA ram, a cement-soil block production method<br />

designed by Chilean architect Raúl Ramírez. This<br />

compression machine allows to produce compact<br />

blocks from sand and cement by a single person<br />

without electricity with a capacity of up to 500<br />

pieces per day per team.<br />

Photo Credit : Aalborg University & Utzon Center / ©Utzon Archives<br />

6


28<br />

theme<br />

Photo: Aalborg University & Utzon Center / ©Utzon Archives<br />

7<br />

520 หลัง ถูกสร้างขึ้นจริง โดยบริษัทสถาปนิกต่างชาติ<br />

รับเชิญ และบริษัทสถาปนิกเปรูที่ชนะการประกวด อย่างละ<br />

13 บริษัท เป้าหมายหลักของโครงการ คือการสร้างที่ว่างที่<br />

ยืดหยุ่น สำาหรับรองรับความเปลี่ยนแปลง และขยายขนาดได้<br />

โดยผู้อยู่อาศัยเอง 3 สถาปนิกแต่ละทีม ค้นหาวิธีการสร้าง<br />

ที่อยู่ในราคาย่อมเยา ผ่านการทดลองด้านวิธีการก่อสร้าง<br />

และ modular design อย่างที่เห็นได้ชัดในงานของทีม<br />

Kikutake-Kurokawa-Maki คอนกรีตบล็อกเป็นตัวเลือก<br />

ของสถาปนิกหลาย ๆ แห่ง<br />

โครงการ Quinta Monroy Housing ในประเทศชิลี ของ<br />

Elemental สะท้อนถึงมรดกจาก PREVI ในไอเดียหลักของ<br />

การสร้างพื้นที่ว่างที่ยืดหยุ่น าหรับรองรับความเปลี่ยนแปลง<br />

สำ<br />

บ้านครึ่งแรกที่ถูกสร้างโดย Elemental ทำาจากคอนกรีต<br />

บล็อก คอนทราสต์กับส่วนต่อเติมที่เกิดขึ้นภายหลังโดย<br />

เจ้าของบ้าน จากหลากวัสดุ หลากสี การแบ่งระหว่าง<br />

โครงสร้างเสาคานคอนกรีตเสริมเหล็ก และผนังคอนกรีต<br />

The PREVI project in Lima, Peru in the 1960s, was<br />

an experimental project focusing on low-rise, highdensity<br />

housing to tackle the demand for affordable<br />

home. The project was initiated by President<br />

Fernando Belaúnde and architect Peter Land and<br />

saw the construction of 520 houses by 13 international<br />

architectural firms and 13 Peruvian firms. Its<br />

primary goal was to create flexible spaces that<br />

could accommodate changes and expansions by<br />

the residents 3 , prompting each architect to explore<br />

cost-effective housing solutions around modular<br />

design. This is evident in the work of Kikutake-<br />

Kurokawa-Maki team. Concrete blocks were a<br />

popular choice among many architectural offices.<br />

Quinta Monroy Housing project in Chile by Elemental,<br />

reflects the legacy from the PREVI projects<br />

in its core idea of creating flexible, open spaces<br />

accommodating future expansion. Elemental's<br />

initial Half Built houses were constructed using<br />

07-08<br />

Kuwait National<br />

Assembly


OUT OF BLOCK<br />

29<br />

8<br />

Photo: Aalborg University & Utzon Center / ©Utzon Archives


30<br />

theme<br />

บล็อก ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่น ในระยะยาว เป็นการยืนยันว่า<br />

บล็อกยังคงมีประสิทธิภาพ เป็นทางเลือกแบบใช้เทคโนโลยี<br />

อย่างง่าย ที่ช่วยให้ภูมิภาคเติบโตได้ อย่างมีทิศทาง<br />

Generousity - Consistancy<br />

โบสถ์คาทอลิก The Hague (Aldo Van Eyck, 1964):<br />

เป็นอาคารสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีความสูงแตกต่าง ผนังทั้งหมด<br />

ทำาจากคอนกรีตบล็อก ไม่มีการแยกระหว่างผนังภายใน<br />

ภายนอก โครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้าง ท๊อบไลท์รูปวงกลม<br />

ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับขนาดของบล็อกคอนกรีต<br />

ถูกแขวนลงมาจากหลังคาที่ถูกซับพอร์ตด้วยคาน RC<br />

ขนาดใหญ่ แสงจากท๊อปไลท์ ทำาหน้าที่เชื่อมต่อขนาดส่วน<br />

ของอาคาร<br />

“คลื่นของกลุ่มผู้ยึดในความเสมอภาค และต่อต้านอำานาจ<br />

นิยมในทศวรรษ 1960 ทำางานกับแนวความคิด parts-whole<br />

ของ Alberti อย่างชัดเจน เป็นการแสดงถึงแก่นของความคิด<br />

ที่ไม่ใช่แค่ในงานของ Van Eyck แต่ของ Modernists ใน<br />

ภาพรวม ที่วิธีคิด parts-whole เกี่ยวข้องโดยตรงกับวิถี<br />

ชีวิตใหม่ในเมือง” 4<br />

เมื่อจำานวนและขนาดของอาคารเพิ่มขึ้น ความพยายาม<br />

ทั้งทางทฤษฏี และปฏิบัติ ในการจัดการกับขนาดที่รองรับ<br />

ความหลากหลายของปัจเจกเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันทั่วโลก Jorn<br />

Utzon ใช้วิธีทางกระบวนการก่อสร้าง โดยมีบล็อกเป็น<br />

ตัวเชื่อมผสานหน่วยย่อยกับภาพรวมของอาคาร ภายใต้<br />

แนวคิดที่เขาเรียกมันว่า ‘Additive Architecture’ Kingo<br />

and Fredensborg Houses (Jorn Utzon, 1959): บล็อก<br />

ของกลุ่มบ้านที่ทำาจากกำาแพงอิฐ วางเรียงตามสัณฐาน<br />

ของพื้นที่<br />

Can Lis (Jorn Utzon, 1974): บล็อกหลายขนาด หลัง<br />

สุดท้าย ของ Jorn Utzon บนเกาะมายอร์กา ที่ใช้โครงสร้าง<br />

เสาคาน ที่โปร่งโล่ง สอดรับกับภูมิประเทศและทะเลของ<br />

เกาะมายอร์ก้า เสา คานและกำาแพง ถูกสร้างจากบล็อก<br />

หินทรายที่หาได้ในเกาะ รอยต่อของบล็อกกระจายต่อเนื่อง<br />

ไปในทุกๆส่วน ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้าง หรือไม่โครงสร้าง<br />

ภายในหรือภายนอก ทับหลัง และฝ้า ทำาจาก Precast<br />

concrete ที่ยึดอยู่กับบล๊อก อาคารทั้งหลัง ถูกสร้างจาก<br />

ชิ้นส่วนขนาดเท่า ๆ กัน ชิ้นส่วนทุกชิ้นที่ถูกประกอบเป็น<br />

อาคารถูกสร้างขึ้นภายใต้ “วิธีสร้าง” ที่ครอบคลุม เป็น<br />

อาคารที่ไม่ก้าวข้ามวิธีการก่อสร้าง วิถีของมันชัดแจ้ง<br />

อาคารรัฐสภาประเทศคูเวต (Jorn Utzon, 1983): คาน<br />

ขนาดใหญ่และหลังคาคอนกรีตทำาจากบล็อกคอนกรีต<br />

precast คล้ายกับสะพาน เสาก็ทำาจากส่วนประกอบหลายชิ้น<br />

concrete blocks, contrasting with the latter half<br />

by the homeowner using diverse materials and<br />

colors. The separation between the main RC<br />

structure and the concrete block wall further<br />

enhances this flexibility over time. The project<br />

confirms that the use of blocks remains effective<br />

for low-tech solutions which allow the region to<br />

grow in scale.<br />

Generousity - Consistancy<br />

Catholic Church the Hague (Aldo Van Eyck,<br />

1964): A rectangular building of varying heights.<br />

Its walls are uniformly constructed from concrete<br />

blocks without distinction between external and<br />

internal walls, or between structural and nonstructural<br />

elements. In contrast to the scale of<br />

these concrete blocks, considerably large cylindrical<br />

top lights are suspended from the roof which<br />

is supported by massive RC beams. These overhead<br />

lights bridge the diverse scales within the building.<br />

‘Egalitarian and anti-authoritarian activism of the<br />

sixties. More than an obvious take on Alberti’s<br />

classical parts and the whole, this equation, in<br />

fact, reveals an issue that is at the core, not just<br />

of Van Eyck’s work, but of modernism as a wholehow<br />

to relate the new ways of living with the metropolitan<br />

condition…' 4<br />

As the number and size of buildings grew, various<br />

challenges, theories, and practices emerged internationally<br />

to address the treatment of scale while<br />

accommodating individual diversity. In Denmark,<br />

Jorn Utzon used blocks to penetrate and integrate<br />

the entirety of a building and its parts, a constructional<br />

approach he called ‘Additive Architecture'.<br />

Kingo and Fredensborg Houses (Jorn Utzon, 1959):<br />

Residential blocks made of brick walls arranged<br />

in a staggered formation along the terrain.<br />

Can Lis (Jorn Utzon, 1974): Separate blocks of<br />

varying sizes follow the terrain and the sea of<br />

Mallorca Island. The structure utilized an open<br />

post-and-beam, with columns and beams made<br />

from locally sourced sandstone blocks. Similar<br />

joints spread throughout, linking structural and<br />

non-structural, exterior, and interior. The lintels<br />

and ceiling panels, made of precast concrete,<br />

are hooked onto the blocks. The entire building<br />

is assembled from parts roughly equal in size. All<br />

elements of the constructed architecture are comprehensively<br />

shaped based on their ‘way of being<br />

made'. A building which does not exceed the way<br />

it is made; its path is simply visible.


OUT OF BLOCK<br />

31<br />

Thinking about ‘block’ today also involves considering how to<br />

integrate the divided parts of architectural compositions,<br />

industries, and production. How can we build architecture<br />

that responds to advancements in digital technology, environmental<br />

issues, and societal changes?<br />

09-10<br />

Al Daayan Health<br />

District Masterplan<br />

ทั้งหมดถูกแบ่งออกด้วยรอยต่อที่สม่ำาเสมอ “อาคารถูก<br />

ออกแบบเป็นชุดเครื่องมือ ที่ทุกองค์ประกอบ ถูกออกแบบ<br />

มาให้แสดงถึงแรงที่มันรับและพื้นที่ที่มันครอบคลุม ด้วย<br />

แคตตาล็อกของชิ้นส่วน 150 ชนิดพื้นฐาน ชิ้นส่วนรวม<br />

12,800 ชิ้นถูกสร้างขึ้น.. รูปทรงกึ่งวงกลม...รวมถึงระบบ<br />

เคเบิลเหล็กอัดแรง ช่วยลดความหนาและจำานวนของวัสดุ<br />

ที่จำาเป็น” 5<br />

การคิดเกี่ยวกับบล็อก ในวันนี้ น่าจะหมายถึงการพิจารณา<br />

วิธีการจัดระเบียบ และรวบรวม ส่วนประกอบ รวมถึง<br />

อุตสาหกรรม และการผลิตของสถาปัตยกรรมที่ถูกแบ่ง<br />

ซอยย่อยเป็นส่วน ๆ เราจะสามารถสร้างสถาปัตยกรรม<br />

ในลักษณะไหน ไปพร้อม ๆ กับการปรับตัวให้เข้ากับ<br />

การพัฒนาของเทคโนโลยี ปัญหาสิ่งแวดล้อม และการ<br />

เปลี่ยนแปลงของสังคม แม้ว่าปัจจุบัน สังคมเราจะต่างจาก<br />

สังคมโตไว อย่างในยุค 60-70 แต่วิธีการของ Utzon ดูจะ<br />

ยังคงฉายแสงในปัจจุบัน<br />

Kuwait’s National Assembly (Jorn Utzon, 1983):<br />

Large columns and concrete roofs are modularized<br />

like precast bridges, with the columns themselves<br />

made of several parts, separated by joints. ‘The<br />

building is conceived as a kit of parts in which all<br />

the elements are designed to express the load<br />

they bear and the space they cover. Through a<br />

catalogue of 150 basic types, a total of 12,800<br />

elements are built... the semi-circular geometry...<br />

as well as the system of pre-tensioned steel cables,<br />

help minimize the thickness and the numbers of<br />

materials needed.' 5<br />

Thinking about ‘block’ today also involves considering<br />

how to integrate the divided parts of architectural<br />

compositions, industries, and production.<br />

How can we build architecture that responds to<br />

advancements in digital technology, environmental<br />

issues, and societal changes? Although the context<br />

has shifted significantly from the growth-oriented<br />

ethos of the 60s, Utzon's practices continue to glow.<br />

Photo: ©OMA<br />

9 10<br />

Photo: ©OMA


32<br />

theme<br />

11 Photo: Wikimedia Common / ©Holger Ellgaard


OUT OF BLOCK<br />

33<br />

Photo: Wikimedia Common / ©Holger Ellgaard<br />

12<br />

11-12<br />

โบสถ์ St. Mark โดย<br />

Sigurd Lewerentz<br />

เขตพื้นที่สุขภาพ Al Daayan (OMA, 2018-) คือโครงการ<br />

พื้นที่สุขภาพ ที่ทำางานกับศักยภาพของความเป็นโมดูลาร์<br />

การผลิตล่วงหน้า และการทำางานอัตโนมัต “มันไม่ใช่อาคาร<br />

แต่เป็นระบบ ที่ประกอบด้วยโมดูลที่มีสวน” 3D พริ้นเตอร์<br />

และหุ่นยนต์ช่วยประกอบ ช่วยก่อสร้างบล๊อก หน่วยที่สามารถ<br />

ปรับเปลี่ยนและขยายได้ ด้วยการรบกวนที่น้อยที่สุด เป็น<br />

รูปแบบอนาคตของสถาปัตยกรรมที่เป็นอิสระ ตัดภาพมาที่<br />

ผนังอิฐดินดิบ ที่ถูกก่อขึ้นเป็นโดม หลังจากนั้นก็ฉาบด้วย<br />

โคลนเพื่อสร้างที่อยู่อาศัย บางครั้ง อนาคตของสถาปัตยกรรม<br />

จากเทคโนโลยีขั้นสูง ที่มีประสิทธิภาพมาก ๆ อาจจะมี<br />

ลักษณะร่วมกับการก่อสร้างแบบดั้งเดิมอย่างไม่คาดคิด<br />

Production - Cessation<br />

Block needs Bond. ระเบียบของการก่อ และการประสาน<br />

เป็นตัวกำาหนดความแข็งแรงทางโครงสร้าง และทิศทาง<br />

ของความเป็นเอกภาพทางสถาปัตยกรรม โบสถ์ St. Mark’s<br />

ของ Sigurd Lewerentz แสดงให้เห็นว่า การจัดการกับ<br />

ระเบียบเหล่านี้ อย่างขนาดบล็อก และความหนาของปูนก่อ<br />

สามารถสร้างสัดส่วน ขนาด และผิวสัมผัสที่จำาเพาะให้กับ<br />

อาคารได้ การใช้ปูนเป็นตัวประสาน ทำาให้บล็อกที่มีขนาดเล็ก<br />

สามารถประกอบร่าง ก่อตัวเป็นพื้นผิวชิ้นเดียวกันได้<br />

อัตราส่วนของสารประสานเป็นปัจจัยหลักใน กำาหนด<br />

ภาพรวมของอาคาร<br />

AI Daayan Health District (OMA, 2018-): A proposed<br />

health district exploring potential of modularity,<br />

prefabrication, and automation. ‘Not as a building,<br />

but as a system made up with modules incorporating<br />

gardens...' 3D printers and assembly robots<br />

are utilized to construct the structure, modular units<br />

which can be reconfigured and expanded with<br />

minimal disruption. An autonomous form of architecture<br />

of the future.<br />

Vertical surfaces constructed from sun-dried bricks<br />

rise to meet spanning domes, then coated with mud<br />

to create living space. The future of high-tech and<br />

high-performance architecture may surprisingly<br />

find common ground with these primitive forms of<br />

masonry construction.<br />

Production - Cessation<br />

Block needs Bond. Coordination and sequencing<br />

in block construction define both its structural<br />

integrity and direction for architectural unity.<br />

St. Mark's Church by Sigurd Lewerentz shows<br />

that managing these orders, such as the size of<br />

blocks and the thickness of the mortar, can create a<br />

specific scale and texture. Using mortar as a binder<br />

allows small blocks to be assembled, forming a<br />

unified surface. The proportion of the bonding<br />

agent acts as a factor that create an overall image<br />

for the building.


34<br />

theme<br />

สำาหรับบล็อกที่มีขนาดใหญ่ ลักษณะของการประสานก็จะ<br />

ต่างออกไป อย่างที่เห็นได้ในอาคารหินก่อ สมัยโบราณ ที่<br />

วิหารพาร์เธนอน บล็อกหินทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง<br />

ประมาณ 1.5-1.9 ม. ที่ถูกแกะสลักอย่างปราณีต สูงประมาณ<br />

0.9 ม. ถูกวางซ้อนเรียงตัวไปเป็นเสาหินก่อ หรือที่เรียกว่า<br />

Multi-drum column สูงกว่า 10 เมตร บล็อกหินเหล่านี้<br />

ไม่ได้ใช้ปูนในการเชื่อม แต่อาศัยความเป๊ะ ของการแปรรูป<br />

ที่ทำาให้บล็อกหินซ้อนกันพอดิบพอดี โดยมีเดือยไม้ ช่วย<br />

ประคองระหว่างบล็อกหินอยู่ตรงกลาง มีผลวิจัยออกมาว่า<br />

ความสามารถในการเคลื่อนที่ระหว่างชั้นหินท รวมถึง<br />

พลังงานที่เกิดจากการเสียดสีของบล็อกหิน ช่วยทำาหน้าที่<br />

เหมือนสปริงให้กับเสาหินก่อ เมื่อเกินแรงกระทำาด้านข้าง<br />

(Lateral Force) อย่างแผ่นดินไหว 6<br />

การก่อประสานแบบแห้ง (Dry Bond) เป็นวิธีที่ต้องใช้ทั้งเวลา<br />

ความเป๊ะและความปราณีต สเกลของบล็อกหินในยุคโบราณ<br />

น่าจะเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำาให้เกิดการใช้ซ้ำาของหิน ใน<br />

หลายๆบริบท Spolia หรือ การเอาชิ้นส่วนของอาคารจาก<br />

บริบทหนึ่ง มาใช้ในอีกบริบท ไม่ว่าจะเป็นการนำาชิ้นส่วน<br />

ของอาคาร จากพื้นที่สงคราม มาใช้โดยตั้งใจ เพื่อการ<br />

แสดงอำานาจ อย่าง Arch of Constantine ในโรม หรือการ<br />

ใช้ซ้ำาเพื่อ ประหยัดเวลาและทรัพยากร อย่างในหน้าบันของ<br />

ประตู Porticus Octavia การบูรณะเมื่อไม่นานมานี้ ทำาให้<br />

เห็นว่า ใต้ปูนฉาบ หน้าบัน ทำาจากบล็อกหินที่เคยเป็นส่วน<br />

ประกอบต่างๆของอาคารร้อยพ่อพันแม่7 มันคือการมอง<br />

อาคารเก่า เป็น ‘เหมืองหิน’ ที่ยังสามารถเข้าไปถลุงเอา<br />

ทรัพยากรออกมาได้ เป็นยุคที่เวลา แรงงาน และทักษะทาง<br />

ช่างขั้นสูง สำาคัญยิ่ง<br />

ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ Digital<br />

Fabrication ช่วยให้วิธีการก่อแบบแห้ง ที่ต้องการ craftmanship<br />

สูงๆ กลับมาเป็นไปได้อีกครั้ง งาน Armadillo<br />

Vault เมื่อปี 20<strong>16</strong> ของ Block Research Group และ ODB<br />

(Ochsendorf DeJong & Block) เป็นโดมหินปูนที่ก่อจาก<br />

บล็อกหินจำานวน 399 ชิ้น โดยไม่ใช้ปูนหรือสารประสาน<br />

พวกเขาสนใจในความมีประสิทธิภาพของเรขาคณิต ใน<br />

งานก่อสมัยก่อน ที่แม้จะไม่มีการเสริมแรง ก็สามารถสร้าง<br />

ความแข็งแรงได้ด้วยเรขาคณิตที่เหมาะสม เป็นวิธีที่ทำาให้<br />

สามารถนำาวัสดุที่มีความแข็งแรงน้อยกว่า ซึ่งโดยทั่วไป ก็<br />

หมายความว่ามี carbon footprint ที่น้อยกว่า มาใช้สร้าง<br />

พื้นที่ขนาดใหญ่ได้ นอกจากนี้การไม่ใช้สารประสาน และ<br />

ไม่เสริมเหล็ก ยังช่วยยืดอายุของคอนกรีต และช่วยลดเวลา<br />

และแรงงานที่จำาเป็นในการรื้อถอน ช่วยให้กระบวนการ<br />

รีไซเคิลเป็นไปได้ง่ายขึ้นด้วย<br />

This nature is different for larger blocks as seen<br />

in ancient stone masonry. Cylindrical stone blocks<br />

approximately 1.5-1.9 meters in diameter which<br />

were finely carved to about 0.9 meters in height<br />

were stacked to form stone columns of over 10<br />

meters high without using mortar. These multi-drum<br />

columns of the Parthenon rely on the precision<br />

of processing the stone to fit perfectly together,<br />

with the support of wooden dowels in the middle.<br />

Research has shown that the ability of these stone<br />

layers to move, along with the energy generated<br />

by the friction, acts like a spring, especially when<br />

subjected to lateral forces such as earthquakes. 6<br />

These dry bond techniques required both time and<br />

precision. The scale of stone blocks in ancient times<br />

also likely contributed to their reuse in various<br />

contexts. Spolia, the practice of reusing architectural<br />

elements deliberately to showcase power,<br />

as in the Arch of Constantine or to save time and<br />

resources, as observed in the tympanum of the<br />

Porticus Octavia. Recent restorations revealed<br />

that the tympanum was made from diverse stone<br />

blocks that were once parts of various buildings,<br />

hidden beneath plaster. 7 A time when old buildings<br />

were seen as stone quarries, where resources<br />

can be mined; an era when abundant time and<br />

high-level craftsmanship skills were essential.<br />

In the 21 st century, computer, and Digital Fabrication<br />

technologies, have made the dry bonding method,<br />

which requires a great deal of craftsmanship,<br />

possible again. The Armadillo Vault, a limestone<br />

dome by the Block Research Group and ODB<br />

(Ochsendorf DeJong & Block) was constructed from<br />

399 stone blocks without any use of mortar or<br />

binding agent. Their focus was on the efficiency<br />

of geometry in ancient construction, where even<br />

without reinforcement, strength could be achieved<br />

through appropriate geometry. This method allowed<br />

for the use of materials with lower strength, which<br />

typically correlates to a reduced carbon footprint<br />

to create large spaces. Not using mortar and reinforcement<br />

also extended the lifespan of the<br />

structure and reduced the time and labor required<br />

for demolition, making recycling processes more<br />

accessible.<br />

BRG group collaborated with Zaha Hadid Architects<br />

and incremental3D to create the Striatus<br />

Bridge for the <strong>16</strong> th Venice Biennale in 2021.<br />

13<br />

หน้าบันด้านในของ Portico<br />

di Ottavia เผยให้เห็นชิ้น<br />

ส่วนของบล๊อคหินต่าง ๆ ที่<br />

ถูกนำามาใช้ซ้ำา


OUT OF BLOCK<br />

35<br />

Photo: Wikimedia Commons<br />

13


36<br />

14<br />

Striatus Bridge<br />

ระหว่างการก่อสร้าง


37<br />

Photo: ©Tom Van Mele<br />

14


38<br />

theme<br />

15<br />

Photo Courtesy of Block Research Group<br />

In 2024, ‘reuse’ begins with dust and ready<br />

to be transformed into whatever possible.<br />

The transparency, openness and adjustability<br />

of composition and materials, including the<br />

size and shape of the blocks, allow us to be<br />

creators of materials and its processes.


15<br />

Armadillo Vaults<br />

<strong>16</strong><br />

Striatus Bridge<br />

OUT OF BLOCK<br />

ในงาน Venice Biennale ปี 2021 กลุ่ม BRG ร่วมมือกับ<br />

Zaha Hadid Architects และ incremental3D สร้าง Striatus<br />

Bridge โดยคราวนี้ พวกเขาใช้บล็อกคอนกรีต 3D Print<br />

แทนหินปูน และพัฒนาให้มันไม่ได้เป็นแค่หลังคา แต่เป็น<br />

สะพาน ให้คนสามารถเดินขึ้นไปได้ โครงการ Phoenix ที่<br />

เพิ่งสร้างเสร็จไปเมื่อปลายปี <strong>2023</strong> คือความพยายามใน<br />

การเพิ่มความถาวรให้กับ Striatus Bridge ซึ่งเป็นสะพาน<br />

ชั่วคราว การปรับแบบให้เป็นไปตามกฏหมาย ในขณะปรับ<br />

รูปร่างและกระบวนการ เพื่อลดการใช้วัสดุ พวกเขาใช้ผง<br />

aggregate ของบล็อกคอนกรีตงาน Striatus Bridge โดย<br />

นำามาพัฒนาเป็น “หมึกคอนกรีต” ใหม่ ที่ Holcim เคลมว่า<br />

ช่วย ลด CO 2<br />

ลง 40%<br />

การใช้ซ้ำา ในยุค 2024 นี้ เป็นการใช้ซ้ำาจากผงธุลี ที่พร้อม<br />

แปลงร่างเป็นทุกสิ่งอย่าง ความโปร่งและเปิด รวมทั้งความ<br />

สามารถในการปรับเปลี่ยน ส่วนผสม และวัตถุดิบ รวมไปถึง<br />

ขนาดและรูปร่างของบล๊อกเอง ทำาให้เราสามารถเป็นผู้สร้าง<br />

วัสดุ รวมถึงออกแบบกระบวนการแปรรูปของวัสดุนั้นด้วย<br />

39<br />

Unlike the Armadillo vault, it utilized 3D-printed<br />

concrete blocks and expanded its use beyond<br />

roofing to create a walkable bridge. Last year,<br />

the Phoenix project was completed with an aim<br />

to redesign the temporary Striatus Bridge into<br />

a more sustainable and regulation-compliant<br />

design while reducing the use of materials. They<br />

recycled aggregate powder from the Striatus<br />

Bridge’s concrete blocks to develop a new ‘concrete<br />

ink,' which Holcim claims this can reduce CO 2<br />

emissions by 40%.<br />

In 2024, ‘reuse’ begins with dust and ready to be<br />

transformed into whatever possible. The transparency,<br />

openness and adjustability of composition<br />

and materials, including the size and shape of the<br />

blocks, allow us to be creators of materials and<br />

its processes.<br />

ทาคุมิ ไซโต<br />

ก่อตั้ง bsides สำนักงาน<br />

ออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

ที่กรุงเทพในปี 2012 หลัง<br />

จากจบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาโท ด้านสถาปั ตย-<br />

กรรมจากมหาวิทยาลัย<br />

โตเกียว ทาคุมิมีประสบ-<br />

การณ์การทำงานในฝ่ าย<br />

ออกแบบ บริษัท Thai<br />

Takenaka International’<br />

ภรพัสุ ศิริคุรุรัตน์<br />

ผู้ร่วมก่อตั้งสำ นักงาน<br />

bsides และอาจารย์ประจำ<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ภรพัสุ เคยทำงานในฐานะ<br />

นักวิชาการวัฒนธรรม<br />

และสถาปนิก ที่สำนักงาน<br />

ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย<br />

กระทรวงวัฒนธรรม ในปี<br />

2021 ภรพัสุได้รับปริญญา<br />

เอกด้านสถาปั ตยกรรม<br />

จากมหาวิทยาลัยโตเกียว<br />

Takumi Saito<br />

founded bsides, an<br />

architectural practice<br />

based in Bangkok in<br />

2012 with Pornpas<br />

Siricururatana. He<br />

graduated a master's<br />

degree in architecture<br />

from the University of<br />

Tokyo in 2012, and has<br />

experience working in<br />

the design department<br />

of Thai Takenak.<br />

Pornpas<br />

Siricururatana<br />

is a co-founder of<br />

bsides and a lecturer<br />

at Department of Architecture,<br />

Kasetsart<br />

University. She used<br />

to serve as a cultural<br />

officer and in-house<br />

architect at the Office<br />

of Contemporary Art<br />

and Culture, Ministry<br />

of Culture. Recently<br />

she received a doctorate<br />

degree from<br />

her alma mater, the<br />

University of Tokyo.<br />

Photo: ©naaro<br />

1 . Angel, S. and Z.C. Phoativongsacharn. 1981. Building Together. Bangkok: Asian Institute of Technology.<br />

2. Liernur, J.F. 2015. "Architectures for Progress." In Latin America in Construction, 78. New York: MoMA.<br />

3 . Land, P. 2015. The Experimental Housing Project (PREVI). Colombia: Ediciones Uniandes.<br />

4. Geer, K. <strong>2023</strong>. Excess of Architecture. Köln: Walther König.<br />

5. AV Monographs. 2018. "Jorn Utzon 1918-2008." AV Monographs 205:90.<br />

6. Hanazato, T. 2004. “From Partinon to Goju-no-To.” GA Sozaikukan 03.<br />

7. Barker, S. 2022. From (Re)Building with Stone. Symposium at Architectural Association.<br />

<strong>16</strong>


40<br />

An<br />

theme / review<br />

Old<br />

City,<br />

A<br />

New<br />

Vision<br />

EKAR Architects designed a 60-room hotel in the old city of U Thong<br />

to revitalize the narratives and recollections of the past, employing<br />

architectural design language to communicate a vanishing history<br />

by using orange bricks to form a composition of rectangular window<br />

frames based on the characteristics of pagoda bases in the area.<br />

Text: Korrakot Lordkam<br />

Photo Courtesy of EKAR Architects and Rungkit Charoenwat except as noted


41<br />

1<br />

แพทเทิร์นยื่นและยุบ<br />

ของ Façade เป็น<br />

เอกลักษณ์ที่เป็นได้จาก<br />

ที่ไกลของโครงการ<br />

Pusayapuri Hotel<br />

1


42<br />

theme / review<br />

เมืองอู่ทองปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ไทย<br />

ว่าเป็นรัฐโบราณเล็ก ๆ ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในช่วง<br />

เวลาราวพุทธศตวรรษที่ 12 – <strong>16</strong> เป็นเมืองท่า<br />

และแหล่งอารยธรรมที่ถูกเรียกรวมว่าเป็นเมือง<br />

โบราณสมัยทวารวดี ซึ่งพบหลักฐานว่าอู่ทอง<br />

เป็นแหล่งชุมชนทางประวัติศาสตร์ที่มีความ<br />

สำาคัญอย่างยิ่ง จนกล่าวกันว่าเคยเป็นศูนย์-<br />

กลางพระพุทธศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในเขตพื้นที่<br />

ประเทศไทย จวบจนปัจจุบัน อู่ทองในฐานะ<br />

อำาเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี แม้จะยังคง<br />

ดำารงสถานะเป็นเมืองประวัติศาสตร์ แต่ความ<br />

สำาคัญในแง่การเป็นเมืองจุดหมายปลายทาง<br />

โดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวนั้นอาจไม่เทียบ<br />

เท่าหลายๆ หัวเมืองสำาคัญ ผู้ก่อตั้งโรงแรม<br />

ปุษยปุรี (Pusayapuri Hotel) และ EKAR<br />

Architects ผู้ออกแบบ เห็นตรงกันในแง่ที่ว่านี้<br />

จึงต้องการใช้งานออกแบบฟื้นคืนเรื่องราวและ<br />

ความทรงจำาของเมืองและผู้คน อย่างน้อยที่สุด<br />

ให้สถาปัตยกรรมที่ออกแบบด้วยภาษาสมัยใหม่<br />

ได้สื่อสารถึงอดีตที่เลือนราง หากจะมากกว่า<br />

นั้นได้ คือให้อาคารได้เป็นเครื่องมือเผยให้เห็น<br />

โอกาสของการพัฒนาเมืองต่อไปได้บนพื้นฐาน<br />

ของสิ่งที่เคยมีมาในอดีต<br />

เอกภาพ ดวงแก้ว สถาปนิกผู้ก่อตั้ง EKAR<br />

Architects เล่าว่า ในกระบวนการออกแบบ<br />

ตัวเขาและทีม EKAR ต้องการจะส่งต่อเรื่องราว<br />

ทางประวัติศาสตร์ของเมืองที่ได้เรียนรู้มาผ่าน<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมหลังใหม่ ทว่า<br />

หลักฐานที่ยังหลงเหลือและปรากฏให้เห็นใน<br />

ปัจจุบันนั้นมีน้อย หรือบางอย่างปรากฏอยู่ใน<br />

เพียงเอกสาร ไม่เป็นที่รับรู้ได้ในวงกว้าง<br />

“พอไปดูจริง ๆ แล้ว สถานที่ตั้งต่างๆ นั้นกลับ<br />

เหลือเป็นเพียงสนามหญ้า กับเศษซากของ<br />

โบราณสถานที่เหลืออยู่เพียงฐาน” เอกภาพว่า<br />

“ความเป็นอู่ทอง หรือสิ่งที่ทั้งอำาเภอและคน<br />

ในพื้นที่ตามหาอยู่ มันจึงเหมือนเป็นสิ่งที่มัน<br />

ไม่มีอยู่อีกต่อไปแล้ว หมายความว่าบางอย่าง<br />

มันมีอยู่ แต่มันไม่มีหลักฐานในการพิสูจน์จริง ๆ<br />

ให้เห็น ผมเลยกลับคิดขึ้นมาว่า ถ้าเรายอมรับ<br />

ว่าที่เราเจ๋งที่สุดคือเพราะสิ่งเหล่านั้นไม่มีเหลือ<br />

อยู่แล้ว หมายถึง เรายอมรับว่าเราเก่าแก่จริง<br />

แต่สิ่งเหล่านั้นมันได้หายไป แทนที่จะบอกว่า<br />

เรามีของเก่าหลงเหลืออยู่มากมาย วิธีคิดแบบนี้<br />

มันอาจจะดูไม่ทรงพลังมาก แต่มันจริงใจกว่า<br />

มันเป็นเรื่องจริงกว่า ซึ่งมันก็ทำาให้เราแตกต่าง<br />

จากประวัติศาสตร์ที่อื่นด้วย”<br />

แนวความคิดที่ผูกโยงไปกับสิ่งที่หายไปใน<br />

ประวัติศาสตร์ดังว่า นำามาสู่โรงแรมสีส้มอิฐ<br />

ขนาดใหญ่ด้วยห้องพักจำานวนราว 60 ห้อง<br />

พื้นฐานอาคารเป็นโครงสร้างคอนกรีตพื้น<br />

โพสเทนชั่นรูปทรงสี่เหลี่ยมเหมือนอาคาร<br />

พักอาศัยกลุ่มขนาดใหญ่ทั่วไป ด้วยจุดประสงค์<br />

แรกคือต้องการเน้นให้ก่อสร้างง่าย ประหยัด<br />

งบประมาณ โดยไม่จำาเป็นต้องมีลูกเล่นทาง<br />

สถาปัตยกรรมมากมาย ทว่าเรื่องราวและความ<br />

เป็นมาของเมืองดังที่สถาปนิกกล่าวถึงได้นำา<br />

มาสู่เอกลักษณ์ของหน้าตาอาคาร โดยเป็น<br />

แพทเทิร์นของกรอบหน้าต่างรูปทรงสี่เหลี่ยม<br />

ที่ได้มาจากรูปลักษณ์ของฐานเจดีย์อิฐที่หลง<br />

เหลืออยู่ในพื้นที่ เชื่อมต่อกันขึ้นไปกลายเป็น<br />

ฟาสาดสีส้มขนาดใหญ่ที่มีมิตินูนออกสลับกับ<br />

ผลุบเข้าไปเป็นจังหวะสร้างความน่าสนใจ<br />

เอกภาพเล่าว่า แรกเริ่มเดิมทีอิฐเป็นตัวเลือก<br />

แรกสุดของวัสดุฟาซาดเนื่องจากสามารถใช้<br />

สื่อสารถึงเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่พวกเขา<br />

จินตนาการถึงได้อย่างตรงไปตรงมา ทว่าธรรม-<br />

ชาติของตัววัสดุนั้นยากที่จะสร้างให้เกิดเป็น<br />

ดีไซน์ตามที่ออกแบบไว้ได้ วัสดุที่ถูกนำามาใช้จึง<br />

เป็นคอนกรีตเสริมใยแก้ว หรือ GRC (Glassfibre<br />

Reinforced Concrete) แทน โดย GRC<br />

เป็นวัสดุที่ใช้การหล่อขึ้นรูปทั้งชิ้นในโรงงาน<br />

ผสมผงสีลงในเนื้อได้ และยกขึ้นติดตั้งได้ง่าย<br />

ด้วยระบบแห้ง ทั้งหมดได้เอื้อให้ฟาซาดรูปทรง<br />

แพทเทิร์นฐานเจดีย์เกิดขึ้นได้จริง โดยในมุมนี้<br />

เอกภาพยังเล่าว่า<br />

“บางทีอิฐอาจจะไม่เหมาะสมอีกต่อไปแล้ว<br />

สำาหรับสถาปัตยกรรมในยุคสมัยของเราเพราะมี<br />

อย่างอื่นที่ดีกว่า โดยเฉพาะกับรูปทรงแบบนี้ ที่<br />

ทำาให้การก่ออิฐเป็นนวัตกรรมที่ล้าหลังอันตราย<br />

และราคาทั้งหมดก็ไม่ได้ถูกอย่างที่เราคิด แม้ว่า<br />

ตัวก้อนอิฐเองจะราคาไม่สูงก็ตาม”<br />

“เรามาเจอกับ GRC ซึ่งหล่อทั้งชิ้นได้เป็นโมดูล<br />

ซึ่งสีที่ได้เป็นการผสมผงสีเข้าไปในเนื้อคอนกรีต<br />

เลย เพราะฉะนั้นหมายความว่า เราได้คอนกรีต<br />

ที่เป็นสี “ที่แท้จริง” เหมือนกันจากเทคโนโลยี<br />

ของทุกวันนี้ เพียงแต่มันไม่ใช่สีจากดินเท่านั้น<br />

ทำาให้เราคิดว่า วัสดุสมัยใหม่มันก็ความเป็นจริง<br />

ในตัวมันเอง โดยเราไม่จำาเป็นต้องไปเฟ้นหา<br />

ความจริงหรือความงามจากวัสดุในอดีตที่ไม่มี<br />

เหลืออยู่แล้วก็ได้”<br />

นอกเหนือจากแง่มุมด้านวัสดุที่สะท้อนประวัติ-<br />

ศาสตร์ของเมือง อาคารโรงแรมปุษยปุรียังมี<br />

เอกลักษณ์ด้านพื้นที่ใช้สอยที่ส่งเสริมคุณภาพ<br />

ของพื้นที่ในอีกแง่หนึ่ง โดยในตอนแรกเริ่มนั้น<br />

อาคารได้ถูกวางแนวทางไว้ว่าจะเป็นเพียง<br />

อพาร์ทเมนท์ให้เช่าทั่วไป จึงได้ถูกออกแบบ<br />

พื้นฐานโครงสร้างทั้งหมดเป็นเพียงอาคาร<br />

คอนกรีตสี่เหลี่ยมที่เอื้อให้ทำาอพาร์ทเมนท์ได้<br />

อย่างประหยัดงบประมาณ จนเมื่อถูกเปลี่ยน<br />

โปรแกรมเป็นโรงแรมที่ต้องมาพร้อมเอกลักษณ์<br />

ด้านการออกแบบ การไม่ได้วางแผนว่าอาคาร<br />

จะเป็นโรงแรมตั้งแต่ต้นกลับไม่ได้เป็นอุปสรรค<br />

ต่อการออกแบบอาคารใหม่ กลับกัน การเปิด<br />

โปรแกรมไว้กว้างได้เอื้อให้สถาปนิกใช้เครื่องมือ<br />

ดีไซน์เข้ามาสร้างเอกลักษณ์และคุณภาพการ<br />

ใช้งานสเปซให้มากขึ้น เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือ<br />

การตัดสินใจคว้านพื้นที่ห้องบางห้องของแต่ละ<br />

ชั้นออกแล้วทำาให้เป็นช่องว่างทางตั้งเชื่อมต่อกัน<br />

ระหว่างชั้น ช่องว่างนี้นอกจากจะทำาให้แต่ละชั้น<br />

ได้มีช่องระบายอากาศและนำาแสงสว่างขนาด<br />

ใหญ่เข้าสู่ชั้นของตัวเอง ยังทำาให้ตลอดทั้งพื้นที่<br />

ใช้สอยของโรงแรมในทางตั้งโปร่งโล่งขึ้น และ<br />

ส่งผลต่อรูปลักษณ์ภายนอกที่สถาปนิกก็จงใจ<br />

เว้นช่องว่างไว้ไม่กรุฟาซาดเข้าไป กลายเป็น<br />

สร้างความน่าสนใจให้รูปลักษณ์อาคารได้อีกใน<br />

ทางหนึ่งด้วย<br />

โดยสรุป โรงแรมปุษยปุรีจึงเป็นโรงแรมที่<br />

เกิดขึ้นจากความพยายามที่จะสะท้อนตัวตนและ<br />

เอกลักษณ์ของคนอู่ทอง บนเรื่องราวประวัติ-<br />

ศาสตร์ของพื้นที่ ทว่าประวัติศาสตร์ที่ว่านั้น<br />

แม้จะสำาคัญขึ้นแท่นประวัติศาสตร์ชาติ แต่สิ่ง<br />

ที่หลงเหลืออยู่จริงอาจไม่ส่งเสริมให้คนเห็น<br />

ภาพหรือสร้างสำานึกร่วมบางอย่างให้เกิดขึ้นได้<br />

โรงแรมแห่งนี้ในฐานะเครื่องมือสื่อสารข้อความ<br />

บางอย่างจึงกล่าวได้ว่าเป็นความพยายามสร้าง<br />

ประวัติศาสตร์บทใหม่ ที่แม้จะไม่ยิ่งใหญ่ แต่ก็<br />

เขียนขึ้นจากสิ่งที่หลงเหลืออยู่ที่แท้ และจาก<br />

สิ่งที่จับต้องได้จริงในปัจจุบันนั่นเอง


OUT OF THE BLOCK<br />

43<br />

2<br />

2<br />

เสก็ตช์แนวคิดรูปลักษณ์<br />

ภายนอกอาคารโดย<br />

เอกภาพ ดวงแก้ว<br />

แสดงการปฏิสัมพันธ์กัน<br />

ขององ์ประกอบต่าง ๆ<br />

ของอาคารที่ส่งผลต่อ<br />

ภายนอก<br />

3<br />

นอกเหนือจากการ<br />

ใช้ GRD (Glassfibre<br />

Reinforced Concrete)<br />

บน Façade ส่วนอื่น ๆ<br />

อย่างสระว่ายน้ำาก็มี<br />

การใช้อิฐดินเผาจริง<br />

เพื่อสร้างบรรยากาศ<br />

ที่สอดคล้องกัน<br />

3<br />

Those historical items have vanished; instead of saying that<br />

we have a lot of old things left, that approach may not seem<br />

very powerful. But we wanted to make it more honest and<br />

real. This also makes us different from other historical sites.


