25.10.2023 Views

ASA JOURNAL 14/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Wood is Good<br />

<strong>2023</strong>.Jul-Aug<br />

The Architectural Journal of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


02<br />

advertorial<br />

Pareena Decor<br />

ในยุุคของการระดมไอเดียุหรือ Co-Creation เพื่่อต่่อยุอด<br />

แนวคิดจากฝ่่ายุใดฝ่่ายุหน่งหรือหลายุๆ ฝ่่ายุที่่เกียุวข้อง<br />

เพื่่อนำามาพื่ัฒนาสร้างสรรค์ผลิต่ภััณฑ์์ โดยุเฉพื่าะการระดม<br />

ไอเดียุระหว่างแบรนด์หรือเจ้าของธุุรกิจกับนักออกแบบนัน<br />

ถืือเป็นหน่งในแนวที่างที่่ได้รับความนิยุมและหลายุแบรนด์<br />

ผ้ผลิต่ให้ความสนใจ<br />

เช่่นเดียุวกับ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena Decor) แบรนด์<br />

ผลิต่ภััณฑ์์เฟอร์นิเจอร์และของต่กแต่่งจากวัสดุไม้ไผ่ ไม้สัก<br />

และหวายุ ที่่นอกจากจะชัักช่วนให้นักออกแบบหลายุๆ รายุ<br />

ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงไอเดียุเพื่่อนำามาใช้้พื่ัฒนา<br />

ผลิต่ภััณฑ์์ใหม่ๆ ของแบรนด์อยู่เสมอแล้ว พื่ารีน่า เด็คคอร์<br />

(Pareena Decor) ยัังใส่ใจถึึงเส้นสายุของแนวคิดในการ<br />

ออกแบบเป็นสำค ัญ จนนำามาส้่การบริการรับผลิต่ต่ามแบบ<br />

ที่่นักออกแบบต้้องการ เพื่่อให้เกิดผลิต่ภััณฑ์์หรือเฟอร์นิเจอร์<br />

ที่่ต่อบโจที่ยุ์งานออกแบบที่างสถืาปัต่ยุกรรมและการต่กแต่่ง<br />

ได้อย่่างสมบ้รณ์ต่ามแนวคิดต่ังต้้น<br />

อีกทั้้งในกระบวนการพื่้ดคุยุและรับฟังมุมมองจากแนวคิดของ<br />

นักออกแบบที่่ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena Decor) ได้ที่ำามา<br />

ต่ลอดน้ ยัังเป็นการต่่อยุอดผลิต่ภััณฑ์์ทั้้งที่างต่รงและที่างอ้อม<br />

ซึ่่งที่ำาให้คอลเลคช่ันต่่างๆ ของเฟอร์นิเจอร์ที่่ถููกผลิต่ออกมา มี<br />

การพื่ัฒนาอย่่างต่่อเน่องทั้้งด้านความงามและความเหมาะสม<br />

ของการใช้้งาน อย่่างเช่่น ผลิต่ภััณฑ์์ Day Bed คอลเลคช่ันใหม่<br />

ล่าสุดที่่ถููกผลิต่ออกมาต่ามความต้้องการของผ้้ใช้้งานจริงและ<br />

ยัังได้รับการต่่อยุอดจากนักออกแบบคนสนิที่ ด้วยุแนวคิด<br />

มัลติิฟังช่ันหรือการออกแบบ Day Bed ที่่มักถููกใช้้งานแค่เพื่ียุง<br />

ต่อนกลางวันให้สามารถืใช้้งานได้ทั้้งกลางวันและกลางคืน<br />

ภัายุใต้้คอนเซึ่ปต์์ Day and Night โดยุเสริมไอเดียุในส่วน<br />

ของโต๊๊ะปรับระดับที่่สามารถืปรับข่น-ลง ได้ต่ามการใช้้งาน<br />

และฟังก์ช่ันบานไหลเพื่่อปรับระดับแสงในช่่วงกลางวันได้<br />

ต่ามต้้องการ ซึ่่งไอเดียข้้างต้้นที่ำาให้ Day Bed คอลเลคช่ันน้<br />

สามารถนำำามาพื่ัฒนาต่่อยุอดไปได้ถึึง 3 ร้ปแบบการใช้้งาน<br />

หรือ 3 ซึ่ีรีส์ ในอนาคต่<br />

จากต่รงน้จะพื่บว่าแนวที่างการระดมไอเดียุหรือรับฟังความ<br />

ต้้องการจากนักออกแบบของ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena<br />

Decor) ไม่เพื่ียุงแต่่นำามาส้่ผลิต่ภััณฑ์์ใหม่ๆ ของแบรนด์ที่่<br />

ใส่ใจทั้้งคุณภัาพื่และความงามภัายุใต้้เสน่ห์ของงานหัต่ถืกรรม<br />

เที่่านั น แต่่ยัังที่ำาให้ พื่ารีน่า เด็คคอร์ (Pareena Decor) กลายุ<br />

เป็นที่่ร้จ ักในแวดวงนักออกแบบทั้้งในไที่ยุและต่่างประเที่ศ<br />

มากข่น ต่ลอดจนการได้รับความยุอมรับเป็นอย่่างดีในกลุ่ม<br />

ล้กค้าหลายุๆ โครงการที่่ต้้องการนำาเฟอร์นิเจอร์ไปใช้้ต่กแต่่ง<br />

ในสถืานที่่ต่่างๆ ต่ังแต่่ บ้าน โรงแรม รีสอร์ต่หร้ ไปจนถึึง<br />

ห้างสรรพื่สินค้า ในเวลาเดียุวกัน<br />

pareena21.com


PAREENA<br />

03


<strong>2023</strong><br />

JUL-AUG<br />

WOOD<br />

IS GOOD<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> Journal<br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> <strong>JOURNAL</strong><br />

COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Kullaphut Senevong Na Ayudhaya<br />

Nathanicha Chaidee<br />

Pitirat Yoswattana<br />

Pornpas Siricururatana, Ph.D.<br />

Suchon Mallikamarl, Ph.D.<br />

Supasai Vongkulbhisal, Ph.D.<br />

Suntan Viengsima<br />

Sunsuda Jiemjit<br />

Surawit Boonjoo<br />

Takumi Saito<br />

Xaroj Phrawong<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Napisit Woranaipinit<br />

Special Thanks<br />

1922 Architects<br />

Duangrit Bunnag Architect Limited<br />

Francisco Garcia Moro<br />

Habita Architects<br />

Nontarat Hasitapong<br />

Panoramic Studio<br />

Ratthee Phaisanchotsiri<br />

Rungkrit Chroenwat<br />

Suntan Viengsima<br />

Sher Maker<br />

Sumphat gallery<br />

Vasu Poshyanandana<br />

W Workspace<br />

Yangnar Studio<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright <strong>2023</strong><br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

Photo Credit: W Workspace


์<br />

06<br />

message from the president<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจำปี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นิเวศน์ วะสีนนท์<br />

จีรเวช หงสกุล<br />

ไพทยา บัญชากิตติกุล<br />

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

นายทะเบียน<br />

คมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลปริพล ตั้งตรงจิตร<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

สวัสดีสมาชิกและผู้อ่านวารสารอาษาทุกท่านครับ ฉบับที่<br />

ทุกท่านถืออยู่ก็คือฉบับที่ <strong>14</strong> ของวาระการทำางาน <strong>ASA</strong><br />

Journal ของผมเอง ซึ ่งนำาเสนอเรื่องของวัสดุก่อสร้างและ<br />

นวัตกรรมการทำางานด้านสถาปั ตยกรรมต่าง ๆ ด้วยเนื้อหา<br />

ที่เข้มข้นและครบถ้วนมาโดยตลอด ก็ต้องขอขอบคุณทีมงาน<br />

ที่ตั้งใจคัดเลือก และนำาเสนอทั้งผลงานออกแบบและนวัตกรรม<br />

รวมถึงวัสดุที่น่าสนใจมาให้ ได้รับชมกันเสมอ โดยครั้งนี้เป็ น<br />

เรื่องราวของวัสดุไม้ ซึ ่งนำาเสนอเรื่องราวของไม้ที่คงจะมี<br />

ความก้าวหน้า และพัฒนาจากเรื่องราวของไม้ ในยุคก่อน ๆ<br />

พร้อมทั้งนำาเสนอผลงานการออกแบบให้ผู้อ่านทุก ๆ คนได้<br />

เกิดแรงบันดาลใจต่อไป<br />

ในเล่มนี้ นอกเหนือจากงานออกแบบที่สมาคมฯ ได้เคยถือเป็ น<br />

เรื่องหลักในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เราก็ยังคงเดินหน้า<br />

จัดกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นการบรรยาย การไปชมงาน<br />

ก่อสร้าง และอื่น ๆ อีกมากมาย เพื่อให้สมาชิกได้รับความรู้<br />

ครบถ้วนในทุก ๆ มิติของวิชาชีพ<br />

สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที่เป็ นกำาลังใจ และขอบคุณ<br />

ผู้สนับสนุนทุก ๆ ท่านที่ร่วมสนับสนุนให้กับวารสารของเรา<br />

ในแต่ละเล่ม ทำาให้ทุก ๆ อย่างยังสามารถเดินหน้าไปต่อได้<br />

อย่างมีคุณภาพ และก็คงไม่ลืมให้เครดิตผู้จัดทำาอย่าง art4d<br />

ด้วย ที่ทำาให้หนังสือทุกเล่มออกมาอย่างมีประสิทธิภาพเสมอ<br />

หวังว่าหนังสือแต่ละฉบับจะเป็ นที่ชื่นชอบของสมาชิก ไปจนถึง<br />

มีความสำาคัญต่อแวดวงวิชาชีพ และเป็ นหนังสือที่อยู่รอดได้<br />

ด้วยตัวเองต่อไปอย่างยั่งยืนในอนาคต<br />

ปฏิคม<br />

เฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

กุลธิดา ทรงกิตติภักดี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

อดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จันเสน<br />

ธนพงษ์ วิชคำหาญ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกล้านนา<br />

ปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกอีสาน<br />

วีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกทักษิณ<br />

ดร.กาญจน์ เพียรเจริญ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกบูรพา<br />

คมกฤต พานนสถิตย์<br />

กรรมการที่ปรึกษา<br />

การบริการ<br />

สมิตร โอบายะวาทย์


08<br />

message from the president<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Hello, dear fellow members and readers of the<br />

<strong>ASA</strong> Journal. As the president of the Association<br />

of Siamese Architects under Royal Patronage, I am<br />

delighted to present you with the fourteenth issue of<br />

our beloved journal, featuring updates and reports<br />

on some interesting new construction materials,<br />

architectural innovations, and technologies. I would<br />

like to express my appreciation for the team’s commitment<br />

to bringing the readers engaging content,<br />

covering comprehensive aspects from the selection<br />

of fascinating architectural projects, materials, and<br />

innovations. Featured in this issue are many stories<br />

of wood and its ongoing evolution and innovations<br />

that are meant to inspire everyone to continue pursuing<br />

their architectural and creative endeavors.<br />

In addition to design, which has been the primary<br />

focus of the journal over the years, we have organized<br />

a variety of activities, including lectures, site visits,<br />

and so on, offering opportunities for members to<br />

experience and learn more about every aspect of<br />

the profession.<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Executive Committee<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Tanapong Witkhamhan<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Dr.Kam Phiancharoen<br />

Chairman of<br />

Eastern Region (Burapa)<br />

Komkrit Panonsatit<br />

Advisory Committee<br />

Smith Obayawat<br />

Lastly, I would like to thank all the readers for their<br />

support and all the sponsors whose contributions<br />

have allowed <strong>ASA</strong> Journal to continue its journey<br />

and maintain its quality, including art4d for making<br />

each issue as remarkable as it is. I sincerely hope<br />

that the journal will continue to be loved and useful<br />

to all of you and that it will continue to make significant<br />

contributions to the profession as it is able to<br />

flourish sustainably and creatively in the future.


10<br />

foreword<br />

ไม้ เป็นวัสดุหลักในงานสถาปัตยกรรมมาทุกยุคทุกสมัย และสามารถ<br />

พบเห็นในทุก ๆ แห่งทั่วโลก ในปัจจุบันเรายิ่งได้เห็นความพยายามใน<br />

การพัฒนาสถาปัตยกรรมไม้ที่ท้าทายมากขึ้น ด้วยคุณสมบัติของไม้ที่<br />

สัมพันธ์กับแนวคิดเกี่ยวกับวัสดุคาร์บอนต่ำา และตอบโจทย์การออกแบบ<br />

อาคารที่ใช้พลังงานเป็นศูนย์ (zero energy building) โดยเฉพาะในช่วง<br />

ทศวรรษที่ผ่านมา ความสามารถในการสร้างอาคารด้วยไม้ที่ยิ่งสูงขึ้น<br />

เกิด Plyscrapers ขึ้นมากมายในประเทศแถบยุโรป และอเมริกาเหนือ<br />

อย่าง The Ascent อาคารพักอาศัย 25 ชั้น ที่ความสูง 86.6 เมตร ใน<br />

เมือง Milwaukee สหรัฐอเมริกา นับว่าเป็นอาคารไม้ที่สูงที่สุดในปัจจุบัน<br />

หรือ Gaia อาคารเรียนสูงหกชั้นที่สร้างด้วยไม้ที่ขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชีย<br />

ด้วยขนาดพื้นที่ 43,500 ตารางเมตร และเพิ่งเปิดใช้งาน ตั้งอยู่ใน<br />

Nanyang Technological University สิงค์โปร์ และคาดว่าในปี 2025<br />

เราคงจะได้เห็นการสร้างเมืองแห่งไม้ “Wooden City” เป็นแห่งแรกใน<br />

สต็อกโฮล์ม เมืองหลวงแห่งสวีเดน ด้วยขนาดพื้นที่รวมกว่า 250,000<br />

ตารางเมตร อีกด้วย<br />

ในวารสารอาษาฉบับ Wood is Good นี้ นำาเสนอผลงานสถาปัตยกรรม<br />

ไม้ร่วมสมัยที่น่าสนใจของสถาปนิกไทย ทั้งผลงานออกแบบโรงแรม<br />

จาก Habita Architects ศูนย์ปฏิบัติธรรมโดย DBALP อาคารจัดแสดง<br />

งานศิลปะโดยสถาปนิกจาก Sumphat และงานบ้านพักอาศัยของ<br />

Yangnar Studio รวมถึงผลงานออกแบบโบสถ์โดยสถาปนิกชาวสเปน<br />

Paco Garcia Moro ในจังหวัดตาก ส่วนใน <strong>ASA</strong> Professional พบกับ<br />

บทสัมภาษณ์แนวทางการทำางานของ Sher Maker และ 1922 Architects<br />

สองสตูดิโอจากภาคเหนือที่มีผลงานสถาปัตยกรรมไม้ และเทคนิค<br />

การสร้างสรรค์กับวัสดุที่น่าสนใจ มีความเฉพาะตัว รวมทั้งบทความ<br />

พิเศษจากคุณสันธาร เวียงสีมา และคุณสรรสุดา เจียมจิต ผู้เชี่ยวชาญ<br />

งานสถาปัตยกรรมไม้ ซึ่งมีผลงานออกแบบ และงานเขียนที่เผยแพร่<br />

ความรู้สู่สาธารณะอยู่เสมอ<br />

งานสถาปัตยกรรมไม้ นอกเหนือจากจะเป็นการออกแบบด้วยวัสดุและ<br />

แนวคิดที่ตอบสนองต่อผลกระทบอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิ<br />

อากาศที่เรากำาลังจะเผชิญมากขึ้นในอนาคตแล้วนั้น ในส่วนหนึ่งยังนับว่า<br />

เป็นเสมือนการสร้างเสริมทักษะ ความรู้ใหม่ ๆ ของงานไม้ขึ้น ที่ทั้งต่อยอด<br />

สืบสานจากภูมิปัญญาเดิม และมีการผสานกับสิ่งใหม่ ๆ จากต่างบริบท<br />

วัฒนธรรม ซึ่งจะเป็นส่วนสำาคัญที่จะทำาให้ความรู้ ทักษะช่าง และความ<br />

คิดสร้างสรรค์ในงานสถาปัตยกรรมไม้ เท่าทันกับความเปลี่ยนแปลงของ<br />

ยุคสมัย และความต้องการของมนุษย์อยู่เสมอ<br />

Throughout the centuries, wood has been a primary component<br />

of architecture. and can be observed on every continent.<br />

Today, there are a growing number of endeavors to create<br />

challenging wooden architecture. Wood’s properties are<br />

related to the concept of low-carbon materials and respond<br />

well to the need for designing zero-energy buildings. With the<br />

increased ability to build with wood, many more plyscrapers<br />

have been constructed in many European and North American<br />

countries over the past decade, including The Ascent, a 25-<br />

story residential building with a height of 86.6 meters in<br />

Milwaukee, Wisconsin, which is currently the tallest wooden<br />

building, and Gaia, the largest six-story wooden classroom<br />

building in Asia. Singapore’s Nanyang Technological University<br />

has recently inaugurated a 43,500-square-meter campus<br />

expansion. It is anticipated that the first “Wooden City”<br />

will be constructed in Stockholm, the capital of Sweden, in<br />

2025, covering an area of more than 250,000 square meters.<br />

This issue of <strong>ASA</strong> Journal, Wood is Good, features contemporary<br />

wooden architecture projects by Thai architects, such<br />

as a hotel design by Habita Architects, a meditation center<br />

by DBALP, an art exhibition building by Sumphat, and a<br />

residential project by Yangnar Studio, as well as a church<br />

design by Spanish architect Paco Garcia Moro in Tak Province.<br />

There is an article in <strong>ASA</strong> Professional about Sher Maker<br />

and 1922 Architects, two Northern studios whose projects<br />

involved a great deal of wooden architecture with creative<br />

techniques and intriguing materials. It is distinct. There is<br />

a special article by experts in wooden architecture Suntan<br />

Viengsima and Sunsuda Jiemjit that contains design work<br />

and writings that continually disseminate knowledge to the<br />

public.<br />

In addition to being designed with materials and concepts<br />

that respond to the effects of climate change that we will<br />

increasingly face in the future, wooden architecture is still considered<br />

to create new skills and knowledge in woodworking<br />

that both build upon and carry forward the traditional wisdom,<br />

incorporating new things from various contexts and cultures.<br />

Creating knowledge, craftsmanship, and originality in wooden<br />

architecture is essential for keeping up with changing times<br />

and human needs.