44<br />

theme / review<br />

4<br />

ใช้กระเบื้องสีดำาปูพื้นที่<br />

สระว่ายน้ำา ช่วบขับเน้น<br />

ความโดดเด่นของวัสดุ<br />

สีส้มทั้งอิฐดินเผาและ<br />

GRC โดยรอบ<br />

5<br />

สเก็ตช์แสดงแนวคิด<br />

ที่มาที่ไปของรูปลักษณ์<br />

Façade อาคารโดย<br />

เอกภาพ ดวงแก้ว ซึ่งมี<br />

ที่มาจากบรรดาฐาน<br />

เจดีย์อิฐที่หลงเหลืออยู่<br />

ในท้องที่อยู่อาศัยใน<br />

ห้องพัก<br />

4<br />

In the old cultural city of U Thong, known for its<br />

cultural and historical significance, the founders<br />

of Pusayapuri Hotel and EKAR Architects aim to<br />

revitalize the narratives and recollections of the<br />

city by using contemporary architectural designs<br />

to communicate with the vanishing history.<br />

The city of U Thong is documented in Thai history<br />

as a diminutive ancient polity. The ancient city of<br />

Dvaravati, settled between the 12 th and <strong>16</strong> th centuries<br />

BC, served as a maritime city and a hub of<br />

culture. Substantial evidence has been discovered<br />

to demonstrate the significant historical significance<br />

of U Thong as a community. Historically, it is reputed<br />

to have been the most ancient hub of Buddhism in<br />

Thailand. Currently, U Thong remains a historical<br />

city inside Suphan Buri Province. However, its<br />

significance as a tourist attraction may not be as<br />

notable as in many other famous cities. The founders<br />

of Pusayapuri Hotel and the designers at EKAR<br />

Architects mutually agree on this point. Hence, they<br />

intend to employ design to revitalize the narratives<br />

and recollections of the urban area and its inhabitants,<br />

allowing the architectural designs created<br />

in contemporary language to communicate a<br />

vanishing history. Moreover, the buildings have<br />

5


OUT OF THE BLOCK<br />

45<br />

the potential to serve as crucial instruments in uncovering<br />

prospects for future urban growth, drawing<br />

upon the foundations of the past.<br />

Ekaphap Duangkaew, the founder and design<br />

director of EKAR Architects, disclosed that during<br />

the design phase, he and the EKAR team aimed to<br />

convey the city’s historical knowledge by creating<br />

new architectural structures. Nevertheless, scant<br />

remnants of evidence persist today, with certain<br />

pieces of evidence just documented and lacking<br />

widespread recognition.<br />

6<br />

“During our visit to different sites, we observed<br />

that only grass remained.” “Only the foundation<br />

remains,” Ekaphap stated, referring to the remaining<br />

fragments of the old ruins. “The entity known as<br />

U Thong, which was previously the subject of extensive<br />

search efforts by the city and its residents,<br />

no longer exists.” It signifies its prior existence,<br />

although it lacks substantiating evidence at present.<br />

This prompts us to contemplate it. If we acknowledge<br />

that our superiority stems from the absence<br />

of those entities, we consequently accept our profound<br />

antiquity. However, those items have vanished,<br />

instead of saying that we have a lot of old things<br />

left, that approach may not seem very powerful.<br />

But we wanted to make it more honest and real.<br />

This also makes us different from other historical<br />

sites.”<br />

7<br />

8<br />

6<br />

การตกแต่งภายในเน้น<br />

ความเรียบง่ายด้วยการ<br />

ใช้สีขาว มีการใช้อิฐดินเผา<br />

กระประดับในส่วนต่าง ๆ<br />

เพื่อสร้างบรรยากาศที่<br />

สอดคล้องกับภายนอก<br />

7<br />

อิฐดินเผารูปลักษณ์ต่าง ๆ<br />

ถูกนำามาใช้ โดยเฉพาะอิฐ<br />

แบบโปร่งช่วยแบ่งพื้นที่<br />

โดยยังมองเชื่อมต่อกันได้<br />

8<br />

อินทีเรียร์ดีไซน์ในส่วน<br />

อื่น ๆ ก็หยิบเอาลักษณะ<br />

ของโบราณสถานที่พบเจอ<br />

ในท้องที่มาลดทอน


46<br />

theme / review<br />

9<br />

พื้นที่พักผ่อนในชั้นบนของ<br />

โรงแรม เกิดจากการคว้าน<br />

ห้องพักออกแล้วมอบให้<br />

เป็นพื้นที่สาธารณะให้คน<br />

มาใช้ ซึ่งช่วยสร้างความ<br />

โปร่งโล่งให้อาคารด้วยใน<br />

เวลาเดียวกัน<br />

9<br />

3<br />

1 1<br />

1 1 1 1<br />

2<br />

4 5 6<br />

7<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1M<br />

1. GUESTROOM<br />

2. LANDSCAPE<br />

3. RESTROOM<br />

4. OFFICE<br />

5. EXERCISE ROOM<br />

6. RETAIL<br />

7. POOL<br />

ELEVATION<br />

1M


OUT OF THE BLOCK<br />

47<br />

The composition of rectangular window frames is drawn<br />

from the visual characteristics of brick pagoda bases in the<br />

vicinity. It forms a prominent orange frontage connected<br />

vertically with protruding and recessed dimensions that<br />

create distinctive architectural features.<br />

12<br />

The historical themes, including U Thong, resulted<br />

in the construction of a substantial hotel made of<br />

orange bricks with around 60 rooms. The structure<br />

of the building is a straightforward rectangular<br />

form made of concrete, featuring a post-tension<br />

floor similar to that of a conventional large residential<br />

complex. The primary goal is to prioritize<br />

simplicity in construction and minimize expenses by<br />

avoiding excessive architectural embellishments.<br />

Nevertheless, the architect attributes the distinctiveness<br />

of the building’s appearance to the narrative<br />

and historical background of the city. The<br />

layout of rectangular window frames is drawn from<br />

the visual characteristics of brick pagoda bases in<br />

the vicinity. It forms a prominent orange frontage<br />

connected vertically with protruding and recessed<br />

dimensions that create distinctive architectural<br />

features.<br />

Ekaphap adds that brick was selected as the<br />

primary material for the exterior due to its ability<br />

to convey the envisioned historical story effectively—nevertheless,<br />

the inherent characteristics<br />

of the material present challenges in accurately<br />

implementing the intended design. The material<br />

utilized is glass fiber-reinforced concrete, commonly<br />

referred to as GRC. GRC, or Glass Fiber<br />

Reinforced Concrete, is a material used to mold the<br />

entire piece. It is prefabricated in the factory and<br />

can be mixed with color powder to form a substance.<br />

It is easy to carry and install using a dry<br />

system. All of this has facilitated the realization<br />

of the facade shape of the pagoda base pattern.


48<br />

theme / review<br />

13


49<br />

OUT OF THE BLOCK 13<br />

ฟาซาดจากวัสดุ GRC ส่วน<br />

ด้านหน้าอาคารที่ถูกนำามา<br />

ใช้แทนวัสดุอิฐ เพื่อให้เอื้อต่อ<br />

การก่อรูปทรงฐานเจดีย์


50<br />

theme / review<br />

14<br />

สระว่ายน้ำากลางแจ้ง<br />

14<br />

“Brick may not be appropriate for today’s buildings<br />

because there are better alternatives, particularly<br />

with a form like this.” Even though the brick itself<br />

is not expensive, we believe bricklaying is a backward,<br />

dangerous, and not-so-cheap innovation in<br />

this project. Then we discovered GRC, which can<br />

be molded as a module.” The final color is a color<br />

powder blend in the concrete. So, using today’s<br />

technology, we get the same “true” color of concrete,<br />

but it wasn’t colored from clay. It leads us to<br />

believe that modern materials are their own reality.<br />

We don’t need to look for truth or beauty in no<br />

longer available resources.”<br />

Aside from the physical elements that represent<br />

the city’s past, the building also features a distinctive<br />

and functional area that further improves the<br />

overall quality of the space. Initially, the design was<br />

intended to serve as a multifunctional complex for<br />

residential leasing purposes. Hence, the fundamental<br />

framework of the entire edifice was originally<br />

conceived as a simple rectangular structure<br />

made of concrete, facilitating the cost-effective<br />

development of apartments. However, subsequent<br />

alterations to the project necessitated the transformation<br />

of the building into a distinctive hotel,<br />

requiring a unique architectural design. The absence<br />

of initial plans to construct a hotel did not<br />

impede the design of the new building.


OUT OF THE BLOCK<br />

51<br />

15<br />

ภาพมุมกว้างด้านหน้า<br />

โรงแรมปุษยปุรี<br />

On the other hand, the program’s transparency<br />

enabled the architects to utilize design methods<br />

to generate a distinctive and practical place. The<br />

most notable characteristic is the deliberate choice<br />

to excavate certain rooms on every level, creating<br />

vertical spaces that interconnect the floors. This<br />

area facilitates air circulation and enables ample<br />

natural light to enter each floor. Additionally, it<br />

enhances the overall spaciousness and ventilation<br />

of the hotel’s usable space. The exterior appearance<br />

was impacted, and the architect intentionally created<br />

a particular portion of space with no cladding, which<br />

made the building’s appearance intriguing.<br />

The Pusayapuri Hotel was designed to embody the<br />

distinctiveness of the U Thong community and the<br />

historical significance of the region. However, while<br />

this information holds significance in national history,<br />

it may not necessarily inspire individuals to develop<br />

or foster a shared awareness or understanding. The<br />

architecture of the Pusayapuri Hotel can be seen as<br />

an endeavor to convey a particular message. It aims<br />

to establish a fresh narrative in history, if not one of<br />

great importance, by drawing on the remnants of<br />

truth and the tangible elements of the present.<br />

ekar-architects.com<br />

กรกฎ หลอดคำ<br />

ศึกษาจบปริญญาตรีสาขา<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปริญญาโทสาขา Architectural<br />

History จาก<br />

The Bartlett School<br />

of Architecture, UCL<br />

ทำางานเขียนเรื่องบ้าน<br />

งานออกแบบ และ<br />

สถาปั ตยกรรมเป็ นหลัก<br />

Korrakot Lordkam<br />

is a Silpakorn University<br />

architecture graduate<br />

with a master’s<br />

degree in architectural<br />

history from the<br />

Bartlett School of<br />

Architecture, UCL,<br />

who writes primarily<br />

about houses, design,<br />

and architecture<br />

15<br />

Project: Pusayapuril Location: Authong, Suphan Buri Project Team: Ekaphap Duangkaew, Tirayon Khunpukdee<br />

Land Area: <strong>16</strong>,394 square meters Building Area: 3,138 square meters Completion: 2022


52<br />

theme / review<br />

Public,<br />

Private<br />

and<br />

In-between<br />

MC House, designed by Research Studio Panin, aims to balance its<br />

surroundings and provide private living spaces. It features a functional<br />

program with art-focused spaces and outdoor access, blending<br />

vernacular and industrial characteristics through brickwork techniques.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo Courtesy of Research Studio Panin and Spaceshift Studio except as noted


53<br />

1<br />

ทัศนียภาพของพื้นที่<br />

ชั้นสองของบ้าน ที่ถูกแนว<br />

ของผนังอิฐเฉียงทำาหน้าที่<br />

ปกป้องพื้นที่ความเป็น<br />

ส่วนตัวให้กับพื้นที่ภายใน<br />

ของบ้าน 1


54<br />

theme / review<br />

ภาษาทางสถาปัตยกรรมที่ให้ความสำาคัญต่อการ<br />

สร้างความเป็นส่วนตัว และปฏิสัมพันธ์ระหว่าง<br />

มนุษย์กับธรรมชาติ ได้สร้างข้อถกเถียงต่อจุด<br />

สมดุลในการดำารงอยู่ระหว่าง ‘ความเป็นส่วนตัว’<br />

กับ ‘ความเป็นสาธารณะ’ อันเป็นคุณลักษณะ<br />

สำาคัญที่เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

โดยเฉพาะเมื่อเราพิจารณาถึงสถาปัตยกรรม<br />

ประเภท ‘บ้านพักอาศัย’ ที่ความต้องการรูปแบบ<br />

เฉพาะในการจัดสรรความเป็นส่วนตัว ได้ทวี<br />

ความเข้มข้นมากขึ้น ดังตัวอย่างของ Azuma<br />

House โดยสถาปนิก Tadao Ando ถูกสร้างขึ้น<br />

ภายใต้บริบทของความเป็นชุมชน Sumiyoshi<br />

ใจกลางเมืองโอซาก้า ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1976 ความ<br />

ซับซ้อนของปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนนี้ยังเพิ่มสูง<br />

ขึ้นอันเนื่องมาจากความรุดหน้าของพัฒนาการ<br />

ทางเทคโนโลยี ที่ถูกเรียกร้องผ่านการออกแบบ<br />

พื้นที่ใช้สอยที่ต้องการความยืดหยุ่น และตอบ<br />

สนองต่อการรักษาสมดุลระหว่างสภาวะสองสิ่ง<br />

ให้ดำารงอยู่ไปด้วยกัน<br />

โครงการ MC House เป็นโครงการบ้านพักอาศัย<br />

สองชั้น ตั้งอยู่ภายใต้บริบทชุมชนพักอาศัยเก่าแก่<br />

ที่รายล้อมไปด้วยบ้านพักอาศัยอายุหลายสิบปี<br />

ด้วยรูปแบบของขนาดผืนที่ดิน เป็นรูปทรงตัว L<br />

มีด้านที่ติดกับถนนซอยเล็กๆ เพียงเล็กน้อย<br />

สำาหรับเข้า-ออก และผืนที่ดินส่วนใหญ่ด้านใน<br />

ถูกประชิดไปด้วยบ้านพักอาศัยของเพื่อนบ้าน<br />

ส่งผลให้เป็นโจทย์ที่สำาคัญของการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมของบ้านในเวลาต่อมา โดยทีม<br />

สถาปนิก นำาโดย ศาสตราจารย์ ดร.ต้นข้าว<br />

ปาณินท์ ได้ร่วมกันขบคิดกับเจ้าของบ้านใน<br />

การหาจุดสมดุลระหว่างการสร้างปฏิสัมพันธ์<br />

กับสภาพแวดล้อมภายนอกกับการสร้างความ<br />

เป็นส่วนตัวแก่พื้นที่พักอาศัยของบ้าน ผ่านการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมกับบริบทแวดล้อม ใน<br />

ขณะเดียวกัน ด้วยความต้องการหลักอีกประการ<br />

ของเจ้าของบ้านนั้นต้องการให้บ้านเป็นพื้นที่จัด<br />

แสดงผลงานศิลปะ เหตุด้วยเจ้าของบ้านมีความ<br />

ชื่นชอบ และครอบครองผลงานงานศิลปะไว้เป็น<br />

จำานวนมาก จึงนำามาซึ่งข้อสรุปที่จะสร้างโลก<br />

ส่วนตัวที่แวดล้อมไปด้วยผลงานศิลปะ อันเป็น<br />

ของสะสมของเจ้าของบ้าน แต่ในขณะเดียวกัน<br />

ก็ได้เปิดแง้มตนเอง ให้เกิดปฏิสัมพันธ์กับโลก<br />

ภายนอก ในบางพื้นที่ และบางองค์ประกอบที่<br />

เอื้อต่อการสร้างความสัมพันธ์กับตัวโครงการ<br />

เมื่อพิจารณาถึงผังพื้นของบ้าน จะพบว่าพื้นที่ดิน<br />

ฝั่งติดถนนที่อยู่ด้านปลายของตัว L ถูกออกแบบ<br />

ให้เป็นพื้นที่ของโรงจอดรถยนต์และพื้นที่ทางเข้า<br />

พื้นที่ผนังฝั่งขวาสถาปนิกเก็บรั้วเก่าที่เป็นรั้วเดิม<br />

ของเพื่อนบ้านเอาไว้ ในขณะนี้ฝั่งซ้ายออกแบบ<br />

ให้เป็นรั้วก่อใหม่ โดยบริเวณทางเข้าบ้านจะพบ<br />

กับต้นมะกอก และแนวผนังอิฐก่อสีเทารับแนว<br />

ปะทะทางสายตา มีประตูไม้บานใหญ่ทางฝั่งขวา<br />

เป็นพื้นที่ทางเข้าที่นำาเข้าไปสู่พื้นที่ Courtyard<br />

กลางของบ้าน พื้นที่ลานเปิดโล่งนี้ผู้ออกแบบ<br />

กำาหนดให้เป็นพื้นที่สำาคัญของบ้าน มีการปลูก<br />

แนวไม้ยืนต้นบริเวณใจกลางของบ้าน พื้นของ<br />

ลานบริเวณนี้ปูด้วยหินเกล็ด ในขณะที่ทางเดิน<br />

เชื่อมระหว่างพื้นที่ใช้สอยถูกยกพื้นขึ้นจากลาน<br />

หินเกล็ดประมาณ 10 เซนติเมตร ปูด้วยหิน<br />

แกรนิตสีเทาเข้มเชื่อมพื้นที่ว่างของโถง เข้ากับ<br />

ส่วนอยู่อาศัยที่สำาคัญทั้งหมดของบ้านเข้าด้วย<br />

กัน เพื่อสร้างให้พื้นที่ภายในกับพื้นที่ภายนอก<br />

มีสภาวะก้ำากึ่งระหว่าง Soft Scape กับ Hard<br />

Scape ปรากฏขึ้น โดยในส่วนของชั้น 1 พื้นที่<br />

ฝั่งทิศตะวันออกที่ขนานกับแนวด้านกว้างของ<br />

ที่ดิน ถูกออกแบบให้เป็นพื้นที่จัดแสดงงานศิลปะ<br />

กึ่งหมุนเวียนที่เจ้าของบ้านสะสม ทำ าให้เกิดเป็น<br />

ทางเดินจัดแสดงงานศิลปะที่แทรกซึม และล้อม<br />

พื้นที่ว่างของโถงกลางไว้ทั้งหมด ส่วนพื้นที่ฝั่ง<br />

ทิศตะวันตกที่ขนานกับแนวกว้างของที่ดินถูก<br />

ออกแบบให้เป็นพื้นที่ของห้องนั่งเล่น และส่วน<br />

รับแขก รับประทานอาหาร โดยมีพื้นที่ฝั่งที่<br />

ประชิดกับแนวเขตที่ดินฝั่งทิศตะวันตกด้านหลัง<br />

เป็นพื้นที่ของส่วนบริการ เช่น ห้องครัว ห้อง<br />

เก็บของ ห้องพักแม่บ้าน รวมถึงห้องน้ำ าของห้อง<br />

นั่งเล่นที่จัดวางไว้บริเวณแนวประชิดฝั่งทิศ<br />

เหนือของบ้าน<br />

ในส่วนของพื้นที่ฝั่งทิศใต้ของบ้าน เป็นส่วน<br />

เชื่อมต่อ ที่มีบันไดล้อมโถงขนาดเล็กขึ้นไปยัง<br />

ส่วนพื้นที่ชั้นสอง ซึ่งเป็นพื้นที่ของส่วนห้อง<br />

นอนและห้องแต่งตัว พื้นที่ส่วนนี้ถูกออกแบบ<br />

ให้สามารถมองลงมายังพื้นที่ Courtyard และ<br />

ส่วนจัดแสดงศิลปะชั้นล่างได้ทั้งหมด เพื่อสร้าง<br />

บรรยากาศของการอยู่อาศัยท่ามกลางการ<br />

ซึมซับบรรยากาศของการเสพผลงานศิลปะ ใน<br />

ขณะเดียวกันที่ส่วนของทางเดินฝั่งทิศตะวันออก<br />

ของพื้นที่ชั้น 2 ซึ่งเปรียบได้กับ Façade ของ<br />

อาคารได้ถูกออกแบบให้ระนาบของส่วนนี้เป็น<br />

แนวของผนังอิฐเอียงทำามุมบดบังสายตาต่อแนว<br />

ปะทะที่ด้านหน้าของบ้าน เพื่อสร้างคุณลักษณะ<br />

ของการสร้างสภาวะกึ่งความเป็นส่วนตัว ที่<br />

สถาปนิกกล่าวไว้ว่า เปรียบได้ดั่ง ‘บ้านไม่มีหน้า’<br />

ผืนระนาบเอียงดังกล่าวเป็นหนึ่งในไวยากรณ์ทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่สถาปนิกผู้ออกแบบเลือกใช้ ใน<br />

การสร้างระดับของความเป็นส่วนตัว (Level of<br />

Privacy) ที่แตกต่างกัน<br />

โครงการนี้ได้ถูกกำาหนดให้มีรูปแบบของการก่อ<br />

อิฐที่แตกต่างกัน 3-4 วิธีการ เช่น พื้นที่ชั้นล่าง<br />

ส่วนห้องนั่งเล่น และพื้นที่ติดสวนมีรูปแบบการ<br />

ก่ออิฐแบบครึ่งแผ่น ในขณะที่ผนังก่ออิฐของชั้น<br />

บนฝั่งที่ประชิดแนวที่ดินทิศใต้ ถูกออกแบบให้<br />

เป็นผนังก่ออิฐแบบ Flemish เว้นอิฐหนึ่งจังหวะ<br />

สร้างช่องเปิด เพื่อให้แนวระนาบผนังนี้ที่ทำ าหน้าที่<br />

คล้ายระแนงกันแดด แนวผนังทั้งสองฝั่งนี้มี<br />

คุณสมบัติสร้างสภาวะกึ่งส่วนตัว และช่วยระบาย<br />

ความร้อนและกันแดดไปได้ในตัว ความแตกต่าง<br />

ของรูปแบบการก่ออิฐส่งผลให้บ้านมีภาษาของ<br />

การสร้างความเป็นส่วนตัวที่มีความหลากหลาย<br />

ซึ่งสถาปนิกจำาเป็นต้องใช้การทดลองทั้งเทคนิค<br />

การก่อ ที่ใช้การวางเหล็กเป็นโครงสร้างภายใน<br />

แล้วก่ออิฐตามโครงสร้างของเหล็กเส้นที่วางเอา<br />

ไว้ รวมไปถึงการเลือกใช้อิฐ สถาปนิกได้เลือก<br />

ใช้อิฐ อปก (APK) อิฐมอญปั้นมือ สลับกับอิฐ<br />

แบบอุตสาหกรรม เพื่อสร้างความสมดุลระหว่าง<br />

ความเป็นงานกึ่งท้องถิ่น และความเป็นงานแบบ<br />

อุตสาหกรรม เช่นเดียวกับการเลือกใช้สีเทาใน<br />

หลายเฉด เป็นไปเพื่อการคำานึงถึงความเข้ากัน<br />

ได้กับงานศิลปะ ซึ่งสีเทาเป็นค่ากลางที่ถูกใช้<br />

ในการเป็นพื้นหลังให้กับงานศิลปะในรูปแบบ<br />

ต่าง ๆ ได้ดีที่สุด วัสดุแทบทั้งหมดของโครงการ<br />

ไม่ว่าจะเป็นงานก่อ ส่วนพื้น ผนัง สถาปนิกจึง<br />

เลือกกำาหนดสีเทาเป็นพื้นในงานออกแบบสถา-<br />

ปัตยกรรม ในส่วนรายละเอียดอื่นของโครงการ<br />

เช่น ส่วนของงานระแนงไม้ที่บริเวณชั้น 2 ได้มี<br />

การติดตั้งระแนงไม้ เพื่อลดความร้อนของแดด<br />

ในช่วงบ่ายพร้อมกับสร้างให้เกิดระนาบของเงา<br />

ทาบทับพื้นที่ส่วนภูมิทัศน์ของโถงกลาง<br />

โครงการ House MC ได้สร้างบทสนทนาให้<br />

เกิดขึ้นต่อการสร้างนิยามความสัมพันธ์ระหว่าง<br />

สภาวะความเป็นส่วนตัวกับปฏิสัมพันธ์กับสภาพ<br />

แวดล้อมภายนอกในบ้านพักอาศัย ที่มิติของ<br />

ความเป็นส่วนตัวให้คุณค่าผ่านคุณลักษณะเชิง<br />

พื้นที่ ท่ามกลางความสงบเงียบของภาษาทาง<br />

สถาปัตยกรรม สกัดออกมาเป็นสุนทรียศาสตร์<br />

ของความสงบเงียบ ดังคำากล่าวของทาดาโอะ<br />

อันโดะ ที่ว่า “ผมไม่คิดว่าสถาปัตยกรรมต้อง<br />

ส่งเสียงดังเกินไป สถาปัตยกรรมควรคงความ<br />

เงียบและปล่อยให้ธรรมชาติเข้ามาในรูปแบบของ<br />

สายลมและแสงแดด”


PUBLIC, PRIVATE AND IN-BETWEEN<br />

55<br />

2<br />

2<br />

จากทัศนียภาพมุมสูง<br />

เผยให้เห็นบริบท<br />

แวดล้อมของบ้านที่ถูก<br />

รายล้อมไปด้วยชุมชน<br />

ย่านพักอาศัยเก่า


56<br />

theme / review<br />

ELEVATION<br />

SECTION<br />

The type of architectural language that prioritizes<br />

user privacy and interactions between humans<br />

and the environment has long sparked debates<br />

over the proper balance of ‘private’ and ‘public,’<br />

both of which are important qualities of a work<br />

of architectural design. This is especially true in<br />

‘residential’ design, where specialized requirements<br />

for allocating and maintaining privacy have been<br />

progressively involved. Azume House, designed<br />

by Tadao Ando, is one such example. The house<br />

was built in 1976 as part of a local community<br />

called Sumiyoshi in Osaka’s city center. The complexity<br />

of human interactions has been heightened<br />

as a result of technological advancements,<br />

which have necessitated the design of functional<br />

spaces that call for greater flexibility and better<br />

corresponds to the attempt to maintain the balance<br />

between the two qualities.<br />

The project featured in this article is MC House,<br />

a two-story residential building situated in a longstanding<br />

residential area filled with decade-old<br />

homes. The L-shaped property has only one side<br />

facing a small street, and it is where the house’s<br />

entrance is located. Neighboring houses surround<br />

the majority of the land, the context of which later<br />

became an important design element of the architecture<br />

of MC House. The architecture team, led<br />

by Prof. Dr. Tonkao Panin, worked with the owner<br />

to find a balance between the house’s interaction<br />

with its surroundings and its role in providing private<br />

living spaces for occupants through architectural<br />

design that takes into account the site’s<br />

surrounding context. With the owner’s desire for<br />

the house to also function as a private art space<br />

to showcase a large collection of art works they<br />

have amassed over the years out of pure love and<br />

passion, The expressed desire led to the conclusion<br />

of creating a functional program where works<br />

of art would be highlighted and given an important<br />

role. At the same time, some of the functional<br />

spaces are designed with access to the outside<br />

world, allowing residents to stay connected to<br />

their surrounding environment through thoughtfully<br />

designed spaces and components.<br />

3 4


PUBLIC, PRIVATE AND IN-BETWEEN<br />

57<br />

The walkway located to the east of the second floor is a brick wall<br />

with a deviated arrangement to hinder outside visual access<br />

from the front of the house, serving a purpose comparable to that<br />

of the building’s façade. The wall’s angled plane is one of many<br />

architectural grammars employed by the architect to create<br />

multiple levels of privacy.<br />

3<br />

ทัศนียภาพทางเข้าบ้าน<br />

ในส่วนโรงจอดรถ ที่ตัว<br />

โครงการยังคงใช้ผนัง<br />

ร่วมกับที่ดินข้างเคียง<br />

4<br />

พื้นที่ทางเข้าของบ้าน<br />

ถัดมาจากส่วนโรงจอดรถ<br />

ที่ผู้ออกแบบเลือกให้เกิด<br />

การปะทะกับแนวผนังและ<br />

ต้นไม้ก่อนที่จะเข้าสู่ตัว<br />

อาคารทางด้านขวา<br />

5<br />

บริเวณภูมิทัศน์ของโถงกลาง<br />

มีการติดตั้งแนวระแนงไม้<br />

โดยรอบเพื่อลดความ<br />

ร้อนของแดดในช่วงบ่าย<br />

พร้อมกับสร้างให้เกิด<br />

ระนาบของเงาทาบทับใน<br />

ช่วงระหว่างวัน<br />

5


58<br />

theme / review<br />

The architect designed the part of the land nearest<br />

to the road (the ending tip of the L shape) into a<br />

parking space and the entrance area. The architect<br />

preserves the original party fence while building<br />

a new wall on the left side of the house. An olive<br />

tree grows near the entry, accompanied by a gray<br />

brick wall, which is instantly evident upon entering.<br />

A huge wooden door on the right leads to the<br />

house’s inner courtyard in the center, with gravel<br />

covering the floor surface. A dark granite-covered<br />

walkway raised 10 cm above the courtyard floor,<br />

connects the other functional spaces. The path<br />

links the courtyard void to other living spaces,<br />

allowing for an ambiguous boundary between the<br />

soft and hardscape. An art space is located on<br />

the first floor, facing east, parallel to the land’s<br />

broader side, to display pieces from the owner’s<br />

private art collection. The beautiful pathway encircles<br />

the full expanse of the main living room.<br />

Meanwhile, the west-facing section, which runs<br />

the length of the property, is divided into a living<br />

space, a formal room, and a dining room. The service<br />

areas are located at the back of the house,<br />

facing north, and include the kitchen, storage<br />

room, maid’s room, and living room.<br />

6<br />

พื้นที่ห้องจัดแสดงงาน<br />

ศิลปะกึ่งหมุนเวียน<br />

ที่แทรกซึมและล้อม<br />

พื้นที่ว่างของส่วน<br />

โถงกลาง<br />

6


PUBLIC, PRIVATE AND IN-BETWEEN<br />

59<br />

7<br />

2ND 2F PLAN FLOOR PLANN<br />

SCALE 1:100<br />

8<br />

1ST 1F FLOOR PLAN PLANN<br />

SCALE 1:100<br />

9<br />

7<br />

พื้นที่ส่วนรับประทาน<br />

อาหารที่สามารถ<br />

เปิดเพื่อสร้างความ<br />

เชื่อมต่อเชิงพื้นที่กับ<br />

ส่วนโถงกลางได้<br />

8<br />

ทัศนียภาพจากพื้นที่<br />

พักอาศัยชั้นสอง มองลง<br />

ไปสู่ส่วนของโถงกลาง<br />

9<br />

พื้นที่ส่วนบันไดที่ถูก<br />

ออกแบบให้ล้อมโถง<br />

ขนาดเล็กบริเวณทิศใต้<br />

ของบ้าน


60<br />

theme / review<br />

10


PUBLIC AND PRIVATE<br />

61<br />

10<br />

ทัศนียภาพของพื้นที่<br />

โถงกลาง ที่มีการปลูก<br />

ไม้ยืนต้นเป็นตัวแทน<br />

ของสมาชิกในครอบครัว<br />

ปูสวนด้วยหินเกล็ด


62<br />

theme / review<br />

11<br />

Towards the south, the transiting component exists<br />

in the form of a stairway that ascends around a<br />

short hall to the second level, which houses the<br />

bedrooms and a dressing room. The design of this<br />

private quarter allows the living spaces to take<br />

in the beautifully curated space and ambiance<br />

of the courtyard and the entire art space on the<br />

ground floor. Meanwhile, the architect designed<br />

the walkway located to the east of the second<br />

floor as a brick wall with a deviated arrangement<br />

to hinder outside visual access from the front of<br />

the house, serving a purpose comparable to that<br />

of the building’s façade. The wall’s angled plane<br />

is one of many architectural grammars employed<br />

by the architect to create multiple levels of privacy.<br />

11<br />

แนวของผนังอิฐเอียง<br />

บริเวณชั้น 2 ของตัวบ้าน<br />

คือ Façade ที่ทำาหน้าที่<br />

หักเหมุมมองทางสายตา<br />

สร้างคุณลักษณะความเป็น<br />

ส่วนตัวให้แก่พื้นที่พักอาศัย<br />

12<br />

มุมมองจากฝั่งทิศตะวัน<br />

ออกของบ้านเข้ามาสู่พื้นที่<br />

โถงกลาง<br />

The architect used various construction techniques<br />

to achieve the desired masonry details in a house.<br />

Half-brick walls on the ground floor and Flemish<br />

brickwork on the upper floor create semi-private<br />

spaces. Various kinds of handmade and industrially<br />

manufactured bricks are used to balance the<br />

architecture’s vernacular and industrial<br />

characteristics.<br />

12


63<br />

13<br />

นอกจากทำาหน้าที่เป็น<br />

ส่วนหลังคาของพื้นที่จัด<br />

แสดงงานศิลปะของชั้น 1<br />

แล้วพื้นที่ส่วน Corridor<br />

ชั้นสองยังถูกปรับให้เป็น<br />

พื้นที่เอนกประสงค์ในการ<br />

ทำากิจกรรมกลางแจ้งได้<br />

13


64<br />

theme / review<br />

14


PUBLIC, PRIVATE AND IN-BETWEEN<br />

65<br />

The architect devised 3 to 4 methods to achieve<br />

the intended masonry details. For instance, on<br />

the ground floor, the living area and the space<br />

next to the garden reveal the details of half-brick<br />

walls. The south-facing wall on the upper floor<br />

displays the aesthetic style of Flemish brickwork<br />

with calculated intervals between bricks and<br />

openings, crafting the wall into a sun-filtering component.<br />

The walls in this particular area create<br />

a semi-private space and help enhance natural<br />

ventilation and sun protection. The differences<br />

in the masonry styles result in the diversity of<br />

the house’s private spaces. It necessitated the<br />

architect’s attempts to experiment with several<br />

construction techniques. The architect employs<br />

steel for the construction of the interior structure<br />

of the walls before laying the bricks in the intended<br />

patterns and styles. The architect used a variety<br />

of bricks from APK, handmade red bricks, and<br />

industrially manufactured bricks to create an<br />

interesting balance between the vernacular and<br />

industrial characteristics of the architecture. The<br />

same approach was applied to the use of different<br />

shades of gray, taking into consideration the effects<br />

colors have on the displayed artworks. The neutrality<br />

of gray makes it the best backdrop color for<br />

exhibited art works. Almost all the materials used<br />

for the flooring and wall construction are also gray.<br />

The wood laths on the second floor help filter the<br />

heat of the afternoon sun while casting shadows<br />

on the landscape in the courtyard, adding an extra<br />

touch to the dynamic of the space.<br />

What House MC has initiated and inspired are<br />

conversations about how the relationship between<br />

‘public’ and ‘private’ can be defined within the context<br />

of residential architecture, where the aspect<br />

of privacy is valued through a space’s physical<br />

quality and characters. Amidst the serenity of<br />

the house’s architectural language, everything is<br />

extracted to reveal the aesthetics of silence and<br />

tranquility. It’s in line with one of Tadao Ando’s<br />

famous quotes: “I don’t believe architecture has<br />

to speak too much. It should remain silent and<br />

let nature in the guise of sunlight and wind.”<br />

researchstudiopanin.com<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

ปั จจุบันเป็ นหัวหน้านักวิจัย<br />

สำารวจภาคสนามให้กับ<br />

Maritime Asia Heritage<br />

Survey Thailand Project<br />

มหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศ<br />

ญี่ปุ ่น และนักศึกษาปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น คณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สนใจศึกษามรดกทางวัฒน-<br />

ธรรมและขณะนี้กำาลังทำา<br />

วิจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม<br />

สรรค์สร้างในพื้นที่ภูมิทัศน์<br />

วัฒนธรรมมลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is a Field Team Leader<br />

of the Maritime Asia<br />

Heritage Survey Thailand<br />

Project, Kyoto University,<br />

Japan, and a vernacular<br />

architecture Ph.D.<br />

candidate at Silpakorn<br />

University. His research<br />

on the built environment<br />

of the Malay cultural<br />

landscape is being<br />

done out of a passion<br />

for cultural heritage.<br />

14<br />

ผนังก่ออิฐแบบ Flemish<br />

เว้นอิฐหนึ่งจังหวะ สร้าง<br />

ช่องเปิด เพิ่มการระบาย<br />

อากาศถูกออกแบบไว้<br />

บริเวณผนังทิศเหนือและ<br />

ทิศใต้ของบ้านในขณะที่<br />

ส่วน Façade ด้านหน้าถูก<br />

ก่ออิฐแบบครึ่งแผ่นเพื่อ<br />

สร้างให้เกิดแนวระนาบ<br />

15<br />

ทัศนียภาพบริเวณโถงกลาง<br />

เผยให้เห็นองค์ประกอบ<br />

ของพื้นที่สวนหินเกล็ด<br />

ส่วนจัดแสดงงานศิลปะ<br />

และ Façade ของบ้าน<br />

บริเวณชั้นสอง<br />

15<br />

Project: House MC Client: Khun Mukapol Chutrakul, Khun Saovapa Tungphaisal Chutrakul Location: Paholyothin 14, Phaya Thai, Bangkok Architect: Research Studio<br />

Panin Project Team: Tonkao Panin, Tanakarn Mokkhasmita, Pitiwat Pamakate, Nattawat Srisakul Structural Engineer: Yongyot Rotchaya Land Area: 120 sq.wa (480<br />

sq.m.) Building Area: 480 sq.m. Completion: <strong>2023</strong> Photographer: Spaceshift Studio Material: Brick Wall - APK Brick (AF-<strong>16</strong>1 / AF-261 / APC-184/6), Aluminium Doors<br />

& Windows - YKK AP Thailand, Wooden Doors - Keeree, Stone Wall - Siamtak, Louver - SCI Wood, Ceiling - SCG, Roof – Aqualine, Lighting – Lamptitude, Painting – TOA,<br />

Kitchen - Kvik


66<br />

theme / review<br />

Old<br />

Bricks,<br />

New<br />

House<br />

Designed and constructed by the Group of Muslim Architects<br />

for the Community, the Na Satun House is a simple, rhythmic<br />

brick-patterned house designed to accommodate extended families<br />

in Satun Province. Surrounded by limestone mountains and palm<br />

trees, the house features alternating open and enclosed spaces,<br />

solids and voids, and a roof made from cement tiles.<br />

Text: Surawit Boonjoo<br />

Photo Courtesy of Muslim Architect for Community and Sunman Mukam except as noted


67<br />

1<br />

บรรยากาศของอาคาร<br />

ที่แทรกตัวอยู่ท่ามกลาง<br />

ธรรมชาติจากมุมมอง<br />

ทางอากาศ 1


68<br />

theme / review<br />

“เราไม่สามารถเรียนรู้ความเฉพาะของบริบท<br />

ที่เฉพาะได้เพียงใช้เวลาระยะสั้น เราจึงชอบ<br />

ที่จะทำางานออกแบบที่มีเวลาไม่สั้นจนเกินไป<br />

เพื่อให้เราเข้าใจสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ประกอบเป็น<br />

บริบทเฉพาะถิ่น อันนำามาสู่การคิดกระบวน-<br />

การก่อสร้าง การเลือกสรรวัสดุนำามาร้อยเรียง<br />

จากวัสดุชิ้นต่อชิ้นจนสามารถประกอบเป็น<br />

งานสถาปัตยกรรม”<br />

อาคารสถาปัตยกรรมที่พักอาศัยซึ่งโดดเด่น<br />

ด้วยพื้นผิวของอาคารที่ร้อยเรียงก้อนอิฐหลาก-<br />

หลายลวดลายเข้าไว้ด้วยกัน สอดประสานเข้า<br />

กับท่วงจังหวะของการสลับสับหว่างโปร่งโล่ง<br />

ที่ล้อรับไปกับพื้นที่เปิดและปิดภายใน ร่วมไป<br />

กับกระเบื้องหลังคาลอนคู่ วัสดุสามัญทั่วไป<br />

ที่ถูกเลือกใช้ในงานก่อสร้างบ้านเรือนของผู้คน<br />

ในพื้นที่ ‘บ้าน ณ สตูล’ เป็นโครงการที่พักอาศัย<br />

สำาหรับรองรับการพักพิงของการอยู่อาศัยใน<br />

รูปแบบครอบครัวขยาย คือหนึ่งครอบครัวใหญ่<br />

กับอีกสามครอบครัวย่อย ที่จะเข้ามารวมอยู่<br />

ภายใต้ชายคาเดียวกัน อาคารในผังตัว U แห่งนี้<br />

ตั้งอยู่ในจังหวัดสตูล ท่ามกลางสวนปาล์ม ที่ด้าน<br />

หนึ่งขนาบด้านข้างด้วยภูเขาหินปูน ซึ่งดูแลงาน<br />

ออกแบบและบริหารงานก่อสร้างโดย ‘กลุ่ม<br />

สถาปนิกมุสลิมเพื่อชุมชน’ โดยประกอบไป<br />

ด้วย ซัลมาน มูเก็ม, รุสลาน เดะเระมะ, อนันต์<br />

หลีกา, ฮาริส หมัดบินเฮด และ มูซอฟฟัรด์<br />

กาเจ<br />

ด้วยการลงพื้นที่แทรกซึมทำาความเข้าใจไปกับ<br />

สภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลาร่วมกว่าหนึ่งปี<br />

กระทั่งเข้าใจการทำางานของธรรมชาติของภูเขา<br />

ที่อยู่บริเวณด้านหน้าโครงการซึ่งสามารถจะสร้าง<br />

ร่มเงาตกกระทบเข้ามายังพื้นที่ ก่อนกระบวน-<br />

การริเริ่มออกแบบและทำาการวางขอบเขตรูปแบบ<br />

ของการก่อสร้าง ทำาให้ทีมผู้ออกแบบและผู้<br />

รับผิดชอบดูแลงานก่อสร้างเกิดความเข้าใจถึง<br />

บริบทเฉพาะถิ่น อันนำามาสู่การออกแบบสถา-<br />

ปัตยกรรมที่ตอบรับไปกับบริบทแวดล้อมได้<br />

อย่างพอดิบพอดี กล่าวคือบริบทเฉพาะ “พื้นที่<br />

ใต้ร่มเงา” (A Place in the shade) จากการ<br />

วางตัวของแนวภูเขา นำาไปสู่การวางผังของ<br />

อาคารให้สอดคล้องไปกับการขึ้นลงของดวง<br />

อาทิตย์ อีกทั้งแนวทางการพัดของกระแสลม<br />

ท้องถิ่นที่ทางทีมผู้ออกแบบได้ทำาการเฝ้า<br />

สังเกตุและศึกษาย้อนหลังไปเป็นระยะเวลา<br />

หลายปี ผนวกร่วมกับการลงพื้นที่จริงประกอบ<br />

ดังนั้นในการวางผังและทิศทางของอาคารจึง<br />

สามารถทำางานร่วมไปกับสภาพแวดล้อมของ<br />

พื้นที่ได้อย่างลงตัว<br />

ในการวางผังของอาคารสถาปนิกได้ออกแบบ<br />

ให้แต่ละส่วนของที่พักอาศัยทั้งชั้นบนและ<br />

ชั้นล่างมีความเป็นส่วนตัว โดยแบ่งสัดส่วน<br />

ของอาคารออกเป็นสามส่วนที่ทำางานสอดรับ<br />

โดยมีฟังก์ชันไปในทิศทางเดียวกัน และมี<br />

พื้นที่ส่วนกลาง อย่าง พื้นที่ห้องนั่งเล่น ห้อง<br />

รับประทานอาหาร และบริเวณพื้นที่ลานกลาง<br />

บ้านที่ใช้งามร่วมกัน และพื้นที่สำาหรับส่วนของ<br />

ห้องนอนจะสงวนเฉพาะไว้ในบริเวณชั้นสอง<br />

ของอาคาร ด้วยความต้องการสร้างปฏิสัมพันธ์<br />

ให้กับทั้งผู้อยู่อาศัย ร่วมไปกับบริบทสภาพ-<br />

แวดล้อมที่โอบรัดโดยรอบ ผู้ออกแบบจึงเลือก<br />

ขับเน้นนำาเสนอบริเวณพื้นที่ลานกลางบ้านที่จะ<br />

ช่วยสามารถเชื่อมโยงย่อขยายทุกสิ่งทุกอย่าง<br />

เข้าไว้ด้วยกัน แน่นอนว่าแม้ราวกับพื้นที่นอก-<br />

ในจะถูกทลายเข้าหาจนเกือบจะมอบความรู้สึก<br />

กลืนกลายเป็นผืนพื้นที่เดียวกัน ก็ได้ถูกขวาง<br />

กันด้วยจังหวะการทึบและโปร่งของช่องอิฐไว้<br />

อย่างแยบยล<br />

อิฐแดงคุณภาพที่เหลืออยู่ในกระบวนการทาง<br />

อุตสาหกรรม เป็นวัสดุถูกนำากลับมาใช้เป็น<br />

องค์ประกอบหลักในกระบวนการออกแบบ<br />

และก่อสร้างอาคาร อันสืบเนื่องมาจากข้อจำ ากัด<br />

ทางด้านงบประมาณในการก่อสร้าง อย่างไร<br />

ก็ตามด้วยการเลือกใช้อิฐกว่า 25,000 ก้อน<br />

ภายในโครงการกับลวดลายที่หลากหลาย<br />

อันแฝงไปด้วยกลิ่นไอของความดั้งเดิม เนื่อง<br />

ด้วยรูปลักษณ์จากลวดลาย อย่าง ลวดลาย<br />

ดอกไม้ ดาวห้าแฉก หรือลายรางหมู ก็ได้ถูก<br />

นำามาประกอบร่วมกับการออกแบบวางรูป-<br />

แบบการจัดเรียงลวดลายจนเกิดเป็นท่าที<br />

อันร่วมสมัยในท้ายที่สุด โดยแนวทางการก่อ<br />

อิฐนั้น ได้ถูกเรียบเรียงไว้อย่างชัดเจนเพียง<br />

กึ่งหนึ่ง และละให้เกิดการสร้างสรรค์จากการ<br />

จดจำารูปแบบดังกล่าวและทำาซ้ำาตามการจดจำา<br />

ของช่างฝีมือในพื้นที่ผู้จัดเรียบเรียงวางอิฐ<br />

ทีละก้อน และสร้างแนวลวดลายที่อาจจะ<br />

ถูกต้องตรงตามแบบ หรืออิสระจนเกิดเป็น<br />

ความเฉพาะและท่วงทำานองอันไม่สม่ำาเสมอ<br />

แต่โดดเด่นได้อย่างลงตัว<br />

หลักสำาคัญอีกประการในการเลือกใช้อิฐแดง<br />

นำาเสนอพื้นผิวเป็นพื้นผิวของอาคาร นอกจาก<br />

เรื่องของความงามอันจะเกิดขึ้นอย่างไม่ซ้ำากัน<br />

ด้วยจากทั้งสีสันที่ถูกเผาจนเกินพอดีและการ<br />

จัดวางของลวดลายแล้ว สถานะวัสดุสามัญ<br />

ทั่วไปที่ไม่ว่าช่างฝีมือที่ไหนก็สามารถก่อขึ้น<br />

รูปหรือทำางานร่วมได้ นี่ก็เป็นอีกหนึ่งส่วน<br />

สำาคัญอันนำาไปสู่ในการเลือกใช้งานอิฐแดงใน<br />

โครงการอีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว อิฐบล็อก<br />

กระเบื้องลอนคู่ รวมไปถึงรูปแบบโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กก็ได้นำามาผสานเข้าเป็น<br />

โครงสร้างของอาคารร่วมกัน หากแต่ก็ดำาเนิน<br />

ไปในทิศทางของการปรับเปลี่ยนให้ทั้งสอด-<br />

คล้องไปกับบริบทแวดล้อม เช่น การเสริม<br />

ชายคายืดออกกระทั่งสุดข้อจำากัดทางด้าน<br />

ความยาวของแนวเหล็ก เพื่อรองรับกับการ<br />

สาดของน้ำาฝนที่ตกฉุกในพื้นที่ และก็ไม่ลืม<br />

ที่จะวางลูกเล่นให้สอดรับไปกับความร่วมสมัย<br />

เช่นกัน<br />

น่าสนใจอย่างยิ่งว่า ในการออกแบบ ทีมสถา-<br />

ปนิกมุสลิมเพื่อชุมชน มักกล่าวเน้นย้ำาถึงการ<br />

เริ่มต้นดำาเนินกระบวนการในการออกแบบนั้น<br />

ต้องวางอยู่บนรากฐานความสามารถทำางาน<br />

ร่วมกันกับทั้งวัสดุและการทำางานเชิงช่างของ<br />

ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ไม่เพียงแต่เรียบง่าย<br />

แต่ยังสามารถบอกเล่าผ่านสุนทรียศาสตร์<br />

ทางด้านความงาม พร้อมไปกับการแทรก-<br />

กายทำางานร่วมไปกับบริบทสภาพภูมิกาศอัน<br />

เฉพาะที่จะเกิดขึ้นภายในพื้นที่ โดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งกับความเข้าใจและข้อจำากัดจากทาง<br />

เจ้าของโครงการไปอย่างพร้อมเพรียง ดังนั้น<br />

ในระหว่างการริเริ่มทำาการออกแบบ พวก<br />

เขาจึงเริ่มจากการทำาความเข้าใจถึงกายภาพ<br />

ทั้งแง่รูปธรรมและนามธรรมของวัดสุที่เลือก<br />

ใช้อย่างเพียงพอ ก่อนวางแนวทางการนำาไป<br />

ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุดเท่าที่จะ<br />

สามารถผลักดันให้เกิดขึ้นได้


อาคารที่พักอาศัยหลังนี้จึงนับเป็นภาพสะท้อน<br />

การผสมผสานหลักการทำางานของทีมสถาปนิก<br />

ที่คิดคำานวณอัตราจำานวนวัสดุที่จะถูกนำามาใช้<br />

ในการก่อสร้าง อย่างจำานวนของอิฐแดงเป็น<br />

สัดส่วนหลัก ก่อนขยับขั้นไปสู่การออกแบบ<br />

ซึ่งวางสัดส่วนขนาดของอาคารให้ตอบรับ<br />

ทำางานผสานไปกับลักษณะกว้างและยาวของ<br />

OLD BRICKS, NEW HOUSE<br />

วัสดุ ‘บ้าน ณ สตูล’ จึงนับเป็นสถาปัตยกรรม<br />

ที่ก่อขึ้นรูปจากวัสดุอย่างแท้จริง โดยบอกเล่า<br />

ตนเองผ่านวัสดุอันสามัญธรรมดา และแทรก<br />

กายไม่แปลกแยกจากทั้งธรรมชาติโดยรอบ<br />

รวมถึงบ้านเรือนหลังอื่น ๆ ที่นับเป็นอีกสิ่งที่<br />

ผู้ออกแบบพยายามแฝงเร้น กระนั้นก็ตาม<br />

ด้วยท่าทีจากการจัดเรียง และการต่อยอดใน<br />

69<br />

หลากหลายมิติในการเลือกใช้วัสดุ ก็ก่อให้<br />

เกิดเป็นภาษาทางสถาปัตยกรรมอันจำาเพาะ<br />

บอกเล่าถึงทั้งตัวตนของสถาปัตยกรรมและ<br />

ผู้อยู่อาศัยได้อย่างสอดคล้อง เรียบง่าย แต่<br />

ก็ไม่เกลี้ยงเกลาด้วยลูกเล่นบางประการที่<br />

ซุกซ่อนอยู่ในที<br />

2<br />

มุมมองพื้นผิวทางเข้า<br />

อาคารจากบริเวณ<br />

ด้านนอกที่พักอาศัย<br />

2


70<br />

theme / review<br />

The research and pre-design phase have facilitated the<br />

comprehension of the local context, resulting in a design that<br />

subtly and appropriately addresses the surrounding environment.<br />

The positioning of the structure was planned to match the sun’s<br />

rising and lowering based on the orientation of the mountain<br />

range. This resulted in creating a context-specific “a place in<br />

the shade.”


OLD BRICKS, NEW HOUSE<br />

71<br />

3<br />

รายละเอียดแสดง<br />

รูปแบบเส้นสาย<br />

และลวดลายของ<br />

การจัดเรียงในส่วน<br />

มุมทางเข้าของอาคาร<br />

3


72<br />

theme / review<br />

4<br />

5<br />

4-5<br />

พื้นที่เปิดโล่ง<br />

บริเวณสวนส่วนกลาง<br />

ของที่พักอาศัย


OLD BRICKS, NEW HOUSE<br />

73<br />

Aside from aesthetics, achieved via the colors of the overburnt<br />

bricks and the meticulous arrangement of patterns, brick is a widely<br />

accessible material and can be easily manipulated. This factor is<br />

crucial in determining the choice of red bricks for the project.<br />

6<br />

6<br />

ภาพจำาลองสามมิติ<br />

แสดงโครงสร้างและ<br />

การจัดการรูปแบบ<br />

ของพื้นที่เปิดโล่ง<br />

“We cannot learn the specifics of a particular<br />

context in just a short time. As a result, we prefer<br />

to work on ideas within a reasonable time frame.<br />

So that we may comprehend the small details<br />

that form the local context, which leads to consideration<br />

of the construction process, material<br />

selection, and piece-by-piece assembly into an<br />

architectural work.”<br />

The Na Satun House is a simple house characterized<br />

by an exterior wall design including a range<br />

of brick patterns arranged in a rhythmic sequence<br />

and a combination of alternating open and enclosed<br />

spaces, as well as solids and voids. It encompasses<br />

both the internal and external spaces. The roof<br />

was created using ordinary cement tiles, commonly<br />

used in the region’s traditional houses. The<br />

primary requirement of the project is to provide<br />

ample room for accommodating an extended family<br />

consisting of one large family and three more<br />

families to reside together within a single dwelling.<br />

The house, which is located in Satun Province<br />

and bordered by limestone mountains on one side<br />

and palm trees on the other, was meticulously<br />

designed and managed the construction by the<br />

“Group of Muslim Architects for the Community,”<br />

which consists of Sunman Mukam, Ruslan Derehmah,<br />

Anan Leeka, Haris Madbinhad, and Musaffard<br />

Kajay.<br />

The architects conducted extensive site visits for<br />

over a year to gain a comprehensive understanding<br />

of the local environment and the characteristics of<br />

the mountains in front of the project. This allowed<br />

them to analyze the shade patterns in the area<br />

before commencing the design process. The<br />

research and pre-design phase have facilitated the<br />

design team’s comprehension of the local context,<br />

resulting in a design that subtly and appropriately<br />

addresses the surrounding environment. The positioning<br />

of the structure was planned to match the<br />

sun’s rising and lowering based on the orientation<br />

of the mountain range. This resulted in creating a<br />

context-specific “A” pace in the shade.” Furthermore,<br />

the design team has extensively analyzed the local<br />

wind patterns through observations from numerous<br />

on-site visits over several years. Hence, the arrangement<br />

and orientation of the structure can harmoniously<br />

integrate with the surrounding environment.


74<br />

theme / review<br />

Using almost 25,000 bricks<br />

with diverse designs has<br />

created a historic and<br />

nostalgic charm. This is<br />

attributed to the distinctive<br />

elements of the variety of<br />

bricks, with the design and<br />

arrangement of patterns<br />

merged to create a modern<br />

invention.<br />

7<br />

7<br />

การทำางานของวัสดุ<br />

ในการตกแต่งและ<br />

ก่อสร้างที่หาได้โดย<br />

ทั่วไปร่วมกับการ<br />

ออกแบบปรับใช้ใน<br />

พื้นที่ต่าง ๆ ของ<br />

อาคาร


OLD BRICKS, NEW HOUSE<br />

75<br />

In planning, the architect divided the building into<br />

three parts that work together with functions in the<br />

same direction and placed common areas such as<br />

the living room, dining room, and courtyard area in<br />

the center of the house for sharing. The bedrooms<br />

are all located on the second story. The design<br />

emphasizes the center courtyard space to assist<br />

in integrating all the features and promote interactions<br />

for all family members and interactions<br />

with the surrounding surroundings. Of course,<br />

even though the outside and interior areas appear<br />

to be embracing one another, it almost feels as if<br />

they have blended into one space but have been<br />

artfully blocked like a game of hide and seek<br />

by the tempo of solid and void created by brick<br />

placement.<br />

The key factor in the building design and construction<br />

procedure is the caliber of the red bricks<br />

retained from the manufacturing process and repurposed<br />

in this project. This is a result of financial<br />

limitations in the construction budget. Surprisingly,<br />

the decision to use almost 25,000 bricks with<br />

diverse designs in the project has resulted in a historic<br />

and nostalgic charm. This is attributed to the<br />

distinctive elements of the patterns, such as floral<br />

motifs, five-pointed stars, and long channels. The<br />

design and arrangement of patterns are merged<br />

to create a modern invention ultimately. Here, only<br />

half of the bricks were arranged in the bricklaying<br />

process. Subsequently, the craftsmen exercised<br />

their creativity by recalling these patterns and<br />

meticulously replicating them, adhering to their<br />

memorized wisdom. The bricklayer meticulously<br />

places individual bricks, forming a pattern that can<br />

either adhere to a predetermined pattern or be<br />

spontaneously improvised, resulting in a distinct<br />

and irregular design.<br />

8<br />

การตัดกันและทำางานใน<br />

รูปแบบเดียวกันระหว่าง<br />

สองวัสดุ ประตูกระจกทึบ<br />

กับแนวกำาแพงอิฐที่วาง<br />

สับหว่าง ซึ่งเผยให้เห็น<br />

ลวดลายที่ไม่ต่อเนื่องกัน<br />

8


76<br />

9


9<br />

รายละเอียดพื้นผิว<br />

ของอาคารบริเวณ<br />

ทางเดินชั้นบน<br />

77


78<br />

theme / review<br />

An additional crucial criterion in selecting red bricks<br />

is to emphasize the texture as the external facade<br />

of the structure. Aside from aesthetics, achieved<br />

via the colors of the overburnt bricks and the meticulous<br />

arrangement of patterns, brick is a widely<br />

accessible material that any skilled artisan can<br />

easily manipulate. This factor is crucial in determining<br />

the choice of red bricks for the project.<br />

Furthermore, brick blocks refer to uncomplicated<br />

cement roof tiles that incorporate a reinforced concrete<br />

structure into the building’s overall framework.<br />

However, it moved towards making modifications<br />

that align with the surrounding environment, such<br />

as extending the eaves to prevent precipitation<br />

from splashing onto the steel construction, which<br />

is common in the region. The architects used innovative<br />

features that enhanced the modernity of the<br />

property.<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

1ST FLOOR PLAN


OLD BRICKS, NEW HOUSE<br />

79<br />

10<br />

มุมมองบริเวณ<br />

ทางเข้าของอาคาร<br />

10<br />

The architects place great importance on the first<br />

stage of the design process, emphasizing the need<br />

to effectively collaborate with both materials and<br />

the individuals involved in the building. The design<br />

should not only be uncomplicated but also express<br />

visual appeal, harmonize with the surroundings<br />

and context, and adapt effectively to the prevailing<br />

climatic conditions in the region. An equally crucial<br />

aspect is the comprehension of the project proprietor<br />

and the obstacles that must be jointly overcome.<br />

Thus, during the design initiative, he commenced<br />

by thoroughly comprehending the tangible<br />

and intangible characteristics of the selected<br />

material before establishing precise instructions<br />

for implementation to maximize efficiency.<br />

This house embodies the design principles of the<br />

architect team, who meticulously calculated the<br />

quantity of materials required for construction. They<br />

began by determining the number of redbricks<br />

needed and then devised a design that harmoniously<br />

integrated the dimensions of the building<br />

with the width and length of the materials. Na Satun<br />

House is an architectural structure created using<br />

ordinary materials, blending seamlessly with the<br />

natural environment and neighboring houses. However,<br />

it distinguishes itself through its deliberate<br />

selection and arrangement of materials, which adds<br />

depth and dimension to the overall design. It establishes<br />

a distinct architecture that effectively communicates<br />

the identity of the house and the people<br />

who live or work in it in a coherent and accessible<br />

way. It possesses subtle nuances and concealed<br />

features, making it far from dull.<br />

สุระวิทย์ บุญจู<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันมีความ<br />

สนใจด้านงานศิลปะ<br />

วัฒนธรรม ทั้งแบบ<br />

ประเพณีและร่วมสมัย<br />

Surawit Boonjoo<br />

Graduated from the<br />

Faculty of Archeology,<br />

Silpakorn University.<br />

His interest currently<br />

is in art and culture,<br />

both traditional and<br />

contemporary.<br />

Project: Satun House Location: Chalung, Satun Architect Design and Construction management: Muslim Architect for community<br />

[MAFC] Project Team: Sunman Mukam, Ruslan Derehmah, Anan Leeka, Haris madbinhed, Musaffrd Kajay Structure Design:<br />

Wanmuaz Lehduwee Electrical Engineer: Adinan Binhreem Construction management: SM.TH CONSTRUCTION CO., LTD.<br />

Building Area: 1,355 sq.m. Completion: <strong>2023</strong>


80<br />

theme / review<br />

Light<br />

Here,<br />

Light<br />

There<br />

pbm’s design for Where’s House Warehouse results in a program and<br />

structure that are both distinctive and functional. Through the use of<br />

glass blocks, the project intends to infuse a warehouse and office space<br />

with a resort-like atmosphere.<br />

Text: Warut Duangkaewkart<br />

Photo Courtesy of pbm (Progressive Building Management) and Spaceshift Studio except as noted


81<br />

1<br />

1<br />

มุมมองจากโถงอาคาร<br />

ไปยังช่องแสงด้านบน


82<br />

theme / review<br />

ในแง่ข้องวัสดุ สถาปนิกพยายามที่่จะนำวััสดุที่่<br />

เคยเห็นกันอย้่เดิม มาประยุกต์ให้เป็นสิงใหม่<br />

ความหมายใหม่ เพือให้เกิดเป็นประสบการณ์<br />

ข้องงานสถาปัตยกรรม แล็ะในหล็าย ๆ ครัง<br />

วัสดุที่่คุ้นชินนัน เมื อถ้กนำามาจัดการใหม่ ก่อให้<br />

เกิดเป็นงานสถาปัตยกรรมที่่ม่เอกลัักษณ์<br />

เฉพาะตัวได้ pbm คือสถาปนิกที่่ม่ความสนใจ<br />

ในการผู้สมผู้สานความเข้้าใจที่่หล็ากหล็ายไว้<br />

ร่วมกัน ในหล็ายโครงการที่่งานสถาปัตยกรรม<br />

ถ้กออกแบบร่วมกับ Corperate Identity ข้อง<br />

องค์กรต่าง ๆ เพือสร้างเอกลัักษณ์เฉพาะภายใน<br />

งาน รวมไปถึงการออกแบบที่่ไม่ได้กำาหนด<br />

ชัดเจนว่าอาคารเหล่่านัน เป็นอาคารประเภที่ใด<br />

การใช้งานจะเป็นแบบไหน เพื อให้เปิดเป็นมุม-<br />

มองใหม่ ๆ ข้องผู้้ ้ที่่เข้้ามาใช้งาน ซึ่่งความสนใจ<br />

ในงานออกแบบน้ถ้กสือสารผู้่านโครงการ<br />

Where’s house warehouse ที่่ม่ความน่าสนใจ<br />

ทั้้ งในเชิงการออกแบบ แล็ะการใช้งานจริง<br />

จุดเริมต้นข้องโครงการน้ มาจากความต้องการ<br />

ข้องเจ้าข้องโครงการที่่ต้องการสร้างโกดังสินค้า<br />

เพิมเติมจากสำนัักงานที่่ม่อย้่แล้้ว โดยม่ไอเด่ย<br />

ในการออกแบบให้ม่ส่วนข้องสำนัักงานที่่เป็น<br />

เสมือนสถานที่่พักตากอากาศ ที่่สามารถเปล็่ยน<br />

มาใช้พืนที่่น้ที่ำางานบ้างในเวล็า ช่วยให้เกิด<br />

บรรยากาศใหม่ ๆ ให้กับการที่ำางาน รวมถึง<br />

ความต้องการที่่เพิมมาภายหลััง ที่่ต้องการพืนที่่<br />

สำาหรับอย้่อาศัยเพิมเติม จึงเกิดเป็นโครงการ<br />

ที่่ผู้สมผู้สานพืนที่่หล็ากหล็ายร้ปแบบเข้้าไว้<br />

ด้วยกัน<br />

อาคารหลัักถ้กแบบออกเป็น 2 ส่วน อาคารที่่<br />

เป็นพืนที่่ข้องสำนัักงาน แล็ะที่่อย้่อาศัยจะเป็น<br />

อาคารด้านหน้า ส่วนด้านหลัังจะเป็นโกดังเก็บ<br />

สินค้า โดยม่ที่างเดินเชือมโยงทั้้ง 2 พื นที่่เข้้าไว้<br />

ด้วยกัน ด้วยภาษาข้องงานออกแบบที่่ถ้กแบ่ง<br />

อย่างชัดเจน สถาปนิกเลืือกที่่จะใช้วัสดุที่่ม่ความ<br />

โปร่งสำาหรับอาคารสำนัักงาน แล็ะปิดที่ึบสำาหรับ<br />

พืนที่่โกดัง โดยอาคารสำนัักงานนันออกแบบ<br />

ให้ม่ความโปร่ง ให้แสงธีรรมชาติเข้้าส้ต ัวอาคาร<br />

มากที่่สุด แล็ะเปิดโล่่งบางส่วนเพื อให้ม่อากาศ<br />

ถ่ายเที่ภายใน แล็ะเลืือกใช้เครืองปรับอากาศ<br />

เฉพาะห้องที่่ม่การใช้งานเที่่านัน ผู้นังกระจก<br />

ถ้กนำามาใช้กับพืนที่่ห้องประชุม ห้องที่ำางาน<br />

ส่วนวัสดุที่่เป็นองค์ประกอบหลัักภายในงานน้<br />

อย่าง Glass Block ถ้กนำามาประยุกต์ แล็ะใช้<br />

ในงานออกแบบได้อย่างหล็ากหล็าย<br />

Glass Block หรือ บล็็อกแก้วนัน เป็นวัสดุ<br />

ก่อสร้างตกแต่งที่่เราเห็นกันมานาน แล็ะใช้กัน<br />

อย่างแพร่หล็าย แต่สำาหรับการนำามาใช้ในงาน<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่นั น ไม่ค่อยได้<br />

พบเห็นมากนัก เพราะข้้อจำกััดต่าง ๆ ในการ<br />

ติดตั ง การรับนำาหนัก หรือรวมไปถึงความร้ส ึก<br />

ซึ่่งในโครงการน้ pbm ได้ออกแบบ แล็ะที่ำางาน<br />

ร่วมกับวิศวกร ผู้้ ้ผู้ล็ิตวัสดุ รวมไปถึงผู้้ ร ับเหมา<br />

ที่่มติดตั ง เพื อหาวิธีีที่่ด่ที่่สุดในการนำามาใช้ให้<br />

เกิดความสวยงาม แล็ะคงประโยชน์ใช้สอยข้อง<br />

ความเป็นอาคารไว้ได้ ซึ่่งรายล็ะเอ่ยดข้องการ<br />

ติดตังนันถ้กเปล็่ยนแปล็งจากเดิมที่่ปกติจะ<br />

ต้องใช้เหล็็กเส้นเพือให้เป็นเสมือนโครงคร่าว<br />

ข้องผู้นัง ให้ม่ความแข็็งแรง แล็ะต้องม่ระยะ<br />

ข้องยาแนวปิดรอบประมาณ 1 ซึ่ม ซึ่่งเป็น<br />

รายล็ะเอ่ยดข้องงานออกแบบที่่ไม่สวยงามนัก<br />

จากการพัฒนาในทีุ่กข้ันตอน การติดตังบล็็อก<br />

แก้วจึงเปล็่ยนมาเป็นการสร้างระบบ Module<br />

ข้องแต่ล็ะชุดข้ึนมาก่อน เพือให้ง่ายต่อการ<br />

ติดตัง แล็ะ ใช้ฉากอล็้มิเน้ยม แล็ะแผู้่นอลูู-<br />

ม่เน้ยมมาเสริมความแข็็งแรง ที่ำาให้ม่ความบาง<br />

มากกว่าวิธี่ติดตังแบบเดิม เราจึงเห็นภาพข้อง<br />

ผู้นังบล็็อกแก้วที่่มีีขนาดใหญ่่ ส้ง เสริมไปกับ<br />

โครงสร้างเหล็็กที่่เป็นโครงสร้างหลัักข้องอาคาร<br />

โดยรวมทั้้งหมด<br />

สาเหตุที่่สถาปนิกเลืือกใช้วัสดุน้ เน่องจาก<br />

ต้องการสร้างความเชือมโยงระหว่างผู้ล็ิตภัณฑ์์<br />

ข้องเจ้าข้องโครงการที่่เป็นวัคซึ่่นสำาหรับสัตว์เล็็ก<br />

ที่่ม่ความสะอาด ม่คุณภาพ ซึ่่งบล็็อกแก้วนัน<br />

เข้้ามาเติมเต็มในแง่ข้องความโปร่งข้องอากาศ<br />

รับแสงธีรรมชาติได้อย่างเต็มที่่ ที่ำาให้พืนที่่<br />

ภายในม่ความสว่างจากแสงธีรรมชาติมาก<br />

เปิดให้เห็นบรรยากาศภายนอกบ้าง แต่ไม่เปิด<br />

โล่่งจนเกินไป ซึ่่งผู้ล็จากวัสดุน้ช่วยที่ำาให้เปิด<br />

ประสบการณ์ข้องผู้้้ใช้งานอาคารที่่ไม่เหมือนกัน<br />

ในแต่ล็ะวัน ปรับเปล็่ยนไปความความสว่าง<br />

ข้องแสงแดด สีีของที่้องฟ้้า แล็ะ บรรยากาศที่่<br />

เกิดข้ึนโดยรอบ องค์ประกอบข้องบล็็อกแก้ว<br />

เองก็ถ้กนำาไปประยุกต์ในงานออกแบบส่วน<br />

อืน ๆ ด้วย แม้ว่าจะใช้วัสดุต่างกัน แต่ยังคง<br />

ม่สัดส่วน การจัดเร่ยงที่่สะที่้อนถึงวัสดุหลััก<br />

ไม่ว่าจะเป็นฝ้้าภายในห้องประชุม ล็วดล็าย<br />

ข้องกระจกในห้องต่าง ๆ รวมไปถึงพืน แล็ะ<br />

บันไดที่่เลืือกใช้บล็็อกแก้วแบบแผู้่นพืนที่่ม่<br />

ลัักษณะคล้้ายกระเบือง เข้้ามาออกแบบใน<br />

บางส่วนเพือให้เกิดความหล็ากหล็ายในการ<br />

ใช้งานพืนที่่ เป็นบันไดที่่เชือมจากห้องผู้้ ้บริหาร<br />

ไปยังห้องที่ำางานฝั่่งโกดังได้<br />

จากพืนที่่เปิดโล่่งด้านล่่าง โถงทั้้ง 3 ชันถ้ก<br />

เชือมต่อกับด้วยบันได แล็ะผู้นังบล็็อกแก้ว<br />

ข้นาดใหญ่่ เปิดให้ได้รับแสงธีรรมชาติอย่าง<br />

เต็มที่่จาก Façade ด้านหน้า แล็ะ Skylight จาก<br />

ด้านบน ช่วยให้ภายในนันม่ความโปร่งตล็อด<br />

เวล็า ซึ่่งการออกแบบภายในนันหากเป็นพืนที่่<br />

ที่่ม่การใช้งาน จะใช้วัสดุไม้เข้้ามาเพือให้ผู้้ ้ใช้งาน<br />

ร้ส ึกผู้่อนคล็ายมากข้ึน รวมไปถึงพืนที่่อย้่อาศัย<br />

ชั น 3 ที่่พืนที่่ภายในถ้กออกแบบให้โปร่ง แล็ะ<br />

ม่ความเชือมโยงภายใน ทั้้งส่วนที่่เป็นพืนที่่นังเล่่น<br />

ห้องนำา แล็ะ ห้องนอน ซึ่่งนอกจากภายในแล้้ว<br />

ภายนอกในส่วนข้องพืนที่่พักอาศัยก็เลืือกที่่จะ<br />

ออกแบบ Façade ให้ม่ความแตกต่าง ม่ความ<br />

ร้ส ึกข้องบ้านมากข้ึ นด้วย<br />

สำาหรับอาคารส่วนข้องโกดังนั น ถ้กออกแบบให้<br />

สามารถใช้งานได้โดยง่าย ตอบสนองโจที่ย์ข้อง<br />

การเก็บสินค้าให้ได้ปริมาณมากที่่สุด จึงเลืือก<br />

ที่่จะให้ชันเก็บข้องทั้้งหมดม่ความส้ง รถยก<br />

ต่าง ๆ ที่ำางานสะดวก พืนที่่โหล็ดข้องเข้้า-ออก<br />

ที่่ออกแบบให้อย้่แยกส่วนกันเพือให้ที่ำางานได้<br />

สะดวก รวมไปถึงการเชือมพืนที่่อย่างห้อง<br />

ที่ำางานที่่ใช้สำาหรับจัดการโกดังสินค้าอย้่ที่่ชัน 3<br />

แล็ะม่มุมมองล็งมายังโกดังสินค้า รวมถึงเชือม-<br />

โยงกลัับมายังอาคารด้านหน้าผู้่านบันไดบล็็อก<br />

แก้วเช่นกัน<br />

ที่้ายที่่สุดไม่ว่าจะเร่ยกอาคารน้ว่าเป็นอาคาร<br />

ประเภที่ไหน แต่ด้วยพืนที่่ที่่เชือมโยงกัน ความ<br />

หล็ากหล็ายเหล่่าน้ช่วยที่ำาให้อาคารนั นม่ความ<br />

น่าสนใจ แล็ะสร้างบรรยากาศการที่ำางาน<br />

การอย้่อาศัยใหม่ ๆ ให้กับผู้้ ้ใช้งาน จนเกิดเป็น<br />

ประสบการณ์ที่่เปล็่ยนแปล็งไปในทีุ่กวัน แต่ที่่<br />

สำคััญ่กว่านั นคือการพัฒนารายล็ะเอ่ยดข้อง<br />

งานก่อสร้างต่าง ๆ ที่ำาความเข้้าใจวัสดุ เพือที่ำา<br />

ให้งานสถาปัตยกรรมออกมาด่ที่่สุด ที่่เกิดจาก<br />

ความร่วมมือข้องทีุ่กฝ่่าย ตั งแต่สถาปนิก วิศวกร<br />

ผู้้รัับเหมา รวมไปถึง เจ้าข้องโครงการ ซึ่่ง<br />

Where’s house warehouse ที่่ pbm ออกแบบ<br />

นั น สือสารออกมาได้เป็นอย่างด่


LIGHT HERE, LIGHT THERE<br />

83<br />

2<br />

จากถนนภายในโครงการ<br />

ที่่มองเห็นองค์ประกอบ<br />

ข้องอาคารแบ่งแยกกัน<br />

อย่างชัดเจนด้วยวัสดุ<br />

2


3<br />

84


LIGHT HERE, LIGHT THERE<br />

85<br />

Architects have a long history of creatively reinventing<br />

and repurposing existing materials in order to create<br />

new and innovative architectural structures and<br />

spaces. New interpretations can provide fresh perspectives<br />

and unique meanings to commonly used<br />

materials, resulting in diverse and distinctive user<br />

experiences. We have witnessed the creation of<br />

some truly unique architectural works through the<br />

imaginative use of everyday materials that people<br />

are familiar with.<br />

PBM is an architecture practice with an evolving<br />

body of work that demonstrates their dedication to<br />

integrating diverse interests and knowledge in the<br />

realm of architecture and interior design. In many<br />

of their endeavors, particularly projects in the realm<br />

of corporate architecture, the development of architectural<br />

design often takes place simultaneously<br />

with the conceptualization and materialization of a<br />

client’s corporate identity. This approach enables<br />

both the architecture and the organization to achieve<br />

the characteristics they intend to convey to the<br />

public. At times, their design does not immediately<br />

reveal the type of building or its functional purposes,<br />

and as a result, it broadens users’ perceptions and<br />

how they use and interact with the architecture.<br />

pbm incorporates this approach into the design of<br />

Where’s House Warehouse, creating an architecturally<br />

distinctive structure and functional spatial<br />

program.<br />

New interpretations can provide<br />

fresh perspectives and unique<br />

meanings to commonly used<br />

materials, resulting in diverse and<br />

distinctive user experiences. We have<br />

witnessed the creation of some truly<br />

unique architectural works through<br />

the imaginative use of everyday<br />

materials, such as glass blocks.<br />

4<br />

3<br />

บล็็อคแก้ว กระจก แล็ะ<br />

ผู้นังที่ึบ ที่่บ่งบอกถึงการ<br />

ใช้งานภายใน<br />

4<br />

แผู้ง facade ภายนอก<br />

ห้องประชุม<br />

5<br />

มุมมองด้านข้้างที่่เห็นการ<br />

เชื่อมต่อระหว่างอาคาร<br />

สำานักงาน แล็ะ โกดังอย่าง<br />

ชัดเจน<br />

5


86<br />

theme / review<br />

The requirement is to build a warehouse as an extension of the<br />

pre- existing office building. This led to the design of a building<br />

with a warehouse and office space with a resort-like ambiance,<br />

offering a new and pleasant work environment with glass blocks,<br />

which play a prominent role in the design are incorporated into<br />

various components.<br />

6<br />

บันภายในส่วนสำานักงาน<br />

ที่่เชื่อมไปยังพื้นที่่โกดัง<br />

6<br />

The project originated from the owner’s aspiration<br />

to build a warehouse as an extension of the preexisting<br />

office building. The requirements led to<br />

the design of a building with a warehouse and<br />

office space with a resort-like ambiance, offering<br />

a new and pleasant work environment. The design<br />

team later received an additional request from<br />

the owner to include a living area, resulting in the<br />

project having multiple, coexisting functions.<br />

The main building is divided into two zones. The<br />

office and living area are situated at the front, while<br />

the warehouse is located at the back, with a walkway<br />

connecting the two areas. These two sections<br />

showcase distinct design languages that are defined<br />

by the varying levels of transparency in the materials<br />

used. The materials chosen for the office building<br />

are transparent and open in their physical properties,<br />

while those used for the warehouse construction<br />

are intended to be more enclosed. The office<br />

space is generously sized, allowing for plenty of<br />

natural light and an open layout that enhances<br />

interior airflow and ventilation, resulting in a comfortable<br />

temperature. As a result, the need for air<br />

conditioning is limited only to areas that are frequently<br />

used. Curtain walls partition the meeting<br />

room and private offices while still preserving the<br />

openness of the spaces and glass blocks, which<br />

play a prominent role in the design are incorporated<br />

into various components.