<strong>2023</strong><br />

JUL-AUG<br />

WOOD<br />

IS GOOD<br />

62<br />

Photo Credit: Rungkrit Chroenwat<br />

theme / review<br />

Learning<br />

by Doing<br />

Yangnar Studio designed a<br />

two-story wooden structure<br />

known as “Baan Tita” in San<br />

Kamphang, Chiang Mai, with a<br />

profound appreciation for the<br />

local woodworking wisdom<br />

and techniques of skilled local<br />

builders.<br />

theme / review<br />

Old into New<br />

On Samui Island, Habita<br />

Architects has redesigned an<br />

unfinished structure with a<br />

different design approach,<br />

using reclaimed wood to align<br />

with a new architectural<br />

language.<br />

88<br />

Photo Credit: Rungkrit Chroenwat<br />

around<br />

Serpentine<br />

Pavilion <strong>2023</strong><br />

by Lina Ghotmeh<br />

<strong>14</strong><br />

Rethinking<br />

Flexibility:<br />

A Lecture by<br />

Joshua Ramus<br />

18<br />

<strong>ASA</strong> Infinity<br />

Ground—<br />

Thailand<br />

and Taiwan<br />

Contemporary<br />

Architecture<br />

Exhibition<br />

28<br />

theme<br />

Wood is ...<br />

With softness originating from<br />

nature, once brought out, wood<br />

requires regular maintenance<br />

by human hands. Whether<br />

intentional or not, it introduces<br />

the idea of ordinariness to<br />

architecture. It uncovers what<br />

has, until recently, been blindly<br />

handled behind—a tangible<br />

plot between nature, humans,<br />

technology, time, and cycles in<br />

a single project.<br />

42<br />

Photo Courtesy of Frei Otto<br />

theme / review<br />

Time Passages<br />

Rath Plean-suk has<br />

transformed three old rice<br />

barns into a collection of<br />

buildings, ‘Atelier VELA’,<br />

featuring exhibition spaces<br />

and recreational areas that<br />

reflect an entwined dialogue<br />

between architecture and its<br />

surroundings.<br />

76<br />

Photo Credit: Philippe Moisan


theme / review<br />

Holy Crab<br />

At St. Xavier’s Oratory in Tak<br />

Province, the architect has<br />

worked closely with the local<br />

carpenter to create a religious<br />

building with beautifully woven<br />

wooden skin, a spectacular<br />

representation of the relationship<br />

between design and locals.<br />

102<br />

theme / review<br />

At the Heart of It<br />

In Khao Yai, DBALP’s Glass Hall<br />

stands out with its minimalistic<br />

modern architecture combined<br />

with traditional elements<br />

found in Buddhist temples in<br />

the northeastern and northern<br />

regions.<br />

1<strong>14</strong><br />

Photo Credit: Panoramic Studio<br />

Photo Credit: W Workspace<br />

material<br />

Materials, Tools,<br />

Techniques-<br />

Fundamental<br />

Factors in the<br />

Design Process<br />

and Wood<br />

Architectural<br />

Work<br />

This article discusses wood<br />

material as one of the common<br />

factors in designing and working<br />

with wooden architecture,<br />

as well as the fundamentals<br />

of examining the concept of<br />

“materials, tools, and methods”<br />

from a holistic standpoint.<br />

128<br />

Renewable<br />

Energy Wood<br />

Flooring<br />

Wood Flooring<br />

<strong>14</strong>2<br />

Wood<br />

Chirp Barn<br />

Wood Structure<br />

<strong>14</strong>3<br />

ForestBank<br />

Collection<br />

Alternative<br />

Material<br />

<strong>14</strong>4<br />

professional<br />

Sher Maker<br />

<strong>ASA</strong> Journal talked to Sher<br />

Maker, a Chiang Mai-based<br />

design studio founded by<br />

Patcharada In-plang and<br />

Thongchai Chansamak,<br />

two trained architects who<br />

also refer to themselves as<br />

makers.<br />

<strong>14</strong>6<br />

professional<br />

1922 Architects<br />

160<br />

chat<br />

Vasu<br />

Poshyanandana<br />

VASU Poshyanandana shared<br />

his duties and roles as the<br />

director of the <strong>ASA</strong> Committee<br />

in charge of architecture conservation<br />

work.<br />

164<br />

Photo Courtesy of Sher Maker<br />

the last page<br />

168<br />

yumakano.com


<strong>14</strong><br />

around<br />

1<br />

Images: Serpentine Pavilion <strong>2023</strong> designed by Lina Ghotmeh. © Lina Ghotmeh — Architecture. Photo: Iwan Baan, Courtesy: Serpentine.<br />

The Neues Museum, courtesy of SPK / David Chipperfield Architects, photo Joerg von Bruchhausen


Serpentine Pavilion <strong>2023</strong><br />

15<br />

Lina Ghotmeh by Harry Richards for Serpentine <strong>2023</strong><br />

2<br />

Serpentine<br />

Pavilion <strong>2023</strong><br />

by Lina Ghotmeh<br />

Photo Courtesy of Serpentine<br />

01<br />

“À table” ผลงาน<br />

ออกแบบ Serpentine<br />

Pavilion <strong>2023</strong> โดย<br />

Lina Ghotmeh<br />

02<br />

Lina Ghotmeh<br />

“À table” ผลงานออกแบบ Serpentine Pavilion ปี <strong>2023</strong><br />

โดย Lina Ghotmeh สถาปนิกหญิงเลบานอน จากสำานักงาน<br />

ออกแบบ Lina Ghotmeh Architecture ในปารีส ซึ่งได้รับ<br />

การขนานนามผลงานออกแบบว่าเป็น “โบราณคดีแห่ง<br />

อนาคต” ด้วยการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมใหม่ที่มาจาก<br />

ร่องรอยของอดีต ผลงานที่ผ่านมาของ Ghotmeh ได้แก่<br />

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเอสโตเนีย ซึ่งได้รับรางวัล Grand<br />

Prix Afex 2016 และเคยได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัล<br />

Mies Van Der Rohe Award 2017 อาคารปฏิบัติการงาน<br />

ออกแบบของแบรนด์ Hermès (Ateliers Hermès) ใน<br />

เมือง Normandy สร้างจากอิฐกว่า 500,000 ก้อน ที่ผลิต<br />

ในท้องถิ่น รวมทั้งยังเป็นผู้ออกแบบอาคารที่พักอาศัย<br />

Stone Garden ที่ภายหลังจากสร้างเสร็จเคยได้รับผลกระทบ<br />

จากเหตุระเบิดรุนแรงของสารเคมีบริเวณท่าเรือในเบรุตเมื่อ<br />

ปี 2020 ทั้งนี้ผลงานสถาปัตยกรรมของ Lina Ghotmeh<br />

Architecture นั้น เรียกได้ว่าให้ความสำาคัญกับนิเวศวิทยา<br />

และความยั่งยืน และการสร้างสุนทรียศาสตร์จากความ<br />

สัมพันธ์ใกล้ชิดกับธรรมชาติ รวมถึงการแสดงออกถึงแก่น<br />

แท้ของวัสดุที่สร้างขึ้น<br />

“À table” is the Serpentine Pavilion of <strong>2023</strong>,<br />

designed by Lina Ghotmeh of Lina Ghotmeh Architecture<br />

in Paris. Ghotmeh’s work was frequently<br />

referred to as “Archaeology of the Future” due to<br />

the fact that it created new architecture based on<br />

relics of the past. Her previous projects include<br />

the Estonian National Museum, which was<br />

awarded the 2016 Grand Prix Afex, and the Mies<br />

Van Der Rohe Award nominee in 2017. Her most<br />

recent project, the Ateliers Hermès in Normandy,<br />

was constructed with over 500,000 locally made<br />

bricks. The studio also designed the Stone Garden<br />

Apartment, which was partially damaged by a<br />

devastating chemical explosion at Beirut’s harbor<br />

in 2020. Ghotmeh’s architecture is renowned<br />

for its emphasis on ecology and sustainability,<br />

aesthetics derived from a close relationship with<br />

nature, and expression of the material’s essence.


16<br />

around<br />

Images: Serpentine Pavilion <strong>2023</strong> designed by Lina Ghotmeh. © Lina Ghotmeh — Architecture. Photo: Iwan Baan, Courtesy: Serpentine.<br />

3<br />

03<br />

ผนังและหลังคาของ<br />

Serpentine Pavilion<br />

<strong>2023</strong> โดย Ghotmeh<br />

เชื่อมโยงความเป็น<br />

ธรรมชาติของที่ตั้ง<br />

สวนโดยรอบและ<br />

แรงบันดาลใจจาก<br />

โครงสร้างธรรมชาติ<br />

ศาลาไม้ ใน Serpentine Pavilion <strong>2023</strong> นี้ Lina Ghotmeh<br />

จึงออกแบบและสร้างจากวัสดุธรรมชาติและคาร์บอนต่ำา<br />

เป็นส่วนใหญ่ เพื่อมุ่งเน้นความยั่งยืน รวมถึงการออกแบบ<br />

พื้นที่ใหม่ที่สนทนากับประวัติศาสตร์ และสภาพแวดล้อม<br />

ทางธรรมชาติที่อยู่รอบตัว เกิดเป็น “À table” ซึ่งจากศัพท์<br />

ภาษาฝรั่งเศสสะท้อนถึงการนั่งด้วยกันที่โต๊ะเพื่อแบ่งปัน<br />

อาหาร และการสนทนา รูปแบบของศาลาหลังนี้จึงตอบ<br />

สนองต่อรูปร่างของหลังคาต้นไม้ของสวนที่ตั้งอยู่ คานไม้<br />

ภายในที่ล้อมรอบปรากฏเป็นลําต้นของต้นไม้บางๆ และ<br />

แผงฉลุที่อยู่ระหว่างคานมีลวดลายที่เหมือนพืช ช่วยระบาย<br />

อากาศและให้แสงธรรมชาติเข้ามา ส่วนหลังคาจีบของศาลา<br />

ได้รับแรงบันดาลใจจากโครงสร้างของใบปาล์ม ในขณะที่<br />

ช่องว่างตรงกลางช่วยรวมพื้นที่เข้ากับสภาพแวดล้อม โดย<br />

ทรงหลังคาเตี้ยยังได้รับแรงบันดาลใจจาก togunas หรือ<br />

ศาลาประชาคมที่พบตามพื้นที่สาธารณะของหมู่บ้านในมาลี<br />

แอฟริกาตะวันตก มักใช้สําหรับการประชุมในชุมชนเพื่อ<br />

หารือเกี่ยวกับปัญหาปัจจุบัน ช่วยให้ร่มเงา และบรรเทา<br />

ความร้อนอีกด้วย ซึ่งหลังคาที่ลาดต่ำาของโครงสร้างนี้เอื้อ<br />

ให้ผู้คนนั่งอย่างสงบ และหยุดชั่วคราวตลอดการอภิปราย<br />

หารือกัน<br />

Ghotmeh designed and constructed this wooden<br />

pavilion for this year’s Serpentine Pavilion with a<br />

concentration on sustainability using primarily<br />

natural and low-carbon materials, including the<br />

design of a new space that interacts with history<br />

and the surrounding natural environment, forming<br />

“À table” - the French term for eating and conversing<br />

around a table. Therefore, the shape of the<br />

pavilion corresponds to the shape of the garden’s<br />

canopy where it is situated. The internal wooden<br />

beams encircling it resembled slender tree trunks,<br />

and the perforated panels between the beams<br />

have plant-like patterns that allow natural light<br />

and ventilation. The pavilion’s pleated roof was<br />

inspired by the structure of palm leaves, and the<br />

central niche serves to integrate the space with its<br />

surroundings. The low roof form was also inspired<br />

by the togunas, or community halls, located in the<br />

public spaces of Mali, West Africa, where they are<br />

frequently used for community gatherings and to<br />

provide shade and heat relief. The structure’s lowslung<br />

roof encourages people to sit quietly and<br />

concentrate on the discussion.


Serpentine Pavilion <strong>2023</strong><br />

17<br />

ในการออกแบบนี้ Ghotmeh ยังให้เกียรติประวัติศาสตร์<br />

ของอาคาร Serpentine South ซึ่งเดิมเป็นโรงน้ำาชา<br />

ที่ออกแบบโดย James Grey West เปิดเมื่อปี 1934 และ<br />

ถูกดัดแปลงเป็นหอศิลป์ในปี 1970 ในช่วงฤดูร้อนจนถึง<br />

ต้นทศวรรษปี 1960 พื้นที่นั่งเล่นของร้านยังเคยขยายถึง<br />

บริเวณสนามหญ้าซึ่งปัจจุบัน Serpentine Pavilion ครอบ-<br />

ครองอยู่ การตกแต่งภายในของศาลาไม้นี้ยังมีการจัดวาง<br />

โต๊ะกลมตามแนวเส้นรอบวง เชิญชวนให้เราประชุม และ<br />

เฉลิมฉลองการแลกเปลี่ยนที่ช่วยให้ความสัมพันธ์ใหม่<br />

ก่อตัวขึ้น นำาเสนอช่วงเวลาแห่งความสนุกสนานรอบโต๊ะ<br />

อาจเรียกได้ว่า “À table” ของ Ghotmeh ยินดีต้อนรับ<br />

เราให้ร่วมแบ่งปันความคิด ความกังวล ความสุข ความ<br />

ไม่พอใจ ความรับผิดชอบ ประเพณี ความทรงจําทาง<br />

วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่นําเรามาอยู่ร่วมกัน<br />

Ghotmeh also pays tribute to the history of the<br />

Serpentine South Building, a former teahouse<br />

designed by James Gray West that opened in 1934<br />

and was converted into an art gallery from the<br />

1970s to the 1960s. Once, the teahouse’s seating<br />

area extended into the courtyard now occupied by<br />

the Serpentine Pavilion. This wooden pavilion’s<br />

interior also features round tables arranged along<br />

the perimeter, inviting guests to a gathering to<br />

celebrate the exchanges that foster the formation<br />

of new relationships while enjoying some lighthearted<br />

moments around the table. Ghotmeh’s<br />

“À table“ invites us to share our thoughts, concerns,<br />

pleasures, frustrations, responsibilities, traditions,<br />

and cultural recollections, as well as the history<br />

that brought us all here.<br />

serpentinegalleries.org<br />

04<br />

แผงฉลุของอาคารออกแบบ<br />

ให้ลวดลายดหมือนใบไม้<br />

ยังช่วยระบายอากาศตาม<br />

ธรรมชาติ<br />

05<br />

พื้นที่ภายในสร้าง<br />

บรรยากาศของการพูดคุย<br />

พบปะเฉลิมฉลองโดย<br />

หลังคาที่ลาดต่ำาของอาคาร<br />

ได้แรงบันดาลใจจาก<br />

Togunas ศาลาประชาคม<br />

ในหมู่บ้านของประเทศมาลี<br />

Images: Serpentine Pavilion <strong>2023</strong> designed by Lina Ghotmeh. © Lina<br />

Ghotmeh — Architecture. Photo: Iwan Baan, Courtesy: Serpentine.<br />

4<br />

Images: Serpentine Pavilion <strong>2023</strong> designed by Lina Ghotmeh. © Lina Ghotmeh — Architecture. Photo: Iwan Baan,<br />

Courtesy: Serpentine.<br />

5


18<br />

around<br />

1<br />

Rethinking Flexibility:<br />

A Lecture by Joshua Ramus<br />

Text by Supasai Vongkulbhisal, Ph.D.<br />

Photo Courtesy of The Association of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

01<br />

Joshua Ramus สถาปนิก<br />

ผู้ก่อตั้งบริษัท REX<br />

02<br />

ภาพบรรยากาศงาน<br />

บรรยาย Rethinking<br />

Flexibility จัดขึ้นที่<br />

หอศิลปะวัฒนธรรม<br />

แห่งกรุงเทพฯ (BACC)<br />

Rethinking Flexibility:<br />

A Lecture by Joshua Ramus<br />

Re-evolve<br />

การบรรยายหัวข้อ Rethinking Flexibility โดย Joshua<br />

Ramus สถาปนิกผู้ก่อตั้งบริษัท REX เป็นส่วนหนึ่งของ<br />

ชุดการบรรยาย <strong>ASA</strong> International Lecture Series จัดขึ้น<br />

ในช่วงบ่ายของวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 ที่หอศิลปะ<br />

วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพฯ (BACC) โดยมีคุณชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ กล่าวเปิดงาน และได้พูดถึง<br />

วัตถุประสงค์ในการจัด <strong>ASA</strong> International Lecture Series<br />

ครั้งนี้ว่าเป็นการนำาสถาปนิกจากหลากหลาย ภูมิภาค<br />

ของโลก มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การทำางาน วิธีคิด<br />

และแนวทางการออกแบบ รวมถึงถ่ายทอดองค์ความรู้<br />

และคุณค่าของการ ออกแบบสถาปัตยกรรม ซึ่งตั้งอยู่ใน<br />

บริบทที่ต่างออกไปจากไทย โดยสถาปนิกไทยเองจะได้<br />

รับประโยชน์ต่อเมื่อนำามา ปรับใช้อย่างเหมาะสม สถาปนิก<br />

Joshua ​Ramus เคยบรรยายที่ประเทศไทยในการจัดงาน<br />

ของ สมาคมฯ เมื่อ 13 ปีที่แล้ว ในครั้งนี้จึงนับเป็นโอกาส<br />

ครั้งที่สองของเขาในการบรรยายให้กับสถาปนิกไทย<br />

Rethinking Flexibility:<br />

A Lecture by Joshua Ramus<br />

RE-evolve<br />

The founder of REX, Joshua Ramus, presented<br />

Rethinking Flexibility as part of the <strong>ASA</strong> International<br />

Lecture Series on Saturday, June 24, <strong>2023</strong>,<br />

in the afternoon at the Bangkok Art and Culture<br />

Center (BACC). Mr. Chana Sumpalung, president<br />

of the Association of Siamese Architects, gave the<br />

opening remarks and discussed the purpose of<br />

this <strong>ASA</strong> International Lecture Series, which is to<br />

bring together architects from various regions of<br />

the world to share their experiences, work, ideas,<br />

and design guidelines. Additionally, it seeks to<br />

transmit knowledge and the value of architectural<br />

design to contexts other than Thailand. Thai<br />

architects will only benefit if they are employed<br />

appropriately. This is the second time that Joshua<br />

Ramus has shared his vision with Thai architects,<br />

as he previously did so 13 years ago at the association’s<br />

event in Thailand.