LIGHT HERE, LIGHT THERE<br />

87<br />

7<br />

7<br />

โถงบันไดกล็างอาคาร<br />

ที่่บล็็อคแก้งช่วยให้เกิด<br />

ความสว่างภายใน


8<br />

88


89<br />

8<br />

แผู้งบล็็อคแก้วข้นาดใหญ่่<br />

ที่่ถูกออกแบบอย่างดี<br />

ในการติดตั้งร่วมกัน<br />

โครงสร้างเหล็็ก


90<br />

theme / review<br />

10<br />

มุมมองผู้่านผู้นัง Glass<br />

Block ที่่ช่วยให้รู้สึกเปิด<br />

โล็่ง แล็ะ เป็นส่วนตัวใน<br />

เวล็าเดียวกัน<br />

11<br />

ข้ั้นบันได Glass Block<br />

ที่่สามารถปรับเปล็่ยน<br />

เป็นพื้นที่่อเนกประสงค์ได้<br />

9<br />

9<br />

แสงธีรรมชาติที่่เข้้าสู่<br />

ตัวอาคารตล็อดที่ั้งวัน<br />

While glass blocks have been commonly used in<br />

home decoration for quite some time, its presence<br />

in modern architectural design remains fairly minimal<br />

due to various installation limitations, weightbearing<br />

capacity, and user experience issues.<br />

For this specific project, pbm collaborated closely<br />

with the engineering team, the materials’ manufacturer,<br />

and the contractor responsible for the<br />

installation. The goal was to create a design that<br />

not only met the building’s functional requirements<br />

but also achieved the desired aesthetic appeal.<br />

The installation details were modified from the<br />

original technique, which involved using steel<br />

bars as the frames to increase the blocks’ integral<br />

strength. Although the 1-cm grout lines may be<br />

visually unpleasant, they are unavoidable. During<br />

the development process, the design team chose to<br />

implement a module system for ease of installation.<br />

Aluminum channels and sheets provide increased<br />

strength while maintaining a thinner physical profile<br />

compared to traditional installation techniques.<br />

The final result is majestic walls of glass blocks<br />

that beautifully complement the steel structure of<br />

the building.<br />

10


LIGHT HERE, LIGHT THERE<br />

91<br />

11


92<br />

theme / review<br />

12<br />

The use of the materials in the office building design<br />

intends to convey the owner’s animal vaccine<br />

business, which is associated with hygiene and<br />

high-quality products. Glass blocks provide a sense<br />

of openness and allow an abundance of natural<br />

light to fill the space. This results in soft sunlight<br />

illuminating the interior during the day and offers<br />

access to the sky and surrounding environment.<br />

The proportion and arrangement of the glass blocks<br />

are also applied to other design elements, such as<br />

the ceiling of the meeting room and the pattern<br />

of the glass panels in other rooms where different<br />

materials are used. The floor and stairway that<br />

connect the executive office to the workspace<br />

in the warehouse building have been partially<br />

constructed using tile-like glass blocks, enhancing<br />

the overall aesthetic appeal and adding a sense<br />

of diversity to the spaces.<br />

The foyer connects the three floors through a<br />

stairway and glass block walls, creating an open<br />

and inviting space. The area is designed to welcome<br />

natural light, which enters through the front façade<br />

and the skylight above and optimizes the spaciousness<br />

and openness of the interior throughout the<br />

day. Wood is used to make certain functional spaces<br />

look and feel more relaxing and welcoming. The<br />

third-floor living area, which consists of restrooms<br />

and bedrooms, reveals a wonderful sense of spatial<br />

flow and spaciousness. Outside, the facade<br />

of the living space is designed to create a cozy<br />

and home-like atmosphere.<br />

12<br />

ที่างเชื่อมจากพื้นที่่โกดัง<br />

กล็ับเข้้าสู่ตัวอาคาร<br />

สำานักงาน


LIGHT HERE, LIGHT THERE<br />

93<br />

The use of the materials in the office building design intends to<br />

convey the owner’s animal vaccine business, which is associated<br />

with hygiene and high-quality products. Glass blocks provide<br />

a sense of openness and allow an abundance of natural light to<br />

fill the space.<br />

13 15<br />

14 <strong>16</strong><br />

13,15<br />

พื้นที่่ส่วนกล็างข้อง<br />

สำานักงาน<br />

14<br />

ภายในห้องประชุมที่่ฝ้้าถูก<br />

ออกแบบให้ล็้อเล็่ยนไปกับ<br />

วัสดุภายนอก<br />

<strong>16</strong>-17<br />

ภายในพื้นที่่พักอาศัยชั้นบน<br />

ข้องอาคารสำานักงาน ที่่ถูก<br />

ตกแต่งด้วยไม แล็ะ เปิด<br />

พื้นที่่เชื่อมถึงกัน<br />

17


94<br />

18<br />

คล็ังเก็บสินค้า


95<br />

18


96<br />

theme / review<br />

The warehouse building has been designed to<br />

meet all functional requirements while maximizing<br />

storage capacity. Although the shelves are positioned<br />

at a considerable height, the aisles are designed<br />

to be sufficiently wide, allowing forklifts to<br />

maneuver with ease and safety. The loading area<br />

is designed with separate entry and exit points to<br />

enhance efficiency. The office, which oversees<br />

warehouse management and operations, is situated<br />

on the third floor. It is strategically designed to<br />

provide a panoramic view of the entire warehouse.<br />

Additionally, it is connected to the front building<br />

through a glass block stairway.<br />

19<br />

พื้นที่่โซึ่นสำานักงาน<br />

20<br />

ส่วนด้านหน้าอาคาร<br />

ที่่ถูกออกแบบเป็น<br />

กระจก แล็ะบล็็อก<br />

แก้วใสโดยรอบ เพื่อ<br />

นำาเสนอความน่าสนใจ<br />

ข้อง Lighting Design<br />

แล็ะมิติต่างๆ ภายใน<br />

อาคาร<br />

Regardless of how the building is ultimately categorized,<br />

its interesting character is derived from<br />

the connectivity and diversity of functional space<br />

it offers. The architectural and interior design craft<br />

a fresh work and living environment for users, providing<br />

them with engaging and dynamic spatial<br />

experiences. From an architectural perspective,<br />

Where’s House Warehouse exemplifies an impressive<br />

development of construction details and<br />

a deep understanding of materials. These elements<br />

are combined to create a great work of architecture,<br />

achieved through an inspiring collaborative effort<br />

between the architects, engineers, contractor,<br />

and owner.<br />

pbm.co.th<br />

19


LIGHT HERE, LIGHT THERE<br />

97<br />

The architectural and interior design craft a fresh work and living<br />

environment for users, providing them with engaging and dynamic<br />

spatial experiences. From an architectural perspective, Where’s<br />

House Warehouse exemplifies an impressive development of construction<br />

details and a deep understanding of materials.<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึ กษาด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม และ<br />

ทัศนศิ ลป์ ทำางาน<br />

สร้างสรรค์อิสระโดย<br />

สนใจการออกแบบที่<br />

ผสมผสานระหว่าง<br />

สถาปั ตยกรรม ศิลปะ<br />

และชีวิต<br />

Warut<br />

Duangkaewkart<br />

s a graduate of architecture<br />

and visual arts.<br />

Currently working<br />

independetly with a<br />

focus on design that<br />

blends architecture,<br />

art and life.<br />

20<br />

Project name: Where’s House Warehouse Project owner: Aree Group Location: Bangna Project area: 2,000 sq.m. Completion: <strong>2023</strong> Design by: pbm Architectural design:<br />

pbm Interior Designer: pbm Lighting design: pbm Environmental graphic design: pbm Construction by: pbm Photographer credit: Spaceshift Studio


98<br />

theme / review<br />

Smart<br />

Cut<br />

In designing their new office, Studio MITI found inspiration in<br />

reimagining and repurposing the lightweight concrete blocks’ physical<br />

properties to create something new and different, whether in form,<br />

installation, or application.<br />

Text: Bhumibhat Promboot<br />

Photo Courtesy of Studio Miti and Ketsiree Wongwan except as noted


99<br />

1<br />

1<br />

รูปด้านข้างของสำานักงาน<br />

ที่สามารถสังเกตได้ชัด<br />

จากถนนทางเข้า


100<br />

theme / review<br />

สตูดิโอมิติ เป็นหนึ่งในสตูดิโอออกแบบที่มี<br />

ผลงาน และแนวทางการออกแบบที่ชัดเจน<br />

แฝงไปด้วยมิติที่หลากหลาย ทังในเชิงการใช้<br />

งานที่ว่าง และวัสดุประกอบรวมเป็นอาคารที่<br />

มีลักษณะหนักแน่น แต่ล่่นไหลทางบริบทไม่<br />

หยุดนิงนอกเหน่อจากการออกแบบพ่ นที่ว่างใน<br />

พิกัดแกน x และ y ที่แสดงถึงความสัมพันธ์์ใน<br />

ระยะความกว้าง และความยาว ทางสตูดิโอมิติ<br />

ให้ความสำค ัญกับแกน z ซึ่งถ่อเป็นมิติเชิงลึก<br />

ของการออกแบบสถาปัตยกรรมมากกว่ามิติ<br />

ด้านอ่่น ๆ ในเร่่องของรูปแบบความสัมพันธ์์<br />

และปัจจัยแวดล้อมที่เกี่ยวเน่องกัน เกิดเป็น<br />

กระบวนการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ และ<br />

สะท้อนถึงรูปแบบ เง่่อนไขที่เฉพาะเจาะจง<br />

ไม่ซำรููปแบบเดิม<br />

ความเหม่อนและต่างกันของสองผู้ก่อตัง<br />

สตูดิโอมิติ ค่อ คุณประกิจ กัณหา และคุณ<br />

เผดิมเกียรติ สุขกันต์ ค่อส่วนผสมของผลงาน<br />

ออกแบบของสตูดิโอ ที่คำนึึงถึง “คน” เป็น<br />

องค์ประกอบหลัก ทังผู้ออกแบบ ทีมงาน<br />

เจ้าของ วิศวกรรวมถึงช่างผู้รับเหมา และ<br />

สภาพบริบทแวดล้อมของโครงการ ซึ่งตั งอยู่<br />

บนความหลากหลายที่แปรเปลี่ยนไปตาม<br />

ช่วงเวลา และประสบการณ์ที่ต่างกันไปจึง<br />

ต้องอาศัยความเข้าอกเข้าใจในทุก ๆ มิติ ที่<br />

เกี่ยวเน่องกับการออกแบบในแต่ละโครงการ<br />

ในการเริมต้นในแต่ละงานออกแบบของทาง<br />

สตูดิโอจึงให้เวลาในการศึกษา เก็บข้อมูล เพ่อ<br />

ค้นหาและทำาความเข้าใจมิติที่เกี่ยวข้องผ่าน<br />

กระบวนการคิดทางสถาปัตยกรรม ซึ่งจะนำา<br />

ไปสู่ความเป็นไปได้ใหม่ของการออกแบบทัง<br />

ในเชิงพ่นที่ การใช้งาน วัสดุ และความคุ้มค่า<br />

ในแต่ละโครงการที่แตกต่างกันออกไป<br />

สตูดิโอมิติจึงเริมต้นทดลองวัสดุอาคารที่เล่อกใช้<br />

และทำาความรู้จักพฤติกรรมของวัสดุที่ต่างกัน<br />

ออกไปในแต่ละบริบทแวดล้อม ผ่านกระบวน-<br />

การลองผิดลองถูกหลายครัง จนนำาไปสู่ความ<br />

เข้าใจ และการประยุกต์ใช้วัสดุในรูปแบบต่าง ๆ<br />

ที่หลากหลาย ปรับแต่ง เพิม ลด ตัด ดัด ให้ต่าง<br />

ไปจากเดิม และนำามาใช้ในเก่อบทุก ๆ ส่วนของ<br />

อาคาร ส่งผลต่อพ่นที่ว่างทางสถาปัตยกรรมได้<br />

ในหลากหลายมิติ โดยที่ยังสามารถตอบสนอง<br />

ความต้องการพ่นฐานของความต้องการจาก<br />

ลูกค้า งบประมาณ และสามารถต่อยอดทักษะ<br />

ของช่างฝีม่อในแต่ละพ่นที่ได้<br />

บนความไม่รู้ ความไม่แน่ใจ จนเลยไปถึง<br />

ความกลัว เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่ทางสตูดิโอ<br />

มิติเผชิญ และพยายามก้าวผ่านสิงที่กล่าวมา<br />

ข้างต้นอยู่เสมอ โดยผ่านกระบวนสร้างความ<br />

เข้าใจอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพ่อท้าทายการ<br />

เปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ อย่างต่อเน่อง ดังเช่น<br />

ผลงานออกแบบสำนัักงานแห่งใหม่ของ<br />

สตูดิโอมิติ ในซอยลาดพร้าว 71 ที่แสดงถึง<br />

การเติบโตจากสำน ักงานแห่งเดิมที่เป็นภาพ<br />

อาคารที่ใช้วัสดุอิฐมอญเป็นวัสดุหลัก และ<br />

ย้ายมาที่แห่งใหม่ ซึ่งยังคงแสดงความชัดเจน<br />

ในเร่องรูปแบบ และวิธีีการที่สะท้อนตัวตน<br />

ของสตูดิโอมิติอย่างลงตัว<br />

บ้านแถวหนึ่งคูหา จำานวน 3 ชัน ปิดล้อมไปด้วย<br />

วัสดุอิฐบล็อกสีเทา รูปทรงตันแต่มีลวดลาย และ<br />

รูปทรง ที่ดึงดูดสายตาได้ เน่องด้วยตำาแหน่ง<br />

ที่ตังอยู่ตรงหัวมุม ซึ่งสามารถมองเห็นได้ชัด<br />

จากถนนภายในซอย อาคารสำน ักงานแห่งน้<br />

จึงพยายามที่จะส่อสารตัวตนของสตูดิโอมิติ<br />

กับบริบทแวดล้อม ผ่านรูปแบบของ façade<br />

อาคารที่สามารถมองเห็นได้จากทังด้านหน้า<br />

และด้านข้าง โดยสถาปนิกเองได้ตังโจทย์การ<br />

เล่อกใช้วัสดุที่ราคาไม่สูง สามารถจัดการได้ง่าย<br />

และปรับเปลี่ยนรูปแบบหร่อดัดแปลงได้ จึงได้<br />

เล่อกใช้ อิฐบล็อกเบา มาเป็นวัสดุหลัก ที่ทำาให้<br />

อาคารสำนัักงานแห่งน้สามารถส่อสารตัวตน<br />

ออกไปกับสภาพแวดล้อมได้<br />

ด้วยเหตุบังเอิญที่สังเกตเห็นอิฐบล็อกรูปแบบน้<br />

ที่แตกหักจากการตัดแต่งในพ่นที่ก่อสร้างของ<br />

โครงการหนึ่งที่ทางสตูดิโอมิติเป็นผู้ออกแบบ<br />

ในระหว่างที่ลงพ่นที่สำารวจความเรียบร้อย<br />

สถาปนิกจึงเกิดความสนใจในรูกลวงรูปทรง<br />

กระบอกภายในที่แตกออกจากกันเป็นรูปทรง<br />

ครึ่งวงกลม วัสดุชินน้ค่อ อิฐบล็อกเบา หร่อ<br />

ในช่่อที่เรียกว่า EKOBLOK ที่ถูกออกแบบ<br />

มาให้นำาหนักเบาแต่แข็งแรง ซึ่งทำาให้วัสดุมี<br />

รูกลวงอยู่ภายด้านใน ผู้ออกแบบต้องการ<br />

เปลี่ยนคุณสมบัติเดิมของวัสดุอิฐบล็อกเบาน้<br />

ให้แตกต่างไปจากเดิม และสร้างความเป็นไป<br />

ได้ใหม่ ในเชิงรูปทรง การติดตัง และการใช้<br />

งานใหม่ให้กับตัววัสดุ<br />

เทคนิคที่ทางผู้ออกแบบได้นำามาใช้จัดการกับ<br />

วัสดุอิฐบล็อกเบาน้ค่อ การนำต ัวอิฐบล็อกเบา<br />

ผ่าครึ่งตามแนวยาว แล้วนำจ ัดเรียงให้เป็น<br />

Pattern ใหม่ โดยการนำอิิฐบล็อกที่ถูกผ่าครึ่ง<br />

มาติดตังกับโครงเหล็ก โดยการสลับรูปทรง<br />

กลวงด้านในมาไว้ทางด้านนอกแทน จัดเรียงให้<br />

เป็นแนวไปทางด้านนอนวางสลับต่อเน่องกันไป<br />

จนเต็มแนวผนังทังทางด้านข้าง ด้านหน้า และ<br />

ด้านหลังของสำนัักงาน เพ่่อปิดล้อมความเป็น<br />

ส่วนตัว เกิดการสร้างสรรค์พ่นที่ภายในอาคาร<br />

สำนัักงานอย่างเต็มรูปแบบ ทังการทำางาน พูด<br />

คุย ประชุม ทานอาหารหร่อแม้แต่การสังสรรค์<br />

ไม่รบกวนเพ่่อนบ้านใกล้เคียงที่อยู่ติดกัน<br />

ในขณะเดียวกัน การสร้างพ่นที่ปิดล้อมอาคาร<br />

ก็ทำาให้อาคารดูทึบตัน ลมไม่พัดผ่าน ทางผู้ออก-<br />

แบบจึงทำาให้แนวผนังบางส่วนสามารถเปิดหร่อ<br />

ปิดได้ เพ่่อให้อากาศจากภายนอกไหลผ่านเข้า<br />

ไปสู่พ่ นที่ภายในได้ ผ่านการใช้วัสดุเหล็ก อย่าง<br />

โครงเหล็กฉาก และเหล็กแบน นำามาทำาเป็น<br />

โครงเคร่าสำาหรับติดตั งอิฐบล็อกเบาบนแนวผนัง<br />

และสำาหรับทำาเป็นโครงบานเปิดในส่วนระเบียง<br />

ชันที่ 2 และชันที่ 3 ผู้ออกแบบยังใช้วัสดุเหล็ก<br />

สำาหรับใช้เป็นบานประตูทางเข้าในส่วนชันล่าง<br />

เพ่อต้องการส่อสารการใช้วัสดุที่เป็นภาษา<br />

เดียวกันในทุกส่วนของอาคารสำนัักงานแห่งน้<br />

การจัดการพ่นที่ภายในอาคารสำนัักงาน ออก-<br />

แบบให้สามารถปรับเปลี่ยนพ่นที่ได้ตามแต่<br />

ช่วงเวลา และโอกาส เช่นชันที่ 1 จะเป็นส่วน<br />

ที่นัดพบปะ พูดคุยกับผู้ผลิตต่าง ๆ สำาหรับ<br />

การนำาเสนอผลิตภัณฑ์์ เป็นพ่นที่เสวนา แบ่งปัน<br />

ประสบการณ์ต่าง ๆ ในเชิงของการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมได้ หร่อยังเป็นพ่นที่สันทนาการ<br />

ของพนักงานได้อีกด้วย ส่วนห้องประชุมในชัน<br />

สอง สามารถปรับใช้นั่งทำางานได้หากต้องการ<br />

ความเป็นส่วนตัว และมีพ่นที่ระเบียงสำาหรับ<br />

กิจกรรมภายนอก ในส่วนของชันที่ 3 จะเป็น<br />

พ่นที่ทำางานหลักภายใต้หลังคาจั่วทรงสูง มี<br />

ชันลอย และเปิดพ่นที่เปิดโล่งสองชัน (Double<br />

Volume) สำาหรับเก็บตัวอย่างงาน และวัสดุ<br />

ในการออกแบบ<br />

ถึงแม้ในอาคารสตูดิโอมิติแห่งใหม่น้จะสร้างเสร็จ<br />

และใช้งานแล้ว แต่ทางผู้ออกแบบเช่อว่ากระ-<br />

บวนการทางสถาปัตยกรรมยังไม่แล้วเสร็จ และ<br />

ยังไม่หยุดนิง จึงยังคงมีความคิดอยากทดลอง<br />

ใหม่ ๆ กับอาคารสำนัักงานแห่งน้ โดยจากความ<br />

ตั งใจแรกที่ต้องการให้อาคารสามารถส่อสารกับ<br />

ทังผู้ใช้งานและบริบทแวดล้อม และเม่อพบว่า


วัสดุอิฐเบาเองสามารถสร้างปฏิิสัมพันธ์์กับแสง<br />

และเงาในแต่ละช่วงเวลาที่ต่างกันได้ ทางผู้ออก-<br />

แบบจึงยังเฝ้ารอจังหวะที่จะลองผิดลองถูกอีก<br />

ครั งกับอาคารสำนัักงานน้ไปในอีกระยะหนึ่ง เพ่่อ<br />

ให้กระบวนการทางสถาปัตยกรรมที่ผู้ออกแบบ<br />

ได้วางแผนเอาไว้เป็นจริงขึนมา<br />

การยอมรับตนเองในความไม่รู้ต่าง ๆ ทำาให้<br />

ผลงานของสตูดิโอมิติ ได้ผ่านการลองผิดลอง<br />

SMART CUT<br />

ถูกด้วยตนเองหลายครัง ทำาซำา ๆ ทุกขันตอน<br />

จนเกิดเป็นองค์ความรู้ที่สะสม และส่งต่อ เกิด<br />

เป็นความเช่อในประสบการณ์ และความรู้สึก<br />

ของตนเอง มากกว่าที่จะเล่อกเช่อ หร่อพึ่งพา<br />

อุปกรณ์อำานวยความสะดวกต่าง ๆ เพียงอย่าง<br />

เดียวในการตัดสินใจหร่อคาดการณ์งานออก-<br />

แบบที่จะเกิดขึน แต่จะใช้ร่วมกันเพ่อที่วัดผล<br />

และตรวจสอบรายละเอียด สัดส่วนต่าง ๆ ที่<br />

เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรม และความเช่อ<br />

101<br />

ที่ว่างานสถาปัตยกรรมไม่ได้จบแค่ในกระดาษ<br />

แต่มีการส่งต่อกระบวนการทางสถาปัตยกรรม<br />

ให้พัฒนาและดำาเนินกันต่อเน่องไป ตังแต่เริม<br />

ก่อสร้างอาคารจนสร้างแล้วเสร็จ ไปถึงการเข้า<br />

ใช้งานจริง กระบวนการทางสถาปัตยกรรมก็<br />

ยังคงทำางานต่อไปไม่รู้จบ แต่เปลี่ยนผู้ควบคุม<br />

จากม่อ หร่อสายตาผู้ออกแบบ ไปสู่ผู้ใช้งาน<br />

และบริบทแวดล้อมแทน<br />

2<br />

Façade ด้านหน้าทางเข้า<br />

สำานักงาน ที่แสดงการ<br />

ผสมผสานระหว่างวัสดุ<br />

อิฐบล็อกเบาและเหล็ก<br />

2


102<br />

theme / review<br />

Studio Miti is a design studio that stands out for<br />

its distinctive approach to architecture. Their design<br />

is characterized by its multidimensional nature,<br />

achieved through purposeful spatial manipulation<br />

and meticulous material selection. These elements<br />

work together to create an architecture that is<br />

simultaneously solid and dynamically responsive<br />

to its context. The design not only considers spaces<br />

in the x and y axes but also incorporates other physical<br />

dimensions of spatial relationships, such as<br />

width and length. Studio Miti places special emphasis<br />

on the z-axis, which represents the deeper<br />

and more profound aspects of architectural design.<br />

This axis is crucial, for it can be associated with<br />

various types of relationships and interconnected<br />

factors within the surrounding environment. The<br />

culmination of the unique design process is reflected<br />

in the work’s originality, which is derived<br />

from the specific and non-repetitive conditions<br />

from which the design has evolved.<br />

The nature of the two founders, Prakij Kanha and<br />

Padirmkiat Sukkan, became the foundation for the<br />

studio’s design approach, which puts “people” as<br />

the central element. The word ‘people’ in question<br />

encompasses not only designers and the studio’s<br />

staff members but also the owners, engineers,<br />

and contractors, accompanied by the site’s surrounding<br />

context. This similarities and differences<br />

in their characters form the cornerstone of the<br />

studio’s design formula, where everything is based<br />

on human experiences and time, both of which<br />

are subject to change. To achieve such interconnectedness,<br />

it is necessary to have a comprehensive<br />

understanding of every aspect of design.<br />

Studio Miti always begins each project with a<br />

dedicated period of research and data collection.<br />

This allows them to thoroughly explore and understand<br />

all relevant aspects through an architectural<br />

thinking process. By doing so, they are able<br />

to uncover new possibilities in design, whether<br />

it be in regards to space, function, materials,<br />

or cost-effectiveness.<br />

Studio Miti then began experimenting with various<br />

building materials. This allowed them to gain a<br />

deeper understanding of the conditions and behaviors<br />

exhibited by each material when used in<br />

specific contexts. The process of trial and error<br />

led to a better understanding of the versatility<br />

of materials, enabling the development of applications<br />

that are even more diverse, original, and<br />

functional. By effectively balancing the owner’s<br />

basic requirements and budget while working to<br />

inventively incorporate the skills and knowledge<br />

of experienced local builders and artisans, the<br />

architectural spaces can be improved across<br />

various aspects.<br />

Lack of knowledge, uncertainty, and even fear<br />

are all obstacles that Studio Miti had to face and<br />

overcome. It’s a gradual process of acquiring a<br />

broader perspective, which in turn leads to new<br />

challenges and changes. The new office building<br />

in Soi Lad Proa Alley is a testament to the studio’s<br />

growth. The current operation base embodies<br />

Studio Miti’s identity, with its style and approach<br />

emanating from the previous red brick structure.<br />

3<br />

พื้นที่ทางเดินเข้าหลัก<br />

ของสำานักงานที่ยกระดับ<br />

จากถนนด้านหน้าขึ้นมา<br />

3


SMART CUT<br />

103<br />

During a site inspection of one of the<br />

studio’s own projects, the architect<br />

noticed broken or cut light-weight<br />

block. This piqued the architect’s<br />

interest in the cylindrical void inside<br />

each block and how it is divided into<br />

semi-circular forms.<br />

4<br />

SECTION<br />

1M<br />

4<br />

ผนังอิฐบล็อกเบาที่<br />

เปิด ปิดได้ เพื่อให้<br />

อากาศถ่ายเท<br />

SECTION B<br />

EXISTING<br />

5<br />

บรรยากาศส่วนต้อนรับ<br />

ชั้น 1 ที่สามารถเป็น<br />

ได้ทั้งที่พบปะ เสวนา<br />

หรือไว้นั่งทานอาหาร<br />

5


104<br />

theme / review<br />

The townhouse has three stories and is constructed<br />

with solid but lightweight gray bricks that are arranged<br />

in a visually appealing pattern. The building<br />

is easily visible as it is located right on a street corner.<br />

The design of the new office is a successful<br />

attempt to reflect the studio’s identity while considering<br />

the context of its surroundings. The façade<br />

is easily visible from both the front and the side.<br />

The architect intentionally chose materials that<br />

were affordable, easy to maintain, and could be<br />

conveniently modified. Lightweight concrete blocks<br />

were chosen as the primary material to help showcase<br />

the studio’s unique characteristics.<br />

During a site inspection of one of the studio’s own<br />

projects, the architect noticed broken or cut lightweight<br />

block. This piqued the architect’s interest<br />

in the cylindrical void inside each block and how it<br />

is divided into semi-circular forms. The EKOBLOK<br />

is a specific type of lightweight block that is designed<br />

to be highly durable, despite its relatively<br />

light weight, thanks to the holes in the inner part<br />

of the material. The architect found inspiration in<br />

the idea of reimagining and repurposing the blocks’<br />

physical properties to create something new and<br />

different, whether it be form, installation, or application.<br />

7<br />

บรรยากาศส่วนของ<br />

ออฟฟิศที่มีชั้นลอย<br />

เพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้สอย<br />

ภายใน<br />

8<br />

มุมมองจากพื้นชั้นลอย<br />

ที่เห็นเป็นพื้นที่ double<br />

volume กับส่วนของ<br />

ออฟฟิศด้านล่าง<br />

MEZZANINE FLOOR PLAN<br />

N<br />

MEZZANINE<br />

EXISTING<br />

3RD FLOOR PLAN<br />

N<br />

3rd FLOOR PLAN<br />

EXISTING<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

6<br />

N<br />

2nd FLOOR PLAN<br />

EXISTING<br />

6<br />

โถงบันไดที่เชื่อมต่อ<br />

ส่วนออฟฟิศชั้น 3<br />

และ ห้องปนะชุม<br />

ในชั้นที่ 2<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1M<br />

N


SMART CUT<br />

105<br />

7<br />

8


106<br />

theme / review


SMART CUT<br />

107<br />

The lightweight blocks were cut in half<br />

lengthwise before being rearranged into<br />

a new pattern, and were horizontally<br />

arranged and installed onto the steel<br />

structure of the facade. The bricks<br />

were then positioned with the inner<br />

core, which has holes, facing towards<br />

the front.<br />

The architect employed a technique in which the<br />

lightweight blocks were cut in half lengthwise before<br />

being rearranged into a new pattern. The cut<br />

bricks were horizontally arranged and installed<br />

onto the steel structure of the facade. The bricks<br />

were then positioned with the inner core, which<br />

has holes, facing towards the front. This arrangement<br />

forms the front, side, and rear walls, effectively<br />

providing the building with the privacy it needs.<br />

The enclosure allows for the formation of a spatial<br />

program that can accommodate all the functions<br />

of the office as well as the requirements of employees,<br />

who are the main users, such as working,<br />

talking, meeting, having meals, and hosting parties.<br />

All of these activities can take place within the<br />

enclosure without causing any unpleasant disturbances<br />

to the neighboring surroundings.<br />

9<br />

9<br />

รูปด้านข้างแสดง<br />

แนวผนังอิฐบล็อกเบา<br />

เพื่อสื่อสารกับบริบท<br />

โดยรอบ<br />

Meanwhile, having such an enclosed spatial program<br />

can cause the building to appear dense and<br />

rigid while also restricting airflow. As a result, the<br />

architect devised a solution to the dilemma by<br />

designing specific sections of the walls that can<br />

be opened and closed as needed. This allows for<br />

the easy circulation of fresh air from the outside<br />

into the interior spaces. Steel angle bars and flat<br />

bars were used to construct the lightweight walls<br />

and framing members of the terraces on the second<br />

and third floors. The use of steel as the material<br />

of the building’s entrance door on the ground floor<br />

represents the architect’s intention to communicate<br />

a cohesive design language.


108<br />

theme / review<br />

10<br />

The interior spatial program is designed to be<br />

versatile, allowing it to be used for various purposes<br />

and occasions. The reception area on the<br />

ground floor welcomes representatives from product<br />

suppliers and manufacturers. This space is<br />

also meant to be a place that encourages and<br />

facilitates conversations and experiences related<br />

to architectural design as well as a recreational<br />

area for the staff. The meeting room located on<br />

the second floor can be transformed into a more<br />

private workspace, along with a terrace that can<br />

be utilized for outdoor activities. The main office<br />

space on the third floor is incredibly spacious<br />

thanks to its gable-shaped high ceiling. It contains<br />

the mezzanine and a double-volume section<br />

that are used for storing models and material<br />

samples.<br />

11 12<br />

10<br />

มุมมองจากระเบียงชั ้น 2<br />

ที่มองออกไปเห็นอาคาร<br />

ข้างเคียง<br />

11<br />

รายละเอียดของโครงเหล็ก<br />

ที่รับบานเปิดของผนังอิฐ<br />

บล็อกเบา<br />

12<br />

ภาพแสดงการเปิด-ปิด<br />

ของผนังอิฐบล็อกเบา


SMART CUT<br />

109<br />

Although the new office building’s construction is<br />

complete, the architect envisions that the architectural<br />

process will keep evolving and inspire new<br />

ideas. From the initial intention for the building to<br />

communicate with both users and the surrounding<br />

context to discovering how lightweight blocks<br />

interact with light and shadow at different times<br />

of day, the architect will continue their experiments<br />

for a certain time period in order for the architectural<br />

process they have planned for the building<br />

to materialize.<br />

Studio Miti’s ability to accept their inexperience<br />

has led them down a fruitful path of trial and error.<br />

Countless repetitions of every step in all processes<br />

have built a body of knowledge that continues to<br />

grow and be passed on before it gradually becomes<br />

an integral part of their confidence in their own<br />

experiences and instincts. It prevents architects<br />

from solely relying on the tools, which are designed<br />

to mitigate challenges and inconveniences and<br />

ease the difficulties that come with decision-making<br />

or speculating design outcomes. That is because<br />

tools should be utilized to help with tasks such as<br />

inspecting details and proportions. It’s essentially<br />

the idea that architectural design does not end<br />

on paper but is part of a process that enables<br />

architecture to continue to exist and evolve. The<br />

architectural process persists indefinitely beyond<br />

the completion of the construction and how the<br />

building is used, for the role of the controller is<br />

merely being passed on from the architect to users,<br />

and to the context and environment in which the<br />

work is surrounded.<br />

studiomiti.com<br />

ภูมิภัทร พรหมบุตร<br />

ปั จจุบันทำงานเป็ นสถาปนิก<br />

และอาจารย์พิเศษ ที่คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ในภาควิชาสถาปั ตยกรรม<br />

และภาควิชานวัตกรรม<br />

การออกแบบผลิตภัณฑ์<br />

เชิงบูรณาการ ภูมิภัทร<br />

จบการศึกษาปริญญาตรี<br />

หลักสูตรสถาปั ตยกรรม<br />

ศาสตรบัณฑิต จากคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

และปริญญาโทจาก<br />

Staedelschule Architecture<br />

Class ประเทศ<br />

เยอรมนี ภูมิภัทรมี<br />

ประสบการณ์ทำงานใน<br />

ตำแหน่ง สถาปนิก ทั้งใน<br />

ประเทศไทยและประเทศ<br />

ญี่ปุ ่ น และยังมีผลงานเขียน<br />

บทความทางสถาปั ตย-<br />

กรรมบนเว็บไซต์ art4d.<br />

Bhumibhat<br />

Promboot<br />

is currently an architect<br />

and a guest instructor<br />

for the Architecture<br />

Programme and the<br />

Integrated Product<br />

Design Innovation Programme<br />

at Kasetsart<br />

University. He holds the<br />

bachelor of architecture<br />

degree from Kasetsart<br />

University and the<br />

Master of Arts in Architecture<br />

from Staedelschule<br />

Architecture<br />

Class in Germany.<br />

Bhumibhat has past<br />

experience as architect<br />

in architecture firms<br />

in Thailand and Japan.<br />

He is also a part-time<br />

writer at art4d.<br />

13<br />

13<br />

ห้องประชุมที่เชื่อมต่อ<br />

กับส่วนระเบียงพักผ่อน<br />

ในบริเวณชั้นที่ 2 เข้าไว้<br />

ด้วยกัน<br />

Project: High Brick House Client: Sitang Pattama Location: Bangkok, Thailand Architect: STUDIO MITI Lead Architects: Padirmkiat Sukkan Design Team: Thanwa<br />

Chantarasena Structural Consultants: Jedsadapong Jumderm MEP Consultants: Electical Engineer: Anuwat Kaewsombat Interior Designer: Chamaiphorn Lamaiphan,<br />

Atchaporn Chamnanchak, Narinrat Chaichat Contractors: Jarin Dechchutrakul Gross Built up Area: 500 sq.m. Building Area: 480 sq.m. Completion: 2021<br />

Photographer: Ketsiree Wongwan Material: Door, Window - itwindow, Door Handle - hafelethailand


110<br />

materials<br />

Brick:<br />

As a<br />

Building<br />

Material<br />

Text: Patikorn Na Songkhla


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

111<br />

Bricks, a crucial building material, have a long history<br />

dating back thousands of years. They are known for their<br />

durability and strength, and have been used in construction<br />

since ancient times. The earliest brick was found in Jericho<br />

7,500 years ago, and bricks were used to construct important<br />

city structures such as palaces, cathedrals, and<br />

strongholds. Bricks were used to build houses in Greece<br />

around the 12th century, and later in the Gothic period,<br />

they were used to construct cathedrals.<br />

During the Industrial Revolution, brick became popular<br />

again, producing a vast number of bricks at once. Today,<br />

brick is still one of the most widely used materials in construction,<br />

even in locations rich in stone. Modernist master<br />

architects like Le Corbusier, Louise I. Kahn, and Frank<br />

Lloyd Wright have embraced bricks in their architecture,<br />

adding classic color and beauty to their surroundings.<br />

อิิฐ เป็็ นวััสดุุก่่อิสร้้างที่่ สำาคััญมี่ป็ร้ะวััติิยาวันานนับพัันปีี เป็็ นที่่ร้้้จััก่ก่ันดีีในเร้่อิงขอิงคัวัามีที่นที่านและ<br />

คัวัามีแข็งแก่ร้่ง อิิฐถููกน ำามีาใช้้ ในก่าร้ก่่อิสร้้างมีาติังแต่่สมััยโบร้าณ อิิฐที่่เก่่าแก่่ที่่สุดุถู้ก่คั้นพับในเมี่อิง<br />

เจัร้ิโคัเมี่อิร้าวั 7,500 ปีี ก่่อิน และมี่ก่าร้ใช้้อิิฐเพั่อิสร้้างโคัร้งสร้้างเมี่อิงที่่สำาคััญ เช่่น พัร้ะร้าช้วััง อิาสนวิิหาร้<br />

และป้้ อิมีป็ร้าก่าร้ติ่าง ๆ อิิฐถููกน ำามีาใช้้เพั่อิสร้้างบ้านในก่ร้่ซป็ร้ะมีาณศติวัร้ร้ษที่่ 12 และต่่อิมีาในยุคัก่อิธิิคั<br />

ก็็ถููกน ำามีาใช้้เพั่อิสร้้างอิาสนวิิหาร้<br />

ในช่่วังก่าร้ป็ฏิิวััติิอุุติสาหก่ร้ร้มี อิิฐกล ับมีาได้้รัับคัวัามน ิยมีอิ่ก่คัร้ั ง โดุยร้ะบบอุุติสาหก่ร้ร้มีที่ำาให้สามีาร้ถู<br />

ผลิติอิิฐได้้จำำานวันมีาก่ในคัร้าวัเดีียวั ปัั จัจัุบัน อิิฐยังคังเป็็ นวััสดุุที่่ใช้้กัันอย ่างแพัร้่หลายในก่าร้ก่่อิสร้้าง<br />

แม้้แต่่ในบริิเวัณที่่มี่หินอิย้่มีาก่ก่็ติามี สถูาปน ิก่ร้ะดัับมีาสเติอิร้์สมััยใหม่่อย ่าง Le Corbusier, Louise I.<br />

Kahn และ Frank Lloyd Wright ได้้นำาอิิฐมีาใช้้ ในสถูาปัั ติยก่ร้ร้มี โดุยเพัิมีส่สันและคัวัามีสวัยงามีที่่<br />

ยังคังอยู่่คู่่กัับงานสถูาปัั ติยก่ร้ร้มีขอิงพัวัก่เขา


112<br />

materials<br />

อิิฐก่ับงานผนังอิาคัาร้<br />

วัสดุก่องานผนังสำาหรับงานอาคารในปัจจุบันมีด้วยกันหลากหลายชนิดให้<br />

สถาปนิกได้พิจารณาเลือกใช้ในงานออกแบบ เช่น อิฐมอญ อิฐก่อประดับ<br />

คอนกรีตบล็อกแบบกลวง คอนกรีตบล็อกแบบตัน คอนกรีตมวลเบา อิฐขาว<br />

(อิฐปูนทราย) เป็นต้น ระบบผนังสำาเร็จรูปเป็นทางเลือกวัสดุสมัยใหม่<br />

ที่เข้ามาทดแทน ไม่ว่าจะเป็นแผ่นผนังคอนกรีตสำาเร็จรูป (Precast<br />

Concrete Panel) Glass Fiber Reinforced Concrete (GRC) แผ่นผนัง<br />

โลหะประเภทต่าง ๆ แผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ หรือวัสดุผนังอื่น ๆ แต่จะ<br />

อย่างไรก็ตามงานก่อสร้างด้วยวัสดุก่อยังคงเป็นทางเลือกที่ได้รับการ<br />

ยอมรับใช้ในงานอาคารอยู่ในปัจจุบัน ด้วยความคุ้นเคยในตัววัสดุ สามารถ<br />

หาซื้อได้ง่ายตามร้านขายวัสดุก่อสร้างทั่วไป หาช่างก่อได้ไม่ยาก ไม่ต้องใช้<br />

เครื่องจักรหรืออุปกรณ์พิเศษในการติดตั้ง และประหยัดค่าใช้จ่าย ทั้งนี้<br />

ข้อด้อยของวัสดุก่อจะมีในเรื่องที่มีขนาดเล็กต้องใช้เวลานานในการก่อ<br />

เป็นงานเปียกที่สร้างภาระในการทำางาน การทำาความสะอาด วัสดุก่อ<br />

บางประเภทมีขนาดไม่คงที่ การผลิตไม่ได้มาตรฐาน มีการดูดซึมน้ำาสูง<br />

ต้องนำาไปแช่ในน้ำาก่อนการก่อผนัง บางประเภทต้องมีอุปกรณ์ใช้ในการ<br />

ก่อฉาบโดยเฉพาะ<br />

1 2<br />

3 4<br />

อิฐสำาหรับงานผนังอาจเป็นวัสดุเก่าแก่ที่ใช้กันมาแต่โบราณ วัสดุก่อผนัง<br />

ประเภทอิฐมีทั้งแบบก่อโชว์และก่อเพื่อรองรับวัสดุตกแต่งผิวมาปิดทับ มี<br />

ความแข็งแรง ช่างก่อสร้างมีความคุ้นเคย มีขนาดเล็กสามารถใช้ต่อเติม<br />

งานก่อสร้างในพื้นที่เล็กได้ดี มีสุนทรียภาพในแบบของตัวเอง ในวันนี้<br />

เราจะนำาเรื่องราวของอิฐดินเผาที่ผลิตจากส่วนผสมของดินเหนียว ทราย<br />

แกลบ และน้ำา เผาด้วยเตาจนสุกมาเล่าสู่กัน<br />

วารสาร “ปั้นดิน” ลำาดับที่ 2 จัดทำาโดย บริษัท อ.ป.ก. ดาวคู่ (1988)<br />

จำากัด ได้ให้ข้อมูลน่ารู้เกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง “อิฐ” วันนี้จะขอคัดย่อ<br />

เนื้อหาบางส่วนมาเล่าสู่กัน ซึ่งต้องขอขอบคุณคุณจินดารัตน์ สรณารักษ์<br />

เป็นอย่างยิ่งที่ให้การอนุญาตในเรื่องนี้ สำาหรับเนื้อหาเต็มสามารถไปหา<br />

อ่านได้จากวารสารดังกล่าว<br />

5<br />

“อิฐ” มีบทบาทสำาคัญในการสร้างเมือง มีต้นกำาเนิดที่ยาวนานพร้อม ๆ<br />

กับอารยธรรมของมนุษยชาติ เป็นที่ยอมรับว่าอิฐเป็นหนึ่งในวัสดุที่มี<br />

ความทนทานและแข็งแรงมาก อิฐที่เก่าแก่ที่สุดมีอายุสืบย้อนหลังไปได้<br />

เป็นเวลาหลายพันปีก่อนคริสตกาล<br />

อิฐในยุคเริ่มต้นเป็นเพียงดินโคลนที่ถูกนำามาขึ้นรูป แล้วนำาไปตากแดดให้<br />

แห้งก่อนนำามาใช้ในการก่อสร้างอาคาร ต่อมาเมื่อมีการประดิษฐ์เตาเผา<br />

ขึ้นมาทำาให้อิฐมีความแข็งแกร่งทนทานมากขึ้น ยิ่งทำาให้อิฐกลายเป็น<br />

วัสดุที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก<br />

Photo Reference<br />

1. dreamcivil.com/qualities-of-good-bricks/<br />

2. constrofacilitator.com/know-how-about-autoclaved-aerated-concrete/<br />

3. shawbrick.ca/products/concrete-masonry-units/<br />

4. onestockhome.com/th/brick/ks-whitebrick<br />

5. economist.com/1843/2017/10/23/a-chameleon-material-the-best-modern-brick-buildings<br />

6. insidethecask.com/2020/11/04/one-to-watch-out-for-puni-distillery-in-italy/<br />

7. theguardian.com/artanddesign/20<strong>16</strong>/may/23/first-look-inside-tate-moderns-power-pyramid<br />

8. A.P.K DAWKOO (1988)<br />

9. projects.archiexpo.com/project-234682.html<br />

6


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

113<br />

7<br />

Bricks and Wall Construction<br />

Today, architects can use a variety of wall construction materials<br />

in their designs, including clay bricks, decorative bricks,<br />

hollow and solid concrete blocks, lightweight concrete, white<br />

bricks, and so on. Prefabricated wall systems are a modern<br />

alternative to precast concrete panels, glass fiber reinforced<br />

concrete (GRC), different metal panels, fiber cement panels,<br />

and other building materials. However, masonry materials are<br />

still used in construction today due to familiarity with the<br />

material, ease of purchase at general construction materials<br />

stores, ease of finding a builder, no special machinery or<br />

equipment required for installation, and cost savings. However,<br />

the disadvantages of the construction material are that it is<br />

small and takes a long time to build, it is wet work, which<br />

causes workload and cleaning issues, that some types of<br />

building materials are not fixed in size, that production is not<br />

up to standard, that it has high water absorption, and that it<br />

must be soaked in water before building the wall. Plastering<br />

equipment is required for some types.<br />

8<br />

Brick for walls is one of the oldest materials utilized since<br />

ancient times. Some decorative surface materials are presented<br />

and supported by brick wall construction components.<br />

A brick wall is often quite robust. It is well-known among<br />

builders. It is tiny and can be used for building operations in<br />

limited spaces. It has a distinct aesthetic. This issue will tell<br />

the narrative of clay bricks, which are formed from a mixture<br />

of clay, sand, rice husks, and water and then burned in a kiln<br />

until cooked.<br />

The second issue of the “Mold Clay” periodical, published<br />

by A.P.K. DAWKOO (1988) Company Limited, contained useful<br />

information regarding bricks. The <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> would like<br />

to offer a summary of some of its contents and thank Khun<br />

Jindarat Saranarak for granting permission in this regard.<br />

“Bricks” are essential in the construction of a city. It has a<br />

long history, as does human civilization. Brick is widely acknowledged<br />

to be one of the most durable and sturdy materials.<br />

The oldest bricks date back thousands of years, hundreds of<br />

years before Christ.<br />

Early bricks were just molded mud that dried in the sun before<br />

being utilized in building construction. The bricks got stronger<br />

and more lasting after the invention of the kiln. As a result,<br />

bricks are a material that is widely used all over the world.<br />

9


114<br />

materials<br />

โดยพื้นฐานอิฐเป็นวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในงานก่อผนัง โดยใช้การวางอิฐ<br />

เรียงเป็นแถวไปตามแนวตั้งและแนวนอน มีปูนเป็นตัวประสานระหว่าง<br />

อิฐแต่ละก้อนเพื่อเพิ่มความแข็งแรง<br />

อิฐก้อนหนึ่งไม่อาจเหมือนอีกก้อนหนึ่งทุกกระเบียดนิ้ว ไม่ว่าจะเป็น<br />

เนื้ออิฐ ผิวสัมผัส ขนาด รูปทรง หรือสีสัน เนื่องจากอิฐเป็นสิ่งที่มาจาก<br />

ธรรมชาติ ย่อมมีความเปลี่ยนแปลงไม่เท่ากัน<br />

อิฐก้อนแรกที่เก่าแก่ที่สุดที่ได้รับการขุดค้นพบในประวัติศาสตร์ เป็น<br />

อิฐที่ทำาจากโคลน (Mud Brick) ที่มีอายุย้อนหลังไปถึง 7,500 ปีก่อน<br />

คริสตกาล พบที่เมือง Jericho ริมฝั่งแม่น้ำาจอร์แดน แต่งานค้นคว้าได้<br />

บันทึกไว้ว่าการผลิตอิฐในยุคแรกเริ่มน่าจะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการ<br />

ตั้งถิ่นฐานและวิวัฒนาการของมนุษย์ ประมาณหนึ่งหมื่นปีก่อนคริสตกาล<br />

ในยุคที่เรียกว่า Neolithic หรือยุคหิน<br />

อิฐได้รับการพัฒนาให้แข็งแรงขึ้นด้วยการนำาดินเหนียวที่ปั้นเป็นรูปแล้ว<br />

ไปเผาไฟ เช่นเดียวกับงานภาชนะดินเผาต่าง ๆ ในยุคนั้น อิฐดินเผาถูก<br />

ค้นพบครั้งแรกที่เมืองโบราณของอาณาจักร Mesopotemia ลุ่มน้ำ าไทกริส<br />

และยูเฟรติส (ปัจจุบันคือประเทศอิรัก)<br />

อิฐได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคอียิปต์โบราณ หลักฐานคือภาพ<br />

เขียนสีภายในสุสานของ Rekh-mi-re บนพื้นที่ยิ่งใหญ่ไพศาลของ<br />

อาณาจักรแห่งฟาโรห์ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ าไนล์ (ประมาณ 1,450 ปี<br />

ก่อนคริสตศักราช) แสดงภาพคนงานและขั้นตอนในการผลิตอิฐ จนกระทั่ง<br />

ขนส่งไปยังสถานที่ก่อสร้าง<br />

ในยุคแรกเริ่ม อิฐมีความสำาคัญและมีราคาแพง เนื่องด้วยกรรมวิธีใน<br />

การผลิตที่ยากลำาบาก จึงใช้สำาหรับการสร้างอาคารสำาคัญ ๆ ของเมือง<br />

เช่น ปราสาทราชวัง มหาวิหาร และป้อมปราการ<br />

คำาว่า อิฐ (Brick) ในภาษาอังกฤษ คือ ความหมายเดียวกับ Sig ใน<br />

ภาษาสุเมเรียนใช้สำาหรับเรียกสองสิ่ง คือ “อาคาร” และ “เมือง” (a<br />

building and a city) ที่สำาคัญยิ่งไปกว่านั้น คำานี้ยังเป็นชื่อของเทพเจ้า<br />

แห่งอาคาร (the god of a building) ด้วย ดังนั้นก่อนจะมีการวาง<br />

ฐานรากของโครงสร้างอาคารใด ๆ ช่างก่อสร้างจะต้องทำาพิธีถวายอาหาร<br />

และเครื่องบูชาเพื่อบวงสรวงเทพเจ้าแห่งอาคารผ่านอิฐก้อนแรกเสียก่อน<br />

ในประเทศจีนยุคโบราณ งานก่ออิฐถือเป็นงานของชนชั้นต่ำ า แต่ผู้ออกแบบ<br />

และสร้างเตาอิฐจะได้รับการยกย่องและให้ความสำ าคัญอย่างยิ่ง ร่องรอยแรก<br />

ของการใช้อิฐในดินแดนตะวันออก ค้นพบที่เมืองซีอานอายุประมาณ<br />

3,800 ปีก่อนคริสตกาล มีการใช้เทคนิคในการเคลือบเผาไฟในยุคราชวงศ์<br />

ซ่งและในยุคราชวงศ์หมิงนิยมสลักชื่อช่างทำาอิฐแต่ละก้อนด้วย เพื่อ<br />

ติดตามได้ว่าผู้ใดต้องรับผิดชอบผลงานชิ้นนั้น อิฐที่ใช้สร้างบ้านพักอาศัย<br />

ที่เก่าแก่ที่สุดค้นพบในประเทศกรีซประมาณศตวรรษที่ 12 ต่อมาในยุค<br />

โกธิค อิฐถูกใช้ในการสร้างมหาวิหารอันเป็นรูปแบบงานสถาปัตยกรรม<br />

ที่สำาคัญและแพร่หลายไปทั่วทวีปยุโรป แต่เมื่อถึงยุคเรเนซองส์และบาโรค<br />

Brick is a building material used to build walls by stacking<br />

bricks in rows vertically and horizontally. To boost strength,<br />

mortar is used as a binder between each brick.<br />

Because brick is a natural product, no two bricks will be<br />

precisely the same in terms of material, texture, size, shape,<br />

or color. There will be unequal transformations.<br />

The oldest found brick in history was a mud brick discovered<br />

in Jericho on the Jordan River 7,500 years ago. However,<br />

research has shown that the earliest construction of bricks<br />

most likely coincided with human settlement and evolution<br />

around ten thousand years before Christ, during the Neolithic<br />

or Stone Age.<br />

Bricks were strengthened by shaping clay and burning it.<br />

Like many other pottery works of the time, Terracotta bricks<br />

were discovered in the ancient towns of Mesopotamia, the<br />

Tigris, and the Euphrates basins. (now Iraq)<br />

Bricks were widely used in ancient Egypt. A painting found<br />

in the tomb of Rekh-mi-re (c. 1450 BCE) on the enormous<br />

expanse of the pharaoh’s empire on the west bank of the<br />

Nile depicts workers and steps in brick production until<br />

carried to the construction site.<br />

Bricks were valuable and pricey in the early days. Because of<br />

the laborious manufacturing process, it was utilized to construct<br />

important city structures such as palaces, cathedrals,<br />

and strongholds.<br />

The English term brick has the same meaning as the Sumerian<br />

word sig and denotes a building and a city. More importantly,<br />

this word is also the name of a building’s god. As a result,<br />

before laying the first brick of every structure, the builders<br />

must perform a ritual offering of food and offerings to the<br />

god of the building.<br />

In ancient China, bricklaying was considered the work of the<br />

lower classes. However, the designers and builders of brick<br />

kilns are highly regarded. Around 3800 BC, the first traces<br />

of brick used in the East were unearthed in Xi’an. The Song<br />

Dynasty employed the fire-glazing process. During the Ming<br />

Dynasty, it was common to engrave the name of the creator<br />

of each brick to identify who did the construction.<br />

Around the 12 th century, the first bricks used to build houses<br />

were discovered in Greece. Later in the Gothic period, brick<br />

was used to construct cathedrals, which became a popular<br />

building style throughout Europe. However, during the Renaissance<br />

and Baroque periods, plaster was discovered on the<br />

structure’s exterior, reducing the importance of bricks.


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

115<br />

12 13<br />

10<br />

11<br />

14<br />

15<br />

<strong>16</strong><br />

Photo Reference<br />

10. seetao.com/details/51796.html<br />

11. re-thinkingthefuture.com/know-your-architects/a7231-the-drama-and-intrigue-of-louis-i-kahn/<br />

12-13. brickarchitecture.com/about-brick/why-brick/the-history-of-bricks-brickmaking<br />

14. montecristomagazine.com/magazine/volume-13/inside-restored-frank-lloyd-wright-masterpiece<br />

15. bible.ca/islam/dictionary/B/bricks.html<br />

<strong>16</strong>. re-thinkingthefuture.com/wp-content/uploads/2021/03/A3504-How-Le-Corbusier-changed-history-of-architecture-in-India_Image-7.jpg


1<strong>16</strong><br />

materials<br />

17<br />

19<br />

18<br />

20<br />

Photo Reference<br />

17. ppk.in.th<br />

18. mooneydemolition.co.uk/materials/cambridge-white-bricks/<br />

19. horshamstone.co.uk/product/london-red-stock-bricks<br />

20. pexels.com/photo/women-inside-a-brick-kiln-southern-vietnam-8280818/


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

117<br />

เมื่อมีการค้นพบปูนปลาสเตอร์ที่ฉาบภายนอกอาคาร อิฐจึงถูกลดความ<br />

สำาคัญลงไป และได้รับการรื้อฟื้นให้เป็นที่นิยมขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งใน<br />

ศตวรรษที่ 18 เมื่อมีการนำาอิฐมาก่อเป็นลวดลายต่าง ๆ ประดับอาคาร<br />

ในประเทศอังกฤษยุควิกตอเรียนอิฐสีแดงจะถูกกำ าหนดให้ใช้ที่ผนังภายนอก<br />

ของอาคารเพื่อให้มองเห็นชัดท่ามกลางหมอกหนา เป็นการช่วยแก้ปัญหา<br />

จราจรในเมือง<br />

ในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ประมาณกลางศตวรรษที่ 19 เหตุผลที่อิฐได้รับ<br />

ความนิยมในช่วงเวลานี้เกิดจากเทคนิคที่ก้าวหน้าขึ้น ทำาให้สามารถผลิต<br />

อิฐได้ครั้งละเป็นจำานวนมาก เนื่องจากการพัฒนาเตาเผาและแม่พิมพ์<br />

ในการหล่อขึ้นรูป การใช้อิฐก่อสร้างจึงทั้งเร็วขึ้นและประหยัดขึ้น แม้กระทั่ง<br />

ในพื้นที่ที่อุดมไปด้วยหิน อิฐ และไม้ก็ยังเป็นวัสดุที่ถูกนำามาใช้งานมาก<br />

ที่สุด แม้กระทั่งในช่วงที่การก่อสร้างเกิดขึ้นอย่างมากมาย แผ่ขยายไปถึง<br />

ทวีปอเมริกา<br />

สถาปนิกยุคโมเดิร์นที่บูชาอิฐและนำ ามาสร้างสรรค์ในงานสถาปัตยกรรมได้<br />

อย่างวิเศษ เช่น Le Corbusier, Louise I. Kahn และ Frank Lloyd Wright<br />

ผลงานการออกแบบของท่านที่มีอิฐเป็นตัวเอกนั้น ได้สร้างสีสันและ<br />

ความงามอันคลาสสิคให้แก่สิ่งแวดล้อมที่งานเหล่านั้นตั้งอยู่ ให้เป็นเกียรติ<br />

แก่ชุมชนและเมืองที่ครอบครองอย่างน่าภาคภูมิใจมาจนถึงทุกวันนี้<br />

อิิฐจัาก่เติา<br />

อิฐที่ใช้ในการก่อสร้างและตกแต่งอาคารปัจจุบันส่วนใหญ่ทำ าด้วยดินเหนียว<br />

และมีส่วนประกอบเป็นทรายหรือแกลบ แคลเชียมซิลิเกตและส่วนผสม<br />

อื่น ๆ เพื่อให้อิฐมีลักษณะทางกายภาพที่หลากหลายสำาหรับการใช้งาน<br />

แต่ละประเภทที่แตกต่างกัน เมื่อนำาส่วนผสมทั้งหมดผสมเข้าด้วยกัน<br />

แล้วจึงนำาไปลงในแม่พิมพ์เพื่อขึ้นรูป แล้วนำ าไปเผาในเตาเผาที่ตั้งอุณหภูมิ<br />

เฉพาะสำาหรับแต่ละประเภทของดิน สาเหตุเพราะดินแต่ละประเภทจะมี<br />

จุดหลอมตัว สุกตัว ในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน เมื่อเผาสุกแล้วก็จะได้อิฐที่<br />

ผลิตได้จำานวนหนึ่งพร้อมที่จะนำาไปใช้ในงานก่อสร้างต่อไป<br />

สีของอิฐที่ได้จากการเผาจะเป็นผลจากเคมีและแร่ธาตุที่อยู่ในวัตถุดิบที่<br />

ใช้ในการผลิต อุณหภูมิในการเผา และตำาแหน่งภายในเตาเผา ตัวอย่าง<br />

เช่น สีน้ำาตาลดำาเป็นผลจากแร่เหล็กที่มีอยู่มากในเนื้อดิน สีขาวหรือเหลือง<br />

จะมีส่วนผสมของแคลเซียมคาร์บอเนตอย่างเข้มข้น อิฐทั่วไปจะเผาแล้ว<br />

ได้สีแดงหรือส้มอิฐ แต่ก็จะมีเฉดสีที่แตกต่างกัน ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้น<br />

จะทำาให้อิฐมีสีแดงเข้มขึ้น แล้วไปม่วง น้ำาตาล ไปจนถึงดำาเมื่อเผาใน<br />

อุณหภูมิที่สูงมาก ๆ<br />

บางครั้งชื่อที่ใช้เรียกชนิดของอิฐสะท้อนถึงสีและต้นกำาเนิดของวัตถุดิบ<br />

หรือแหล่งผลิตได้ เช่น Red London Stock Brick หรือ Cambridge White<br />

แม้กระทั่งในประเทศไทย ดินเหนียวที่นำ ามาผลิตเป็นอิฐมาจากแหล่งต่าง ๆ<br />

ทั่วประเทศก็อาจจะให้สีและเนื้อดินไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับแร่ธาตุที่มี<br />

อยู่ในบริเวณนั้น ๆ เช่น อิฐจากอ่างทองจะมีสีแดง มีเนื้อเหนียวและจะมี<br />

ความแกร่งเมื่อเผา ดินจากลำาปางจะมีสีขาว เป็นต้น<br />

It was revitalized and popularized in the 18 th century when<br />

bricks were used to make numerous designs to embellish<br />

buildings. Red bricks were designated for use on the external<br />

walls of buildings in Victorian England to help solve traffic<br />

difficulties in the city by allowing clear visibility amid dense fog.<br />

Brick became popular again during the Industrial Revolution, in<br />

the middle of the nineteenth century, as technology advanced,<br />

producing a vast number of bricks at once. Because of the<br />

advancement of kilns and casting molds, employing bricks for<br />

construction is now faster and more cost-effective. Brick and<br />

wood are the most widely used materials, even in locations<br />

rich in stone. It then spread to the American continent, even<br />

during periods of significant development.<br />

Le Corbusier, Louise I. Kahn, and Frank Lloyd Wright are<br />

examples of modernist master architects who embraced bricks<br />

and used them to build beautiful architecture masterpieces.<br />

Their designs, which used bricks as the main protagonist,<br />

added a classic color and beauty to the surroundings in which<br />

they were placed to commemorate the towns and cities they<br />

proudly occupy today.<br />

Bricks from the Kiln<br />

Bricks used in building construction and decorating today are<br />

generally constructed of clay and incorporate sand or rice<br />

husks, calcium silicate, and other substances to give bricks<br />

a variety of physical properties for various applications. When<br />

all ingredients have been combined, they are placed in a mold<br />

to be molded. It is then burned in a kiln at a temperature<br />

tailored to each soil type. This is because each soil type has<br />

different melting and ripening points at different temperatures.<br />

A number of bricks will be created after firing, suitable for<br />

construction activity.<br />

The color of fired bricks is determined by the chemicals and<br />

minerals in the raw materials used in production, the burning<br />

temperature, and the kiln site. The brownish-black color, for<br />

example, is caused by the clay’s high iron content. The colors<br />

white and yellow include a significant percentage of calcium<br />

carbonate. Generally, red or orange bricks are burned. It will,<br />

however, have various colors. When fired at extremely high<br />

temperatures, the bricks will be darker red, purple, brown,<br />

and black.<br />

The color and provenance of the raw material or production<br />

area are sometimes reflected in the name of a type of brick,<br />

such as Red London Stock Brick or Cambridge White. Even<br />

in Thailand, the clay used to make bricks is sourced from<br />

various locations throughout the country and may vary in<br />

color and texture. It is determined by the minerals present in<br />

the environment. Bricks from Ang Thong, for example, will be<br />

red. It has a rough texture and will remain tough after firing.<br />

Lampang soil, for example, will be white.


118<br />

materials<br />

ผิวของอิฐสามารถผลิตให้มีลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น ผิวเรียบ ผิวหยาบ<br />

ผิวมีรูพรุน หรือเซาะเป็นร่อง นอกจากนั้นยังสามารถเคลือบสีต่างๆ บนผิว<br />

ด้านหนึ่งของอิฐให้มีความมันแวววาวและกันน้ำาได้ดี<br />

อิฐแบ่งเป็นหลายประเภท แต่ที่เป็นหลักใหญ่ ๆ มี 2 ประเภท คือ<br />

1. อิฐรับน้ำาหนักที่ใช้ในการก่อสร้างทั่วไปหรืออิฐมอญ ส่วนใหญ่จะ<br />

มีขนาดเล็กและมีสีเดียว เผาด้วยอุณหภูมิไม่สูงมาก ประมาณ<br />

600-700 องศาเซลเซียส เมื่อก่อแล้วจะถูกฉาบด้วยปูนและทาสีทับ<br />

เนื่องด้วยอิฐจะมีรูพรุนทำาให้มีการดูดซึมน้ำาที่ค่อนข้างมาก<br />

2. อิฐสำาหรับใช้ในการตกแต่ง (ในบางกรณีใช้รับน้ำาหนักได้) ซึ่ง<br />

เป็นอิฐที่ได้รับการเผาไฟในอุณหภูมิที่สูงกว่าอิฐก่อสร้างทั่วไป<br />

ประมาณ 900-1,000 องศาเซลเซียส มีความแข็งแกร่ง ทนทาน<br />

การดูดซึมที่ต่ำา มีหลายขนาดและหลายรูปทรง นอกจากนั้นยังมี<br />

หลายสี สามารถนำาไปใช้เป็นวัสดุตกแต่งภายนอกและภายใน<br />

อาคาร โดยไม่ต้องทาสีทับได้อย่างสวยงาม อิฐประเภทนี้มีหลาย<br />

รูปแบบ เช่น อิฐตกแต่งผนังอาคาร อิฐทางเท้า และอิฐทนไฟ<br />

เป็นต้น<br />

21<br />

อิิฐบนก่ำาแพัง<br />

ความสำาคัญอีกประการหนึ่งในงานอิฐ คือ การก่ออิฐ กรรมวิธีในการ<br />

ก่ออิฐให้แข็งแรงและสวยงามนั้นมีรูปแบบที่หลากหลาย จนจัดเป็นศิลปะ<br />

แขนงหนึ่งได้ ช่างก่ออิฐสมัยโบราณได้สร้างสรรค์รูปแบบการก่ออิฐเป็น<br />

ลวดลายต่าง ๆ อย่างไม่มีขีดจำากัด อิฐที่ผ่านการรังสรรค์ด้วยฝีมือช่าง<br />

ชั้นครูนั้นถือเป็นงานระดับสิ่งมหัศจรรย์ของโลก เช่น วิหารพาเธนอน<br />

โคลอสเซียมของชาวโรมัน กำาแพงเมืองจีน พระมหาเจดีย์พุกามในพม่า<br />

วัดและโบราณสถานในอยุธยา หรือแม้แต่ศาสนสถานขนาดเล็กอย่าง<br />

The Tomb of the Samanids ของชาวอิสลาม ก็ได้อวดโฉมภายนอกที่<br />

ประดับประดาด้วยงานอิฐงดงามอลังการราวกับงานประติมากรรม<br />

22<br />

ลวดลายรูปแบบงานก่ออิฐในต่างประเทศมีหลากหลายรูปแบบ รูปแบบ<br />

พื้นฐานอย่างง่ายที่สุด คือ การก่ออิฐแบบ Running Bond เป็นการเรียง<br />

อิฐตามความกว้างของหน้าอิฐเป็นแถวยาว เมื่อขึ้นแถวใหม่ตามแนวตั้งก็<br />

จะสลับให้อิฐสับหว่างกับก้อนที่อยู่แถวล่างเพื่อความมั่นคงของโครงสร้าง<br />

ช่างก่ออิฐมักจะไม่เรียงอิฐโดยให้แนวปูนก่อตามแนวตั้งเป็นแนวเดียวกัน<br />

ทั้งผืน เนื่องจากจะทำาให้กำาแพงหรือผนังไม่มีความแข็งแรงเพียงพอ<br />

หากจะทำาเช่นนั้นควรจะมีผนังรับอีกผืนหนึ่งที่ด้านหลังและเชื่อมต่อกัน<br />

ด้วยเหล็กเส้น หรือเหล็กหล่อที่ออกมาจากผนังหลักเพื่อไม่ให้ล้มลงมาได้<br />

ในการก่ออิฐรับน้ำาหนักควรมีทับหลังทุกระยะ 2x3 เมตร เพื่อให้เกิด<br />

ความมั่นคงแข็งแรงในระยะยาว หรืออาจก่อกำาแพงในลักษณะผนังสองชั้น<br />

ที่มีช่องว่างระหว่างผนังทั้งสองเพื่อให้อากาศถ่ายเท เป็นการระบาย<br />

ความร้อนและป้องกันความหนาวเย็นจากภายนอกให้แก่อาคารด็เป็น<br />

อย่างดี<br />

23<br />

Photo Reference<br />

21,23-24. apk.co.th<br />

22. pghbricks.com.au/bricks/brick-bond-patterns<br />

25. researchgate.net/figure/Bukhara-Ismail-Samani-Tomb-5_fig1_312095332


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

119<br />

Bricks can be manufactured with various surface properties,<br />

such as smooth, rough, porous, or grooved. Furthermore, it<br />

can be colored on one brick surface to make it shiny and<br />

waterproof.<br />

24<br />

There are various sorts of bricks. However, there are two<br />

primary types:<br />

1. Load-bearing bricks or clay bricks used in general<br />

buildings: The majority are small, with only one color.<br />

It is burned at a low temperature of 600–700 degrees<br />

Celsius. Because they are porous and absorb much<br />

water, they will be plastered with cement and painted<br />

after finishing.<br />

2. Bricks for decoration (they can also be used to sustain<br />

weight in some circumstances). These bricks were<br />

burned at a higher temperature than standard construction<br />

bricks, between 900 and 1,000 degrees Celsius.<br />

They are sturdy, long-lasting, and absorb little water.<br />

They come in a variety of sizes and forms. They are<br />

available in various colors and can be used as a decorative<br />

material outdoors and inside buildings without<br />

the need to paint over them. This sort of brick comes in<br />

a variety of shapes and sizes, including decorative construction<br />

wall bricks, sidewalk bricks, and fire-resistant<br />

bricks.<br />

25<br />

Brick on the Wall<br />

Bricklaying is another key aspect of brickwork. There are many<br />

ways to construct durable and beautiful brick walls that may be<br />

considered an art form. Ancient bricklayers built an infinite<br />

number of bricklaying designs. The Parthenon and the Roman<br />

Colosseum, the Great Wall of China, the Bagan Pagoda in<br />

Burma, temples and historical sites in Ayutthaya, Thailand,<br />

and even small religious sites like the Tomb of the Samanids<br />

of Islam have exteriors decorated with beautiful brickwork<br />

that looks like a sculpture.<br />

In foreign countries, there is a wide range of brickwork styles.<br />

Running bond bricklaying is the most basic type, which involves<br />

putting bricks in long rows over the width of the brick face.<br />

For structural stability, the bricks will be interleaved with those<br />

in the bottom row while adding a new row vertically. Bricklayers<br />

frequently do not position bricks with the same vertical<br />

mortar throughout because it weakens the wall or walls. If this<br />

is the case, there should be another supporting wall at the<br />

back connected by steel bars or cast iron that protrudes<br />

from the main wall to keep it from collapsing.<br />

Lintels should be placed every 2x3 meters while laying bricks<br />

to support weight to maintain long-term stability, or the wall<br />

should be built as a double wall with room between the two<br />

walls to allow air to circulate. It is an effective method of dissipating<br />

heat and protecting the building from the outside cold.


120<br />

materials<br />

26<br />

27<br />

Photo Reference<br />

26-27. vogue.co.th/lifestyle/article/ongardarchitects


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

121<br />

อิฐที่ออกมาจากเตาเผาแม้จะเป็นเตาเดียวกันก็มักจะมีขนาดที่แตกต่างกัน<br />

เล็กน้อยได้ ด้วยตำาแหน่งของการวางอิฐ และอุณหภูมิภายในเตา ซึ่งนั่นคือ<br />

ความเป็นธรรมชาติของอิฐ ทำาให้ในการทำางานก่ออิฐควรจะมีการศึกษา<br />

ขนาดและรูปร่างของอิฐที่ได้รับมาในแต่ละล็อต อย่างละเอียดเสียก่อน<br />

และมีการคำานวณและวางแผนในการก่ออิฐไว้ตั้งแต่เริ่มต้น ควรมีการเผื่อ<br />

จำานวนให้มากกว่าที่ต้องการใช้เล็กน้อยเพื่อใช้ซ่อมแซมหรือแก้ไข<br />

ช่างที่ประสบการณ์มักจะทำาการคัดแยกอิฐที่มีเฉดสีและขนาดเท่า ๆ กัน<br />

ไว้เป็นกลุ่ม ๆ ทดลองวางอิฐเพื่อให้ดูกลมกลืนกัน และปรับแต่งช่องว่าง<br />

ระหว่างอิฐซึ่งเป็นแนวปูนก่อ เพื่อให้อิฐมีระยะห่างที่เหมาะสมและวางอิฐ<br />

ได้ลงตัวบนพื้นที่ที่กำาหนดไว้ ซึ่งจะทำาให้งานก่ออิฐมีความประณีตและ<br />

สวยงาม หากไม่มีการวางแผนไว้ก่อน อาจจะเกิดการบิดเบี้ยวตามแนว<br />

หรือจำานวนอิฐไม่ลงตัว ทำาให้ต้องตัดเป็นเศษ ซึ่งเมื่อมองในภาพรวม<br />

แล้วอาจไม่งามได้ เหล่านี้ล้วนเป็นเทคนิคที่ผู้ออกแบบและช่างก่อสร้าง<br />

ควรศึกษาเป็นอย่างยิ่ง<br />

อิิฐในมี่อิช้่าง<br />

อิฐทุกก้อนย่อมมีธรรมชาติในตัวของมันเอง การนำาอิฐมาใช้ในงาน<br />

ก่อสร้างสมควรที่จะต้องมีการศึกษาข้อมูลเพื่อความรู้ความเข้าใจวัสดุ<br />

ก่อนที่จะใช้ในงานก่อสร้าง จะช่วยส่งเสริมคุณค่าของอิฐ ช่วยประหยัด<br />

งบประมาณไม่ให้สูญเสียไปจากความเสียหายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และ<br />

เป็นการยืดอายุการใช้งานของอิฐ<br />

ช่างพักตร์ ธนกร ชาตรูปะเสวี ผู้รับเหมาฝีมือสูงมากประสบการณ์ผู้เอาใจใส่<br />

ในการทำางานอย่างละเอียดทุกขั้นตอน ขยันค้นคว้าหาแนวทางต่าง ๆ<br />

ในการทำางาน เพื่อให้ได้ประสิทธิผลสูงสุด สวยที่สุด เรียบร้อยที่สุด และ<br />

คงทนถาวรที่สุด ผู้ผ่านการทำางานให้กับสถาปนิกชั้นครู เช่น คุณองอาจ<br />

ศาสตรพันธุ์ มาเป็นเวลากว่าสามสิบปี ได้เปิดเผยเคล็ดลับในการทำางาน<br />

กับอิฐ<br />

ขั้นติอินในก่าร้ก่่อิอิิฐ<br />

ขั้นตอนที่ 1 งานออกแบบ ผู้ออกแบบต้องมีความรู้เกี่ยวกับวัสดุที่จะใช้<br />

โดยเฉพาะเรื่องของขนาดและประเภทของอิฐ นำาข้อมูลมาคำานวณกับ<br />

แบบเพื่อให้ลงตัวได้พอดี เช่น คำานวณว่าพื้นที่มีขนาดกว้างยาวเท่าไร<br />

สูงเท่าไร อิฐมีขนาดเท่าไร เมื่อวางอิฐขนาดที่ต้องการบวกกับแนวร่องปูน<br />

ยาแนวทุกด้านจะต้องใช้อิฐจำานวนกี่ก้อน หากเหลือเศษอาจต้องปรับ<br />

ขนาดพื้นที่เพื่อให้ลงตัวพอดี มีความสวยงามต่อเนื่อง ปัญหาการวางอิฐ<br />

ที่ไม่ลงตัวอาจเหลือเศษทำาให้ต้องตัดอิฐทิ้งไปเป็นจำานวนมาก<br />

ขั้นตอนที่ 2 การคำานวณปริมาณที่จะใช้ เมื่อทราบจำานวนอิฐที่จะต้องใช้<br />

แล้ว ในการสั่งอิฐแต่ละงานควรจะมีการสั่งเผื่อไว้เป็นจำานวนประมาณ<br />

10% ของอิฐที่จะต้องใช้ทั้งหมด เป็นการเผื่อสำาหรับความเสียหายที่<br />

อาจจะเกิดขึ้น เช่น ก่อผิดแบบต้องทุบทิ้งก่อใหม่ การสั่งอิฐล็อตใหม่ให้สี<br />

เหมือนครั้งแรกนั้นเป็นไปได้ยาก จึงควรมีการเผื่อไว้ตั้งแต่แรก<br />

Because of the laying bricks’ position and temperature within<br />

the furnace, bricks from the same kiln may have slightly varied<br />

sizes. That’s the way bricks are. The size and shape of the<br />

bricks received in each lot should be evaluated, estimated,<br />

and planned for laying bricks from the start of the bricklaying<br />

activity. Allowances for repairs or modifications should be<br />

slightly higher than necessary.<br />

Experimenting with the placement of bricks to make them look<br />

harmonious and being able to adjust the gaps between the<br />

bricks, which are the cement lines, so that the bricks have<br />

the appropriate distance and can be placed perfectly in the<br />

designated area, experienced builders often separate bricks<br />

of the same shade and size into groups. This will make the<br />

brickwork look tidy and attractive. If there is no prior planning,<br />

there may be distortion along the line, or the quantity of bricks<br />

is incorrect, resulting in scraps that are not attractive when<br />

viewed as a whole. All of these are strategies that designers<br />

and builders should thoroughly research.<br />

Bricks in the Hands of Artisans<br />

Every brick has its own personality. Before employing bricks<br />

in construction, it is necessary to research to understand the<br />

material better. It will help to increase the value of bricks, save<br />

the budget from losses and damage, and extend the life of<br />

the bricks.<br />

Thanakorn Chatrupasawee, also known as Chang Pak, is a<br />

highly talented and experienced contractor who meticulously<br />

researches numerous techniques to be the most effective,<br />

prettiest, neatest, and most durable. He has worked for<br />

renowned architects such as Khun Ongard Satrabhandhu for<br />

almost thirty years. He has shared the following brickwork<br />

secrets:<br />

Procedure for Bricklaying<br />

Step 1: Design work: The designer must be familiar with the<br />

materials, particularly the size and type of bricks. To make<br />

the model fit properly, use the data to figure out how broad<br />

and long the area is, how high it is, what the bricks are, how<br />

many bricks will be needed to lay the required size bricks,<br />

plus grout lines on all sides. If there are any leftovers, it is<br />

necessary to change the area size to accommodate them.<br />

Proper brick placement may result in scraps, necessitating<br />

the removal of several bricks.<br />

Step 2: Calculate the amount to be used: Once the number of<br />

bricks required is determined, ordering bricks for each task<br />

should include an allowance of around 10%. This is a provision<br />

for potential harm, such as being built incorrectly and having<br />

to dismantle it and reconstruct a new one. Ordering a new<br />

batch of bricks the same color as the original is difficult. As<br />

a result, an allowance should be made from the start.