Rethinking Flexibility: A Lecture by Joshua Ramus<br />

19<br />

Joshua Ramus เริ่มต้นการบรรยายด้วยการกล่าวถึง<br />

Flexbility โดยอธิบายว่า “ความยืดหยุ่น-Flexibility” เป็น<br />

พื้นฐานของการออกแบบสถาปัตยกรรมของเขา ท่ามกลาง<br />

กระแสสังคมที่พูดถึงเรื่องความยั่งยืน (sustainability)<br />

การลด Carbon footprint การนำาวัสดุต่างๆ กลับมาใช้<br />

การออกแบบที่มี Flexibility จะเป็นคำาตอบสำาหรับงาน<br />

ดีไซน์ที่ต้องการ จะแก้ปัญหาในอนาคต Joshua ยังได้ตั้ง<br />

ข้อสังเกตอีกว่า “ในสังคมนักออกแบบ การนำาไอเดียการ<br />

ออกแบบอันชาญฉลาด และมีประสิทธิภาพ (Intellectual<br />

Ideas) เดิมกลับมาใช้ซ้ำา ไม่ต่างจากการที่นักออกแบบ<br />

ต้องการที่จะพัฒนาผลงาน ให้มีความสวยงาม และสุนทรียะ<br />

เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (Beauty of Aesthetic) หากแต่เมื่อ<br />

มองถึงวิธีการเดียวกันจากมุมมอง เชิงปรัชญาและเหตุผล<br />

การนำาแนวคิดเดิมกลับมาใช้ซ้ำาไปซ้ำามากลับกลายเป็นการ<br />

ไม่พัฒนา หรือไม่สร้างสรรค์ ให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ ซึ่งชุด<br />

ความคิดอย่างหลังถูกฝังรากลึกอยู่ในความเชื่อของวิชาชีพ<br />

สถาปนิก เนื้อหาการบรรยายในครั้งนี้จึงต้องการแสดงให้<br />

เห็นถึงวิธีการนำาแก่นความคิดกลับมาใช้ซ้ำา ในบริบทที่<br />

ต่างออกไป ในภาษาอังกฤษ ใช้ศัพท์เรียก วิธีดังกล่าวว่า<br />

‘Recycling’ แต่สำาหรับ REX นั้น ใช้คำาว่า ‘Re-evolve’<br />

โดย Joshua แบ่งเป็นการบรรยายตามแนวความคิด ของ<br />

เขาออกเป็น 4 หัวข้อหลัก ดังต่อไปนี้<br />

Joshua Ramus begins his lecture by mentioning<br />

Flexbility, explaining that Flexibility is fundamental<br />

to his architectural design. Among the social<br />

trends that talk about sustainability, reducing carbon<br />

footprints, reusing materials, and designing<br />

with Flexibility will be the answers to designing to<br />

solve problems in the future. Joshua also noted,<br />

“In the designer society Implementing smart design<br />

ideas and efficient intellectual ideas is used<br />

repeatedly, just as designers need to develop<br />

the beauty of aesthetics. But when looking at the<br />

same method from the point of view of philosophy<br />

and rationality, reusing the same idea over and<br />

over again has turned out to be undeveloped or<br />

not creative, giving rise to new ideas. The latter<br />

set of ideas is deeply rooted in the beliefs of the<br />

architects. The content of this lecture would like to<br />

show how to reuse the essence of ideas. In a different<br />

context. This method is known as Recycling<br />

in English, but REX employs the term Re-evolve.<br />

According to his conceptions, Joshua divided the<br />

lecture’s content into four major sections.<br />

2


20<br />

around<br />

3 4<br />

6<br />

archdaily.com<br />

5<br />

7<br />

rex-ny.com/project/featured-projects-detail


Rethinking Flexibility: A Lecture by Joshua Ramus<br />

21<br />

Rethinking Flexibility<br />

Divide and Conquer<br />

Joshua กล่าวถึงการเกิดแนวความคิดรูปแบบใหม่ๆ ว่า<br />

สถาปัตยกรรมสามารถปรับเปลี่ยนและยืดหยุ่นได้ ครั้งล่าสุด<br />

คือการก่อตัวของแนวความคิดแบบโมเดิร์น (Modernism)<br />

ซึ่งเกิดในช่วงศตวรรษที่ 19 และ 20 และพวกเรา สถาปนิก<br />

ได้ใช้ประโยชน์จากรากฐานแนวคิดนี้มาเป็นเวลาร่วมร้อยปี<br />

แต่ในช่วงเวลา 20-30 ปีให้หลังมานี้ วงการสถาปัตยกรรม<br />

ไม่สามารถสร้างแนวความคิดอะไรใหม่ๆ ได้เลย เป็นผล<br />

เนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจ และการขาดเงินลงทุน เนื่องด้วย<br />

นักลงทุนไม่ได้ใส่ใจที่จะปรับเปลี่ยนแนวความคิดและรูปแบบ<br />

ทางด้านสถาปัตยกรรมเท่าไรนัก อีกทั้งยังยึด ติดภาพจำา<br />

สเปซรูปแบบแบบเดิมๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ควรเป็นห้อง<br />

สี่เหลี่ยมว่างเปล่าสีขาว และยึดติดกับความเฉพาะเจาะจง<br />

(specificity) ของประโยชน์ใช้สอย เปรียบเสมือนกุญแจมือ<br />

ที่ล็อคให้สถาปนิกไม่สามารถสรรค์สร้างอะไรใหม่ๆ ได้ แต่<br />

ทาง Joshua และทีมงานเองกลับมองเห็นว่านี่เป็นโอกาสที่<br />

จะพัฒนา และขัดเกลาภาพจำา รวมถึงความเฉพาะเจาะจง<br />

ที่มีอยู่เดิม ให้มีความซับซ้อน และใช้งานได้หลายรูปแบบ<br />

มากยิ่งขึ้น<br />

Joshua ได้ยกตัวอย่างผลงานที่สร้างชื่อเสียงชิ้นแรกให้<br />

กับเขา ได้แก่ Seattle Public Library โดยทั่วไปแล้ว<br />

ภาพจำาของคนมักนึกถึงห้องสมุดเป็นที่สำาหรับเก็บหนังสือ<br />

แต่ในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งเป็นยุคเฟื่องฟูของ direct search<br />

engine คนที่มาใช้งานห้องสมุดไม่จำาเป็นที่ต้องวิ่งเข้าหา<br />

บรรณารักษ์เป็นอย่างแรกอีกต่อไป ทำาอย่างไรผู้ใช้งานจึงจะ<br />

สามารถ เข้าถึงสิ่งที่เขามองหาได้โดยตรงผ่านการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม อีกทั้งทำาอย่างไรจึงจะสามารถจัดเก็บจำานวน<br />

หนังสือ ที่เพิ่มจำานวนมากขึ้นเรื่อยๆ ได้ ผลลัพธ์จึงออกมา<br />

ในรูปแบบการแบ่ง (divide) ฟังก์ชั่นห้องสมุดเสียใหม่ ให้<br />

เชื่อมต่อ กันทั้งหมดเสมือนทางลาดของลานจอดรถ พร้อม<br />

ทำากราฟิกบอกตำาแหน่งหนังสืออย่างชัดเจนให้เข้าถึงได้<br />

ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเอาชนะ (conquer) ภาพจำาของวิธี<br />

การจัดเก็บหนังสือของห้องสมุดแบบเดิมได้<br />

อีกหนึ่งผลงานที่ถูกนำามายกตัวอย่าง ได้แก่ Elizabeth<br />

Quay 1.0 ตั้งอยู่ที่ริมน้ำาเมืองเพิร์ธ ประเทศออสเตรเลีย<br />

ที่สถาปนิกทำาลายภาพจำาของอาคาร mixed-use ทั่วไป<br />

โดยการนำาพื้นที่ public access เช่น ร้านอาหารและห้อง<br />

ประชุม ขนาดใหญ่ ไปอยู่ช่วงชั้นกลางๆ ของตึกแทนที่จะ<br />

เป็นชั้นพื้นดิน ทำาให้เจ้าของอาคารสามารถเพิ่มพื้นที่ขายใน<br />

ชั้นล่างๆ ได้ ในขณะเดียวกันยังสามารถดำาเนินการก่อสร้าง<br />

ชั้นล่าง ระหว่างรอการตัดสินใจว่าควรจะเป็นพื้นที่ใช้สอย<br />

อะไรต่อไป เนื่องจากการตัดสินใจขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ของการ<br />

วิเคราะห์สภาพการณ์ของตลาดในช่วงเวลาที่อาคารใกล้<br />

เปิดทำาการ<br />

Rethinking Flexibility<br />

Divide and Conquer<br />

Joshua describes the emergence of new concepts<br />

that architecture is adaptable and flexible, and the<br />

last one was the formation of Modernism, which<br />

took place in the 19th and 20th centuries; we, as<br />

architects, have been exploiting this foundation<br />

for hundreds of years. But during the past 20–30<br />

years, architects have been unable to create new<br />

ideas due to economic conditions and a lack of<br />

investment. It was because investors ignored<br />

conceptual change and the style of architecture.<br />

They are also very attached to traditional, same<br />

old spaces. For example, a museum should be a<br />

square, empty white room. They are also attached<br />

to the specificity of functionality. It’s like a shackle<br />

that prevents architects from innovating. Still,<br />

he and his team saw this as an opportunity to improve<br />

and refine the image, including its existing<br />

specificity, to be more sophisticated and usable<br />

in many more ways.<br />

Joshua gives an example of his first famous work,<br />

the Seattle Public Library. People often think of<br />

libraries as places to store books, but in 1999,<br />

when the direct search engine boom took place,<br />

libraries no longer needed to run to a librarian<br />

first. The question is how users can get immediate<br />

access to what they are looking for through architectural<br />

design and how to store the increasing<br />

number of books with no limit. The result comes<br />

out of dividing the function of the new library to<br />

connect all together like a car park ramp and to<br />

provide a clear information graphic system to indicate<br />

the book’s position, allowing self-access for<br />

visitors. The design conquers the memory of the<br />

traditional way of storing books in libraries.<br />

Another interesting example is Elizabeth Quay<br />

1.0, located on the waterfront in Perth, Australia.<br />

In this project, REX has conquered the conventional<br />

image of a typical mixed-use building by<br />

moving public access areas such as restaurants<br />

and large conference rooms to the middle instead<br />

of the ground level. It allows the building owner<br />

to increase the area for sale on the ground floor<br />

while still being able to continue the construction<br />

of the ground floor while waiting for a decision on<br />

what space should be used next. This is because<br />

the decision is based on the results of analyzing<br />

market conditions at the time when the building is<br />

close to opening.<br />

03<br />

คุณชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ กล่าวเปิดงาน<br />

04<br />

ศ. ดร. ต้นข้าว ปาณินท์<br />

กล่าวแนะนำาสถาปนิก<br />

05<br />

Seattle Public Library<br />

ผลงานสร้างชื่อชิ้นแรก<br />

ของ REX<br />

06<br />

Joshua อธิบายผลงาน<br />

ประเภท mix-used<br />

ให้แก่ผู้ชม<br />

07<br />

Elizabeth Quay 1.0<br />

(EQ 1.0) เมืองเพิร์ธ<br />

ประเทศออสเตรเลีย


22<br />

around<br />

rex-ny.com/project/the-lindemann-at-brown<br />

8<br />

08<br />

The Lindemann<br />

Performing Arts Center<br />

ของ Brown University<br />

Rethinking Flexibility<br />

Presets<br />

ในช่วงที่สองของการบรรยาย Joshua ได้กล่าวถึง Flexibility<br />

ในอีกรูปแบบหนึ่ง ได้แก่ “การตั้งรูปแบบไว้ล่วงหน้า<br />

(presets)” ซึ่งต่างจาก divide and conquer ที่อาคารเกิด<br />

จากการประกอบกันของหลายประเภทพื้นที่ใช้สอยที่ถูก<br />

นำามา จัดเรียงด้วยวิธีการใหม่ๆ โครงการที่มี presets เป็น<br />

อาคารที่เกิดจากความต้องการการใช้งานพื้นที่ใช้สอยหลัก<br />

เพียงอย่างเดียว แต่สามารถปรับเปลี่ยนและยืดหยุ่นการ<br />

ใช้งาน ให้สามารถทำาหน้าที่ได้หลากหลายรูปแบบมากยิ่งขึ้น<br />

โดย Joshua ได้ยกตัวอย่างผลงานประเภท Performing<br />

Arts Center ของ REX ไม่ว่าจะเป็น AT&T Performing Arts<br />

Center, Ronald O. Perelman Performing Arts Center,<br />

Brown Universiy’s Lindemann Performing Arts Center<br />

ซึ่งได้ถูกคาดการณ์วิธีการใช้งานที่เหมาะสมกับการแสดง<br />

ประเภทต่างๆ ไว้ล่วงหน้า และวางแผนที่สามารถปรับเปลี่ยน<br />

ส่วนประกอบต่างๆ ของอาคารให้ทำาได้หลากหลายรูปแบบ<br />

(pre-engineering) ไม่ว่าจะเป็นการปรับเปลี่ยนระดับพื้นใน<br />

ส่วนต่างๆ ของอาคารให้เหมาะกับการแสดงแต่ละประเภท<br />

การปรับเปลี่ยนขนาดความจุของห้อง ตำาแหน่งและรูปแบบ<br />

ของเวที การจัดวางที่นั่งผู้ชม การปรับเปลี่ยนแนวผนังให้<br />

เลื่อนเข้าออกได้ โดยสิ่งเหล่านี้ได้ถูกออกแบบไว้แล้วโดย<br />

สถาปนิก อีกทั้งยังแสดงรายการคำานวณค่าใช้จ่าย ระยะ<br />

เวลา จำานวนพนักงานที่ต้องใช้ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบ<br />

การใช้งานอาคาร ในแต่ละครั้งนำาเสนอต่อเจ้าของโครงการ<br />

ไว้ล่วงหน้าอีกด้วย<br />

Rethinking Flexibility<br />

Presets<br />

In the second part of the talk, Joshua addresses<br />

Flexibility in another form: Presets, as opposed to<br />

Divide and Conquer. Presets mean that a building<br />

is made up of many different types of space<br />

arranged in new ways. The project with this notion<br />

is a building that arises from the need for a single<br />

main functional space but can be adapted and<br />

flexibly used to perform various functions. Examples<br />

are REX’s performing arts center works, such<br />

as the AT&T Performing Arts Center, the Ronald<br />

O. Perelman Performing Arts Center, and Brown<br />

University’s Lindemann Performing Arts Center.<br />

These projects were predicted in advance for the<br />

use of various types of performances and plans<br />

that can modify the multiple components of the<br />

building to fit a variety of types, called Pre-engineering.<br />

The architects will plan these scenarios<br />

in advance, whether it be changing the floor levels<br />

in various parts of the building to accommodate<br />

various types of performances, altering the room’s<br />

capacity, the stage’s location and layout, the<br />

arrangement of spectator seats, or changing the<br />

wall direction to allow for movement in and out. It<br />

also includes the calculation of expenses, duration,<br />

and number of employees required to modify<br />

the building’s usage style each time, all of which<br />

are presented to the project owner.


Rethinking Flexibility: A Lecture by Joshua Ramus<br />

23<br />

Rethinking Flexibility<br />

Flexible Array<br />

ในช่วงการบรรยายส่วนที่สาม Joshua ได้พูดถึงการออกแบบ<br />

อาคารที่มีลักษณะยืดหยุ่นในเชิงของ Flexible Array โดย<br />

หมายถึงการออกแบบอาคารที่มีหน้าที่เดียวกัน พื้นที่ใช้สอย<br />

เดียวกัน แต่ออกแบบให้ที่ว่างมีลักษณะการทำ างานที่ แตกต่าง<br />

กันออกไป เปรียบเสมือนจานสี (Palette) ที่แต่ละหลุมสีให้<br />

เฉดสีที่ต่างกันออกไป Joshua ยกตัวอย่าง Munch Museum<br />

ที่ทีมเขาออกแบบในกรุงออสโลว ประเทศนอร์เวย์ โดยปกติ<br />

แล้ว หอศิลป์มักถูกออกแบบให้ผู้เข้าชม ได้รับประสบการณ์<br />

แบบ Linear โดยมีเส้นทางเดินชมต่อเนื่องกันไปในทิศทาง<br />

เดียว ซึ่งก่อปัญหาต่อภัณฑารักษ์ เนื่องจากไม่สามารถปิด<br />

ซ่อมเฉพาะจุดใดจุดหนึ่งได้ อีกทั้งยังต้องสรรหาสิ่งของมาจัด<br />

แสดงเป็นจำานวนมาก เพื่อให้ครบรอบเส้นทางการเดิน REX<br />

จึงแก้ปัญหาด้วยการจัดผังสถาปัตยกรรม ที่ทำาให้วิธีการจัด<br />

แสดงสามารถยืดหยุ่นได้ โดยจัดทางเดินของผู้เข้าชมไว้<br />

เป็นวงด้านนอก และให้ห้องจัดแสดงทั้งหมดเรียงกันเป็นวง<br />

อยู่ตรงกลางด้านใน แกนกลางของวงเป็นส่วนบริการ ซึ่ง<br />

สามารถจ่ายไปยังทุกห้องจัดแสดงได้ ช่วยแก้ปัญหาทำาให้<br />

ทิศทางการเข้าชมงานไม่เป็นเส้นตรงอีกต่อไป และยัง<br />

สามารถเปิดปิดหรือขยายเชื่อมต่อห้องในแต่ละส่วนให้เป็น<br />

ห้องที่มีขนาดใหญ่ขึ้นได้<br />

Rethinking Flexibility<br />

Flexible Array<br />

In the third part of the talk, Joshua talks about<br />

flexible array design, meaning the design of<br />

buildings with the same function and usable area<br />

but designed to allow space to behave differently.<br />

It’s like a palette, where each color well produces<br />

a different hue. Joshua cites the Munch Museum<br />

in Oslo, Norway, designed by REX. Art galleries<br />

are usually designed for visitors to have a linear<br />

experience in the form of a continuous walking<br />

path in one direction. This poses a problem<br />

for the curator because it cannot be closed for<br />

repairs. It must also recruit many items to exhibit<br />

to complete the walking path. REX solved the<br />

problem with an architectural layout that allows<br />

the method of display to be flexible by organizing<br />

the passage of visitors in an outer circle and<br />

having all the exhibition rooms arranged in the<br />

middle inside. The core is the service area, which<br />

can be connected to every exhibition room to help<br />

solve the problem that the direction of traffic is<br />

not a straight line anymore. Each room can also<br />

be opened, closed, or expanded to connect each<br />

section into a larger space.<br />

09<br />

Munch Museum เมือง<br />

ออสโลว ประเทศนอร์เวย์<br />

10<br />

ผู้ชมมาชมการบรรยาย<br />

แน่นขนัดเมื่อวันเสาร์<br />

ที่ 24 มิถุนายน 2566<br />

rex-ny.com/project/munch-museum<br />

9<br />

10


24<br />

around<br />

rex-ny.com/project/necklace-residence-final<br />

11<br />

11<br />

The Necklace<br />

Residence<br />

เมืองลองไอซ์แลนด์<br />

รัฐนิวยอร์ค<br />

12<br />

ลักษณะการเชื่อมต่อ<br />

ของบ้านหลังย่อยที่มี<br />

ลักษณะเหมือนสร้อยคอ<br />

13<br />

Shenzhen Opera<br />

House 1.0 เมืองเซินเจิ้น<br />

ประเทศจีน<br />

rex-ny.com/project/necklace-residence-final<br />

12<br />

อีกผลงานหนึ่งที่ Joshua ใช้วิธีการ Flexible Array เช่น<br />

เดียวกันนั่นคือ Necklace Residence เป็นอาคารประเภท<br />

บ้านพักอาศัยที่เจ้าของมีความต้องการให้ลูกๆ ทั้งสี่ ที่แม้<br />

แต่งงานออกไปมีครอบครัวแล้ว กลับมาอยู่อาศัยภายใต้<br />

หลังคา เดียวกัน ทางสถาปนิกจึงได้นำาเสนอการออกแบบ<br />

บ้านที่มีลักษณะไม่ซ้ำากันห้าหลัง พร้อมพื้นที่ส่วนกลาง ที่<br />

ทุกหลัง แยกขาดจากกัน รักษาความเป็นส่วนตัว มีลักษณะ<br />

เฉพาะแต่ละหลังที่แตกต่างกัน แต่ร้อยเรียงอยู่ในบริเวณ<br />

เดียวกันด้วย ทางเดินเชื่อมเหมือนสร้อย โดยบ้านพักอาศัย<br />

หลังย่อยๆ จะให้ความรู้สึกเหมือนบ้านพักตากอากาศที่จะ<br />

เปิดตามฤดูกาล เมื่อมีคนมาใช้สอย และสามารถปิดเมื่อ<br />

ไม่มีคนเข้ามาพัก โดยภาพรวมจะดูไม่เงียบเหงานักเมื่อ<br />

ส่วนใดส่วนหนึ่งถูกพัก การใช้งานไป<br />

The Necklace Residence is another project for<br />

which Joshua employs a flexible array approach.<br />

The project is a house where the owner wants<br />

his four children to come back to live under the<br />

same roof even though they got married. Here,<br />

the architect has come up with the scheme of five<br />

houses with a common area where every house<br />

is separated from each other, maintaining privacy.<br />

Each one is distinct, but the corridor arranges and<br />

connects them all like a necklace. These small<br />

houses give the feeling of a holiday home that<br />

opens seasonally when people come to use it<br />

and can be closed when no one comes to stay,<br />

so it would not be too quiet when one part is<br />

suspended.<br />

13


Rethinking Flexibility: A Lecture by Joshua Ramus<br />

25<br />

rex-ny.com/project/shenzhen-opera-house


26<br />

around<br />

<strong>14</strong><br />

บรรยาการภายใน<br />

Opera House<br />

15<br />

มุมมองจากชั้นบน<br />

ของ Shenzhen Opera<br />

House 1.0 ไปยังวิวเมือง<br />

16<br />

คุณฉัตรพงษ์ ชื่นฤดีมล<br />

และผศ. ดร. สุพิชชา<br />

ร่วมสนทนากับ Joshua<br />

ในช่วง Q&A<br />

17<br />

Joshua Ramus<br />

กับทีมผู้จัดงาน <strong>ASA</strong><br />

International Lecture<br />

Series<br />

rex-ny.com/project/shenzhen-opera-house<br />

<strong>14</strong><br />

15<br />

rex-ny.com/project/shenzhen-opera-house<br />

16<br />

17


Rethinking Flexibility: A Lecture by Joshua Ramus<br />

27<br />

Rethinking Flexibility<br />

Intensification<br />

ในส่วน Flexibility ส่วนสุดท้ายที่ Joshua ได้นำามาเลคเชอร์<br />

ในวันนี้ คือ Intensification หรือความเข้มข้นใน การจัดวาง<br />

ในแง่การวางผังสถาปัตยกรรมของ REX หมายถึงการ<br />

เอาส่วน ทางเดินและส่วนบริการในโครงการที่มีขนาดใหญ่<br />

และมีความซับซ้อนมาวางเรียงอัดกันเป็นส่วนแกนกลาง<br />

ของอาคาร เพื่อทำาหน้าที่แจกจ่ายไปยังพื้นที่หลักส่วนต่างๆ<br />

ของอาคาร โดย Joshua ได้ยกตัวอย่างงาน Shenzhen<br />

Opera House 1.0 ที่ต้องการที่จะประกอบพื้นที่ใช้สอยที่<br />

มีการใช้งานของคนจำานวนมากไว้ใไนอาคารเดียว ได้แก่<br />

ส่วนจัดแสดงโอเปร่า ส่วนจัดแสดงคอนเสิร์ต ส่วนโรงละคร<br />

และส่วนจัดแสดงดนตรี โดยได้วางผังทางสัญจรซึ่งเป็นส่วน<br />

ที่ผู้คนสัญจรทับซ้อนกันมากที่สุด ไว้ตรงแกนกลาง ของ<br />

อาคารในแนวตั้ง นอกจากจะเป็นการประหยัดพื้นที่ของ<br />

อาคารแล้ว ยังทำาให้อาคารมี Footprint น้อยลง เพื่อเป็นการ<br />

เพิ่ม พื้นที่ให้แก่ภูมิทัศน์โดยรอบอาคารเพิ่มมากขึ้น ด้วย<br />

ข้อดีตรงจุดนี้ ทำาให้ REX ชนะการประกวดแบบ โครงการนี้<br />

ที่จัดโดยรัฐบาลเมืองเซิ่นเจิน ซึ่งเป็นเมืองที่มีประชากรมาก<br />

และอาศัยอยู่กันอย่างหนาแน่น การเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้แก่<br />

เมือง เป็นจุดที่ทำาให้ REX ชนะใจกรรมการของโครงการ<br />

ประกวดแบบ<br />

Closing<br />

Joshua Ramus ปิดท้ายการบรรยายหัวข้อ Rethinking<br />

Flexibility โดยนำาเสนอภาพม้าไม้เมืองทรอย หรือม้าโทรจัน<br />

(Trojan horse) ที่เขาเคยนำาเสนอสไลด์หน้าเดียวกันนี้<br />

เมื่อมาบรรยายที่ไทยเมื่อ 13 ปีที่แล้ว แต่ทว่าเป็นเวอร์ชั่น<br />

อัพเกรดจากภาพหุ่นม้าเป็นภาพหุ่นยนต์แทน โดยเขาได้<br />

อธิบายว่าด้วยอาชีพสถาปนิกนั้น ถึงแม้เราจะมีความคิด<br />

สร้างสรรค์ ออกแบบอะไรได้ตามชอบใจ แต่ไม่ได้แปลว่า<br />

เราจะสามารถยึดถือความคิดของเรา เป็นใหญ่ได้ 100%<br />

เสมือนการยัดเยียดหุ่นม้าไปให้เมืองทรอยฝั่งตรงข้าม หาก<br />

แต่สิ่งนั้น จะต้องเป็นสิ่งที่ถูกปรับเปลี่ยน แล้วให้ตรงกับใจ<br />

ลูกค้าด้วย โดยอาจปรับเปลี่ยนให้เป็นหุ่นยนต์ที่ตรงใจกับ<br />

การใช้งานที่ลูกค้าอยากได้ มิฉะนั้น จะสามารถเกิดความ<br />

คิดเห็นที่ผิดใจกันได้โดยง่าย ทาง REX เองจึงมักนำาเสนอ<br />

งานสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะสร้างสรรค์ และแตกต่างไป<br />

จากวิธีการคิดปกติไปเป็นอย่างมาก (blizzard things)<br />

ที่ถึงแม้บางโครงการจะถูก ออกแบบภายใต้เงื่อนไข และ<br />

ข้อจำากัด แต่ก็จะนำาเสนอไอเดียใหม่ๆ ที่ปรับปรุงจากพื้นที่<br />

ใช้สอยพื้นฐานที่มีอยู่เดิม และที่สำาคัญที่สุดคือการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมที่ทำาให้เจ้าของโครงการสนใจ ตื่นเต้น และ<br />

ไม่เคยเห็นที่ไหนมาก่อนให้ได้<br />

Rethinking Flexibility<br />

Intensification<br />

The last part of Joshua’s lecture is about the idea<br />

of Intensification. In REX’s architectural layout,<br />

Intensification refers to arranging corridors and<br />

service areas in large-scale and complex projects<br />

as the core of the building to distribute to<br />

the main areas of the building. Shenzhen Opera<br />

House 1.0 is one with such an approach. The<br />

project wanted to group the functional spaces<br />

used by large crowds in one building, including<br />

the opera area, concert section, theater section,<br />

and musical performing section, by planning a<br />

thoroughfare layout where the parts that people<br />

travel the most overlap around the center of the<br />

building vertically. In addition to saving the building’s<br />

space, the design also enables the building<br />

to have a smaller footprint and more space for<br />

the landscape. With this advantage, REX won<br />

the competition for this project organized by the<br />

Shenzhen city government. Shenzhen is a very<br />

populated city, and people live together densely.<br />

Adding green space to the city was one of the<br />

key points that the judges admired.<br />

Closing<br />

Joshua Ramus concluded his Rethinking Flexibility<br />

presentation with the same image of the wooden<br />

Trojan horse that he displayed 13 years ago in Thailand.<br />

The traditional wooden horse was replaced<br />

with a technologically sophisticated robot for this<br />

version. In which he explained that, as architects,<br />

even if we are creative and able to design whatever<br />

we desire, this does not necessarily mean that we<br />

will be able to maintain complete control over our<br />

ideas. Comparable to pushing the Trojan horse into<br />

the city of Troy. However, it must also be adapted<br />

or modified to meet the requirements and expectations<br />

of the clients. It can be modified to be a robot<br />

that meets the requirements of the customers;<br />

otherwise, it is likely to spark disagreements. REX<br />

adopts a novel approach by proposing innovative<br />

architectural designs that deviate from conventional<br />

thinking. Despite working within constraints and<br />

limitations, REX strives to introduce improved<br />

ideas that challenge prevailing norms. The primary<br />

focus of REX is to consistently endeavor to develop<br />

architectural designs that captivate and stimulate<br />

the client while also being distinctively unique and<br />

unprecedented.<br />

ดร. ศุภาศัย<br />

วงศ์กุลพิศาล<br />

จบการศึกษาระดับ<br />

ดุษฎีบัณฑิตหลักสูตร<br />

สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง<br />

สาขาวิชาประวัติศาสตร์<br />

ทฤษฎี และการสื่อความ-<br />

หมายสถาปั ตยกรรมจาก<br />

มหาวิทยาลัยวอชิงตัน<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

ขณะนี้ศุภาศัยเป็ นอาจารย์<br />

อยู่ที่คณะสถาปั ตยกรรม-<br />

ศาสตร์ สาขาวิชาการ<br />

ออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

(หลักสูตรนานาชาติ)<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

Dr. Supasai<br />

Vongkulbhisal<br />

earned her doctoral<br />

degree in the Built<br />

Environment with<br />

a specialization in<br />

History, Theory, and<br />

Representation from<br />

the University of<br />

Washington, USA.<br />

Presently, she holds<br />

a faculty position at<br />

Chulalongkorn University<br />

in the International<br />

Program in Design and<br />

Architecture (INDA).


Infinity<br />

around<br />

Ground<br />

Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture<br />

Exhibition<br />

18 JUL - 6 AUG <strong>2023</strong><br />

Bangkok Art & Culture Centre<br />

(BACC), L Floor<br />

Hosts Co-Organizers Supporters


<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

29<br />

<strong>ASA</strong> Infinity Ground—<br />

Thailand and Taiwan<br />

Contemporary<br />

Architecture Exhibition<br />

Text by Supasai Vongkulbhisal, Ph.D.<br />

Photo Courtesy of The Association of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

นิทรรศการสถาปัตยกรรมและการบรรยายภายใต้หัวข้อ<br />

“Infinity Ground-Thailand and Taiwan Contemporary<br />

Architecture Exhibition” จัดขึ้นที่หอศิลปวัฒนธรรม<br />

แห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ถึง<br />

6 สิงหาคม 2566 จากการร่วมมือระหว่างสมาคมสถาปนิก<br />

สยามในพระบรมราชูปถัมภ์และสำานักงานเศรษฐกิจ<br />

และวัฒนธรรมไทเปประจำาประเทศไทย โดยได้รับการ<br />

สนับสนุนจากกระทรวงวัฒนธรรม สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะ<br />

สถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และคณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าธนบุรี มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่และ<br />

แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมร่วมสมัย<br />

(Contemporary Architecture) ระหว่างไทยและไต้หวัน<br />

ในพิธีเปิดนิทรรศการ คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมด้วย Hsiu-Mei<br />

Hsueh ​Deputy Representative of the Taipei Economic and<br />

Cultural Office in Thaland และคุณประภากร วทานยกุล<br />

นายกสภาสถาปนิก ได้ให้เกียรติเข้าร่วมพิธีเปิดงาน<br />

An architectural exhibition and lecture, Infinity<br />

Ground—Thailand and Taiwan Contemporary<br />

Architecture Exhibition, was held at the Bangkok<br />

Art and Culture Center (BACC) from July 18 to<br />

August 6, <strong>2023</strong>. It was organized by the Association<br />

of Siamese Architects under the Royal Patronage<br />

of the King and the Taipei Economic and Cultural<br />

Office in Thailand, with support from the Ministry<br />

of Culture, Republic of China (Taiwan), the Faculty<br />

of Architecture Chulalongkorn University, the Faculty<br />

of Architecture Silpakorn University, the Faculty of<br />

Architecture and Design King Mongkut’s Institute<br />

of Technology Ladkrabang, and the Faculty of<br />

Architecture and Design King Mongkut’s University<br />

of Technology Thonburi. The event seeks to promote<br />

the dissemination and exchange of contemporary<br />

architecture knowledge between Thailand and<br />

Taiwan. The exhibition’s opening ceremony was<br />

presided over by Mr. Chana Sumpalung, President<br />

of the Association of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage, Mr. Hsiu-Mei Hsueh, Deputy<br />

Representative of the Taipei Economic and Cultural<br />

Office in Thailand, and Mr. Prabhakorn Vadanyakul,<br />

President of the Architect Council of Thailand.