122<br />

materials<br />

ขั้นตอนที่ 3 การแช่อิฐ ไม่ว่าจะเป็นอิฐประเภทใด เมื่อนำาเข้ามายังพื้นที่<br />

จะทำาการก่อสร้างจะต้องทำาการแช่อิฐก่อน เพื่อให้อิฐดูดซึมน้ำาเป็นเวลา<br />

ประมาณ 1 คืน หลังจากนั้นนำาอิฐที่แช่น้ำานั้นมาตากให้แห้งในร่ม จนน้ำา<br />

ในอิฐระเหยออกไปในระดับที่เหมาะสม คือเมื่อใช้มือสัมผัสจะยังรู้สึกว่า<br />

หมาด ๆ อยู่ ไม่แห้งหรือเปียกชื้นเกินไป เพราะจะทำาให้งานอิฐไม่แข็ง<br />

แรงหรือแตกร้าวได้<br />

ขั้นตอนที่ 4 การขึงเชือกเพื่อตั้งระดับ เมื่ออิฐแห้งได้ที่แล้ว ให้ขึงเชือก<br />

หรือเอ็นเป็นแนวทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เพื่อให้การก่ออิฐได้ระดับ<br />

เสมอกันทั้งสองด้าน เชือกแนวนอนควรจะขึงไว้ทุกชั้นของแนวอิฐและ<br />

ขึงเชือกบนด้านบนของอิฐ ส่วนตามแนวตั้งควรจะตั้งที่ขอบของอิฐก้อน<br />

แรก และมีขึงไว้ทุกระยะความกว้าง 1 เมตร หรือประมาณอิฐ 5 ก้อน<br />

(รวมแนวร่องปูนแล้ว) เพื่อให้มีพื้นที่การทำางานที่คล่องตัว และควร<br />

ตรวจสอบระดับแนวก่ออิฐเป็นระยะ ๆ เพื่อให้ได้แนวที่สวยงาม โดยต้อง<br />

ระวังในเรื่องการวางอิฐที่สูงเกินแนวเชือกแล้วต้องเผื่อขึ้นไปเรื่อย ๆ ใน<br />

แถวบนสุดอาจจะไม่ได้อิฐเต็มก้อนตามที่คำ านวณไว้ ต้องตัดอิฐเป็นเศษไป<br />

วางทำาให้ไม่เรียบร้อยสวยงามได้<br />

ขั้นตอนที่ 5 การผสมปูนก่อ เป็นขั้นตอนที่สำาคัญที่สุด ซึ่งความสวยงาม<br />

ความแข็งแรงของงานอิฐเกิดจากตรงนี้ ส่วนผสมของปูนก่อ คือ 3:2<br />

(ทราย 3 ส่วน ปูนซีเมนต์ 2 ส่วน) และน้ำาในประมาณที่เหมาะสมไม่ทำาให้<br />

น้ำาปูนข้นหรือเหลวเกินไป สำาหรับอิฐโชว์แนวการผสมปูนตามสัดส่วน<br />

ดังกล่าวเรียกว่า “ปูนเค็ม” เพื่อให้เกิดความเหนียวแต่มีเวลาในการเซตตัว<br />

หรือแข็งตัว พอสำาหรับการขยับอิฐให้ได้ระดับที่ต้องการ หากเป็นปูน<br />

สำาหรับก่ออิฐมอญจะมีสัดส่วน 3:1 ทราย 3 ส่วน ซีเมนต์ 1 ส่วน ซึ่งปูน<br />

จะเหลวกว่า และต้องใช้ปริมาณมากกว่า เรียกว่า “ปูนจืด” ทรายที่ผสม<br />

ควรเป็นทรายละเอียดที่เกิดจากการนำาทรายหยาบมาร่อนบนตะแกรง<br />

ให้ได้ความละเอียดพอสมควรไม่ถึงกับละเอียดมากเกินไป เพื่อเวลานำ ามา<br />

ผสมจะมีผิวที่หยาบพอดีกลมกลืนกับผิวของอิฐนั้น ส่วนซีเมนต์ที่ใช้ผสม<br />

ควรจะมีความเหนียวและทนทาน มีความยืดหยุ่น เหมาะสำาหรับอิฐก่อ<br />

โชว์เป็นอย่างดี<br />

ขั้นตอนที่ 6 เทคนิคในการก่อ แบ่งเป็นขั้นตอนดังนี้ การแบ่งแนวอิฐก่อ<br />

ต้องแบ่งแนวให้เรียบร้อย เฉลี่ยให้ลงตัวว่าแต่ละแถวจะต้องใช้อิฐกี่ก้อน<br />

และควรจะมีแนวร่องปูนเท่าใด งานอิฐที่ดีนั้นไม่ควรมีการตัดอิฐนอกจาก<br />

จะเจอช่องเจาะหรือส่วนของกำาแพง<br />

Step 3: Soaking bricks: Regardless of the type of brick, the<br />

bricks must be soaked before being imported into the area<br />

for building. This allows the bricks to absorb water for approximately<br />

one night. After that, place the wet bricks in the shade<br />

to dry. Touching the brick with the hands should feel damp<br />

until the water evaporates to the optimum level—not too dry<br />

or too wet, as this will cause the brickwork to weaken or crack.<br />

Step 4: Set the level by stretching the rope. After the bricks<br />

have dried, stretch the rope or string vertically and horizontally<br />

to level the brick construction on both sides. Horizontal ropes<br />

should be run along the brick line and on top of the bricks.<br />

The vertical section should be put at the first brick’s edge and<br />

stretched every 1 meter wide, or around five bricks (including<br />

the cement grooves), to give a flexible workplace. To create a<br />

beautiful line, the brick line level should be checked regularly,<br />

and one must be careful not to place bricks that are higher<br />

than the rope line and have to add more and more. As calculated,<br />

a full brick may not be obtained in the top row. To be<br />

placed, bricks must be broken into pieces, which can make<br />

them unappealing and disorderly.<br />

Step 5: Making building cement: This is the most essential step<br />

in determining the beauty and strength of brickwork. The<br />

masonry mixture contains 3:2 (3 parts sand, 2 parts cement)<br />

and water in an adequate proportion to prevent the cement<br />

solution from becoming too thick or too liquid. For exposed<br />

bricks, the procedure of mixing cement in such quantities<br />

is known as “salted cement,” it is used to provide hardness<br />

while still allowing enough time for the cement to cure or<br />

harden enough to move the bricks to the required level. If it<br />

is for laying bricks, the proportion will be 3:1: 3 parts sand,<br />

1 part cement, which will be more liquid and require a larger<br />

amount, known as “fresh lime.” The sand mixed should be fine<br />

sand formed by sieving coarse sand on a screen to obtain<br />

a reasonable resolution that is not too detailed so that when<br />

mixed, it has a rough surface that blends in with the surface of<br />

the brick. The cement employed in the combination should<br />

berobust, long-lasting, and adaptable to the exposed brickwork.<br />

Step 6: Construction Techniques: Divided into the following<br />

steps: Brick line division: The lines must be carefully divided<br />

and averaged to calculate how many bricks will be used in<br />

each row and how many cement grooves should be present.<br />

Cutting bricks should only be done if there is a drilled hole<br />

or if part of the wall is missing.<br />

Photo Reference<br />

28. brothersofthebook.com/2017/05/27/start-laying-bricks-2/<br />

29. mirror.co.uk/tech/bricklaying-robots-set-replace-thousands-10107529


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

123<br />

28<br />

29


124<br />

materials<br />

การยาแนวด้วยปูนก่อ สำาหรับอิฐก่อโชว์เพื่อความสวยงาม อิฐประเภทนี้<br />

จะมีความแกร่งและหนัก เนื้อปูนที่มีความลื่นพอสมควรสามารถวางอิฐ<br />

แล้วปรับเลื่อนไปมาเพื่อให้ได้แนวที่สวยงามก่อนที่ปูนจะเซตตัว (เรียก<br />

ว่าการเลี้ยงร่อง) แม้จะก่อเสร็จเรียบร้อยแล้วก็อาจมีการขยายหรือหดตัว<br />

เล็กน้อยตามอุณหภูมิและสิ่งแวดล้อมได้ตลอดเวลา ช่างอาจมีการเผื่อ<br />

สำาหรับเรื่องนี้ไว้ด้วย เช่น หากเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ทุก ๆ ระยะ 5 เมตร<br />

จะทำาเป็นร่องเพื่อยาแนวด้วยวัสดุยาแนวรอยต่อที่มีความยืดหยุ่น เป็นต้น<br />

การเซาะร่อง เมื่อก่ออิฐสำาเร็จแล้วควรทิ้งไว้ให้เนื้อปูนเซตตัวเสียก่อน<br />

แล้วจึงทำาการเซาะร่องให้เรียบร้อย<br />

การทำาเสาเอ็นและทับหลัง หากเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ควรจะมีเสาเอ็นหรือ<br />

ทับหลังซ่อนอยู่ด้านหลังของแนวก่ออิฐโชว์เพื่อช่วยการรับน้ำ าหนัก โดยปกติ<br />

การทำาทับหลังควรทำาที่ทุก ๆ ระยะพื้นที่ 2x3 เมตร หรือ 6 ตารางเมตร<br />

การทำาความสะอาดคราบน้ำาปูน ควรจะทิ้งงานก่ออิฐไว้ให้แห้งดีเสียก่อน<br />

ไม่รีบทำาความสะอาดทั้ง ๆ ที่ยังเปียกหรือเพิ่งจะก่อเสร็จหมาด ๆ ทำา<br />

ความสะอาดด้วยการใช้ฟองน้ำาชุบน้ำาธรรมดา บิดให้หมาด ๆ เช็ดคราบนั้น<br />

โดยควรมีการเปลี่ยนน้ำาใหม่แล้วเช็ดอีกหลายครั้ง การใช้น้ำาเดิมเช็ดแล้ว<br />

มาเช็ดอีกจะไม่สามารถทำาให้คราบหมดไป<br />

โดยทั่วไปแล้วอิฐก่อโชว์จะมีความแกร่งและทนทาน มีอายุการใช้งานที่<br />

ยาวนาน จึงแทบไม่ต้องดูแลรักษาตลอดอายุของมัน ในบางพื้นที่ที่โดน<br />

แดดจัดสีของอิฐอาจจะซีดจางไปบ้าง แต่นั่นคือธรรมชาติซึ่งในบางครั้ง<br />

อาจจะทำาให้ดูสวยงามกว่าเดิมด้วยซ้ำา<br />

อิิฐในวัันพัรุ้่ง<br />

อิฐที่นำามาใช้ในงานสถาปัตยกรรมมีการพัฒนาเทคนิคและรูปแบบให้<br />

ทันสมัยตรงกับความต้องการในปัจจุบัน จากในอดีตที่มีข้อจำากัดในเรื่อง<br />

ของความสูงเนื่องจากเป็นวัสดุใช้รับน้ำาหนัก อาคารที่ก่อด้วยอิฐจึงมี<br />

ความสูงไม่กี่ชั้น โดยหากยิ่งสูงมากเท่าใดส่วนที่เป็นฐานจะยิ่งแผ่ออกไป<br />

มาเท่านั้นเพื่อการรับน้ำาหนัก จนมาในยุคคอนกรีตเสริมเหล็กที่สามารถ<br />

สร้างให้สูงขึ้นโดยไม่มีข้อจำากัด อิฐได้รับการพัฒนาไปในแนวทางการ<br />

ตกแต่งอาคารเป็นส่วนใหญ่ ทำาให้อิฐในสมัยนี้มีรูปร่าง ขนาด และสีที่<br />

หลากหลาย มีความแข็งแรงมากขึ้น กันน้ำามากขึ้น สามารถปรับแต่งพื้น<br />

ผิวให้เลียนแบบวัสดุธรรมชาติประเภทอื่นได้ อีกทั้งมีความเป็น Green<br />

Material เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่จำาเป็นต้องดูแลรักษาช่วยประหยัด<br />

งบประมาณในการซ่อมบำารุง<br />

สถาปนิกเป็นส่วนสำาคัญมีบทบาทในการทำาหน้าที่เป็นผู้ศึกษาหาวิธีการ<br />

ใช้วัสดุจากผู้ผลิตแทนการปรึกษาช่างฝีมือเช่นในอดีต ด้วยไม่ค่อยมี<br />

ช่างฝีมือให้เป็นที่ปรึกษาในช่วงขั้นตอนการออกแบบมากนัก ดังนั้น<br />

สถาปนิกผู้ออกแบบจึงควรมีภูมิความรู้และความเข้าใจพื้นฐานของอิฐ<br />

แต่ละประเภทที่จะนำามาใช้งาน จะช่วยสร้างคุณค่าให้กับงานออกแบบ<br />

นั้น ๆ อย่างดีเยี่ยม<br />

Grouting with cement: This style of brick is sturdy and hefty,<br />

making it ideal for exposed brickwork. Before the cement<br />

hardens, the cement is sufficiently slippery for the bricks to<br />

be put in and pushed back and forth to create lovely lines.<br />

(This is known as furrowing.) Even after completion, it may<br />

slightly expand or contract according to temperature and<br />

climatic conditions. The builder may also have made provision<br />

for this. For example, if the space is vast, every 5 meters, a<br />

groove will be made to grout with a flexible joint sealer, and<br />

so on. Grooving: After the brickwork is finished, the cement<br />

should be hardened. Then, finish the grooves.<br />

Making tendon pillars and lintels: If the space is large, tendon<br />

pillars or lintels should be built within the exposed brick line to<br />

help sustain the weight. Typically, lintel construction should<br />

be done in every 2x3-meter or 6-square-meter area.<br />

Cleaning lime stains on masonry requires that the work area<br />

first dry. Don’t rush to clean it if it’s still wet or just completed.<br />

Clean it using a sponge dampened with regular water, wring<br />

it out, and wipe away the stains. The cleaner should change<br />

the water and wipe it several times more. Using the same water<br />

and wiping it again will not remove the stain.<br />

Exposed brickwork is generally strong and long-lasting. It has<br />

a lengthy, useful life. As a result, it requires almost no maintenance<br />

over its lifetime. The color of the bricks may fade in<br />

regions where they are exposed to direct sunlight. But that<br />

is nature’s way of making things even more beautiful.<br />

The Future of Bricks<br />

Bricks used in buildings have developed techniques and styles<br />

to satisfy modern demands. Because it was a weight-bearing<br />

substance, there were formerly height restrictions. As a result,<br />

brick buildings are only a few floors tall. The wider the base<br />

spreads to sustain the weight, the greater the height. Brick<br />

was developed primarily to beautify structures in the period<br />

of reinforced concrete, which allowed for unlimited height.<br />

This allows bricks to be made in a variety of shapes, sizes,<br />

and colors, as well as to be stronger and waterproof. The<br />

brick surface can be adjusted to look like various natural<br />

materials. It is also a green material that is environmentally<br />

friendly—no maintenance is necessary, saving money on<br />

maintenance.<br />

Architects have a vital role in studying how to use materials<br />

from manufacturers rather than talking with skilled artisans<br />

as in the past. Because few skilled artisans are available for<br />

consultation during the design phase, the architect should<br />

understand each type of brick utilized. It will contribute significantly<br />

to the design’s worth.<br />

Photo Reference<br />

30. techxplore.com/news/2017-04-bricklaying-robot-ergonomic-economic-impact.html


BRICK: AS A BUILDING MATERIAL<br />

125<br />

ในขณะที่เทคโนโลยีการผลิตอิฐและงานออกแบบก้าวหน้าไปมาก แต่<br />

เทคนิคในการก่ออิฐยังคงอยู่กับที่ รูปแบบการก่อยังคงเป็นเหมือนกับ<br />

สมัยโบราณ แม้ในวันนี้มีการคิดค้นเครื่องก่ออิฐอัตโนมัติ หรือหุ่นยนต์ที่<br />

ช่วยในการก่ออิฐขึ้นมา แต่คงมีข้อจำากัดให้ได้ใช้งานแพร่หลายอย่างเป็น<br />

รูปธรรม แรงงานคนโดยเฉพาะช่างก่ออิฐมืออาชีพก็ยังคงอยู่ในความ<br />

ต้องการมาทุกยุคสมัย<br />

คัวัามีช้ำานาญซึ ่งเป็็ นที่ั้งป็ร้ะสบก่าร้ณ์และคัวัามีสามีาร้ถูส่วันบุคัคัลขอิง<br />

ช้่างก่่อิสร้้างในอิดุ่ติมีัก่ถู้ก่ป็ก่ป็ิ ดุไวั้เป็็ นคัวัามีลับ และมีัก่ไมี่ถู่ายที่อิดุให้แก่่<br />

คันอิ่นนอิก่จัาก่คันในคัร้อิบคัร้ัวัเช้่นเดุ่ยวัก่ับงานศิลป็ะ และหาก่ไมี่มี่ผู้สืบที่อิดุ<br />

ก่็อิาจัจัะที่ำาให้งานฝี มี่อิสาบสูญไป็อิย่างไร้้ร้่อิงร้อิย และน่าเป็็ นห่วังวั่าเที่คันิคั<br />

ในก่าร้ก่่อิอิิฐที่่เป็็ นเลิศนั้นมี่แนวัโน้มีจัะหายไป็ในช้ัวัอิายุคันเส้นที่างขอิงอิิฐ<br />

ที่่มี่จัุดุเร้ิ่มีติ้นอิันแสนยาวัไก่ลไดุ้เดุินที่างมีาถูึงเวัลาน่ที่่อิยู่ในจัุดุที่่เร้าจัะติ้อิง<br />

ติร้ะหนัก่ในคัุณคั่า และคัวัามีเสี่ยงอิันไมี่แน่นอินสำาหร้ับอินาคัติขอิงมีัน หาก่<br />

ไร้้ผู้ช้ำานาญที่่เก่่ยวัข้อิงก่ับงานอิิฐในทีุ่ก่ ๆ ดุ้านเข้ามีาที่ำางานร้่วัมีก่ันเป็็ น<br />

สหวัิที่ยาก่าร้ ไมี่วั่าจัะเป็็ นเจั้าขอิงงาน สถูาป็นิก่ วัิศวัก่ร้ ช้่างร้ับเหมีา ช้่าง<br />

ที่ำาอิิฐ และช้่างก่่อิอิิฐ จัึงสมีคัวัร้ที่่จัะมี่ก่าร้ศึ ก่ษาและร้วับร้วัมีภ้มีิป็ั ญญา<br />

นับติั้งแติ่อิดุ่ติมีาจันป็ั จัจัุบันให้เป็็ นร้ะบบ มี่ก่าร้ถู่ายที่อิดุอิย่างจัร้ิงจััง และ<br />

สนับสนุนให้มี่ช้่างก่่อิอิิฐที่่มี่ฝี มี่อิให้มีาก่ขึ ้น เพั่อิช้่วัยก่ันร้ัก่ษาให้ลมีหายใจั<br />

ขอิงอิิฐไดุ้คังอิยู่สืบติ่อิไป็อิย่างภาคัภ้มีิ<br />

Expertise, or a builder’s expertise and personal abilities, have<br />

frequently been veiled in mystery. Like art, it is usually not<br />

passed on to anyone other than family. And if there were no<br />

heirs, the craft might vanish. Similarly, great bricklaying techniques<br />

are likely to disappear within the next generation.<br />

The Masonic journey, which began so long ago, has now<br />

reached a stage where we must acknowledge its worth<br />

and assess the hazards to its future. Assume that<br />

no experts were involved in every aspect of brickwork<br />

and that the team worked as an inter-disciplinary team,<br />

whether the owner, architect, engineer, contractor, brickmaker,<br />

or bricklayer. It is thus worthwhile to seriously<br />

study and collect wisdom from the past to the present,<br />

to teach and educate the younger generation, and to<br />

encourage more skilled bricklayers—to help keep the<br />

brick’s legacy alive and proudly continuing.<br />

ที่่มีา: วัาร้สาร้ “ป็ั ้ นดุิน” ลำาดุับที่่ 2 “Brick: Beyond Time and Style” 2<br />

สิงหาคัมี 2558<br />

ป็ฏิิก่ร้ ณ สงขลา<br />

เป็ นสถาปนิกอาวุโส<br />

บริษัท สถาปนิก 49 จำากัด<br />

มีประสบการณ์ทำางาน<br />

มากกว่า 35 ปี ปั จจุบัน<br />

ยังเป็ นหัวหน้าโครงการ<br />

ISA Material Info Series<br />

กิจกรรมส่งเสริมข้อมูล<br />

ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและ<br />

เทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

is a Senior Architect at<br />

Architects 49 Limited,<br />

with more than 35 years<br />

of work experience.<br />

Currently he Also serves<br />

as Head of ISA Material<br />

Info Series, activities to<br />

promote information<br />

and knowledge about<br />

construction materials<br />

and technology of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects under royal<br />

patronage.<br />

30


126<br />

materials<br />

Renco<br />

Interlocking Blocks<br />

Renco ผู้ผลิตในอเมริกา ได้พัฒนาก้อนอิฐ<br />

แบบใหม่ ที่มีองค์ประกอบของใยแก้ว เรซิน<br />

และหิน เป็นทางเลือกในการก่อสร้างอาคาร<br />

ที่แข็งแรงขึ้น ประหยัดพลังงาน และคุ้มค่า<br />

มากขึ้น วิธีการก่อสร้างมีลักษณะคล้ายกับ<br />

ชุด LEGO ที่จับต้องได้ ซึ่งประกอบด้วยบล็อก<br />

ขึ้นรูปที่ประกอบเข้าด้วยกันเพื่อสร้างเป็น<br />

โครงสร้างทั้งหมด โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่<br />

คล้ายกับชุดอุปกรณ์ LEGO ส่งผลให้ระยะเวลา<br />

ในการก่อสร้างและการใช้พลังงานลดลง<br />

บล็อกแบบใหม่นี้ถูกสร้างขึ้นโดยใช้วัสดุ<br />

คอมโพสิตซึ่งประกอบด้วยใยแก้ว เรซิน และ<br />

หิน โดยใช้ทรัพยากร 40 % จากวัสดุที่นำา<br />

กลับมาใช้ใหม่จากอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น<br />

การต่อเรือ บล็อกแต่ละบล็อกจะมีรูปทรง<br />

สี่เหลี่ยมและมีปุ่มเรียงตามลำาดับที่ประกอบ<br />

เข้าด้วยกันและสามารถวางซ้อนกันได้ ขนาด<br />

มาตรฐานของบล็อกคือ 8 x 8 x <strong>16</strong> นิ้ว (20 x<br />

20 x 40 ซม.) และน้ำาหนักเบากว่าบล็อก<br />

คอนกรีตทั่วไปประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ บล็อก<br />

จะถูกต่อเข้าด้วยกันโดยใช้กาวเมทิลเมทาคริเลต<br />

และใช้ปืนกาวยิง<br />

การก่อสร้างโดยใช้บล็อก Renco นี้เพียงต้องการ<br />

รถยกเพื่อยกวัสดุ ปืนกาวที่ใช้เครื่องกำาเนิด<br />

ไฟฟ้าขนาดเล็กและค้อน ช่างสามารถทำางาน<br />

ได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องจักรหนักหรือเครื่องมือ<br />

ไฟฟ้า ซึ่งทำาให้ไม่ต้องใช้นั่งร้าน เครนขนาดใหญ่<br />

และการทำางานที่ยุ่งยากต่าง ๆ เช่น การตัด<br />

การเผา การเชื่อม หรือการเจียร ซึ่งช่วยลด<br />

ระยะเวลาในการก่อสร้างอีกด้วย<br />

หลังจากเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติในตุรกี<br />

ได้มีการเริ่มใช้บล็อกดังกล่าวในการก่อสร้าง<br />

เพื่อเร่งและทำาให้การฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐาน<br />

ของพื้นที่ประสบภัยพิบัติ Renco ให้ข้อมูล<br />

ว่าในสหรัฐอเมริกา บล็อกก่อสร้างนี้ผ่านการ<br />

ทดสอบความปลอดภัยกว่า 400 รายการ และ<br />

กำาลังถูกนำามาใช้ในการก่อสร้างอพาร์ตเมนต์<br />

คอมเพล็กซ์ในฟลอริดา<br />

Renco, an American manufacturer, has<br />

developed a building block of reused<br />

materials that can interlock and stack,<br />

allowing for construction similar to<br />

LEGO.<br />

According to Renco, the block’s composition<br />

and design, which consist of<br />

glass fibers, resin, and stone, result in a<br />

stronger, less energy-intensive, and<br />

more cost-effective choice for construction.<br />

It resembles a tangible LEGO kit,<br />

consisting of molded blocks that fit<br />

together to form whole constructions by<br />

adopting an approach similar to LEGO<br />

kits. This results in reduced construction<br />

time and energy usage.<br />

A single block is constructed utilizing<br />

a composite material of glass fibers,<br />

resin, and stone, incorporating 40<br />

percent of reused resources sourced<br />

from industries such as boat building.<br />

Every molded block has a rectangular<br />

shape and is equipped with a sequence<br />

of knobs that fit together and can be<br />

stacked. The standard dimensions of<br />

the block are 8 by 8 by <strong>16</strong> inches (20<br />

by 20 by 40 cm), and its weight is<br />

approximately 20 percent lighter than<br />

a conventional concrete block. The<br />

blocks are joined together using a twocomponent<br />

methyl methacrylate adhesive,<br />

which is applied using a glue gun.<br />

To construct using Renco, one only<br />

needs a forklift to elevate the materials,<br />

a glue gun fueled by a compact generator<br />

and a mallet. Crews can complete<br />

the task without using heavy machinery<br />

or electric tools, eliminating the requirement<br />

for external scaffolding, large<br />

cranes, and activities like cutting, burning,<br />

welding, or grinding. The block’s design<br />

additionally decreases the duration of<br />

construction.<br />

Following natural disasters, the blocks<br />

were initially implemented in Turkey to<br />

expedite and make infrastructure reconstruction<br />

more cost-effective. According<br />

to the manufacturer, the construction<br />

blocks in the US have successfully<br />

undergone over 400 stringent safety<br />

tests, and they are being used in the<br />

construction of apartment complexes<br />

in Florida.<br />

renco-usa.com


127<br />

Green Charcoal<br />

Bio Bricks<br />

อิฐที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนี้ได้รับการออกแบบ<br />

เป็นทางเลือกแทนคอนกรีตโดยนักวิจัยจาก<br />

Indian School of Design and Innovation ใน<br />

มุมไบ โดยทำาจากดิน ซีเมนต์ ถ่านไม้ และเส้นใย<br />

ใยบวบออร์แกนิก หรือที่รู้จักกันดีในชื่อรังบวบ<br />

ซึ่งเป็นพืชที่นิยมใช้สำาหรับการอาบน้ำา<br />

ส่วนประกอบสำาคัญคืออากาศ อิฐที่มีชื่อว่า<br />

“ถ่านสีเขียว” มีช่องอากาศมากกว่าบล็อก<br />

คอนกรีตทั่วไป ทำาให้มีรูพรุนมากกว่าถึง 20 เท่า<br />

ฟองอากาศเหล่านี้สร้างขึ้นจากช่องว่างตาม<br />

ธรรมชาติในโครงข่ายเส้นใยของรังบวบ มีความ<br />

สำาคัญเนื่องจากช่วยให้อิฐเป็นที่อาศัยของสัตว์<br />

และพืชได้ พวกมันยังมีประโยชน์ต่อมนุษย์ที่<br />

อาศัยอยู่ในอาคารถ่านสีเขียวอีกด้วย โครงการ<br />

วิจัยกล่าวว่ารูพรุนทำาหน้าที่เป็นเหมือนถังเก็บน้ำ า<br />

ขนาดเล็กหลายพันใบ เพื่อลดอุณหภูมิของอิฐ<br />

และทำาให้สภาพแวดล้อมภายในเย็นลง โดยมี<br />

จุดมุ่งหมายเพื่อสร้างสภาวะทางสถาปัตยกรรม<br />

เพื่อเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในเมือง<br />

ต่าง ๆ ขณะเดียวกันก็เป็นการแก้ปัญหาในเมือง<br />

ที่ดีต่อสุขภาพให้กับผู้คน<br />

ทีมงานวิจัยได้คิดค้น Green Charcoal อันเป็น<br />

ผลจากการวิจัยอย่างต่อเนื่องที่ Indian School<br />

of Design and Innovation ในเรื่องวัสดุที่มี<br />

ศักยภาพต่อสุขภาพสำาหรับการก่อสร้าง ถ่าน<br />

เป็นส่วนผสมจะปรากฏในปริมาณเล็กน้อยบน<br />

พื้นผิวอิฐเท่านั้น ทำาหน้าที่ฟอกอากาศโดยการ<br />

ดูดซับไนเตรต ซึ่งเป็นอาหารชั้นดีสำาหรับพืช<br />

ที่ปลูกในบริเวณนั้น ทีมวิจัยนี้เป็นส่วนขยาย<br />

ของการออกแบบทางชีวภาพ ซึ่งมุ่งเน้นที่การ<br />

เชื่อมโยงระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ในพื้นที่<br />

ที่มีการนำาธรรมชาติเข้ามาสู่เมือง (biophilic<br />

design) ผู้คนจะมีความสุขมากขึ้น การใช้อิฐ<br />

Green Charcoal ไม่เพียงทำาความสะอาดอากาศ<br />

หรือควบคุมอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ยังจะ<br />

สร้างแรงบันดาลใจให้กับสังคมเชิงบวกอีกด้วย<br />

Engineered as an alternative to concrete<br />

by researchers at the Indian School of<br />

Design and Innovation in Mumbai, this<br />

eco-friendly bricks are made of soil,<br />

cement, charcoal and organic luffa<br />

fibres — better known as loofah, the<br />

plant commonly used for bath sponges.<br />

Another key ingredient is air. The bricks,<br />

named “Green Charcoal”, contain more<br />

air pockets than a standard concrete<br />

block, making them up to 20 times more<br />

porous. These air bubbles, created by<br />

natural gaps in the loofah’s fibrous<br />

network, are important because they<br />

enable the bricks to harbour animal<br />

and plant life. They also have a benefit<br />

for the humans who inhabit a Green<br />

Charcoal building. The project’s leads<br />

say the pores act as thousands of tiny<br />

water tanks to reduce the bricks’ temperature,<br />

cooling interior environments.<br />

This is aimed at creating a breathing<br />

state of architecture to ensure increased<br />

biodiversity in cities while providing<br />

healthy urban solutions for people.<br />

The team came up with Green Charcoal<br />

as a result of ongoing research at the<br />

Indian School of Design and Innovation<br />

into potential healthy materials for construction.<br />

Charcoal as an ingredient<br />

only appears in small amounts, on the<br />

bricks’ surface. It serves to purify the<br />

air by absorbing nitrates — a superfood<br />

for plants growing there. The team’s work<br />

as an extension of biophilic design,<br />

which focuses on providing a strong<br />

connection between humans and nature.<br />

In biophilic spaces, people are happier<br />

as the Green Charcoal bricks will not<br />

only clean the air or control rise in temperature<br />

but will also inspire positive<br />

societies.<br />

isdi.in


128<br />

materials<br />

Chinese materials company Yi Design<br />

has created a permeable brick from<br />

recycled ceramic waste. The Permeable<br />

YiBrick is composed of 90 percent<br />

recycled ceramic waste obtained from<br />

industrial porcelain manufacturers in<br />

Jingdezhen, a city renowned as the<br />

ceramics hub of China.<br />

China generates millions of metric tons<br />

of ceramic waste annually, with the<br />

bulk being disposed of illegally through<br />

dumping or burial. Yi Design gathers<br />

waste from specific local producers<br />

and combines it by grinding and utilizing<br />

a unique non-organic chemical glue,<br />

which the business asserts is devoid<br />

of plastics and cement. The obtained<br />

material is used in the company’s exclusive<br />

facility in Jingdezhen, established in<br />

2021, to manufacture a range of longlasting<br />

products, including bricks and<br />

glazed tiles.<br />

YiBrick<br />

Water-permeable Bricks<br />

บริษัทผู้ผลิตวัสดุของจีน Yi Design ได้พัฒนา<br />

อิฐที่มีรูพรุนซึ่งทำาจากขยะเซรามิกรีไซเคิล<br />

โดย YiBrick ได้ผลิตจากขยะเซรามิกรีไซเคิล<br />

90 เปอร์เซ็นต์ที่มาจากผู้ผลิตเครื่องเคลือบ<br />

อุตสาหกรรมในเมืองจิงเต๋อเจิ้น ซึ่งเป็นที่รู้จัก<br />

ในฐานะเมืองหลวงแห่งเซรามิกของจีน<br />

ในแต่ละปี จีนผลิตขยะเซรามิกจำานวนนับ<br />

ล้าน ๆ ตัน ซึ่งส่วนใหญ่ถูกทิ้งหรือฝังอย่าง<br />

ผิดกฎหมาย Yi Design รวบรวมของเสียจาก<br />

ผู้ผลิตในท้องถิ่นที่ได้รับการคัดเลือก ก่อนที่<br />

จะบดและรวมเข้าด้วยกันโดยใช้สารยึดเกาะที่<br />

ไม่ใช่สารเคมีอินทรีย์ที่พัฒนาขึ้นเป็นพิเศษ ซึ่ง<br />

บริษัทอ้างว่าปราศจากพลาสติกและซีเมนต์<br />

วัสดุที่ได้จะถูกนำามาใช้เพื่อสร้างชุดผลิตภัณฑ์<br />

ที่คงทน เช่น อิฐและกระเบื้องเคลือบในโรงงาน<br />

ของบริษัทใน Jingdezhen ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี<br />

2021<br />

ก้อนอิฐนี้มีความสามารถในการดูดซับมากกว่า<br />

อิฐซีเมนต์ทั่วไปในบริบททางสถาปัตยกรรม<br />

ต่าง ๆ สามารถเก็บกักน้ำาฝนโดยเปลี่ยน<br />

เส้นทางจากระบบบำาบัดน้ำาเสียไปยังแหล่งน้ำา<br />

โดยการซึมผ่านพื้นดิน เหมาะสำาหรับเมืองที่<br />

มีพื้นที่ในเมืองที่เก็บน้ำาฝนไว้ก่อนที่จะค่อย ๆ<br />

กรองและระบายออกไป YiBrick จึงเหมาะกับ<br />

การใช้งานใช้กลางแจ้งต่าง ๆ เช่น งานปูทาง<br />

เดินและสวน หรือใช้เป็นฐานของน้ำาพุ<br />

The building blocks can be a highly<br />

absorbent substitute for traditional<br />

cement bricks in many architectural<br />

contexts. This brick can collect rainfall<br />

and divert it from the sewage system,<br />

allowing it to seep into the earth and<br />

replenish the water table. It is ideal for<br />

sponge cities—urban areas designed<br />

to store stormwater and gradually filter<br />

and release it. It is also suitable for<br />

outdoor applications such as pavement<br />

areas and gardens, or as a base for<br />

water fountains.<br />

yidesigngroup.com


<strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

asa Platform Selected<br />

Materials <strong>2023</strong><br />

129<br />

OUT<br />

NOW!<br />

asa Platform Selected Materials<br />

<strong>2023</strong> is a new materials<br />

and product selection programme<br />

to introduce new<br />

materials to watch in architecture<br />

and construction, organised<br />

by the asa <strong>Journal</strong> and<br />

the asa Platform of the Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage. This<br />

book is the official catalogue<br />

of the project, which collects<br />

the interesting stories of<br />

materials from 13 awardwinning<br />

brands in various<br />

categories for the year <strong>2023</strong>.<br />

asa Platform Selected Materials<br />

<strong>2023</strong> คือโครงการคัดเลือกวัสดุและ<br />

ผลิตภัณฑ์ ใหม่ สําหรับงานสถาปั ตย-<br />

กรรมbและการก่อสร้างที่น่าจับตามอง<br />

ซึ ่งจัดโดยวารสารอาษา และ asa<br />

Platform ของสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

หนังสื อฉบับพิเศษเล่มนี้เป็ นสู จิบัตร<br />

อย่างเป็ นทางการของโครงการ ซึ ่ง<br />

รวบรวมที่มาและเรื่องราวที่น่าสนใจ<br />

ของวัสดุจาก 13 แบรนด์ที่ได้รับรางวัล<br />

ในสาขาต่าง ๆ ประจําปี <strong>2023</strong><br />

Download the e-book here


130<br />

PROFESSIONAL<br />

Junsekino<br />

Architect<br />

and Design<br />

The image and operational procedures of the architecture<br />

andinterior design firm Junsekino Architect and Design<br />

could be aptly described as simple, understated, and<br />

discreet, yet concealing something to be desired while also<br />

fostering the potential for flexible material utilization in<br />

numerous innovative ways. Under the leadership and<br />

direction of Jun Sekino, the studio investigates the diverse<br />

possibilities of materials through a process of design<br />

experimentation that pushes the limits of each material’s<br />

potential and further expands those limits by combining<br />

diversity and material limit pushing. The practice also<br />

emphasizes interaction and conforms to the architectural<br />

language that is undergoing rapid change in the digital age,<br />

albeit subtly and without explicit declaration.<br />

Text: Surawit Boonjoo<br />

Photo Courtesy of Junsekino Architect and Design,<br />

Spaceshift Studio and Pirak Anurakyawachon except as noted


1<br />

01<br />

บรรยายกาศ<br />

ภายในออฟฟิศ


132<br />

professional<br />

2<br />

02<br />

ภาพถ่ายรวิมทีมงาน<br />

“อยากเป็็ นสถาปน ิกคุุณก็ต้้องเอาตััวเองไป็อย่<br />

ท่่ามกลางสถาปน ิก”<br />

หลัังจากสำำาเร็จการศึกษาจากคณะสำถาปัตยกรรมศาสำตร์<br />

มหาวิิทยาลััยรังสิิต ในช่่วิงปี 2000 จูน เซคิโน เริมต้น<br />

วิิช่าชีีพด้้วิยการทำางานในบริษัทรับเหมาก่อสร้้าง ซึงใน<br />

การทำางานได้้ช่่วิยให้เขาตระหนักถึงควิามคลัาด้เคลั่อน<br />

ไม่ลังรอยระหว่่างควิามคิด้ในการออกแบบกับกระบวินการ<br />

ก่อสร้้างจริง “สำิงที เราเขียน สำิงที เราคิด้ กับสำิงทีหน้างานเป็น<br />

นันเป็นคนลัะโลักกันเลัย” เขากล่่าวิ อาจกล่่าวิได้้ว่่า น่นับเป็น<br />

จุด้เริ มต้นที เขาเริ มเข้าใจควิามสััมพันธ์์ระหว่่างงานออกแบบ<br />

กับการก่อสร้้าง หลัังจากนันเขาเริมขยับขยายขอบเขต<br />

ควิามสำนใจของตนเองไปสู่่งานออกแบบภายใน จูนจึงตัด้สำินใจ<br />

เปลัียนรูปแบบการทำางานไปสู่่การเรียนรู้ทางด้้านแนวคิิด้<br />

การออกแบบกับสำำนัักงานต่างช่าติในโครงการหนองงูเห่า<br />

จากการทำางานครังน่เขาได้้เรียนรู้สำิงใหม่ ๆ ทังการอ่าน<br />

TOR การจัดทำำา appendix ทักษะการติดต่่อประสำานงาน<br />

รวิมถึงการจัด้การทีเป็นระบบ ก่อนย้ายไปร่วิมงานกับ<br />

สำำนัักงานออกแบบทีมุ่งเน้นไปทางด้้านแนวคิิด้ในการ<br />

ออกแบบผ่่านงาน master plan แลัะการออกแบบรีสำอร์ต<br />

“น่เป็็ นจุุดเป็ล่ยนท่่เราไป็ท่ำางานในบริษััท่ออกแบบภายใน<br />

เป็็ นสถาปน ิกและนักออกแบบภายในอย่เป็็ นเวลากวา<br />

4 ปีี จุนกระท่ังเริมเร่ยนร่้วิธีีคิิดแบบนักออกแบบภายใน<br />

วาเขาคิิดอยางไรกัน ป็ระกอบกับในช่่วงเวลาดังกลาว<br />

ผมเริมม่งานออกแบบสวนตััว จึึงตััดสินใจุออกจุาก<br />

บริษััท่เดิม เป็็ นฟร่แลนซ์์อย่ 2 ปีี สำาหรับผมแล้วนับวา<br />

เป็็ นเวลาท่่คุ้มค่่าเป็็ นอยางยิง เน่องจุากเราได้มานัง<br />

สรุปถ ึงระยะเวลาการทำำางาน 8 ปีี ท่่ผานมาของตััวเอง<br />

และทำำาให้ผมต้ระหนักวา เราได้เร่ยนร่้ท่ักษัะต่่าง ๆ<br />

ท่ังท่างด้านการป็ระสานงาน และการจััดการต่่าง ๆ ท่่<br />

พร้อมสำาหรับการเปิิ ดสำน ักงานของตััวเองมาอยาง<br />

เพ่ยงพอ”<br />

ด้้วิยประสำบการณ์ควิามเข้าใจในการทำางานทังทางด้้าน<br />

การออกแบบร่วิมกับก่อสร ้าง แลัะแนวิทางการสร ้างสำรรค์<br />

ผ่สำานองค์ควิามรู้ใหม่ ๆ เข้ากับงานออกแบบทังอาคาร แลัะ<br />

การตกแต่งภายใน ในปี 2010 จูนจึงผัันตนเองออกจาก<br />

จุด้ทีเป็นอยู่แลัะเริ มต้นเปิด้สำำนัักงาน Junsekino Architect<br />

and Design ขนาดย ่อม ๆ ขึนมา โด้ยงานแรกนันเป็นงาน<br />

ปรับปรุงอาคารทีพักอาศัย ซึงนำาไปสู่การจัดจ ้างพนักงาน<br />

คนแรก ในช่่วิงระยะแรกของการดำำาเนินงานของสำำน ักงาน<br />

จูนเล่่าเพิมเติมว่่า ในช่่วิงนันทีมีงานเข้ามา 70-80 % มักจะ<br />

พ่วิงมาพร้อมกับการออกแบบตกแต่งภายในเสำมอ เน่องด้้วิย<br />

ขอบเขตของโครงการทีมีจำานวินมากยิงขึน รวิมถึงขนาด้<br />

แลัะรายลัะเอียด้ทีหลัากหลัาย จึงมีการปรับเปลัียนย้าย<br />

สำถานที แลัะรับพนักงานเข้ามาดููแลังานในแต่ลัะส่่วินมาก<br />

ยิงขึน


JUNSEKINO ARCHITECT AND DESIGN<br />

133<br />

03<br />

บรรยายกาศการ<br />

ทำางานในออฟฟิศ<br />

“If you want to be an architect, you have to surround yourself with architects.”<br />

After graduating from Rangsit University’s Faculty of Architecture, Jun Sekino started working<br />

for a construction company in the year 2000. He saw a disconnect between ideas and the<br />

actual construction process while working. “What we draw, what we think, and what the work<br />

at site really is—it’s a different world,” he went on to say. This was the first time he saw the<br />

connection between design and construction. He then began to broaden his interests to<br />

include interior design. Jun decided to change his work style in order to learn about design<br />

concepts with foreign offices in the Second Bangkok International Airport project, where<br />

he learned new things such as understanding TOR, preparing documents, and coordination<br />

skills such as systematic management, before moving on to work with a design office that<br />

focuses on design concepts through master plans and resort design.<br />

“This was a turning point for me to work for an interior design<br />

company. I was an architect and interior designer for over 4 years<br />

until I started to know how to think like an interior designer. In<br />

addition, during this period, I began to do personal design work.<br />

So I decided to leave the company I worked with and work as a<br />

freelancer for two years. That was a very worthwhile time for me<br />

because I have come to reflect on my work in the past 8 years, and<br />

it made me realize that I had learned various skills in terms of<br />

coordination and various management skills that are adequately<br />

ready to open my own office.”<br />

Jun decided to start his own practice as a small office, Junsekino Architect and Design,<br />

in 2010 with expertise and understanding of both design and construction and creative<br />

approaches to incorporating new knowledge into the design of architecture and interiors.<br />

The first project was refurbishing a residential structure. As a result, the first employee was<br />

hired. Jun said that during the first phase of the office’s activities, over 70-80% of the projects<br />

coming in came combined with interior design. Later, due to the project’s expanding scope,<br />

which encompassed a variety of sizes and details, there was a change in moving the location<br />

and hiring additional staff to handle work in each part.<br />

3<br />

“What we think we are not skilled or familiar with, we choose not to do.”<br />

When it reaches to a certain point, the team is growing. The work was then divided into two<br />

areas by the office: architecture and interior design. It wasn’t until later that it was divided<br />

into two offices. One partner will be in charge of interior design work, with a team of about<br />

seven interior designers. Jun will regulate and supervise design concepts with a team of two<br />

senior architects, one of them will oversee design and management and the other will supervise<br />

site work and technical work. The team of interior designers and architects will probably<br />

to comprise more than 20 people.<br />

“When people view our works, they may pass by without realizing it. They might not<br />

realize these are designs. Simply put, we make designs that permeate and integrate<br />

into their surroundings. We are no longer concentrating on a single stage of the design<br />

process. Because working alone might be manageable. When we work as a larger team,<br />

however, there are many communication and interpretation issues that have an impact<br />

on expansion or development, leading to more diverse alternatives.”