30<br />

around<br />

Curator Presentation on<br />

“The Story behind Infinity Ground—Thailand and<br />

Taiwan Contemporary Architecture Exhibition”<br />

and Infinity Ground Dialogue<br />

July 18, <strong>2023</strong><br />

กุลธิดา ทรงกิตติภักดี และ Jenchieh (Jerry) Hung สอง<br />

สถาปนิกผู้ก่อตั้งบริษัท HAS ซึ่งรับหน้าที่เป็นภัณฑารักษ์<br />

หลักของนิทรรศการในครั้งนี้ ได้กล่าวถึงแนวความคิด<br />

เบื้องต้นเมื่อได้รับโจทย์ให้การออกแบบงานนิทรรศการ<br />

Infinity Ground โดยทางทีมผู้ออกแบบได้รับแรงบันดาลใจ<br />

มาจากแสงที่ส่องผ่านช่องแสงของหลังคา BACC ลงสู ่พื ้น<br />

ชั้นใต้ดิน ซึ่งเป็นพื้นที่จัดนิทรรศการ ด้วยเห็นว่าเป็นลักษณะ<br />

ร่วมที่พบได้บ่อยทั้งในงานสถาปัตยกรรมไทยและไต้หวัน<br />

ตัวอย่างเช่น ในโบสถ์ของวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย และงาน<br />

สถาปัตยกรรมอีกหลายๆ แห่งในไต้หวัน ซึ ่ง Jerry ได้ตั้ง<br />

ข้อสังเกตถึง “ผืนดิน” ซึ่งเป็นส่วนเชื่อมโยงและประสานกัน<br />

ระหว่างทุกสิ่งบนโลก และได้ศึกษาเพิ่มเติมถึงประวัติศาสตร์<br />

ด้านธรณีวิทยาของเปลือกโลกจากหนังสือ The Origin of<br />

Continents and Oceans เขียนโดย นักธรณีวิทยาชาว<br />

เยอรมัน Alfred Lothar Wegener ผู้เขียนได้อธิบายไว้ว่า<br />

“ในอดีต โลกเคยรวมตัวกันเป็นมหาทวีป Pangea ล้อมรอบ<br />

ด้วยผืนน้ำาของ Panthalassa ต่อมาได้เคลื่อนที่แตกออกเป็น<br />

7 ทวีป 5 มหาสมุทรอย่างที่เป็นในปัจจุบัน” ทีมผู้ออกแบบ<br />

จึงได้นำาแนวความคิดนี้มาปรับใช้กับการออกแบบนิทรรศการ<br />

เพื่อคงไว้ซึ่งมุมมองของ “การเลื่อนไหล” และ “การรวมตัว”<br />

ของเปลือกโลก<br />

ทางทีมภัณฑารักษ์จึงได้แบ่งการนำาเสนอสถาปัตยกรรม<br />

ร่วมสมัยของไทยและไต้หวันออกเป็น 2 หมวดหลัก<br />

หมวดแรกกล่าวถึง “การแลกเปลี่ยนบนผืนดิน” (Ground<br />

Exchanges) โดยนำาเสนอตัวอย่างผลงานสถาปัตยกรรม<br />

ทั้งไทยและไต้หวันที่ประกอบขึ้นจาก การอยู่ร่วมกัน<br />

(Togetherness) ความศักดิ์สิทธิ์ (Ritual) ลักษณะพื้นถิ่น<br />

(Native) และการแทรกซึม (Porosity) แสดงให้เห็นถึง<br />

ทิศทางการอยู่ร่วมกันระหว่างสถาปัตยกรรมสมัยใหม่กับ<br />

ผืนดินในอนาคต หมวดที่สองแสดงตัวอย่างผลงานที่สื่อถึง<br />

“ความรู้สึกจากผืนดิน” (Feeling Grounds) โดยยกตัวอย่าง<br />

งานที่ก่อให้เกิดความเอื้อเฟื้อและเห็นอกเห็นใจผืนดิน<br />

เกิดเป็นความพิเศษ (Extra Ordinary) การหวนถึง<br />

รากเหง้า (Nostalgia) การประยุกต์ให้เข้ากับบริบท<br />

พื้นถิ่น (Vernacular) และความเชื่อมโยงแบบไร้ขอบเขต<br />

(Boundaryless) องค์ประกอบเหล่านี้เป็นสิ่งที่เชื่อมโยง<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัยของไทยและไต้หวันเข้าด้วยกัน<br />

เสมือนกับชื่อของนิทรรศการ Infinity Ground—Thailand<br />

and Taiwan Contemporary Architecture<br />

Kulthida Songkittipakdee and Jenchieh (Jerry)<br />

Hung, the two founding principals of HAS alse act<br />

as the chief curator of this exhibition, discussed the<br />

initial concept of the exhibition design. HAS was<br />

initially inspired by the light that passes through<br />

the skylight of the BACC’s roof and illuminates the<br />

exhibition space on the basement level. The design<br />

team saw this as a common phenomenon in both<br />

Thai and Taiwanese architecture, such as in the<br />

church of Wat Si Chum, Sukhothai Province, and<br />

many other architectural works in Taiwan, where<br />

Jerry has noted “the land,” which is the common<br />

ground, connection, and cohesion between all<br />

things on earth. HAS also studied the geological<br />

history of the earth’s crust from the book The Origin<br />

of Continents and Oceans by German geologist<br />

Alfred Lothar Wegener, which states: “In the past,<br />

the earth was formed as a supercontinent, Pangea,<br />

surrounded by the waters of Panthalassa, and<br />

then split into the seven continents and five oceans<br />

that exist today”.<br />

Therefore, HAS has utilized this concept to create<br />

an exhibition that illustrates the perspectives of<br />

“Sliding” and “Agglomeration” of the earth’s crust.<br />

The curatorial team divides the presentation of<br />

contemporary Thai and Taiwanese architecture<br />

into two primary categories. “Ground Exchanges”<br />

showcases examples of Thai and Taiwanese<br />

architecture that incorporate Togetherness, Ritual,<br />

Native, and Porosity. It indicates the direction of<br />

coexistence between contemporary architecture<br />

and the earth of the future. As Extra Ordinary,<br />

Nostalgia, Vernacular, and Boundaryless, the<br />

second section, “Feeling Grounds,” presents a<br />

collection of works that inspire benevolence and<br />

sympathy for the earth. As suggested by the title of<br />

the exhibition, Infinity Ground: Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture, these elements are<br />

what connect Thai and Taiwanese contemporary<br />

architecture.


<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

31<br />

1<br />

2<br />

01<br />

ตัวอย่างผลงานของ<br />

สถาปนิกไทยและ<br />

ไต้หวันที่เข้าร่วม<br />

จัดแสดงภายในงาน<br />

02<br />

ตัวแทนสถาปนิก<br />

จากทั้งหมด 6 บริษัท<br />

ร่วมกันสนทนา ภายใต้<br />

หัวข้อ Infinity Ground<br />

Dialogue<br />

ในช่วงท้ายของพิธีเปิดงานนิทรรศการในวันแรก ทีม<br />

ภัณฑารักษ์ได้เชิญตัวแทนจากบริษัทสถาปนิกไทยและ<br />

ไต้หวันเป็นจำานวนทั้งหมด 6 บริษัท (จากทั้งหมด 8 บริษัท<br />

ที่เข้าร่วมจัดแสดงผลงาน) เข้าร่วมสนทนาภายใต้หัวข้อ<br />

“Infinity Ground Dialogue” เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้<br />

ระหว่างไทยและไต้หวัน โดยตัวแทนจากบริษัททั้งหมด<br />

ประกอบด้วย ยิ่งยง ปุณโณปภัมภ์ จากบริษัท สถาปนิก<br />

ชุมชนและสิ่งแวดล้อม อาศรมศิลป์ จำากัด Maria Eugenia<br />

Carrizosa Rivera และ Rodrigo Reverte Marinez-Gil จาก<br />

บริษัท Behet Bondzio Lin Architekten นิธิศ สถาปิตานนท์<br />

จากบริษัท สถาปนิก 49 จำากัด ดวงฤทธิ์ บุนนาค จากบริษัท<br />

ดวงฤทธิ์ บุนนาค จำากัด ทวิตีย์ วัชราภัย เทพาคำาและอมตะ<br />

หลูไพบูลย์ จากบริษัท ดีพาร์ทเม้นท์ ออฟ อาร์คิเทคเจอร์<br />

จำากัด Sheng-Feng Lin จากบริษัท Atelier Or (ส่วนบริษัท<br />

MAYU Architects และ Studio Ambi ส่งผลงานเข้าร่วมจัด<br />

แสดงเพียงอย่างเดียว)<br />

At the conclusion of the opening ceremony on the<br />

first day, the curatorial team invited representatives<br />

from six Thai and Taiwanese architectural firms (out<br />

of a total of eight participating firms) to participate<br />

in a discussion titled “Infinity Ground Dialogue”<br />

to facilitate the exchange of information between<br />

Thailand and Taiwan. Representatives from all<br />

companies consisted of Yingyong Poonnopatham<br />

from Arsomsilp Architects, Maria Eugenia Carrizosa<br />

Rivera and Rodrigo Reverte Marinez-Gil from Behet<br />

Bondzio Lin Architekten, Nithis Sathapitanon from<br />

Architects 49, Duangrit Bunnag from DBALP, Twitee<br />

Vajrabhaya Teparkum and Amata Luphaiboon from<br />

Department of Architects Co., Ltd., and Sheng-Feng<br />

Lin from Atelier Or (MAYU Architects and Studio<br />

Ambi only submitted works).


32<br />

around<br />

03<br />

คุณชนะ สัมพลัง นายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

มอบของที่ระลึกแก่<br />

สถาปนิกผู้ร่วมสนทนา<br />

โดยบทสนทนาสร้างให้เกิดคำาถามและคำาตอบที่น่าสนใจ<br />

หลายหัวข้อ เป็นต้นว่า เราจะจำากัดความหมายของคำาว่า<br />

Infinity เมื่อมาร่วมกับคำาว่า Architecture ได้อย่างไร<br />

เราจะสามารถนำาเอาองค์ความรู้จากทางตะวันตกอย่างเช่น<br />

ArtificiaI Intelligence เข้ามาปรับใช้กับสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นได้อย่างไร การพยายามคงไว้ซึ่งความเป็นพื้นถิ่นใน<br />

งานออกแบบ การผนวกหัตถศิลป์เข้ากับระบบอุตสาหกรรม<br />

และเทคโนโลยีของไต้หวัน การรวมไว้ซึ่งความหลากหลาย<br />

ในพื้นเพและเชื้อชาติของสถาปนิกในบริษัทเดียวกัน มีผล<br />

ต่อผลงานออกแบบอย่างไร ความเหมือนและแตกต่าง<br />

ระหว่างสถาปัตยกรรมไทยและไต้หวัน เป็นต้น<br />

ผลงานที่ถูกนำามายกตัวอย่างทั้งในการบรรยายและการ<br />

จัดแสดงจากทั้ง 8 บริษัทนั้นตั้งอยู่ในหลากหลายพื้นที่ที่<br />

แตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นในประเทศไทย เช่น กรุงเทพฯ<br />

ปทุมธานี สมุทรสาคร อยุธยา นครราชสีมา และพัทยา และ<br />

ในประเทศไต้หวัน เช่น ซินจู๋ หนานโถว หยุนหลิน เกาสง<br />

ผิงตง และอี๋หลาน ทั้งหมดนี้เป็นตัวแทนของความหลาก-<br />

หลายทางวัฒนธรรม สภาพภูมิอากาศ และสภาพสังคม<br />

ที่ทางทีมภัณฑารักษ์ต้องการให้ผู้ชมได้เล็งเห็นถึงความ<br />

คล้ายคลึงและแตกต่างกันระหว่างสถาปัตยกรรมร่วมสมัย<br />

ของไทยและไต้หวันทั้งทางตรงและทางอ้อม<br />

The conversation raises questions and gives many<br />

interesting answers, such as how the concept of<br />

infinity might be delineated within the realm of<br />

architecture. In what ways may Western expertise,<br />

particularly in the field of artificial intelligence be<br />

effectively utilized in traditional architecture? How to<br />

preserve vernacularity in design endeavors through<br />

the integration of craftsmanship with Taiwan’s<br />

industrial processes and technology. What impact<br />

does the inclusion of diverse backgrounds and<br />

nationalities among architects within a company<br />

have on the outcomes of design? Similarities and<br />

differences between the architecture of Thailand<br />

and Taiwan.<br />

The projects showcased in lectures and exhibitions<br />

by all eight companies are situated in diverse<br />

locations, encompassing various areas in Thailand,<br />

including Bangkok, Pathum Thani, Samut Sakhon,<br />

Ayutthaya, Nakhon Ratchasima, and Pattaya, as<br />

well as in Taiwan, such as Hsinchu, Nantou, Yunlin,<br />

Kaohsiung, Pingtung, and Yilan. The exhibition aims<br />

to showcase the cultural diversity, climate, and<br />

socioeconomic conditions in which the curator team<br />

intends for audiences to discern and appreciate<br />

the parallels and variations between Thai and Taiwanese<br />

contemporary architecture, both through<br />

direct and indirect means.<br />

3


<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

33<br />

Lecture Series titled<br />

“Architecture as Dialogue for All”<br />

July 21 and 29, <strong>2023</strong><br />

Saowaruj<br />

Rattanakhamfu<br />

Vice President and<br />

Research Director<br />

Thailand Development<br />

Research Institute<br />

การบรรยายหัวข้อ Architecture as Dialogue for All<br />

เป็นส่วนหนึ่งของงานนิทรรศการ Infinity Ground ที่จัด<br />

ขึ้นเป็นจำานวนทั้งสิ้น 2 วัน ในช่วงบ่ายของวันเสาร์ที่ 21<br />

กรกฎาคม 2566 และวันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม 2566 ณ<br />

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพฯ (BACC) ประกอบไป<br />

ด้วยการบรรยายของผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นตัวแทนจาก<br />

ประเทศไทยและไต้หวันทั้งหมด 8 ท่าน มีรายละเอียด<br />

ของการบรรยาย ดังต่อไปนี้<br />

The Architecture as Dialogue for All lecture is<br />

part of the second day of the 2-day Infinity<br />

Ground exhibition at Bangkok Art and Culture<br />

Center (BACC) on July 21, <strong>2023</strong>, and July 28,<br />

<strong>2023</strong>. It was comprised of eight academics from<br />

Thailand and Taiwan who delivered lectures on<br />

the following topics:<br />

“Transforming the Thai Architecture Industry in the New Era”<br />

Dr. Saowaruj Rattanakhamfu<br />

ดร. เสาวรัจ รัตนคำาฟู ผู้อำานวยการวิจัยด้านนโยบาย<br />

นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนจากสถาบัน TDRI กล่าว<br />

บรรยายด้วยหัวข้อ “อุตสาหกรรมบริการสถาปัตยกรรมไทย<br />

ในโลกยุคใหม่” โดย ดร. เสาวรัจ เริ่มต้นอธิบายถึงบทบาท<br />

ของภาคอุตสาหกรรมบริการด้านสถาปัตยกรรมของไทย<br />

ซึ่งนับได้ว่าเป็น 0.1% ของค่าจีดีพี (GDP) และเป็น 0.15%<br />

ของผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ ทั้งหมดในไทย วิชาชีพสถาปนิก<br />

จึงนับว่าเป็นวิชาชีพที่มีบทบาทสำ าคัญที่จะผลักดันเศรษฐกิจ<br />

ของไทยให้เติบโตขึ้น ดร. เสาวรัจ ได้แสดงให้เห็นถึงแนวโน้ม<br />

เศรษฐกิจ 3 รูปแบบที่กำาลังจะเกิดขึ้นในอนาคต และส่งผล<br />

ต่อการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำางานของสถาปนิก ได้แก่<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) หมายความถึงเศรษฐกิจ<br />

ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลกหลังจากยุคโควิด เศรษฐกิจ<br />

ใส่ใจ (Care Economy) หมายถึงเศรษฐกิจที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน<br />

ความใส่ใจทั้งต่อตัวเองและสังคม และเศรษฐกิจสีเขียว (Green<br />

Economy) หมายถึงเศรษฐกิจที่เกิดการความพยายามในการ<br />

แก้ปัญหาโลกร้อน โดย ดร. เสาวรัจ ได้ยกตัวอย่างผลงาน<br />

สถาปัตยกรรมที่จะเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองต่อรูปแบบเศรษฐกิจ<br />

ทั้งสามประเภทนี้ ได้แก่ การใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์<br />

(Artificial Intelligence) มาช่วยออกแบบพื้นที่สำานักงาน<br />

การออกแบบสิ่งแวดล้อมของสถานพยาบาลให้ผู้ป่วยรู้สึก<br />

เหมือนบ้าน การออกกฎหมายสำาหรับอาคารสูงซึ่งต้อง<br />

ทดแทนพื้นที่สีเขียวที่หายไปของเมือง ในช่วงท้ายของการ<br />

บรรยาย ดร. เสาวรัจ ได้อธิบายถึงสภาพการณ์ของการเรียน<br />

การสอนวิชาสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน ทักษะจำาเป็นที่ควรมีใน<br />

การประกอบวิชาชีพในอนาคต ตัวอย่างปฎิบัติที่น่าสนใจจาก<br />

ต่างประเทศ และบทบาทที่ภาครัฐจะสามารถเข้ามาสนับสนุน<br />

และส่งเสริมวิชาชีพนี้ได้<br />

Dr. Saowaruj Rattanakhamfu, Research Director for<br />

Innovation Policy for Sustainable Development at<br />

the TDRI Institute, presented on “Thai Architectural<br />

Service Industry in the New World”. The lecture<br />

begins by describing the function of the Thai<br />

architectural services industry, which accounts for<br />

0.1% of the country’s GDP and 0.15 percent of all<br />

professionals. Architects are regarded as a profession<br />

that significantly drives the Thai economy.<br />

Dr. Saowaruj has presented three economic trends<br />

that will occur in the future and influence the change<br />

in the work style of architects, including the Digital<br />

Economy, which alludes to the economy caused<br />

by the changes in the world following the COVID<br />

pandemic. The Care Economy refers to an economy<br />

that is based on providing for oneself and society,<br />

whereas the Green Economy refers to an economy<br />

that is attempting to solve global warming issues.<br />

Dr. Saowaruj provided the following example of the<br />

architectural response to these three kinds of economic<br />

models: using artificial intelligence to assist<br />

in the design of office space; the design of hospital<br />

environments to make patients feel at home; and<br />

legislation requiring tall structures to replace the<br />

city’s lost green space. At the conclusion of the<br />

lecture, Dr. Saowaruj discussed the current state of<br />

teaching and learning architecture, the necessary<br />

skills that should be available in future professions,<br />

including interesting international practices, and<br />

the government’s ability to support and promote<br />

the architect profession.


34<br />

around<br />

“Space, Experiences, and Memories”<br />

Linda Cheng<br />

Linda Cheng กรรมการผู้จัดการศูนย์การค้าริเวอร์ ชิตี้<br />

กรุงเทพฯ ได้นำาประสบการณ์ของตนเองในด้านการบริหาร<br />

จัดการอาคารที่เกี่ยวเนื่องกับศิลปวัฒนธรรมมาเป็นเนื้อหา<br />

หลักของการบรรยาย ไม่ว่าการนำาองค์ประกอบทางด้าน<br />

ดนตรีและศิลปะมาผนวกกับชื่อเสียงทางด้านวิทยาศาสตร์<br />

ของมหาวิทยาลัยมหิดล ส่งเสริมให้อาคารมหิดลสิทธาคาร<br />

(Prince Mahidol Hall) เป็นที่น่าจดจำาของผู้คนและกลายมา<br />

เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยมหิดลในเวลาต่อมา รวมไป<br />

ถึงผลงานล่าสุด คือ การเอานำาศิลปะประเภทต่างๆ โดยเฉพาะ<br />

ศิลปะร่วมสมัยมาจัดแสดงบนพื้นที่ของศูนย์การค้าริเวอร์ ซิตี้<br />

โดยปรับภาพลักษณ์เดิมของศูนย์การค้าริเวอร์ ซิตี้ ที่เคยถูก<br />

จดจำาในฐานะเป็นพื้นที่สำ าหรับซื้อขายงานศิลปะและวัตถุโบราณ<br />

เพียงอย่างเดียว ให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับความ<br />

สนใจของสภาพสังคมปัจจุบันมากขึ้น โดย Linda ประสบความ<br />

สำาเร็จด้วยการดึงดูดผู้ชมงานศิลปะรุ่นใหม่ๆ เข้ามายังพื้นที่<br />

As the managing director of River City Bangkok<br />

Shopping Center, Linda Cheng uses her own<br />

experience in management and administering<br />

culturally related buildings as the primary focus of<br />

her lecture. Cheng combined musical and artistic<br />

elements with Mahidol University’s reputation for<br />

science to attract people to the Prince Mahidol Hall<br />

and make it memorable, subsequently becoming<br />

a symbol of Mahidol University. Her most recent<br />

endeavor is to exhibit various types of art, notably<br />

contemporary art, in the River City Shopping<br />

Center, adjusting the original image of the River<br />

City Shopping Center, which was once only associated<br />

with the sale of art and antiques, to be<br />

more contemporary and in tune with the interests<br />

of contemporary social conditions. Cheng was<br />

successful because he attracted a significant<br />

number of new art viewers. She describes the<br />

4<br />

5<br />

04<br />

ภาพการบรรยายของ<br />

คุณ Linda Cheng<br />

กรรมการผู้จัดการ<br />

ศูนย์การค้าริเวอร์ ซิตี้<br />

05<br />

ภาพการบรรยายของ<br />

รศ. Hsuan-Chen Chen<br />

อาจารย์ประจำาของ<br />

มหาวิทยาลัย Chung Yuan<br />

Christian<br />

06<br />

ภาพการบรรยายของ<br />

ดร. เสาวรัจ รัตนคำาฟู<br />

ผู้อำานวยการวิจัย<br />

จากสถาบัน TDRI<br />

6


<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

35<br />

ได้เป็นจำานวนมาก Linda ได้ให้คำาจำากัดความของการจัด<br />

แสดงศิลปะบนพื้นที่ใหม่ๆ นี้ว่า “ควรคำ านึงถึงวิถีชีวิตของ<br />

ผู้คน วิธีการรับรู้ของผู้คน คุณค่าของพื้นที่ ความกลมกลืน<br />

และความเป็นอยู่ที่ดี เพราะประสบการณ์ของผู้เข้าชมงาน<br />

เป็นสิ่งสำาคัญ นอกเหนือจากการมีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม<br />

เพียงอย่างเดียว ความรู้สึกประทับใจของผู้คนที่มีต่อผลงาน<br />

ศิลปะ และพื้นที่ที่จัดแสดงจะประทับอยู่ในความทรงจำ าของ<br />

เขาตลอดไป แม้จะเดินออกจากพื้นที่ไปแล้วก็ตาม”<br />

exhibition of art in this new space as “considering<br />

the lifestyle of the people, their way of perceiving<br />

others, the importance of space harmony, and<br />

the well-being of the visitors, because the visitor<br />

experience is essential in addition to possessing<br />

stunning architecture alone. The impressions of<br />

the artwork and exhibition area will remain in the<br />

minds of visitors long after they have left the place.”<br />

Linda Cheng<br />

Managing Director<br />

River City Bangkok<br />

“Observation of the Phenomenon of Contemporary<br />

Architectural Creation in Taiwan: Strength in Numbers,<br />

Unity is Strength”<br />

Adjunct Associate Professor Chun-Ming Huang<br />

รองศาสตราจารย์ Chun-Ming Huang ดำารงตำาแหน่ง<br />

อาจารย์พิเศษที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

Chung Yuan Christian University ประเทศไต้หวัน เริ่มต้น<br />

การบรรยายหัวข้อ “ข้อสังเกตจากการสำารวจปรากฎการณ์<br />

การสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมร่วมสมัยของไต้หวัน” ด้วย<br />

การเล่าถึงความเป็นมาของประเทศไต้หวันให้ผู้ฟังได้เข้าใจ<br />

พอสังเขป ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์แล้ว ประเทศไต้หวัน<br />

ตั้งอยู่บนแนวแผ่นดินไหวที่ชื่อว่า “วงแหวนแห่งไฟ” (Ring of<br />

Fire) เช่นเดียวกับประเทศฟิลิปปินส์และญี่ปุ่น ด้านประวัติ-<br />

ศาสตร์ ชนกลุ่มแรกที่อาศัยบนเกาะไต้หวัน ได้แก่ ชาวพื้นเมือง<br />

ต่อมาถูกปกครองโดยชาวดัชท์ สเปน จีน (ราชวงศ์ชิง) และ<br />

ญี่ปุ่น และเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้นอีกครั้งหลัง<br />

การเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงปี 1980s<br />

หลังการยกเลิกกฎอัยการศึก ชาวไต้หวันได้ตั้งคำ าถามถึง<br />

อัตลักษณ์ของตนเอง คำาถามนี้ส่งผลถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบ<br />

วิธีการคิดและสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมของไต้หวัน การ<br />

บรรยายในครั้งนี้ Huang ได้สรุปทิศทางการพัฒนาและการ<br />

เปลี่ยนแปลงรูปแบบของสถาปัตยกรรมไต้หวันออกเป็น 4<br />

ทิศทางด้วยกัน ได้แก่ 1) สถาปัตยกรรมไต้หวันที่แสดงให้<br />

เห็นถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันซับซ้อนของประเทศ<br />

(The space field in dialogue with history) 2) สถาปัตย-<br />

กรรมไต้หวันที่ออกแบบให้สอดคล้องกับวิถีการใช้งานของ<br />

ชาวเมือง (The regional construction of the common<br />

people’s living space) 3) สถาปัตยกรรมไต้หวันที่สามารถ<br />

ตอบรับกับสิ่งแวดล้อมได้โดยเฉพาะเรื่องของแผ่นดินไหว<br />

(Structural expressionism in response to terrior and<br />

environmental conditions) 4) สถาปัตยกรรมไต้หวันที่เกิด<br />

ได้ด้วยความร่วมมือกับสาขาภาควิชาอื่นๆ (Cross-disciplinary<br />

creation of architectural design) ทั้งหมดนี้ Huang ได้ยก<br />

ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมประกอบและบางส่วนได้ถูกนำามา<br />

แสดงในนิทรรศการ Infinity Ground ในครั้งนี้ด้วย<br />

Associate Professor Chun-Ming Huang, a visiting<br />

professor at the Faculty of Architecture at Taiwan’s<br />

Chung Yuan Christian University, begins the lecture<br />

by providing a concise overview of Taiwan’s history.<br />

Taiwan, along with the Philippines and Japan, is<br />

situated on a seismic fault line known as the “Ring<br />

of Fire,” based on geographical characteristics.<br />

Taiwan was originally inhabited by natives, who<br />

were subsequently ruled by the Dutch, Spanish,<br />

Chinese (Qing Dynasty), and Japanese, with<br />

another change in government occurring in the<br />

1980s after World War II.<br />

After the abolition of martial law, Taiwanese have<br />

questioned their identity. This question has resulted<br />

in changing the style, way of thinking, and creation<br />

of architecture in Taiwan. In this lecture, Huang<br />

summarized the direction of development and<br />

transformation of Taiwanese architecture into four<br />

directions: 1) Taiwanese architecture that shows<br />

the country’s complex history (the space field in<br />

dialogue with history) 2) Taiwanese architecture<br />

designed in accordance with the urban lifestyle<br />

(the regional construction of the common people’s<br />

living space) 3) Taiwanese architecture that can<br />

respond to structural expressionism in response to<br />

terrain and environmental conditions 4) Taiwanese<br />

architecture that was born in cooperation with<br />

other disciplines (cross-disciplinary creation of<br />

architectural design) Some of them have been<br />

included in the Infinity Ground exhibition.<br />

Chun-Ming Huang<br />

Adjunct Associate<br />

Professor<br />

Department of<br />

Architecture, Chung<br />

Yuan Christian<br />

University<br />

Chairman<br />

Alliance for Architectural<br />

Modernity Taiwan


36<br />

around<br />

Hsuan-Chen Chen<br />

Associate Professor<br />

Department of<br />

Architecture, Chung<br />

Yuan Christian<br />

University<br />

Principal Architect<br />

ArchiBlur Lab<br />

Apiradee<br />

Kasemsook<br />

Dean and Associate<br />

Professor<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University<br />

“The Encounter of Life”<br />

Associate Professor Hsuan-Chen Chen<br />

รองศาสตราจารย์ Hsuan-Chen Chen ดำารงตำาแหน่ง<br />

อาจารย์ประจำาอยู่ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัย<br />

Chung Yuan Christian University และยังก่อตั้งบริษัท<br />

สถาปนิก ArchiBlur Lab ร่วมกับทีมงานขึ้นในปี 2015 เพื่อ<br />

ทดลองและจัดแสดงผลงานไปทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นที่ประเทศ<br />

ปาเลสไตน์ มาเลเซีย หรือในไต้หวันเอง Chen ได้ตอบโจทย์<br />

การสัมมนาเรื่อง Architecture as a Dialogue for All ด้วย<br />

การบรรยายในหัวข้อเรื่อง “การประสบพบเจอสิ่งต่างๆ<br />

ในชีวิตประจำาวัน” จากการเริ่มต้นตั้งคำาถามว่า “เราจะ<br />

สามารถออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างไร ที่จะไม่เป็นการ<br />

ผลาญทรัพยากรธรรมชาติเพียงอย่างเดียว และจะทำา<br />

อย่างไรให้เราสามารถอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเกิด<br />

ประโยชน์สูงสุด (co-create)”<br />

Chen ได้อธิบายหลักการทำางานของ ArchiBlur Lab ซึ่ง<br />

ประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ การค้นหาฟังก์ชั่นและลงมือ<br />

ก่อสร้าง (Architecture Action) การร่วมมือกับศิลปินเพื่อ<br />

ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะบนพื้นที่ (Art Archeology) และการ<br />

ลงสนามทำาการศึกษาบนพื้นที่จริง (History Reconnaissance)<br />

และเพื่อให้สืบเนืองกับนิทรรศการ Infinity Ground นั้น Chen<br />

ได้ยกตัวอย่างผลงานของ ArchiBlur Lab ที่เกี่ยวข้องกับ<br />

พื้นดินมาบรรยาย 2 ตัวอย่างด้วยกัน ผลงานแรกชื่อ Urban<br />

Archipelago Project เป็นผลงานที่มีลักษณะเหมือนบ้าน<br />

เคลื่อนที่ที่สามารถปรับเปลี่ยนสถานที่ตั้งและประโยชน์ใช้สอย<br />

ให้ตอบสนองกับความต้องการของผู้คนในย่านนั้นๆ ได้ โดย<br />

ไม่ยึดติดอยู่กับพื้นดิน อีกผลงานหนึ่งเป็นผลงานที่ยึดติด<br />

กับพื้นดิน เป็นการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมใหม่ให้กับ<br />

ลานส่วนกลางของมหาวิทยาลัย CYCU ท้ายสุด Chen ได้<br />

แนะนำาให้ผู้ฟังลองกลับไปคิดว่า “พวกเราจะออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมอย่างไรให้ ‘เกิดบทสนทนา’ กับผู้คน ชุมชน<br />

และพื้นที่โดยรอบได้”<br />

Associate Professor Hsuan-Chen Chen is a lecturer<br />

at the Faculty of Architecture at Chung Yuan Christian<br />

University and founded ArchiBlur Lab with his<br />

team in 2015 to experiment and showcase his work<br />

around the world. Whether in Palestine, Malaysia,<br />

or Taiwan itself, Chen answered the questions of<br />

Architecture as a Dialogue for All with a lecture<br />

titled “The Encounter of Life” with a question: How<br />

can we design architecture that will not be a waste<br />

of natural resources alone, and what can we do<br />

to co-exist with the environment to the greatest<br />

benefit?”<br />

Chen provides an overview of the operational<br />

framework of ArchiBlur Lab, comprising three<br />

fundamental components: architecture action, art<br />

archeology, and history reconnaissance. Chen referenced<br />

the work of ArchiBlur Lab as an illustrative<br />

example pertaining to the concept of the ground<br />

in conjunction with the Infinity Ground exhibition.<br />

The first work, known as the Urban Archipelago<br />

Project, is the development of a movable dwelling<br />

that possesses the capacity to adapt its positioning<br />

and functionality in order to cater to the specific<br />

requirements of individuals residing in a given<br />

locality while remaining detached from the earth’s<br />

surface. Another example of a work is one that is<br />

firmly fixed to the ground. The central courtyard of<br />

CYCU University is the subject of a novel landscape<br />

architecture design. Towards the conclusion of the<br />

lecture, Chen poses a thought-provoking question<br />

to the audience: How can we design an architecture<br />

that can create a ‘dialogue’ with people, communities,<br />

and surroundings?<br />

“One Health: Inclusive Urban Life:<br />

Transformation of Cities and Building”<br />

Associate Professor Dr. Apiradee Kasemsook<br />

รองศาสตราจารย์ ดร. อภิรดี เกษมศุข คณบดีคณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้นำา<br />

บรรยายในหัวข้อ “One Health: Inclusive Urban Life”<br />

โดย ดร. อภิรดี เริ่มต้นการบรรยายด้วยการยกตัวอย่าง<br />

ผลงาน The Hive at Kew ออกแบบโดยศิลปิน Wolfgang<br />

Buttress ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่สื่อถึงวงจรชีวิตของผึ้ง<br />

และความเกี่ยวพันของแมลงและสัตว์ขนาดเล็กที่มีต่อระบบ<br />

The lecture titled “One Health: Inclusive Urban<br />

Life” was delivered by Dr. Apiradee Kasemsook,<br />

an Associate Professor and the Dean of the Faculty<br />

of Architecture at Silpakorn University. The lecture<br />

commenced by presenting an illustrative case study<br />

of The Hive at Kew, an architectural creation conceived<br />

by artist Wolfgang Buttress. This structure<br />

serves as a symbolic representation of the intricate


<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

37<br />

7<br />

นิเวศวิทยาทั้งหมด เพื่ออธิบายถึงหลักการ non-human<br />

sociology ที่นักสังคมวิทยาเริ่มให้ความสนใจในช่วง 1970s<br />

โดยเปลี่ยนจากมุมมองเดิมที่มักให้ความสำาคัญกับมนุษย์<br />

ให้มนุษย์เป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาทั้งหมด เป็นการ<br />

ศึกษาวิถีชีวิตของสัตว์และนำามาเปรียบเทียบกับพฤติกรรม<br />

ของมนุษย์ หลักการ non-human sociology จึงเป็นจุด<br />

เริ่มต้นในการจุดประกายให้นักวิชาการศึกษาถึงความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบธรรมชาติกับสังคม<br />

โลก นอกเหนือไปจากการศึกษาเรื่องมานุษยวิทยาเพียง<br />

อย่างเดียว<br />

ในส่วนที่สอง ดร. อภิรดี ได้ยกตัวอย่างผลงานการจัดแสดง<br />

และการออกแบบไทยพาวิลเลี่ยนที่อาจารย์รับหน้าที่เป็น<br />

ภัณฑารักษ์ร่วมกับ ผศ. บุญเสริม เปรมธาดา ภายใต้หัวข้อ<br />

“เราอยู่ร่วมกันอย่างไร” (How do we live together?) เพื่อ<br />

จัดแสดงผลงานบ้านคน-บ้านช้างของอาจารย์บุญเสริมใน<br />

งาน Venice Biennale 2021 ที่แสดงให้เห็นความเป็นไปได้<br />

ของการสร้างสภาพแวดล้อมการอยู่ร่วมกันและพึ่งพาอาศัยกัน<br />

เชิงสถาปัตยกรรมและเศรษฐกิจระหว่างคนกับช้างในบริบท<br />

ของประเทศไทยที่หมู่บ้านตากลาง อำาเภอท่าตูม จังหวัด<br />

สุรินทร์ และเพื่อเป็นการยืนยันถึงความเป็นไปได้ของหลักการ<br />

One Health ที่พูดถึงความสัมพันธ์ ระหว่างคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