134<br />

professional<br />

04<br />

ภาพโมเด้ลัตัวิอย่าง<br />

ผ่ลังานออกแบบ<br />

4<br />

“อะไรท่่เรามองวา เราไมเช่่ยวช่าญหร่อคุ้้นเคุย เราก็<br />

เล่อกท่่จุะไมท่ำา”<br />

เม่อถึงช่่วิงขณะหนึง ทีมเริมมีขนาด้ใหญ่่ขึน สำำนัักงานจึง<br />

เริมจัด้สำรรแบ่งส่่วินงานออกเป็นสำองส่่วิน ค่องานสำถาปัตย-<br />

กรรมแลัะงานออกแบบตกแต่งภายใน กระทังภายหลัังก็ได้้<br />

แยกออกเป็นสำองสำำนัักงาน รับผิิด้ช่อบดููแลัแต่ลัะส่่วินงาน<br />

อย่างชััด้เจน โด้ยส่่วินทีจัด้การงานด้้านงานออกแบบภายใน<br />

จะรับผิิด้ช่อบดููแลัโด้ยพาร์ทเนอร์ ซึงมีทีมนักออกแบบภายใน<br />

อยู่ราวิ 7 คน แลัะสำำาหรับงานสำถาปัตยกรรม จูน ก็จะเป็น<br />

ผู้ควิบคุมแลัะดููแลัแนวิทางการออกแบบร่วิมกับทีม โด้ยจะ<br />

มีสำถาปนิกอาวุุโสำ 2 คน ซึงคนหนึงคอยดููแลัการออกแบบ<br />

แลัะการจัด้การ แลัะอีกคนดููแลัเร่อง site งาน แลัะงานทาง<br />

ด้้านเทคนิค โด้ยทีมนักออกแบบภายใน แลัะสำถาปนิกของ<br />

ทังสำองส่่วินงาน รวิมกันแล้้วิจะมีจำานวินกว่่า 20 คน<br />

“บางคุรังเม่อผู้้คนเห็นก็อาจุเดินผานงานออกแบบของ<br />

เราไป็เลย เพราะพวกเขาอาจุจุะไมคุำน ึงวา สิงเหลาน่<br />

คืืองานออกแบบ พ่ ดงาย ๆ ก็คืืองานออกแบบของเรา<br />

จุะแท่รกซึึม และกล่นเป็็ นเน่อเด่ยวกันกับบรรยากาศ<br />

โดยรอบ ในช่่วงหลังของการทำำางานออกแบบมาน่ เรา<br />

ไมได้มุงเน้นไปย ังจุุดใดจุุดหนึ งของการทำำางานออกแบบ<br />

อ่กแล้ว เน่องจุากถ้าหากเราทำำางานเพ่ยงคุนเด่ยวสิงนัน<br />

อาจุจุะสามารถจััดการได้ หากแต่่เม่อเราทำำางานเป็็ นทีีม<br />

ท่่เริมใหญขึ น จึึงม่เร่องของการส่ อสารและการต้่คุวาม<br />

ต่่าง ๆ เข้ามาเก่ยวเน่อง เข้ามาม่ผลต่่อการขยับขยาย<br />

หร่อปร ับพัฒนาอันนำาส่คุวามเป็็ นไป็ได้อันหลากหลาย<br />

ยิงขึน”<br />

จากประสำบการณ์การทำางานออกแบบทีพักอาศัย อัน<br />

เกียวิเน่องกับวิิถีการดำำาเนินชีีวิิตของผู้้คน ยังคงสำะท้อนผ่่าน<br />

การจัด้การของสำำนัักงานด้้วิยนิยาม “ควิามเป็นครอบครัวิ”<br />

อีกสำิงซึงเขาต้องการขับเน้นให้เกิด้ขึนในบรรยากาศของ<br />

การทำางาน แม้กระทังสำถานทีตัง ก็ยังแทรกอยู่ท่ามกลัาง<br />

บ้านเร่อนอันเงียบสำงบของผู้คน อาจพูด้อย่างตรงไปตรงมา<br />

ได้้ว่่า สำำนัักงาน Junsekino Architect and Design มี<br />

แนวิทางการออกแบบทีดำำาเนินอยู่บนควิามสััมพันธ์์ระหว่่าง<br />

สำถาปัตยกรรมกับควิามเข้าใจกับการใช้้ชีีวิิตของผู้อยู่อาศัย<br />

แลัะไม่ลืืมทีจะคำนึึงถึงเร่องของของสำภาพแวิด้ลั้อม ภูมิอากาศ<br />

แลัะควิามเป็นของธ์รรมช่าติทีมักปรวินแปรของประเทศ<br />

“ด้้วิยสำภาพอากาศเขตร้อนของประเทศไทย เราก็อยาก<br />

ทำางานออกแบบสำถาปัตยกรรมทีสำามารถอยู่ในนำาได้้ พร้อม<br />

เผ่ช่ิญก ับแสำงแดดที ่แรงได้้” เขากล่่าวิเน้นยำา แลัะแน่นอน<br />

ว่่าแม้แนวคิิด้ในการทำางานออกแบบจะดููเรียบง่าย อีกทัง<br />

เป็นไปตามครรลัอง หากแต่สำำนัักงานแห่งน่ก็ปรับประยุกต์<br />

แลัะพัฒนาชุุด้ควิามคิด้ด้ังกล่่าวร่่วิมกับการทด้ลัองทางวััสำดุ้<br />

อีกทังแนวิทางต่าง ๆ ทีปรับเปลัียนไปตามแต่ลัะช่่วิงเวิลัา<br />

อยู่เสำมอ<br />

“ปร ัช่ญาการทำำางานสำาหรับเราคืือ การต้อบรับกับ<br />

กระแสการเป็ล่ยนไป็ในบางเร่องในช่่วงเวลานัน ๆ<br />

อยางในปีี 2010 หร่อ 2020 ก็แต้กต่่างกัน ท่ังในเร่อง<br />

ของการจััดการของสำน ักงาน เม่อสิบปีี กอนกับสิบปีี<br />

ให้หลัง ก็ม่การจััดการท่่แต้กต่่างจุากกัน เราโต้้ต้อบ<br />

ระหวางทััศนคุต้ิของเรา เข้ากับโลกของการออกแบบ<br />

การคุุยงานกับล่กค้้า รวมเร่องราคุาวัสดุ และการ<br />

จััดการ คืือเราไมจุำาเป็็ นต้้องม่แกนกลางเหน่ยวแนน<br />

และสมบ่รณ์แบบคุอยนิยามคุวามเป็็ นเรา เราร่้สึกวา<br />

งานเราแต่่ละงานนันก็มีีความไมซ์ำ ก ัน เพราะแต่่ละ<br />

งานก็ได้สอดรับไปก ับคุวามเป็็ นไป็ในด้านต่่าง ๆ ของ<br />

ช่่วงเวลานัน ๆ ท่ังคุวามคิิดของล่กค้้า สถานท่่ต้ัง วัสดุ<br />

ท่ังหมดล้วนเข้ามาม่ผลต่่อการทำำางานออกแบบในแต่่


JUNSEKINO ARCHITECT AND DESIGN<br />

135<br />

With all of those experiences working in residential design in response to people’s lifestyles,<br />

we can see it reflected in the office management by definition: “family.” That is something<br />

else he wants to emphasize in terms of how he wants his work environment to be. Even the<br />

office is tucked away in a quiet residential neighborhood. Junsekino Architect and Design has<br />

a design approach centered on the interaction between architecture and the understanding<br />

of its residents’ life, but it also considers the environment, climate, and the country’s natural<br />

oscillations.<br />

5<br />

“With the tropical weather in Thailand, we also want to work on designing<br />

architecture that can be in the water and ready to face the strong sunlight,”<br />

he went on to say. And, of course, the concept of design work appears straightforward;<br />

it follows the established procedure. However, this office has adapted and refined this concept<br />

through material experimentation. Furthermore, they are receptive to new approaches that<br />

are regularly altered to each period.<br />

“Our working philosophy is to respond to shifting trends in specific issues.” In terms<br />

of office management, for example, 2010 differed from 2020. The office was operated<br />

differently ten years ago and ten years later. There are always exchanges between<br />

our perspectives and the design world, conversations with customers, material costs,<br />

and management. We don’t require a unified core or ultimate perfection to describe<br />

ourselves. We believe that each of our jobs is unique since it is influenced by what is<br />

going on in many areas at the moment, such as the customer’s ideas, location, and<br />

materials, all of which always come into play to influence the design work at that time.<br />

So we established our office in the shape of a mirror. The reflection is a different color<br />

than the image on the opposite side, which could be according to client questions,<br />

project location, or even our interests.”<br />

05<br />

ไซต์ก่อสำร้างบ้านไอซ์ซึ<br />

06<br />

บ้านโนบิตะ<br />

“We are probably like a mirror reflecting colors different from the picture in<br />

front of us.”<br />

Junsekino Architect and Design’s work design goes hand in hand with experimenting with the<br />

potential of materials, always looking for other possibilities in various aspects of materials that<br />

are not limited by the prevalent concept of that material, with a way of thinking based on traditional<br />

practices. Instead, they frequently carry out design work with procedures that extend<br />

beyond that material’s bounds before exploring new possibilities in other materials. In some<br />

projects, however, they chose to mix and match, experimenting with compatibility to find new<br />

conversations with a wide range of materials.<br />

6<br />

“For instance, we were once intrigued by steel.” Until a certain<br />

point, we would continuously develop and experiment, and we<br />

believe that is sufficient. Although we have not lost interest in<br />

those endeavors, our focus has transitioned to alternative pursuits.<br />

We once had an interest in constructing houses from bricks,<br />

so we continued to do so, progressing from small brick houses to<br />

medium and large undertakings such as office buildings, using<br />

bricks and mortar until bricks no longer required mortar. The same<br />

holds true regarding woodworking.”


136<br />

professional<br />

ช่่วงเวลาอย่เสมอ ผมจึึงร่้สึกวา เราได้จััดวางสำน ักงาน<br />

เป็็ นเหม่อนกระจุกเงาบานหนึ ง ท่่ส องสะท้้อนเป็็ นส่สัน<br />

แต้กต่่างไป็จุากภาพด้านต้รงกันข้าม จุากโจุท่ย์ของ<br />

ล่กค้้า หร่อจุากท่่ต้ังโคุรงการ หร่อจุากคุวามสนใจุของ<br />

พวกเรา”<br />

“เราคุงเป็็ นเหม่อนกับกระจุกเงาส องสะท้้อนส่สันท่่<br />

แต้กต่่างจุากภาพต้รงหน้า”<br />

Junsekino Architect and Design มักจะทำางานออกแบบที<br />

สำอด้ประสำานร่วิมไปกับการทด้ลัองทางด้้านศักยภาพของ<br />

วััสำดุ้อยู่เสำมอ ๆ โด้ยจะพยายามมุ่งมองหาควิามเป็นอ่นจาก<br />

ควิามเป็นไปได้้ในด้้านต่าง ๆ ของวััสำดุ้ ทีไม่จำกััด้กรอบ<br />

ควิามคิด้ในการทำางานบนวััสำดุ้ ด้้วิยวิิธีีคิด้ทีวิางอยู่บนขนบ<br />

การใช้้งานหร่อทำางานแบบเดิิม ๆ พวิกเขามักจะดำำาเนินการ<br />

ออกแบบร่วิมไปกับกระบวินการข้างต้นกระทังสุุดขีีดข้้อจำกััด้<br />

ของวััสำดุ้หนึง ก่อนโยกย้ายมองหาควิามเป็นไปใหม่ในวััสำดุ้<br />

อ่น ๆ ในลำำาด้ับถัด้ไป อย่างไรก็ตามในบางโครงการ พวิกเขา<br />

ก็เลืือกผ่สำมผ่สำานทด้ลัองควิามเข้ากันได้้ เพ่อมองหา<br />

บทสำนทนาใหม่กับหลัากหลัายวััสำดุ้ในคราวิเดีียวก ัน<br />

“อยางผลงานบ้านโนบิต้ะ ก็จุะเป็็ นการรวมกันระหวาง<br />

งานเหล็ก งานไม้ อิฐ งานปููนและมาจุบรวมกันเป็็ นบ้าน<br />

หร่อโคุรงการสำน ักงาน MTL เราก็จุะพัฒนาวัสดุอยาง<br />

อิฐมาเร่อย ๆ จุนถึงงานเหล็ก การใช้้เหล็กรวมกับไม้<br />

รวมกับอิฐท่่กำล ังทำำาอย่ ม่เพ่ยงการออกแบบในช่่วงแรก<br />

ของเราเท่่านันท่่จุะเล่อกใช้้เพ่ยงวัสดุใดวัสดุหนึ ง อยาง<br />

บ้านอิฐท่่งามวงศ์วาน จุนกระท่ังเร่ยกได้วามีีความ<br />

ถนัดถึงเช่่ยวช่าญการทำำาคุวามเข้าใจถ ึงรููปแบบการ<br />

กอ งานท่างเท่คุนิคุของมัน จุนนำาไป็ส่การทำำางาน<br />

ผสมผสานไปก ับวัสดุอ่น ๆ คืือเป็็ นการก้าวข้ามผาน<br />

ระหวางวัสดุ เหล็ก อิฐ ปููน กระจุกนันเอง”<br />

07<br />

บรรยากาศโด้ยรวิม<br />

ของบ้านไอซ์ซึ<br />

“ตััวอยางเช่่นในช่่วงหนึ งเราสนใจุเร่องเหล็ก เราก็จุะ<br />

ท่ดลอง และพัฒนาไป็เร่อย ๆ จุนถึงจุุดหนึ งเราก็จุะพอ<br />

ในคุวามหมายท่่วา ไมใช่่เราไมต้้องการท่่จุะเลิกทำำา<br />

สิงเหลานัน แต่่เราได้ปร ับเป็ล่ยนไปย ังคุวามสนใจุอ่น<br />

ในช่่วงเวลานัน ๆ อยางช่่วงหนึ งเราสนใจุท่ำบ ้านด้วย<br />

อิฐ เราก็จุะทำำาไป็เร่อย ๆ จุากบ้านอิฐหลังขนาดยอม<br />

จุนกระท่ังถึงงานในขนาดกลางและใหญอยางอาคุาร<br />

สำน ักงาน นับต้ังแต่่การทำำางานระหวางอิฐกับปููน<br />

จุนไปถ ึงอิฐท่่ไมใช้้ปููนอ่กแล้ว รวมไปถ ึงกรณ่งานไม้<br />

ก็เช่่นเด่ยวกัน”<br />

จูน บอกเล่่าเน้นยำาเสำมอถึงทิศทางควิามสำนใจของสำำนัักงาน<br />

ทีให้ควิามสำนใจในการทด้ลัองแลัะขับเน้นศักยภาพของวััสำดุ้<br />

“เราสำนใจในธ์รรมช่าติของวััสำดุ้อยู่แล้้วิ แต่เราจะไปให้สุุด้ทาง<br />

หร่อด้้วิยวััสำดุ้ อย่างอิฐแลัะเหล็็ก นันจะสำามารถเป็นอะไร<br />

ได้้อีก” เห็นได้้ว่่า ในการทำางานออกแบบของเขาไม่เพียงแค่<br />

เป็นการออกแบบตัวิอาคารให้ตอบรับกับการใช้้งานด้้วิย<br />

ควิามเรียบง่าย ทีแฝงการทำางานอันขะมักเขม้นของการ<br />

ประกอบรวิมหร่อการจัด้การกับวััสำดุ้ อีกนัยหนึ งค่อนอกจาก<br />

จะออกแบบอาคารแล้้วิ พวิกเขายังออกแบบการถักทอของ<br />

พ่นผิิวิจากการทำางานของวััสำดุ้ไปพร้อมกัน ๆ สำถาปัตย-<br />

กรรมเหล่่านันจึงถูกนำาเสำนอด้้วิยท่วิงท่า แลัะภาษาทีขยับ<br />

ขับเคลั่อน โยกย้ายอยู่ตลัอด้เวิลัา งานออกแบบของ<br />

Junsekino Architect and Design จึงเป็นสำิงทีไม่แน่นิง<br />

แลัะพร้อมทำางานไปในหลัากหลัายมิติ ไกลัเกินกว่่าเพียง<br />

การออกแบบกับสำถาปัตยกรรม<br />

7


JUNSEKINO ARCHITECT AND DESIGN<br />

137<br />

8<br />

08<br />

มุมมองต่าง ๆ ของ<br />

โมเด้ลับ้านไอซ์ซึ<br />

Jun has consistently underscored the office’s commitment to experimentation and exposing<br />

the capabilities of materials. “Of course, we are interested in the material, but we’ll go all<br />

the way with materials like bricks and steel to explore what else they can be.” His work<br />

demonstrates that it is not sufficient to design a structure in such a way that simply begs the<br />

question of how it will function; rather, it requires skillful assembly and manipulation of materials.<br />

Alternatively stated, they generate the interweaving of surfaces via the interaction of materials,<br />

so that the architecture is represented by gestures and a language that is perpetually viable,<br />

ever-changing, and dynamic. The designs of Junsekino Architect and Design necessitate<br />

greater stability. It is prepared to function in numerous dimensions outside of architecture<br />

and design.<br />

“Like Nobita House, it was built from a variety of materials, including steel, wood,<br />

brick, and concrete.” We proceeded to develop materials such as brick and steel<br />

while working on the MTL office building. We selected to work on only one material<br />

in our early design stage for the mixed-use of steel and wood with bricks that we are<br />

working on, like in the case of the brick house at Ngamwongwan. Only after we have<br />

a true understanding of the formation patterns and its technical work will we begin<br />

to employ it in conjunction with other materials, that is, crossing over between steel,<br />

bricks, cement, and glass.”<br />

“complete, like incomplete.”<br />

Another fascinating example is the design of the Ngamwongwan brick house. It reveals how<br />

the material was brought out in a finished shape, with no need for further refinement once<br />

the building is completed. A building’s surface is filled with individual bricks and shaped into<br />

a line. That is, the building’s walls have begun to work. However, with a more completely tidy<br />

look, the inconsistencies of the building appeared incomplete, encouraging a feeling of<br />

oldness from the minute it was finished. Jun further stated that in this project, the design team<br />

collaborated directly with the builders, consisting of only three people who worked closely<br />

together with them throughout the project. As a result, it enables them to learn about the depth<br />

of work, nature, and possibilities from a new perspective. Then, in the following step, they<br />

apply it to design work in other projects and benefit from testing the material.


138<br />

PROFESSIONAL


139<br />

GREENDWELL 09<br />

รายลัะเอียด้การตัด้กัน<br />

ของวิัตถุบนรัวิแลัะพื้นผ่ิวิ<br />

เปลั่อกอาคาร<br />

9


140<br />

professional<br />

“พอเราร่้วาอิฐม่ข้อด่ข้อเส่ยอยางไร ในงานท่่สอง เราก็<br />

เริมนำอ ิฐกลับมาปร ับใช้้อ่กคุรัง ในงานออกแบบอาคุาร<br />

สำน ักงาน MTL สำาหรับผมแล้ว ผมมองวา อิฐม่ข้อด่คุ่อ<br />

มันม่คุุณสมบัติิเป็็ นท่ัง solid ได้ และ void ไป็พร้อม ๆ กัน<br />

คืือในขณะท่่สร้างคุวามเป็็ นสวนตััวป็กปิิ ดพ่นท่่ภายใน<br />

ก็สามารถช่่วยระบายอากาศไป็ได้ด้วยเช่่นกัน อ่กท่ัง<br />

ยังม่คุุณสมบัติิท่างด้านร่ป็ลักษณ ์ท่่อาจุกลาวได้วาอย่<br />

เหน่อกาลเวลา คืือ เม่อแล้วเสร็จก ็ด่ม่คุวามเกาอย่ในตััว<br />

แต่่แรก โดยท่่ผลงานออกแบบสำน ักงาน MTL น่เราได้<br />

ใช้้กระบวนการกออิฐใน frame แท่นการใช้้อิฐกาวแล้ว<br />

โดยทำำาหน้าท่่เป็็ น screen และเราก็ปร ับพัฒนาการ<br />

ใช้้วัสดุอยางอิฐมาต้ลอดระยะเวลา 5-6 ปีี จุนเข้าใจุ<br />

ถึงการจััดการกับอิฐในรููปแบบต่่าง ๆ อยางจุะให้อิฐ<br />

ลอยจุะต้้องทำำาอยางไร หร่อจุะให้อิฐติิดอย่กับพ่นต้้อง<br />

ทำำาในรููปแบบไหน รวมถึงข้อด่ และข้อเส่ยของอิฐใน<br />

รููปแบบต่่าง ๆ”<br />

10<br />

โมเด้ลับ้านอิฐ<br />

งามวิงศ์วิาน<br />

“เสร็จุสรรพแต่่ไมสร็จุสมบ่รณ์(แบบ) (complete but<br />

10<br />

uncomplete/ unperfected)”<br />

ผ่ลังานออกแบบบ้านอิฐงามวิงศ์วิาน เป็นอีกหนึงตัวิอย่างที<br />

ค่อนข้างน่าสำนใจ ซึงเผ่ยให้เห็นถึงการจัด้การดึึงศักยภาพ<br />

ของวััสำดุ้ออกมานำาเสำนอในรูปลัักษณ์ทีเสร็็จสำรรพ โด้ยไม่ต้อง<br />

ปรับแต่งเม่อก่อแล้้วิเสร็็จ ค่อเม่อผิิวิของอาคารถูกวิางต่อ<br />

ด้้วิยอิฐแต่ลัะก้อนแลัะประกอบขึนเป็นแนวิ ก็เรียกได้้ว่่า<br />

ผนัังของอาคารได้้เริ มต้นทำางานแล้้วิ แต่ด้้วิยลัักษณะทีไม่ได้้<br />

เรียบร้อยสำมบูรณ์แบบ ควิามลัักลัันของควิามไม่แนบเน่ยน<br />

ของการก่อ จึงกลัายมาเป็นควิามไม่แล้้วิเสร็็จ ทีมาช่วินให้เกิด้<br />

บรรยากาศของควิามเก่านับตังแต่ตอนเสร็็จสำิน จูนเล่่าเสริิมว่่า<br />

ในงานออกแบบน่ได้้ร่วิมทำางานกับช่่างโด้ยตรง โด้ยทำางาน<br />

ร่วิมกันทีมช่่างทีมีเพียง 3 คนเท่านัน ด้้วิยการทำางานอย่าง<br />

ใกล้้ชิิดกัับช่่างตลัอด้โครงการ จึงเอ่อให้พวิกเขาสำามารถ<br />

เรียนรู้ขอบเขตการทำางาน ธ์รรมช่าติ แลัะศักยภาพในมุมมอง<br />

ที แปลักไปกว่่าเดิิม ก่อนนำาไปปรับใช้้กับการทำางานออกแบบ<br />

ในโครงการอ่น ๆ ทียังคงไม่ลัะทีจะทด้ลัองวััสำดุ้ในขันถัด้ไป<br />

ด้้วิยเช่่นกัน<br />

นอกจากการทำางานกับการทด้ลัองมองหาศักยภาพของอิฐ<br />

ทีดำำาเนินมาอย่างยาวินานแล้้วิ การทำางานของ Junsekino<br />

Architect and Design ก็ยังคงดำำาเนินการขับเคียวิผ่ลัักดััน<br />

ร่วิมไปกับวััสำดุ้อ่น ๆ อีกมากมาย แลัะนอกเหน่อไปจากนัน<br />

พวิกเขาก็เลืือกทีจะมองหาทางเลืือกอ่น ๆ ประกอบควิบคู่<br />

อย่างการเลืือกใช้้วััสำดุ้ทด้แทนพ่นผิิวิทีต้องการ แลัะหาก<br />

ลููกค้าต้องการเพียงควิามสำวิยงามของวััสำดุ้ ก็ไม่มีเหตุผ่ลั<br />

เพียงพอทีจะเลืือกใช้้วััสำดุ้ดัังกล่่าวิอย่างเต็มกำาลััง ใช้้ใน<br />

รูปแบบของพ่นผิิวิหร่อกรอบนอกก็นับว่่าเพียงพอ อีกทัง<br />

ยังช่่วิยประหยัด้ในด้้านงบประมาณ โด้ยเฉพาะอย่างยิงช่่วิย<br />

เอ่อต่อการพัฒนาทางด้้านวััสำดุ้ ทีสำามารถปรับพัฒนา นำาไปสู่่<br />

การเกิด้ขึนของผ่ลัิตภัณฑ์์ใหม่ได้้อีกด้้วิย<br />

“ด้วยข้อจำำก ัดต่่าง ๆ ของวัสดุ นำาเราไป็ส่การจััดการ<br />

ผสานวัสดุท่่ม่อย่ในโลกเข้ามาใช้้งาน หากแต่่ปร ับใช้้ด้วย<br />

กลวิธี่ท่่แยบยล ป็ระกอบกับการปร ับเป็ล่ยนวิธีีการใช้้งาน<br />

ในรููปแบบดังเดิมของวัสดุ คืือเราช่่นช่อบท่่จุะหล่กเล่ยง<br />

การใช้้ต้ามคุุณสมบัติิอยางต้รงไป็ต้รงมา อยางแต่่เดิม<br />

ของเหลาน่อาจุจุะใช้้ถ่กใช้้งานกับพ่น เราก็เล่อกท่่จุะนำา<br />

ไป็ใช้้งานในบริบท่อ่น ๆ แท่น และในจุุดน่เองทำำาให้เราได้<br />

ไปร ่วมงานกับท่างผ่้ผลิตว ัสดุด้วยเช่่นกัน ท่ังผ่้ผลิตอ ิฐ<br />

เหล็ก กระจุก และกระเบ่อง เพ่อให้เกิดผลิตภ ัณฑ์์ ใหม ๆ<br />

ขึ นมา ซ์ึ งนับวาเป็็ นสิงท่่ค่่อนข้างนาสนใจุเป็็ นอยางส่ง<br />

สำาหรับการทำำางานของสำน ักงานของเรา”<br />

“เราไมได้มองสถาปัั ต้ยกรรมเป็็ นอาคุาร แต่่เรามองวา<br />

เป็็ นวัตถ ุช่ินหนึ งท่่ม่ขนาดใหญขึ น แล้วคุนเข้าไป็อย่ได้”<br />

บนทิศทางของแนวค ิด้ “สำถาปัตยกรรมเป็นวััตถุหนึงช่ินทีมี<br />

ขนาด้ใหญ่่” ช่่วิยทำาให้ Junsekino Architect and Design<br />

ไม่ได้้ยึดติิดกัับกรอบควิามคิด้แบบเดิิม ๆ ทีจูนได้้พูด้ไว้้


JUNSEKINO ARCHITECT AND DESIGN<br />

141<br />

“Once we understood the benefits and drawbacks of bricks, we began to use them again<br />

in the next project.” In designing the MTL office building, I believe that brick has an advantage<br />

in that it can make either solid or void walls; that is, it may create privacy and<br />

conceal the internal space while also helping to circulate the air. It also has the appearance<br />

traits that can be described as timeless; that is, when completed, it appears old<br />

from the start. Instead of using adhesive bricks, we put bricks in a frame for the MTL<br />

office project. It serves as a screen, and we have refined our use of materials such as<br />

bricks over the course of 5-6 years until we understand how to deal with bricks in various<br />

forms, such as how to make the bricks float or how to attach them to the floor, as well<br />

as the benefits and drawbacks of bricks in various forms.”<br />

12<br />

11<br />

11<br />

ภาพจำาลัองบรรยากาศ<br />

ของบ้านอิฐงามวิงศ์วิาน<br />

12<br />

มุมมองรายลัะเอียด้การ<br />

จัด้เรียงการทำางานวิัตถุ<br />

ของบ้านอิฐงามวิงศ์วิาน<br />

In addition to their ongoing exploration of the potential of brick, Junsekino Architect and Design<br />

continues to investigate other materials, looking for alternatives and selecting materials to<br />

replace the desired surface. And if the client is simply interested in the material’s beauty, there<br />

is no reason to use such materials to their full potential. It is sufficient to simply use it as a<br />

texture or crust. It also contributes to financial savings. It allows the development of materials<br />

that can be created, potentially leading to the birth of new products.<br />

“Material limitations drive us to integrate materials available in<br />

the world into use, but we cleverly combine them while changing<br />

the technique of use in the original form of the material.” That is,<br />

we prefer to avoid straightforward applications. Certain products,<br />

for example, were originally utilized on the floor but then utilized<br />

in different contexts. This led us to collaborate with material<br />

manufacturers, such as brick, steel, glass, and tile manufacturers,<br />

to develop innovative products, which is pretty exciting for our<br />

office’s work.”


142<br />

อย่างน่าสำนใจถึงการปรับพัฒนาการเลืือกใช้้วััสำดุ้ในอนาคต<br />

ไว้้ว่่า “เราอาจนำาเฟอร์นิเจอร์จำานวินหลัาย ๆ ช่ินเข้ามาร่วิม<br />

กันไว้้ แลัะกลัายเป็นบ้าน หร่อเราสำามารถนำมุ้งลัวิด้มาห่อ<br />

อาคารได้้ไหม” เห็นได้้ว่่า พวิกเขาเลืือกทีจะเริมต้นทำางาน<br />

จากจินตนาการซึงลั่นไหลัอยู่บนชุุด้ควิามคิด้หนึง ๆ ก่อน<br />

จัด้เรียงออกมาผ่่านควิามเป็นไปได้้ ไม่ใช่่การทำางานจาก<br />

ควิามเป็นไปได้้แล้้วิมองหาควิามเป็นอ่น<br />

น่จึงอาจเป็นทิศทางอันเป็นเอกลัักษณ์ของ Junsekino<br />

Architect and Design แห่งน่ ก็เป็นได้้ ซึ งอาจเป็นผ่ลัสำะท้อน<br />

จากการเปิดร ับแนวิทางใหม่ ๆ พร้อมกับควิามเข้าใจ แลัะ<br />

การร่วิมงานกับบุคลัากรที มีควิามสำด้ใหม่ทางควิามคิด้อยู่เสำมอ<br />

ควิามน่าสำนใจอีกอย่างหนึง ซึง จูน เซคิโน กล่่าวิทิงท้ายไว้้<br />

ในคำาถามถึงการปรับเปลัียนหร่อเตรียมควิามพร้อมสำำาหรับ<br />

บุคลัากรทีกำาลัังจะประกอบวิิช่าชีีพสำถาปนิกรุ่นใหม่จะต้อง<br />

professional<br />

จัด้การตนเองอย่างไร เขากลัับยอกย้อนกลัับด้้านเป็นว่่า<br />

ผู้้ประกอบวิิช่าชีีพอย่างเขาหร่อคนรุ่นก่อนต่างหากทีต้อง<br />

ปรับตัวิให้เข้ากับทังเทคโนโลยีีแลัะควิามเป็นไปของโลักที<br />

ขับเคลั่อนไปไม่หยุด้ยังน่<br />

“สำาหรับก้าวเดินต่่อไป็ในอนาคุต้ของเราก็จุะยังคุง<br />

ดำาเนินการท่ดลองมองหาคุวามเป็็ นไป็ได้อันหลากหลาย<br />

และแป็ลกใหมต้อไป็ โดยอาจุจุะไมได้ ไป็ในทิิศท่างท่่<br />

กว้างออก แต้ลุ มลึกยิงขึ นมากกวา และในระยะ 3-4 ปีี<br />

ต่่อไปก ็ จุะปร ับท่ังขนาดงานและแนวท่างการดำาเนินงาน<br />

ของสำน ักงานให้มีีความชััดเจุนมากยิงขึ น และเล่อก<br />

จุุดท่่เหมาะสมสำาหรับเรา สุดท้้ายสิงท่่สำาคุัญคืือสถา-<br />

ปัั ต้ยกรรมไมใช่่ทุุกอยางในช่่วิต้ เรายังม่มิติิอ่น ๆ อ่ก<br />

มากมายรายล้อม ให้คำำน ึงถึง และนำามาปร ับใช้้เข้ากับ<br />

สถาปัั ต้ยกรรมอ่กคุรังหนึ ง”<br />

13<br />

13<br />

มุมมองบริเวิณสำ่วิน Façade<br />

ของออฟฟิศ MTL<br />

14<br />

มุมมองต่าง ๆ ของโมเด้ลั<br />

ออฟฟิศ MTL 14


JUNSEKINO ARCHITECT AND DESIGN<br />

143<br />

“We don’t look at architecture as a building. But we see it as one larger object.<br />

And people can move in.”<br />

The notion that “architecture is one large object” assists Junsekino Architect and Design<br />

in not repeating itself. Jun had an intriguing insight into the future of material selection:<br />

“We may bring many pieces of furniture together and make a home. Or can’t we just wrap<br />

the building in mosquito netting?” They begin with imagination, which runs through a series<br />

of ideas before sorting through all of the possibilities. It is not about working from possibility<br />

and looking for otherness.<br />

15<br />

This could be Junsekino Architect and Design’s distinctive approach. It reflects being open to<br />

new perspectives, comprehending, and working with a team that is constantly coming up with<br />

new ideas. Jun Sekino noted that another intriguing aspect was how to change or prepare the<br />

next generation of architect people to manage themselves. He flipped the script and stated<br />

that it is professionals like himself and senior architects of older generations who must adapt<br />

to both technology and the dynamics of an ever-changing world.<br />

“As time goes on, we’ll keep experimenting, exploring new avenues, and remaining fresh.”<br />

It may not be broader in scope, but it will be more meaningful. Over the following 3-4<br />

years, both the scale of the work and the office’s operating guidelines will be altered to<br />

be clearer and get us closer to the proper position. The key thing to remember is that<br />

architecture is not everything in life. We still have a lot of other dimensions to think<br />

about and apply to architecture.”<br />

15<br />

การลังพื้นที่ตรวิจสำอบงาน<br />

ออกแบบขณะการก่อสำร้าง<br />

<strong>16</strong><br />

รายลัะเอียด้บริเวิณมุมอง<br />

จากด้้านหลัังสำ่วิน Façade<br />

ของออฟฟิศ MTL<br />

สุระวิท่ย์ บุญจุ่<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันมีความ<br />

สนใจด้านงานศิลปะ<br />

วัฒนธรรม ทั้งแบบ<br />

ประเพณีและร่วมสมัย<br />

Surawit Boonjoo<br />

Graduated from the<br />

Faculty of Archeology,<br />

Silpakorn University.<br />

His interest currently<br />

is in art and culture,<br />

both traditional and<br />

contemporary. <strong>16</strong>


144<br />

professional / studio<br />

BodinChapa<br />

Architects<br />

Bodin Mueanglue and Phitchapa Lothong<br />

จุุดเริ่่ มต้้นของ “BodinChapa Architects”<br />

เป็็ นอย่่างไริ่?<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : หลัังจากเราจบจากคณะสถา-<br />

ปัตยกรรม ศิิลัปะแลัะการออกแบบ สถาบัน<br />

เทคโนโลยีีพระจอมเกล้้าเจ้าคุณทหารลัาดกระบัง<br />

เราก็แยกย้ายกันไปทำางานของตัวเอง คุณป้อง<br />

เขาก็ได้มีโอกาสทำางานออกแบบร้านแรก คือร้าน<br />

Lann Tim ซึ่่งได้ดูแลัตังแต่ส่วนของการออกแบบ<br />

ไปจนกระทังการก่อสร้าง หลัังจากดูแลัโครงการ<br />

น้แล้้วเสร็จ แลัะพอมีประสบการณ์ประมาณหน่ง<br />

แล้้วจ่งเข้าออฟฟิศิเลัย แล้้วก็ทำางานกันอยู่สัก<br />

ระยะหน่ง จนรู้ส่กว่าอยากมารวมตัวทำาในสิงที<br />

ตนเองต้องการ อย่างงานสถาปัตยกรรมทีสนใจ<br />

จ่งเริมต้นเปิดสตูดิโอข่น ณ ตอนนัน แลัะพอ<br />

ทำางานอยู่กรุงเทพสักพักหน่งแล้้ว ก็รู้ส่กว่า<br />

สภาพแวดล้้อมไม่ได้เอือให้เราสามารถทำางาน<br />

ได้อย่างเต็มที ก็เลัยตัดสินใจมาทำางานกันอยู่<br />

ทีอยุธยา ซึ่่งเป็นบ้านเกิดของเราเอง แลัะหลััง<br />

จากเปิดสตูดิโอทีน้ได้สักหน่งปี น้อง ๆ ในทีม<br />

ก็เริมเข้ามาเรือย ๆ ราว 5-6 คน โดยส่วนตัว<br />

มองว่าก็จะอยู่กันไปอย่างน้อีกสักระยะหน่ง<br />

ช่วย่เล่่าถึึงแนวทางแล่ะป็ริ่ัชญาในการิ่ทำางาน<br />

ออกแบบของสตููด่โอให้้เริ่าฟัั งได้ ไห้ม?<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : ในการทำางานออกแบบ<br />