ของสัตว์ คน รวมไปถึงสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในระบบนิเวศน์อีกด้วย<br />

life cycle of bees and the interconnectedness<br />

between insects and other little creatures within the<br />

broader ecosystem. The Hive at Kew exemplifies<br />

the ideas of non-human sociology that emerged as<br />

a focal point for sociologists throughout the 1970s,<br />

marking a departure from the conventional anthropocentric<br />

perspective that positioned humans as the<br />

central object of study. This field of research examines<br />

the behavioral patterns and characteristics of<br />

animals in relation to human behavior. The concepts<br />

of non-human sociology serve as a foundational<br />

framework that stimulates scholarly inquiry into the<br />

interconnections between living organisms within<br />

the natural system and the broader global society,<br />

expanding beyond the scope of anthropology as a<br />

standalone discipline.<br />

In the second section, Dr. Apiradee provided<br />

examples of the exhibition’s works and the design<br />

of the Thai Pavilion, for which she and Asst. Prof.<br />

Boonserm Premthada served as curators. The<br />

exhibition’s theme was “How do we live together?<br />

This exhibition at the 2021 Venice Biennale was<br />

intended to showcase the Ban Khon-Elephant<br />

House of Boonserm, which examines the possibility<br />

of establishing an environment that fosters coexistence<br />

and interdependence between humans<br />

and elephants. This architectural and economic<br />

relationship is explicitly examined in the context<br />

of Thailand, specifically in Ta Klang Village, Tha<br />

Tum District, Surin Province. In addition, the study<br />

validates the viability of the One Health principle,<br />

which refers to the interdependencies between the<br />

health of animals, humans, and other organisms<br />

within an ecosystem.<br />

07<br />

ภาพการบรรยายของ<br />

รศ. ดร. อภิรดี เกษมศุข<br />

จากมหาวิทยาลัยศิลปากร


38<br />

around<br />

8<br />

08<br />

ภาพการบรรยาของ<br />

ผศ. คมกฤช ธนะเพทย์<br />

อาจารย์ประจำา<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

09<br />

ภาพการบรรยายของ<br />

ม.ล. ภาสกร อาภากร<br />

ตัวแทนจากกรมส่งเสริม<br />

การค้าระหว่างประเทศ<br />

กระทรวงพาณิชย์ (DITP)<br />

10<br />

ภาพการบรรยายของ<br />

ดร. พร้อม อุดมเดช<br />

จากสถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง<br />

11<br />

คุณชนะ สัมพลัง<br />

คุณกุลธิดา ทรงกิตติภักดี<br />

และคุณ Jenchieh Hung<br />

ถ่ายภาพร่วมกับคณาจารย์<br />

จากทั้งมหาวิทยาลัยในไทย<br />

และไต้หวัน ผู้สนับสนุนให้<br />

เกิดการจัดงานนิทรรศการ<br />

<strong>ASA</strong> Infinity Ground<br />

9<br />

10<br />

11


ผศ. คมกฤช ธนะเพทย์ อาจารย์ประจำาภาควิชาการวางแผน<br />

ภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย เริ่มต้นการบรรยาย หัวข้อ “เมืองอย่าง<br />

กรุงเทพฯ เหมาะสำาหรับคนพิเศษแค่ไหน” ด้วยการตั้ง<br />

คำาถามเปิดประเด็นที่น่าสนใจ อย่างเช่น พวกเราต้องใช้<br />

ความพยายามมากแค่ไหนในการเดินทางออกจากบ้าน<br />

มายัง BACC กฎหมายควบคุมอาคารอย่างเดียวเพียงพอ<br />

และเหมาะกับคนใช้งานทุกกลุ่มหรือไม่ ในการบรรยายนี้<br />

ผศ.คมกฤช ได้อธิบายเนื้อหาของโครงการทุนวิจัยสหศาสตร์<br />

เรื่อง “แนวทางการออกแบบพื้นที่เมืองเพื่อการเรียนรู้สำ าหรับ<br />

บุคคลที่มีความต้องการพิเศษในเขตกรุงเทพมหานคร”<br />

โดยชี้แจงว่าประเทศไทยมีจำานวนผู้พิการที่ขึ้นทะเบียนกับ<br />

ทางรัฐเป็นจำานวนประมาณสองล้านคน เฉพาะในเขตกทม.<br />

เพียงอย่างเดียว มีจำานวนผู้พิการประมาณหนึ่งแสนคน<br />

ผศ. คมกฤช ได้ให้คำาจำากัดความคำาว่า “คนพิเศษ” ประกอบ<br />

ไปด้วยคนสี่กลุ่ม ได้แก่ ผู้ที่มีความบกพร่องและมีความ<br />

ต้องการพิเศษด้านพัฒนาการและพฤติกรรม ด้านร่างกาย<br />

ด้านสายตา ด้านการได้ยิน กลุ่มบุคคลเหล่านี้เดินทางไป<br />

ยังจุดต่างๆ ของเมืองได้ยากลำาบาก โดยเฉพาะการข้าม<br />

โซนออกนอกเขตพื้นที่อาศัยของตนเอง อีกทั้งกรุงเทพฯ<br />

ยังขาดแคลนสิ่งอำานวยความสะดวกสำาหรับบุคคลเหล่านี้<br />

บนพื้นที่สาธารณะ ที่จะช่วยให้พวกเขาเหล่านั้นใช้ชีวิตได้<br />

ใกล้เคียงบุคคลธรรมดา ผศ. คมกฤช จึงสนับสนุนการ<br />

ออกแบบตามหลักการเมืองสุขภาวะ (Healthy City) และ<br />

สนับสนุนให้นักออกแบบศึกษาวิธีการออกแบบที่สอดคล้อง<br />

กับระบบผัสสะ (Sensory Design) เช่น การออกแบบที่<br />

ปลอดภัย เข้าถึงและเข้าใจง่าย มีความเป็นธรรมชาติสูง<br />

สร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มิใช่ออกแบบให้ครบ<br />

ถ้วนตามกฎกระทรวงเพียงอย่างเดียว<br />

<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

“Is Bangkok a City for People with Special Needs?”<br />

Assistant Professor Komgrit Thanapet<br />

Assistant Professor Komgrit Thanapet, Lecturer,<br />

Department of Regional and Urban Planning,<br />

Faculty of Architecture, Chulalongkorn University,<br />

begins the presentation by questioning how much<br />

effort we expend getting out of the house to attend<br />

the lecture. Is the building code sufficient and<br />

appropriate for all user groups? In this presentation,<br />

Asst. Prof. Komgrit discussed the multidisciplinary<br />

research grant project “Urban Design Guidelines<br />

for the Learning of Persons with Special Needs<br />

in Bangkok.” He notes that the Thai government<br />

has registered nearly two million people with<br />

impairments. There are over 100,000 people with<br />

disabilities in the Bangkok area alone.<br />

He has defined “special people” as including four<br />

groups: those with disabilities and special requirements<br />

in terms of development and behavior; the<br />

physically challenged; the visually impaired; and<br />

the hearing impaired. It is difficult for these groups<br />

to travel to various parts of the city, particularly<br />

since they must cross the border between their own<br />

residential area and Bangkok. In public spaces,<br />

there are still insufficient facilities for these<br />

individuals. Therefore, he supports design based<br />

on the Healthy City principles and encourages<br />

designers to study design methods that are consistent<br />

with sensory design, such as safe design,<br />

easy access, being natural, enhancing the learning<br />

experience, and not completely designing based<br />

on the ministerial regulations alone.<br />

39<br />

Komgrij Thanapet<br />

Assistant Professor<br />

Department of Urban<br />

and Regional Planning,<br />

Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University<br />

Prompt Udomdech<br />

Head of Department<br />

of Architecture and<br />

Design Intelligence<br />

School of Architecture,<br />

Art, and Design, King<br />

Mongkut’s Institute of<br />

Technology Ladkrabang<br />

“Re-learning Architecture:<br />

Our Last Hope to Save Architectural Dialogue”<br />

Dr. Prompt Udomdech<br />

ดร. พร้อม อุดมเดช ผู้อำานวยการสำานักงานบริหารหลักสูตร<br />

สถาปัตยกรรมสหวิทยาการนานาชาติ สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง ได้พูดถึงความหมายของ<br />

คำาว่า “dialogue” หรือ “บทสนทนา” ซึ่งตามความหมาย<br />

ทั่วไป ผู้คนมักนึกถึงเพียงเฉพาะผู้ส่งสารและผู้รับสาร แต่<br />

เมื่อผนวกกับคำาว่า “สถาปัตยกรรม” แล้ว บทสนทนา<br />

สถาปัตยกรรมมักรวมไปถึง inclusivity, collaboration,<br />

communication, flexibility, feedback, contextualization<br />

Dr. Prompt Udomdech, Director of the International<br />

Interdisciplinary Architecture Program Administration<br />

Office at King Mongkut’s Institute of Technology<br />

Ladkrabang, discussed the significance of the<br />

term “dialogue,” which is typically associated with<br />

the sender and the recipient. However, when<br />

coupled with the word “architecture,” architecture<br />

dialogues frequently include inclusivity, collaboration,<br />

communication, flexibility, feedback, and


40<br />

บทสนทนาสถาปัตยกรรมที่ดีจึงมักประกอบไปด้วย 3 สิ่ง<br />

พื้นฐาน ได้แก่ ตอบสนองความต้องการหรือความจำาเป็นของ<br />

คน (needs) ตอบสนองความปรารถนาของคนบนพื้นที่นั้นๆ<br />

(aspiration) และต้องรวบรวมทัศนคติและมุมมองต่างๆ ของ<br />

คนได้ (perspectives) ดังนั้นถ้ามองสถาปัตยกรรมเป็นสื่อกลาง<br />

ที่ใช้สำาหรับสนทนาระหว่างผู้คน สถาปัตยกรรมจึงหมายถึง<br />

การเข้าใจผู้คนและชุมชน ธรรมชาติและสภาพแวดล้อม<br />

ประวัติศาสตร์และบริบท เทคโนโลยีและนวัตกรรม สุนทรียภาพ<br />

และการสื่อความหมาย ทรัพยากรและเศรษฐกิจ สภาพสังคม<br />

และการเมือง ประโยชน์ใช้สอยและวิธีการใช้งาน รวมไปถึง<br />

การคำานึงถึงบทบาทในระดับท้องถิ่นและระดับนานาชาติ<br />

ดร. พร้อม ได้ยกตัวอย่างผลงานระดับนานาชาติที่แสดงให้<br />

เห็นว่าสถาปัตยกรรมสามารถสร้างบทสนทนาได้ ไม่ว่าจะเป็น<br />

โปรเจค Highline ในเมืองนิวยอร์ค The Bvlgari Factory ใน<br />

ประเทศอิตาลี หรือโครงการม้ากระดก Teeter-Totter ที่ตั้ง<br />

อยู่บนแนวพรมแดนระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก<br />

พร้อมกับตั้งคำาถามว่า “ทำาไมสถาปัตยกรรมที่เป็นบทสนทนา<br />

จึงมีจำานวนน้อยมากในประเทศไทย” ดร. พร้อม ได้ทำาแบบ<br />

สอบถามบุคคลทั่วไปถึงความเข้าใจในคำาว่า “สถาปัตยกรรม”<br />

พร้อมกับเสนอวิธีการ re-learning architecture เพื่อสร้าง<br />

ความรู้และความเข้าใจเรื่องสถาปัตยกรรมให้เด็กตั้งแต่อายุ<br />

ยังน้อย นำาเสนอวิธีการ celebrating architecture โดย<br />

ยกตัวอย่างนักออกแบบที่มีชื่อเสียงให้เด็กเจริญรอยตาม<br />

สุดท้ายแล้ว ดร.พร้อม เสนอให้ผู้ฟังจินตนาการภาพของ<br />

สถาปัตยกรรมที่เป็นไปได้ไกลมากกว่าการเป็นเพียงแค่อาคาร<br />

นั่นคือ สถาปัตยกรรมยังสามารถทำาหน้าที่ปรับเปลี่ยนเมือง<br />

(change) ร่วมไปถึงเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการเมือง<br />

(politics) ได้อีกด้วย<br />

around<br />

contextualization. Good architecture dialogue consists<br />

of three fundamental principles: responding to<br />

human requirements, responding to the aspirations<br />

of people in a particular location, and connecting<br />

people’s attitudes and perspectives. Consequently,<br />

if we view architecture as a medium for human<br />

communication, then architecture requires an understanding<br />

of people and communities, nature and<br />

environment, history and context, technology and<br />

innovation, aesthetics and interpretation, resources<br />

and economy, social and political conditions,<br />

functions and usage, as well as local and global<br />

roles.<br />

Dr. Prompt cited international examples of how<br />

architecture can foster dialogue, including the<br />

High Line project in New York City, the Bvlgari<br />

Factory in Italy, and the Teeter-Totter on the<br />

U.S.-Mexico border. He posed the query, “Why<br />

are there so few dialogue-based structures in<br />

Thailand? Dr. Prompt conducted a survey of the<br />

general public to determine their understanding<br />

of the term architecture. He also provided methods<br />

for re-learning architecture to build children’s<br />

knowledge and understanding of architecture at<br />

a young age, as well as methods for celebrating<br />

architecture by providing examples of famous<br />

architects for children to emulate. It proposes<br />

that the audience envision architecture that is<br />

far more than just buildings, i.e., architecture can<br />

also play a role in altering the city and in politics,<br />

thereby suggesting methods to manage the city.<br />

M.L. Paskorn<br />

Abhakorn<br />

Head of Branding<br />

Division<br />

Office of Innovation<br />

and Value Creation,<br />

Department of<br />

International Trade<br />

Promotion<br />

“Promoting Thai Design to Global”<br />

M.L. Paskorn Abhakorn<br />

ม.ล. ภาสกร อาภากร หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมแบรนด์<br />

ประเทศด้านการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ<br />

กระทรวงพาณิชย์ (DITP) เล่าถึงกลยุทธ์ระดับประเทศที่<br />

ภาครัฐร่วมกันผลักดันและส่งเสริมงานออกแบบไทยสู่สากล<br />

แต่เดิมกรมส่งเสริมการส่งออกทำาหน้าที่ส่งออกสินค้าไทยสู่<br />

ต่างประเทศเพียงอย่างเดียว ปัจจุบันทางกรมฯ เปลี่ยนบทบาท<br />

มาทำาหน้าที่สนับสนุนการค้าขายสินค้าระหว่างประเทศรวม<br />

ไปถึงสนับสนุนด้านการบริการด้วย โดยเล็งเห็นว่า “การ<br />

ออกแบบ” มีบทบาทสำาคัญที่จะเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าไทยได้<br />