เราอยากทีจะแสดงเสน่ห์ของท้องถิ นให้มีความ<br />

ร่วมสมัยมากยิ งข่น โดยอาจจะผสมผสานความ<br />

หลัากหลัายของภูมิปัญญาท้องถินเข้ากับเทค-<br />

โนโลยีี ซึ่่งนับเป็นสิงทีเราค่อนข้างสนใจใน<br />

กระบวนการก่อสร้าง คือจะทำาอย่างไรให้<br />

สามารถใช้้วัสดุพืนถินมาผสานกับเทคโนโลยีี<br />

ได้อย่างลังตัว เพือเสริมสร้างประสิทธิภาพการ<br />

ทำางานระหว่างเรากับช่่างให้มากยิงข่ น โดยช่่าง<br />

ในพืนที เขามักจะใช้้เทคโนโลยีีบางอย่างไม่เป็น<br />

เราก็พยายามจะด่งเทคโนโลย ีต่าง ๆ เหล่่านัน<br />

มาใช้้งาน อย่างคุณป้องเองก็จะวางแผนในการ<br />

ดูหน้างานผ่านเทคโนโลย ีหรือโปรแกรมใหม่ ๆ<br />

แลัะอาจจะมีเครื องมือบางอย่างทีเราพยายามจะ<br />

เรียนรู้พร้อมไปกับช่่างเพือให้การทำางานเป็นไป<br />

อย่างราบรื นยิงข่ น<br />

นอกจากนันเราก็ยังอยากให้ผลังานทีออกมามี<br />

ความเรียบง่ายแลัะนำว ัสดุท้องถินมาใช้้ในการ<br />

ออกแบบ เพือให้เกิดมูลค่่าทางสายตาแลัะมุมมอง<br />

ต่อผู้เข้ามาใช้้งานพืนทีในหลัากหลัายมิติ แลัะ<br />

เราก็อยากพัฒนาความคิดไปเรือย ๆ โดยใน<br />

งานแต่ลัะงานเราก็จะพยายามตังคำาถามร่วม<br />

ไปกับผู้ใช้้อาคาร เพือให้การทำางานมีประสิทธิ-<br />

ภาพมากข่นแลัะเข้าใจถ่งวิธีการในการใช้้อาคาร<br />

รวมกันไปกับลููกค้า<br />

บด่นทริ่์ เมืองลืือ : แลัะเราก็อยากให้ทิศิทาง<br />

ของสถาปัตยกรรมแต่ลัะช้ินมีรูปแบบการเล่่า<br />

เรืองผ่านวัสดุทีอยู่รอบตัวร่วมกับเทคโนโลย ี<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : หากแต่ด้วยภาษาทีเป็น<br />

มนุษย์หน่อย โดยทีอาจมีความพิเศิษแต่ก็มี<br />

ความเรียบง่ายแฝงอยู่พร้อมกัน แลัะเน่องด้วย<br />

เราต้องทำางานกับไซึ่ต์ทีหลัากหลัายทังพืนที<br />

ภาคกลัาง ภาคเหน่อ เราจ่งมักเจอกับวิธีการ<br />

ทำางานทีค่อนข้างหลัากหลัายเช่่นเดียวกัน เราก็<br />

จะดูว่างานน้เราจะได้ร่วมงานกับใคร แล้้วเราก็<br />

จะได้วางแผนงานตั งแต่แรก อย่างเช่่นงานน้จะ<br />

ต้องทำางานร่วมกับช่่างในท้องถินแน่ ๆ เราไม่มี<br />

ทางได้ร่วมงานกับผู้รับเหมา ด้วยอาจจะติด<br />

ปัญหาทังเรื องงบประมาณ หรือการจัดหาผู้รับ<br />

เหมาก็ตาม เราก็จะวางแผนว่า เราจะสือสาร<br />

ออกมาผ่านตัวงานอย่างไร ด้วยภาษาทีช่่างจะ<br />

สามารถเข้าใจได้อย่างง่ายดาย แล้้วทีหน้างานก็<br />

สามารถให้เขาทำางานได้อย่างไม่ยากลำำาบาก ถ่ง<br />

แม้จะเป็นสิงทีพวกเขาไม่เคยทำา แต่ก็สามารถ<br />

ทำาให้พวกเขาสนุกร่วมไปกับสิงทีทำก็็จะนับเป็น<br />

เรื องทีดีมาก ๆ สำาหรับเรา<br />

มีโป็ริ่เจุกต์์ ไห้นทีคุุณรู้้ส ึกป็ริ่ะทับใจุในการิ่<br />

ทำางานออกแบบบ้าง?<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : จริง ๆ แล้้วประทับใจจำานวน<br />

มากเลัย แต่ก็ในรูปแบบทีแตกต่างกัน หากจะ<br />

ให้ลัองเลืือกส่วนทีประทับใจมาก ๆ เลัยก็จะเป็น<br />

งานช่่วงแรก ๆ ทีเราทำร่่วมกัน ก็คือป่าซึ่าง ซึ่่ง<br />

เป็นร้านกาแฟทีอยู่ที เชีียงราย เราออกแบบโดย<br />

ใช้้บานเกล็็ดไม้ทังตัวอาคาร โปรเจกต์น้เราก็ได้


BODINCHAPA ARCHITECTS<br />

145<br />

โอกาสจากญาติของคุณป้องที ต้องการทำร้้าน<br />

กาแฟขนาดใหญ่ โจทย์จริง ๆ ก็อาจจะเป็นอะไร<br />

ทีง่าย ๆ ถ่งอย่างไรก็ตามเราก็อยากตีความให้มี<br />

ความพิเศิษมากยิงข่นโดยทีอาคารยังคงความเป็น<br />

พืนถินอยู่ เห็นก็ไม่แปลักแยกจากสภาพแวดล้้อม<br />

โดยรอบ แต่จะทำาอย่างไรให้ผู้ใช้้บริการทีมีความ<br />

หลัากหลัาย อาจจะตังแต่เด็กจนถ่งผู้สูงอายุ<br />

สามารถรู้ส่กเข้าถ่งได้ง่าย เพราะฉะนั นรูปแบบ<br />

อาคารทีทำาออกมาก็จะมีช้ิ นส่วนของความเป็น<br />

พืนถินอยู่มาก แต่หากพิจารณาในองค์รวมก็<br />

จะเห็นภาษาทีมีความร่วมสมัยแลัะโมเดิร์น<br />

นอกจากนันเรายังได้ทดลัองทังในส่วนความ<br />

คิดแลัะการจัดการพืนที โดยเราได้จัดการพืนที<br />

เล็็ก ๆ ได้กระจายความสูงข่นไป ส่งผลัให้พืนที<br />

ภายในมีความน่าสนใจ เราจ่งมองว่างานช้ินน้<br />

เมื อเปิดใช้้งานก็มีผลต่่อผู้มาใช้้งานพอสมควร<br />

แลัะต่อเราเองก็นับเป็นโปรเจกต์ทีค่อนข้าง<br />

ประทับใจ<br />

บด่นทริ่์ เมืองลืือ : สำาหรับผมคือ Naya Café<br />

เพราะว่าเป็นงานทีเปิดโอกาสให้เราได้ทำางาน<br />

ร่วมกับทีมช่่างท้องถิน แล้้วเราก็ได้ซึ่่มซึ่ับกับ<br />

บรรยากาศิการเปลัียนแปลังโดยรอบในการ<br />

ทำางานร่วมกับสถาปัตยกรรม แลัะถ่งแม้ว่าใน<br />

เชิิงวัสดุ สถาปัตยกรรมแห่งน้จะใช้้วัสดุเป็นอิฐ<br />

ธรรมดา<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : คือระหว่างทางการทำางาน<br />

เป็นอะไรทีดีมาก ๆ อย่างทีคุณป้องบอกคือ<br />

เราคุมไซึ่ต์ก่อสร้างเอง เราต้องคุยกับช่่าง กับ<br />

คนหลัาย ๆ คน หลัาย ๆ แบบ อาจจะเจอกับ<br />

ปัญหาบ้างเล็็กน้อย แต่เราก็มองว่าตรงกับความ<br />

คิดของเราพอสมควร ในส่วนการเลืือกใช้้วัสดุ<br />

เราได้เลืือกใช้้วัสดุอิฐทีก่อฉาบธรรมดาทีราคา<br />

ไม่แพงมาก มาทำางานล้้อไปกับตัวอาคารแลัะ<br />

สามารถสร้างให้ดูมีมูลค ่ามากยิงข่น<br />

บด่นทริ่์ เมืองลืือ : ซึ่่งโปรเจกต์น้เราเข้าไปเริม<br />

ทำางานกับเจ้าของ นับตังแต่เรืองของการเลืือก<br />

ตำาแหน่งของอาคาร ไซึ่ต์ แลัะช้วนเจ้าของพูด<br />

คุยถกถ่งเรืองรูปแบบแปลันในการทำร้้าน<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : คือเหมือนเราเข้าไปช่่วย<br />

พูดคุยในแง่ของธุรกิจ ถ่งความเป็นไปได้ของ<br />

การวางอาคารทีตรงไหนแล้้วจะส่งผลต ่อพืนที<br />

โดยรอบได้มากกว่า แลัะด่งคนเข้ามาใช้้งาน<br />

อาคารได้มากข่น เราเริมต้นทำางานด้วยการ<br />

Naya Cafe Ayutthaya<br />

พูดคุยถ่งความต้องการทีอาจเรียกได้ว่าติดลับ<br />

แล้้วจ่งค่อย ๆ คุยกันว่าทำาอย่างนันดีไหม หรือ<br />

แบบน้อาจจะดีกว่า จากทีเขาต้องการแค่เหมือน<br />

กระท่อมเล็็ก ๆ ทีสามารถเสิร์ฟอาหารง่าย ๆ เรา<br />

ก็เข้าไปตั งคำาถาม เน่องจากพืนทีตั งค่อนข้างไกลั<br />

จากพืนทีท่องเทียวโดยรอบแลัะมีผู้เดินทางผ่าน<br />

เฉพาะกลุ่ม เราจ่งมองว่า ถ้าหากเราทำาอาคาร<br />

ให้ออกมาดี ๆ ก็จะด่งนักท่องเทียวให้เข้ามา ก็จะ<br />

ส่งผลต่่อธุรกิจในระยะยาวด้วยเช่่นกัน<br />

คุุณทังสองได้ต้ังเป้้ าห้มาย่ในอนาคุต้สำาห้ริ่ับ<br />

“BodinChapa Architects” ไว้อย่่างไริ่?<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : สิงทีเราคาดหวังในอนาคต<br />

คือ การขยายองค์ความรู้ ในแง่ของการทำางาน<br />

ออกแบบ วิธีการทำางาน รวมถ่งขั นตอนระหว่าง<br />

การก่อสร้างให้กว้างข่ น โดยสามารถเข้ามาสร้าง<br />

สมดุลัระหว่างความสนุกแลัะ passion ของเรา<br />

ในการออกแบบสถาปัตยกรรม ร่วมไปกับในเชิิง<br />

ธุรกิจได้ด้วย<br />

บด่นทริ่์ เมืองลืือ : สำาหรับอนาคตเราก็อยาก<br />

ทำางานทีมีความสนุกหรือมีแง่มุมทีน่าสนใจ ซึ่่ง<br />

สามารถเข้าไปสนทนากับพืนที โดยงานบางช้ิน<br />

ที เราทำก็็มักจะตั งคำาถามกับชุุมช้นหรือว่าพืนที<br />

โดยรอบ ก็คาดหวังให้มีงานทีสนุก ๆ รอเราอยู่<br />

ทีเราจะได้พัฒนาทางด้านเทคโนโลย ีไปพร้อม<br />

กับช่่าง<br />

พิิชชาภา โล่่ทอง : นอกจากนันแล้้วสำาหรับ<br />

การทำางานออกแบบในอนาคต เหน่อไปจาก<br />

สิงทีลููกค้าต้องการแล้้ว เราก็อยากเพิมอะไร<br />

บางอย่างทีมีคุณค่ามากยิงข่นกับงานของเรา<br />

แลัะก็สามารถตอบโจทย์ของลููกค้าไปพร้อม ๆ<br />

กัน แลัะอยากให้มีอะไรทีหลัากหลัายแลัะสนุก<br />

มากยิงข่น รวมถ่งต้องอยู่กับเทคโนโลย ีให้เป็น<br />

โดยสร้างสมดุลัให้กับความเป็นมนุษย์ให้มากข่น<br />

เพือให้ตอบรับไปกับความต้องการนำาความ<br />

ก้าวหน้ามาช่่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพในการ<br />

ทำางานของเรา ซึ่่งเราเองก็ค่อนข้างทีจะเปิด<br />

กว้างกับการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อยู่<br />

เสมอ<br />

Naya Cafe Ayutthaya


146<br />

professional / studio<br />

We wanted to showcase the native<br />

charm in a more modern light. In the<br />

construction process, it may mix a range<br />

of local expertise with technology, which<br />

is something we are quite interested in.<br />

Pasang<br />

Pasang<br />

Pasang<br />

How did “BodinChapa Architects”<br />

get started?<br />

Phitchapa Lothong : After graduating<br />

from King Mongkut's Institute of Technology<br />

Ladkrabang's Faculty of Architecture,<br />

Art, and Design, we both worked<br />

independently. Bodin had the opportunity<br />

to work as a designer on his first<br />

project, Lann Tim, for which he was in<br />

charge of the design from start to finish.<br />

He went on to work in the office after<br />

finishing that job and gaining some<br />

expertise. After a while, we felt com-<br />

pelled to band together and pursue our<br />

interests, such as exciting architecture<br />

projects. So, at the time, we opened a<br />

studio. And, after working in Bangkok<br />

for a while, it appeared that the environment<br />

was not suited to us functioning<br />

fully. So we decided to collaborate in<br />

our hometown of Ayutthaya. After a year<br />

of running the studio, there were a<br />

few juniors—about 5–6 people kept<br />

coming in. I believe we will stick with<br />

this scale, at least for a while.<br />

Can you tell us about your design<br />

approach and philosophy?<br />

Phitchapa Lothong : We wanted to<br />

showcase the native charm in a more<br />

modern light. In the construction process,<br />

it may mix a range of local expertise with<br />

technology, which is something we are<br />

quite interested in. How to employ local<br />

materials in perfect harmony with technology<br />

to increase our and the builders'<br />

job efficiency even further. We've discovered<br />

that local builders aren't wellversed<br />

in technology. Therefore, we


BODINCHAPA ARCHITECTS<br />

147<br />

strive to put such technologies to use.<br />

In this situation, Bodin frequently supervises<br />

site work using new technologies<br />

or software, and there may even be some<br />

tools that we try to master alongside<br />

local builders or craftsmen to make the<br />

process run more smoothly.<br />

Furthermore, we want the work to be basic<br />

and to incorporate as many local elements<br />

as possible in the design to provide<br />

visual value and perspective for those<br />

who use the space in multiple dimensions.<br />

We wish to continuously create ideas,<br />

and we will endeavor to ask questions of<br />

clients and users in each task. That would<br />

allow us to operate more efficiently and<br />

learn how to use the building with our<br />

clients.<br />

Bodin Mueanglue : And we want each<br />

project's direction to include some form of<br />

storytelling using the resources available<br />

in conjunction with technology.<br />

Phitchapa Lothong : But also with a<br />

humanistic attitude, which is distinctive<br />

but also has a concealed simplicity. And,<br />

because we have to work with a variety<br />

of sites in the central and northern areas,<br />

we frequently come across a wide range<br />

of working approaches. We'll see who<br />

we'll be working with on that project, and<br />

only then can we plan from the start.<br />

For example, if we know we will have to<br />

work with a local builder and not a proper<br />

contractor for some reason, such as<br />

budget or a lack of a proper contractor in<br />

that area, we will use a specific approach<br />

and communication methods to communicate<br />

effectively with the people we work<br />

with so that there are fewer problems<br />

or issues on site. Even if it is something<br />

they have never done before, we will persuade<br />

them to work with us and appreciate<br />

the challenges. That would be<br />

extremely beneficial to us.<br />

Is there a project that you think<br />

is very impressive?<br />

Phitchapa Lothong : There are quite<br />

a few, but in a different form, I believe.<br />

If I had to pick one project that particularly<br />

impressed me, it would be our first<br />

project together, Pa Sang, a coffee shop<br />

in Chiang Rai. Throughout the structure,<br />

we used wooden shutters. We were<br />

given this project by Bodin's cousins,<br />

who wanted to create a large coffee<br />

shop. The initial brief was actually quite<br />

basic. However, we want to interpret it in<br />

a more exceptional way while retaining<br />

the building's original attractiveness and<br />

not separating it from its setting. But how<br />

do we provide variety to service users?<br />

Everyone, from children to the elderly,<br />

may feel at ease. As a result, the design<br />

we created contained a lot of vernacular<br />

design vocabulary, but if you look at it in<br />

context, you will notice a language that<br />

is contemporary and modern. We also<br />

experimented with design and space<br />

management, managing a tiny area to<br />

stretch the height. As a result, the interior<br />

area is more visually appealing. We believe<br />

that our work has a positive impact<br />

on both users and us. This is an outstanding<br />

project, in my opinion.<br />

Bodin Mueanglue : It’s Naya Café,<br />

for me. This project allows us to collaborate<br />

with a team of local builders.<br />

We encountered a significant amount<br />

of change while working with buildings,<br />

despite the fact that this architecture<br />

is made of common bricks.<br />

Phitchapa Lothong : I agree. As Bodin<br />

said, the atmosphere at work is really<br />

positive. We are in charge of the construction<br />

site. We had to talk to the artisans<br />

as well as a variety of other people.<br />

We ran into a few issues, but they seemed<br />

to fit with our ideas. We chose regular<br />

brick, a cheap and ordinary material, for<br />

the building, and, interestingly, we were<br />

able to make it look extraordinary.<br />

Bodin Mueanglue : We began working<br />

with the owner on this project, from<br />

selecting the location and site to discussing<br />

the shop's business plan and<br />

objectives.<br />

Phitchapa Lothong : It's as if we went<br />

in to assist them in terms of business, to<br />

investigate the possibilities of locating<br />

the building in a location that will have<br />

a greater impact on the surrounding<br />

neighborhood and attract more customers<br />

to the project. We began by discussing<br />

what may be regarded as below<br />

zero, and then gradually discussed if<br />

doing this and that was a good idea,<br />

or whether there was something better.<br />

Initially, the client merely desired a tiny<br />

structure capable of serving simple<br />

meals. We then approached him and<br />

asked him questions. Because the area<br />

is fairly remote from tourist attractions<br />

and only a specific group of visitors<br />

passes through, we reasoned that if<br />

we design and build properly, we will<br />

attract tourists, which will affect the<br />

business in the long term.<br />

What are your long-term goals<br />

for “BodinChapa Architects”?<br />

Phitchapa Lothong : We anticipate<br />

an extension of expertise in terms of<br />

design work, work methods, including<br />

the construction process, and being<br />

able to balance enjoyment and passion<br />

for architectural design as well as in<br />

business.<br />

Bodin Mueanglue : In the future, we<br />

aim to do work that is enjoyable or has<br />

fascinating characteristics that spark<br />

an interesting conversation with the surrounding<br />

community. Some of our work<br />

frequently creates concerns about the<br />

community or neighborhoods. So We<br />

anticipate more enjoyable initiatives in<br />

which we may collaborate with builders<br />

and craftspeople to improve technology.<br />

Phitchapa Lothong : In addition, for<br />

future design work beyond the needs of<br />

our clients, we would like to offer something<br />

more useful to our work while still<br />

meeting the needs of our customers.<br />

We'd also like to have something more<br />

varied and entertaining. This includes<br />

having to live with technology while<br />

keeping it in balance with human issues.<br />

This is in response to the necessity to<br />

make progress in order to improve our<br />

work efficiency, which we are constantly<br />

willing to learn in new ways.<br />

bodinchapa.com


148<br />

chat


RUNGROTH AUMKAEW<br />

149<br />

แนวทางท่ได้้รับมาจากท่านนายกชนะ สัมพลััง คือการให้้ความสำค ัญกับการทำางานของ<br />

ส่วนภูมิภาคค่อนข้างมาก เพราะฝ่ ายภูมิภาคม่บทบาทห้ลัักในการทำางานร่วมกับสมาชิก<br />

ของสมาคม ฯ ท่กระจายอยู่ทัวประเทศโด้ยตรง นอกจากดููแลัเป็ นห้ลัักในส่วนของฝ่ าย<br />

ภูมิภาคท่เป็ นส่วนกลัางแล้้ว ก็ยังม่การแบ่งพืนท่การจัด้การงานส่วนภูมิภาคอืน ๆ ให้้<br />

เกิด้ความครอบคลุุม เพือท่จะให้้ข่าวสารแลัะกิจกรรมจากส่วนกลัางสามารถกระจาย<br />

ไปในพืนท่ส่วนต่าง ๆ ได้้อย่างทัวถึง<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ฝ่ ายภูมิภาค<br />

อาษา: อยากให้คุณรุ่งโรจน์ พูดถึงนโยบาย<br />

และวิสัยทัศน์เกี่ยวกับฝ่ ายภูมิภาคของคณะ<br />

กรรมการบริหารชุดนี้<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว: ก่อนอื่นต้องขอเกริ่นก่อนว่าปีนี้ถือเป็น<br />

ปีที่สี่ ที่ผมได้มีโอกาสทำ างานต่อเนื่องมาในส่วนของฝ่ายภูมิภาค<br />

ซึ่งนโยบายที่ฝ่ายภูมิภาคของเราวางแผนกันมาตั้งแต่ต้น<br />

รวมถึงแนวทางที่ได้รับมาจากท่านนายกชนะ สัมพลัง นั้น<br />

ให้ความสำาคัญกับการทำางานของส่วนภูมิภาคค่อนข้างมาก<br />

เพราะฝ่ายของเรามีบทบาทหลักในการทำางานร่วมกับสมาชิก<br />

ของสมาคม ฯ ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศโดยตรง โดยนอกจาก<br />

ผมที่ดูแลเป็นหลักในส่วนของฝ่ายภูมิภาคที่เป็นส่วนกลางแล้ว<br />

เราก็ยังมีการแบ่งพื้นที่การจัดการงานส่วนภูมิภาคอื่น ๆ ให้<br />

เกิดความครอบคลุม เพื่อที่จะให้ข่าวสารและกิจกรรมจาก<br />

ส่วนกลางสามารถกระจายไปในพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง<br />

อย่างในตอนนี้ที่ทุกคนทราบกันดีก็จะเห็นว่ามีการแบ่งการ<br />

ทำางานเป็น สถาปนิกล้านนา สถาปนิกทักษิณ สถาปนิกอีสาน<br />

และล่าสุดมีสถาปนิกบูรพา คือภาคตะวันออกเพิ่มเข้ามาเป็น<br />

น้องใหม่ ซึ่งแต่ละส่วนก็จะมีประธานกรรมาธิการและมีทีมงาน<br />

ส่วนภูมิภาคดูแลแบ่งย่อยไปอีก<br />

อาษา: การจัดตั้งกรรมาธิการส่วนภูมิภาคขึ ้น<br />

ใหม่อย่างกรรมาธิการส่ วนภูมิภาคบูรพามี<br />

หลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว: ด้วยที่เรามีสมาชิกสมาคม ฯ กระจายอยู่<br />

ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะภาคเหนือซึ่งมีการจัดตั้ง<br />

กรรมาธิการสถาปนิกล้านนาขึ้นเป็นเวลานานแล้ว ด้วย<br />

หลักเกณฑ์ของพื้นที่ ที่มีจำ านวนสมาชิกอยู่มาก มีการเติบโต<br />

ของเมือง และมีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนคณะสถาปัตยกรรม<br />

ค่อนข้างเยอะ ขณะเดียวกันเราก็ใช้หลักเกณฑ์นี้ในการจัดตั้ง<br />

กรรมาธิการส่วนภูมิภาคอื่น ๆ ขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นทางภาค<br />

อีสาน ภาคใต้ รวมถึงภาคตะวันออกที่เพิ่งจัดตั้งกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกบูรพาขึ้น เราก็ใช้หลักเกณฑ์นี้ในการพิจารณาและ<br />

ประเมินความเหมาะสม<br />

โดยในส่วนของกรรมาธิการสถาปนิกบูรพา จะครอบคลุม<br />

ตั้งแต่พัทยา ระยอง จันทบุรี และจังหวัดอื่นๆ ที่อยู่ใน<br />

ภาคตะวันออกทั้งหมด ซึ่งเป็นส่วนภูมิภาคที่มีการขยายตัว<br />

ของเมืองค่อนข้างรวดเร็วในปัจจุบัน และมีสถาปนิกกระจายตัว<br />

เข้าไปมีส่วนในการพัฒนาเมืองอยู่ในพื้นที่มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง<br />

ทางส่วนกลางจึงเห็นสมควรว่าควรมีการก่อตั้งกรรมาธิการ<br />

ภูมิภาคส่วนนี้ขึ้นมา เพื่อการเข้าถึงผู้ประกอบวิชาชีพสถาปนิก<br />

และสมาชิกของเรามากขึ้น<br />

อาษา: โครงการที่ฝ่ ายภูมิภาคดูแลเป็ นหลัก<br />

ตลอดจนผลตอบรับของกิจกรรมต่าง ๆ ใน<br />

ส่วนภูมิภาคทั้งหมดที่ผ่านมาเป็ นอย่างไร<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว: โดยรวมฝ่ายภูมิภาคของเราที่ยืนเป็น<br />

ส่วนกลางก็จะช่วยดูภาพรวมกรรมาธิการส่วนภูมิภาคกัน<br />

อีกที คือจะสลับกันกระจายข่าวสารและซัพพอร์ตกัน เช่น<br />

เรามีงาน เค้ามีงาน แต่ละส่วนสามารถช่วยอะไรกันได้บ้าง<br />

ก็จะเป็นการทำางานร่วมกันในเชิงนี้มากกว่า ไม่ว่าจะเป็น<br />

กิจกรรมทางด้านวิชาการ กิจกรรมทางด้านสันทนาการ<br />

รวมถึงกิจกรรมหลักประจำาปีที่ทุกภูมิภาคจะจัดขึ้นอย่าง<br />

งานสถาปนิกภูมิภาค ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่ดำ าเนินมาต่อเนื่อง<br />

ยาวนาน ทุก ๆ ฝ่ายหรือทุก ๆ ภูมิภาคก็จะเข้ามาร่วมหารือ<br />

และช่วยกันผลักดันงานให้ออกมาประสบความสำาเร็จอยู่แล้ว<br />

โดยเนื้องานแต่ละปีเราจะมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบกันไป<br />

ตามความเหมาะสมของยุคสมัยและความต้องการของ<br />

สมาชิกที่อยู่ในพื้นที่นั้น ๆ


150<br />

chat<br />

สำาหรับกรรมาธิการสถาปนิกบูรพาที่เพิ่งก่อตั้งได้ไม่นานนัก ก็ต้องบอกว่า<br />

ค่อนข้างไฟแรงมาก มีการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์ค่อนข้างเยอะ<br />

เช่น การจัดดินเนอร์ ทอล์ค โดยเชิญทั้งสถาปนิกในพื้นที่และสถาปนิกที่มี<br />

ชื่อเสียงนอกพื้นที่เข้ามาให้ความรู้ในการออกแบบและบริหารจัดการ<br />

งานด้านสถาปัตยกรรม เพื่อให้สมาชิกที่อยู่ในพื้นที่ได้เข้ามาร่วมฟัง ซึ่ง<br />

ทำาให้มีการเข้าถึงสมาชิกเก่าและใหม่ได้ง่าย รวมถึงยังมีการจัดกิจกรรม<br />

ที่เกี่ยวข้องกับชุมชน เช่นการจัดกิจกรรมเวิร์คช็อปร่วมกับชุมชน โดยดึง<br />

นักศึกษาบางส่วนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย เช่นกิจกรรม บูรพาสัญจร “ระยอง<br />

ลองมาหลง” ก็เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ทางบูรพาค่อนข้างมีความภาคภูมิใจ<br />

เพราะก็ประสบความสำาเร็จไม่น้อย ทั้งยังเป็นส่วนที่ทำาให้ประชาชนทั่วไป<br />

ได้มีส่วนร่วมและเข้าใจวิชาชีพของเรามากขึ้นด้วยว่าวิชาชีพของพวกเรา<br />

ทำาอะไรและมีความสัมพันธ์กับการออกแบบอาคารและพัฒนาเมืองอย่างไร<br />

อาษา: นอกจากนโยบายด้านการจัดกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ<br />

ให้กับสมาชิกแต่ละพื้นที่แล้ว เรื่องของทิศทางการเพิ่ม<br />

จำานวนสมาชิกในส่วนภูมิภาคเป็ นอย่างไรบ้าง<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว: จากนโนบายของคณะกรรมการส่วนกลางและฝ่าย<br />

ทะเบียนช่วงหลัง ๆ นี้เราก็เริ่มหนักเน้นไปที่สมาชิกหมวดอื่น ๆ ด้วย เช่น<br />

กลุ่มบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพสถาปนิก และที่สำาคัญเลยคือ<br />

กลุ่มคนรุ่นใหม่โดยเฉพาะนักศึกษาที่เรียนคณะสถาปัตยกรรมและการ<br />

ออกแบบ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าในปัจจุบันก็มีการเปิดสอนคณะสถาปัตยกรรม<br />

และการออกแบบเพิ่มขึ้นเยอะมากในทุก ๆ ภูมิภาค แน่นอนเวลาที่มีการ<br />

เรียนการสอนขยายเพิ่มขึ้นแบบนี้ ก็จะทำาให้เห็นว่าจะมีผู้เรียนจบสายนี้<br />

หรือมีผู้ประกอบวิชาชีพสถาปนิกเยอะขึ้นตามลำาดับ โดยเค้าอาจจะจบ<br />

ออกมาทำางานอยู่ในพื้นที่เดิมหรือย้ายถิ่นฐานมาทำ างานในพื้นที่อื่น ๆ ก็ได้<br />

ดังนั้นเราจึงยิ่งต้องขยายการทำางานในส่วนภูมิภาคเพื่อให้มีการกระจาย<br />

ข่าวสารอย่างทั่วถึง เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพสถาปนิกได้รับทราบถึง<br />

บทบาทของสมาคมสถาปนิก ฯ โดยแนวทางการประชาสัมพันธ์ของเราก็จะ<br />

เป็นรูปแบบของโครงการกิจกรรมสันทนาการและวิชาการรูปแบบต่าง ๆ<br />

ตามที่ได้กล่าวไปแล้ว<br />

อาษา: เนื่องด้วยคณะกรรมการแต่ละชุดจะมีช่วงที่ต้อง<br />

เปลี่ยนผ่านชุดทำางานตามวาระ ส่วนนี้มีผลต่อการดำาเนิน<br />

งานและนโยบายการทำางานไหม อย่างไร<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว: ส่วนตัวคิดว่าไม่มีผลต่อการดำาเนินงานอะไร เพราะ<br />

เชื่อว่านโยบายหลักและทิศทางการทำางานได้มีการปักธงไว้อย่างชัดเจน<br />

อยู่แล้วว่าแต่ละฝ่ายมีบทบาทอะไร สิ่งที่เพิ่มเข้ามาในแต่ละโครงการ<br />

หรือผู้เข้ามาทำางานก็คงเป็นเรื่องการพัฒนาต่อยอดและการปรับเปลี่ยน<br />

รูปแบบนโยบายด้านกิจกรรมบางส่วนให้มีความสอดคล้อง เหมาะสม<br />

และมีความน่าสนใจมากขึ้นเท่านั้น ส่วนถ้าหากเป็นการคัดเลือกประธาน<br />

กรรมาธิการส่วนภูมิภาค ตรงนี้ก็จะมีการเลือกตั้งซึ่งทุกคนที่เข้ามาก็จะ<br />

ค่อนข้างมีความเข้าใจในพื้นที่นั้น ๆ กิจกรรม นโยบาย รวมถึงเข้าใจ<br />

สมาชิกในพื้นที่ของตนเองอยู่แล้ว ในเรื่องการทำางานจึงไม่มีอะไรน่าห่วง<br />

และไม่มีผลกระทบอะไรหากจะมีการเปลี่ยนผ่านชุดทำางาน<br />

อาษา: ช่วยประชาสัมพันธ์และแนะนำากิจกรรมที่อยู่ในการ<br />

ดูแลของฝ่ ายภูมิภาคถึงสมาชิกสมาคม ฯ ให้ ได้ติดตามสั้น ๆ<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว: อยากฝากถึงสมาชิกสมาคม ฯ ที่ไม่ว่าจะอยู่ใน<br />

พื้นที่การดูแลของกรรมาธิการส่วนกลาง ล้านนา ทักษิณ อีสาน หรือบูรพา<br />

ว่าทุก ๆ กิจกรรมที่เกิดขึ้น พวกเราตั้งใจจัดขึ้นกันอย่างมาก ด้วยมุมมอง<br />

และทิศทางเดียวกันที่ต้องการจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนและ<br />

สนับสนุนผู้ประกอบวิชาชีพสถาปนิกในประเทศของเราให้ได้รับทั้ง<br />

ประโยชน์จากกิจกรรมทางวิชาการ ขณะเดียวกันก็ยังได้รับความ<br />

สนุกสนาน และสายสัมพันธ์อันดีในกลุ่มพี่น้องที่ประกอบวิชาชีพเดียวกัน<br />

จากกิจกรรมเชิงสันทนาการ ให้ทุกคนได้มาทำาความรู้จัก แบ่งปันความรู้<br />

และประสบการณ์ในการทำางานในสายวิชาชีพร่วมกัน โดยมีสมาคม ฯ<br />

เป็นสื่อกลาง ก็อยากฝากให้มาติดตามข่าวสารและมาร่วมกิจกรรมกัน<br />

เยอะ ๆ อย่างน้อย ๆ เราก็จะได้รู้จักกันไว้ และสิ่งสำาคัญกิจกรรมเหล่านี้<br />

ก็ยังเป็นส่วนหนึ่งในการประชาสัมพันธ์วิชาชีพของเราให้ประชาชนและ<br />

บุคคลทั่วไปได้เข้าใจถึงบทบาทของเรามากขึ้น เข้าใจงานออกแบบมากขึ้น<br />

ซึ่งจะส่งผลอันดีต่อวิชาชีพของเราโดยตรง<br />

สำาหรับผู้ที่ไม่รู้ว่าจะติดตามกิจกรรมได้จากที่ไหนก็สามารถเข้าไปที่หน้า<br />

เว็บไซต์สมาคม ฯ เพื่อดูปฏิทินกิจกรรมต่าง ๆ ที่สนใจได้ ตอนนี้เรามีการ<br />

พัฒนาเว็บไซต์ขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับยุคสมัยและสามารถเข้าถึงได้<br />

ง่ายขึ้น โดยสมาชิกทุกท่านก็จะสามารถเห็นกิจกรรมตลอดทั้งปีที่สมาคม ฯ<br />

จะจัดขึ้นได้เลย ใครสนใจกิจกรรมไหนก็จะได้ลงตารางตัวเองไว้กัน<br />

ล่วงหน้า<br />

ในปั จจุบันม่การเปิ ด้สอนคณะสถาปั ตยกรรมแลัะการออกแบบเพิมขึ นใน<br />

ทุก ๆ ภูมิภาค ม่ผูู้้เร่ยนจบสายน่หร ือม่ผูู้้ประกอบวิชาช่พสถาปนิกเยอะขึ นตาม<br />

ลำำาด้ับ อาจจะจบออกมาทำางานอยู่ในพืนท่เดิิมหร ือย้ายถินฐานมาทำางานในพืนท่<br />

อืน ๆ ก็ได้้ เราจึงยิงต้องขยายการทำางานในส่วนภูมิภาคเพือให้้ม่การกระจาย<br />

ข่าวสารอย่างทัวถึง เพือให้้ผูู้้ประกอบวิชาช่พสถาปนิกได้้รับทราบถึงบทบาท<br />

ของสมาคมสถาปนิก ฯ ไม่ว่าจะเป็ นรูปแบบของโครงการกิจกรรมสันทนาการ<br />

แลัะวิชาการรูปแบบต่าง ๆ


151


152<br />

the last page<br />

ย้อนไปตั้งแต่สมัยเรียนคณะสถาปัตยกรรมและการ<br />

ออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า<br />

ธนบุรี เราฝึกวิธีการคิดเป็น Thinking School ที่<br />

เริ่มมาจากการคิดจากโจทย์ เริ่มด้วยตัวงาน<br />

ที่มาจากก้อน concept ที่แข็งแรงก่อนจะมาผลิต<br />

เป็นชิ้นงาน เพราะในสมัยเรียน เมื่อไหร่ที่เราเห็น<br />

outcome ออกมาแล้วนั้นแปลว่า เราจะมีภาพจำา<br />

โดยไม่ได้คิดจากสิ่งที่เราจะเล่า เลยเป็นที่มาใน<br />

การออกแบบของบริษัท ฯ ที่ยังยึดถือว่าสารตั้งต้น<br />

ในการออกแบบคือเรื่องราวที่จะเล่า และค่อยๆ<br />

ขยายไปในงานออกแบบจนสุดท้ายออกมาเป็น<br />

outcome ที่ใส่เรื่องราวของงานเข้าไป<br />

งาน GOM Cafe เป็นงานออกแบบของ Southson<br />

Design ที่หยิบยกด้านที่ไม่มีใครมองของตัวหนอน<br />

เพื่อหาความเป็นไปได้ของการออกแบบงาน<br />

สถาปัตยกรรม<br />

Photo: Wittaya Panitkun<br />

During my time as a student in the Faculty<br />

of Architecture and Design at King Mongkut’s<br />

University of Technology Thonburi, we implemented<br />

thinking methods akin to those of<br />

a thinking school. This entailed commencing<br />

the process with a solid concept derived from<br />

the brief, which was subsequently developed<br />

into a physical composition. Because during<br />

our education years, visualizing the outcome<br />

would cause us to form an impression<br />

without carefully considering the concepts<br />

we would convey. Thus, it served as the<br />

foundation for our company’s design, and<br />

we continue to adhere to the notion that<br />

design begins with a narrative to be conveyed,<br />

progressively incorporating it into the<br />

design process until it ultimately becomes<br />

the product that incorporates the work’s<br />

narrative.<br />

GOM Cafe is a design project by Southson<br />

Design that explores the overlooked beauty<br />

of modest cement paving blocks to explore<br />

new possibilities in architectural design.<br />

กัณห์ ไตรจันทร์<br />

เป็ น Founder/Design director บริษัท เซาท์ซัน ดีไซน์ จำากัด<br />

สตูดิ โอออกแบบที่อยากสื่ อสารและถ่ายทอดเรื่องราวที่<br />

เชื่อว่าการเล่าเรื่องไม่ได้จำากัดเพียงแค่งานเขียนหรือภาพ<br />

สองมิติเพียงเท่านั้ น แต่สามารถถูกถ่ายทอดออกมาใน<br />

รูปแบบในเชิงพื้นที่สามมิติ เล่นกับความรู้สึกของผู้ ใช้งาน<br />

Kan Trichan<br />

is the founder and design director of Southson Design,<br />

a design studio that wants to communicate and<br />

convey stories with the belief that storytelling is not<br />

limited to just writing or two-dimensional images<br />

but can be expressed in three-dimensional spatial<br />

form and play with the feelings of the users.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!