ทางกรมฯ จึงมีเป้าหมายในการสนับสนุนและส่งเสริมสินค้าไทย<br />

4 หลักการด้วยกัน ได้แก่ การพัฒนาผู้ประกอบการ (Capacity<br />

Building) การเพิ่มมูลค่าสินค้ารวมไปถึงการสร้างแบรนด์ไทย<br />

(Value Creation) การทำาหน้าที่เป็นผู้จัดงานแสดงสินค้า<br />

M.L. Paskorn Abhakorn, Head of Country Brand<br />

Promotion in Trade, Department of International<br />

Trade Promotion, The Ministry of Commerce (DITP),<br />

describes the government’s national strategy to<br />

promote Thai design in accordance with international<br />

standards. Initially, the Department of Export<br />

Promotion was solely responsible for exporting<br />

Thai goods abroad. Currently, the department’s<br />

function has shifted to support international goods<br />

trade. Adding value to Thai products is largely<br />

dependent on the inclusion of “design”-related<br />

support services. The Department intends to support<br />

and promote Thai products in accordance with the<br />

following four principles: entrepreneur development<br />

(capacity building), product value addition, including


<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

41<br />

12 13<br />

(Trade Channels) การให้ข้อมูลและทำาการประชาสัมพันธ์<br />

ออนไลน์ (Information Service) รวมไปถึงการสร้างเครือข่าย<br />

และมีสำานักงานในต่างประเทศ (DITP Overseas Network)<br />

การบรรยายในวันนี้ ม.ล. ภาสกร เจาะจงลงไปที่การเพิ่มมูลค่า<br />

ให้กับแบรนด์ไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ People<br />

ผลักดันและส่งเสริมนักออกแบบของไทยให้อยู่ในสายตา<br />

ชาวโลก Products โดยการจัดตั้งรางวัล Design Excellence<br />

Award หรือ Demark Award เพื่อสร้างมาตรฐานใหม่ให้<br />

สินค้าไทย สร้างการแข่งขันให้เป็นที่ยอมรับ และ Services<br />

สนับสนุนเรื่องการบริการด้านการออกแบบ โดยแต่ละปี DITP<br />

จะสนับสนุนผู้ประกอบการตามแนวทางเมกะแทรนด์ของ<br />

แต่ละปี ครึ่งหลังของการบรรยาย ม.ล. ภาสกร ได้ยกตัวอย่าง<br />

ผลงานออกแบบของนักออกแบบไทยที่ประสบความสำาเร็จ<br />

ในระดับนานาชาติและแนะนำาให้นักออกแบบไทยโดยเฉพาะ<br />

สถาปนิกประชาสัมพันธ์ผลงานของตนให้มากยิ่งขึ้น<br />

จากการจัดนิทรรศการและการบรรยาย Infinity Ground<br />

ในครั้งนี้ ทางทีมผู้จัดงานนิทรรศการหวังว่า ทางผู้ชมจะ<br />

สามารถเล็งเห็นได้ว่า “สถาปัตยกรรมเป็นเครื่องมือสื่อสาร<br />

ชนิดหนึ่ง ที่สามารถแสดงถึงความรู้สึก เป็นตัวแทนของผู้คน<br />

และชุมชน” และหวังว่าประเทศไทยจะได้มีโอกาสจัดแสดง<br />

นิทรรศการสถาปัตยกรรมดีๆ อีกหลายๆ ครั้งและได้รับ<br />

ความร่วมมือจากประเทศอื่นๆ เพื่อพัฒนาผลงานร่วมกัน<br />

นับจากนี้เป็นต้นไป<br />

Thai brand building (value creation), acting as a<br />

trade show organizer (trade channels), providing<br />

information and public relations online (information<br />

service), and having offices abroad (DITP Overseas<br />

Network).<br />

M.L. Paskorn divided his presentation into three<br />

primary categories to underscore the theme of<br />

his talk regarding the value-added nature of Thai<br />

brands: People: encouraging and promoting the<br />

international exposure of Thai designers. Products:<br />

establishing the Design Excellence Award, also<br />

known as the Demark Award, would establish a<br />

new standard for Thai products, allowing them to<br />

compete and be recognized. Services: supporting<br />

design services. Each year, DITP will also promote<br />

entrepreneurs based on the megatrends of the<br />

year. In the final part of his presentation, M.L.<br />

Paskorn provided examples of internationally<br />

successful designs by Thai designers and encouraged<br />

Thai designers, particularly architects, to<br />

promote their work even further.<br />

The organizer of the “Infinity Ground” exhibition<br />

and lecture hopes that the audience will recognize<br />

“architecture as a communicative medium,<br />

capable of expressing emotions and representing<br />

individuals and communities.” In addition, the<br />

organizer conveys a desire for Thailand to host<br />

numerous notable architecture exhibitions in the<br />

future, thereby encouraging international collaboration<br />

and the advancement of architectural<br />

endeavors.<br />

12-13<br />

ทีมภัณฑารักษ์และ<br />

ผู้จัดงาน Infinity Ground<br />

ถ่ายรูปร่วมกับผู้บรรยายใน<br />

ส่วนของ Infinity Ground<br />

Dialogue ทั้งหมด<br />

asa.or.th


42<br />

theme<br />

Wood<br />

is ...<br />

With softness originating from nature,<br />

once brought out, wood requires<br />

regular maintenance by human hands.<br />

Whether intentional or not, it introduces<br />

the idea of ordinariness to architecture.<br />

It uncovers what has, until recently,<br />

been blindly handled behind—a tangible plot<br />

between nature, humans, technology, time,<br />

and cycles in a single project.<br />

Text: bsides: Pornpas Siricururatana, Takumi Saito


1<br />

Image credit: Frei Otto Archives / Carlfried Mutschler + Partners Archives ©saai |<br />

Sudwestdeutsches Archiv fur Architektur und Ingenieurbau, Karlsruhe Institute of Technology<br />

01<br />

ภายใน Herzogenriedpark<br />

Mannheim หรือที่รู้จักกัน<br />

ในชื่อ Mannheim Multihalle<br />

เดือนพฤศจิกายน<br />

ปี 1974


44<br />

theme<br />

Image credit: bsides<br />

2


WOOD IS ...<br />

45<br />

1. Resumability<br />

ด้านหลังฝ้าสีขาว ไม้เคร่าขนาด 3นิ้ว ยาวประมาณ 4 เมตร<br />

จำานวนมากถูกแขวนจากไม้ท่อนเล็กๆ ที่ถูกยึดติดกับท้องพื้น<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก ถึงแม้ว่ามันจะบิดเบี้ยวไปบ้าง จากการ<br />

แขวนเป็นเวลานาน มันยังคงแข็งแรงและใช้งานได้ หลังจาก<br />

การรื้อถอนฝ้าออกประมาณ 1,000 ตารางเมตร ไม้เคร่า<br />

ประมาณหนึ่งคอนเทนเนอร์ก็สุมเต็มห้อง สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น<br />

ระหว่างการปรับปรุงอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กยุค ค.ศ.<br />

1960 หลังนึงของเรา ที่ก่อนรื้อดูเผินๆ แทบไม่มีส่วนประกอบ<br />

ของไม้ พวกเรากำาลังอยู่ในกระบวนการออกแบบวิธีใช้ใหม่<br />

ของไม้เหล่านี้<br />

สมมติฐานว่า “การออกแบบถึงจุดจบ เมื่อสถาปัตยกรรม<br />

เสร็จสมบูรณ์” ทำาให้วัสดุในการก่อสร้าง ถูกปรับปรุง<br />

เปลี่ยนแปลงด้วยเทคโนโลยีที่สูงขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้ได้วัสดุ<br />

ที่สมบูรณ์ เพรียบพร้อมด้วยสมรรถะภาพที่ต้องการ ก่อน<br />

จะถูกวางไปในสถาปัตยกรรมในฐานะองค์ประกอบที่มี<br />

หน้าที่เฉพาะ ลองนึกถึงกรอบหน้าต่างอลูมิเนียม เส้นทาง<br />

ของหินบอกไซด์ คดเคี้ยวและยาวนาน กว่าจะถูกเก็บ บด<br />

สกัด ผสม เพื่อสร้างความทนทาน ก่อนจะไปหาหน้าตัดที่<br />

เหมาะสม เพื่อการใช้วัสดุน้อยที่สุด ต่อด้วยการหลอม รีด<br />

อบ ชุบแล้วจึงจะถูกประกอบเป็นกรอบหน้าต่างที่เรารู้จัก<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุเหล่านี้ ไม้เป็นวัสดุบ้านๆ ที่เรียบง่าย<br />

เส้นทางของไม้แปรรูป จากป่า สู่ สถาปัตยกรรม เป็นเส้นทาง<br />

ที่ตรงไปตรงมา ความเบาเมื่อเทียบกับปริมาตรและความ<br />

แข็งแรง หรือ ความสามารถในการปรับเปลี่ยนตัดแต่งรื้อ<br />

ถอนได้ด้วยมือของคน ทำาให้ไม้ แม้จะอยู่ในสถานะที่เสร็จ<br />

สมบูรณ์ ยังคงศักยภาพในการปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ สิ่งที่<br />

เคยเป็นเสาเป็นคานในวันนี้ อาจจะกลายเป็นสิ่งอื่นที่เปลี่ยน<br />

ไปอย่างสิ้นเชิงได้ในวันหน้า ไม้ ยังคงความเป็นทรัพยากร<br />

แม้จะอยู่ระหว่างการใช้งานในสถาปัตยกรรม<br />

ในวันที่ วัสดุที่ถูกพัฒนาด้วยระบบอุตสาหรรมขั้นสูง ครอบ-<br />

ครอบพื้นที่แทบทั้งหมดของงานสถาปัตยกรรม ในวันที่วัสดุ<br />

ที่ถูกกำาหนดวงจรชีวิตล่วงหน้า ด้วยความหวังว่าจะช่วย<br />

ตอบโจทย์ของความยั่งยืนถูกพัฒนาออกมามากขึ้นเรื่อยๆ<br />

ไม้แปรรูป เป็นเหมือนโอกาสที่ซ่อนตัวอยู่ในความเสร็จ<br />

สมบูรณ์ มอบความเป็นไปได้ของการหมุนเวลา ให้กลับมา<br />

เดินได้อีกครั้ง บางครั้งในเส้นทางที่อาจไม่มีใครเคยคิด<br />

1. Resumability<br />

Behind the white ceiling, many ceiling joists, approximately<br />

4 meters in length of 3-inch wood were<br />

hung from the RC slab, running across horizontally.<br />

Although they were slightly warped from being<br />

suspended for a long time, they are still sturdy and<br />

usable. After dismantling about 1,000 square meters<br />

of ceiling, we found ourselves in a room filled with<br />

heaps of solid wood, roughly amount of one container.<br />

This happened during our ongoing renovation<br />

efforts of conventional RC column-beam buildings<br />

from the late 1960s. Now we are currently in the<br />

process of designing how to use these woods.<br />

The assumption that "Planning is done when architecture<br />

is complete” necessitates materials to be<br />

refined as finished products with intended performance.<br />

This requires a highly rational and advanced<br />

process before strategically positioning them as<br />

functional elements. Take, for example, aluminum<br />

window frames. They are sourced from bauxite,<br />

and refined to provide structural strength, weather<br />

resistance, and an efficient cross-sectional shape,<br />

all achieved with minimal material usage. These<br />

components are meticulously machined, painted,<br />

and assembled to form the window frames we<br />

recognize today.<br />

Compared to these materials, solid wood introduces<br />

a straightforward charm. Once the wood<br />

is processed into lumber, it seamlessly becomes<br />

an integral part of the construction. Solid wood is<br />

lightweight and pliable, making it easy to handle by<br />

human hands, and its processing and deconstruction<br />

are straightforward. When it comes to secondary<br />

components, adjusting or reinstallations is a breeze.<br />

Even in its final state, it maintains an inherent potential<br />

to transcend its form at any given moment. What<br />

was a beam today might transform into something<br />

totally different on another day. Even when employed<br />

in construction, they continue to exist as a resource<br />

for the future.<br />

In an age where construction is dominated by<br />

highly industrialized and processed materials, the<br />

development of materials that anticipate sustainability<br />

advances rapidly. Solid wood stands as a<br />

material that unequivocally provides architecture<br />

with the potential to revisit plans that were once<br />

considered concluded, offering the possibility<br />

to set time in motion again. A mutable entity that<br />

perpetually welcomes the hand of human agency.<br />

02<br />

Solidwood <strong>2023</strong>


46<br />

theme<br />

Image credit: Courtesy of Jim Thompson House<br />

3<br />

03<br />

บ้าน Jim Thompson<br />

ระหว่างการก่อสร้าง<br />

ชิ้นส่วนของบ้านไม้รอ<br />

การประกอบหลังจาก<br />

ถูกขนมาด้วยเรือ<br />

2. Flexibility<br />

ในช่วงปลายยุค 1950 Jim Thompson ตัดสินใจสร้าง<br />

บ้านใหม่ โดยใช้บ้านไม้เก่าเป็นวัตถุดิบ มันคือกระบวนการ<br />

ออกแบบที่เริ่มจากการเลือกวัตถุดิบ และ (ไม่ว่าจะโดย<br />

ความตั้งใจหรือไม่ก็ตาม) ระบบการก่อสร้าง "การประกอบ<br />

ส่วนประกอบในลักษณะที่ทอมป์สันต้องการ ซับซ้อนกว่า<br />

ที่เขาและสถาปนิกไทยของเขาคาดไว้….ในที่สุดเขาต้องนำา<br />

กลุ่มช่างไม้ที่มีความชำานาญมาจากอยุธยา ที่ที่ยังคงมีการ<br />

สร้างบ้านพื้นถิ่นในพื้นที่"<br />

ในปี 1973, Ishiyama Osamu สถาปนิกญี่ปุ่น นำาเข้าไม้<br />

แปรรูปสำาหรับสร้างบ้านจากอเมริกาฝั่งตะวันตก พร้อม<br />

ช่างด้วยหนึ่งคน เขาขอให้ช่างชาวอเมริกาทำางานกับช่างไม้<br />

ญี่ปุ่นสี่คน เพื่อสร้างบ้านในโตเกียว “……สิ่งที่น่าสนใจคือ<br />

กระบวนการแทบทั้งหมดอยู่ในหัวของเขา (ช่างไม้อเมริกัน)<br />

กระบวนการเหล่านั้นถูกอัดในวิธีการเชื่อมต่อชิ้นส่วนที่ถูก<br />

ผลิตจากโรงงาน… เขาทำาหน้าที่เหมือนเป็นแรงงานประกอบ<br />

ชิ้นส่วน บวกกับผู้ควบคุมงาน กลับกัน ช่างไม้ญี่ปุ่น.. มี<br />

ความเป็นช่าง สร้างของออกจากไม้หนึ่งท่อน.. พวกเขา<br />

ชินกับการแบ่งความถนัด ไม่ว่าจะเป็นช่างไม้โครงสร้าง<br />

ช่างเหล็ก ช่างประกอบประตู ช่างปูน แถมช่างแต่ละคนมี<br />

ทักษะสูง ทำาให้เขาไม่เห็นด้วยกับวิธีการใช้แรงงานทักษะ<br />

เดียว ในการดำาเนินโครงการก่อสร้างทั้งหมด<br />

2. Flexibility<br />

In the late 1950s, Jim Thompson decided to build<br />

his new house using traditional wooden houses as<br />

raw materials. It was a design process that began<br />

with the selection of materials and (whether intentional<br />

or not) the construction systems. “Assembling<br />

these components in the fashion Thompson wanted<br />

proved far more complex than either he or his Thai<br />

architect had envisioned…in the end, it was necessary<br />

to bring a group of skilled carpenters down<br />

from Ayutthaya, where traditional houses were still<br />

being built.”<br />

In 1973, Osamu Ishiyama imported lumber and a<br />

local craftsman from the West Coast of the U.S. to<br />

build a house in collaboration with four Japanese<br />

carpenters in Tokyo. "......An American carpenter...<br />

had a lot of factory workers in him. Interestingly,<br />

he had almost the entire process in his head, all of<br />

which were integrated into a joint system of factorymade<br />

parts. ... it was a combination of single-skilled<br />

workers and site supervisors In contrast, Japanese<br />

carpenters...are more of a maker, creating something<br />

out of a single piece of wood.. are accustomed to a<br />

division of skills such as steeplejack, carpenter, fitter<br />

and plasterer. Each of their skills is high, so they<br />

are opposed to this method of using single-skilled<br />

workers to push through the entire construction<br />

project.. "


WOOD IS ...<br />

47<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างคน วัสดุ ทักษะ และ เทคโนโลยี ใน<br />

ระบบการก่อสร้างด้วยไม้ หลายครั้งมีความเฉพาะในพื้นที่<br />

ในบางพื้นที่ ความสัมพันธ์นั้นสามารถเจริญเติบโต และ<br />

คงอยู่ได้เป็นเวลานาน แต่บางครั้งความเฉพาะที่เกิดขึ้น<br />

เมื่อระบบหยั่งรากลึก ก็ทำาให้ระบบนั้นมีความปิด ไม่เปิด<br />

รับกรณีพิเศษได้ง่ายๆ ในขณะเดียวกัน สำาหรับโครงการที่<br />

ไม่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของระบบการก่อสร้างเฉพาะของพื้นที่<br />

ระบบการก่อสร้างด้วยไม้ก็เปิดกว้างต่อการออกแบบวิธี<br />

การเชื่อมต่อ ทำาให้สามารถสร้างระบบใหม่เฉพาะกิจ ที่ใช้<br />

โครงการต่อโครงการ หรือต่อชุดของโครงการได้<br />

ในช่วงปลาย 1970s-80s วิธีของ Segal หรือ “Segal<br />

Method” ถูกใช้ในโครงการบ้านสร้างเองยุคแรกของเทศบาล<br />

เขต Lewisham ในลอนดอน มันเป็นระบบการสร้างด้วย<br />

โครงไม้น้ำาหนักเบา ที่ทำาด้วยส่วนประกอบที่หาได้ในตลาด<br />

โครงไม้ และแผ่นวัสดุไม้ ถูกเชื่อมต่อกันด้วยสกรูและสลักไม้<br />

ทำาให้การก่อสร้างเป็นแบบแห้งทั้งหมด “(คนสร้าง) สามารถ<br />

ออกแบบปรับผังภายใน และปรับเปลี่ยนการออกแบบของ<br />

Segal โดยการเพิ่มส่วนขยาย รวมถึงสามารถเลือกตำาแหน่ง<br />

และขนาดของหน้าต่างได้” มันเป็นสถานะของการ “เอาไป<br />

ทำาดู” มากกว่า “ตามฉันมาสิ”<br />

The system of architecture or a relationship between<br />

people, material, skill, and technology in wooden<br />

construction can be sustained and flourish over the<br />

long term in a certain region. At the same time, sometimes<br />

this also makes the system closed. Sometimes,<br />

the more rooted it becomes, the more it becomes a<br />

closed system that does not easily accommodate<br />

exceptions. On the other hand, if the project does not<br />

rely on conventional construction methods, wood is<br />

a construction method that allows for instant and immediate<br />

building systems to be realized on a projectby-project<br />

basis by designing its joinery and joints.<br />

During the end of the ‘70s to ’80s in Lewisham,<br />

London, as part of the UK’s first council-run selfbuild<br />

housing scheme, houses were built by the<br />

“Segal Method”, a lightweight timber-framed house<br />

which used readily available materials in their brought<br />

sizes as much as possible to minimize the cutting.<br />

The timber frame and wood-based panel were put<br />

together by only bolts and screws with batten make<br />

it a wholly dry construction. “The development was<br />

designed around identical structural frames, instead<br />

of individual designs…the self-build group...could<br />

devise their own internal layout and adapt Segal’s<br />

design by adding cantilevered extensions, as well as<br />

choose the size and position of the windows.” There<br />

wood offers a state of 'here you go' rather than<br />

'follow me'.<br />

04<br />

กระบวนการประกอบด้วย<br />

Segal Method โครงไม้<br />

ถูกวางซ้อนกันตามลำาดับ<br />

การประกอบ ข้อต่อเหล็ก<br />

กัลวาไนซ์ Bracing และ<br />

ชนิดของไม้เนื้ออ่อนที่ผ่าน<br />

มาตรฐานงานโครงสร้าง<br />

โดยเฉพาะ ช่วยให้สัดส่วน<br />

ของโครงไม้ มีความบางเบา<br />

ง่ายต่อการก่อสร้าง<br />

4<br />

Image credit: ©Jon Broome Architect


theme<br />

หลังคาของ Multihalle ใน Mannheim ที่สร้างเสร็จใน<br />

ปี 1975 เป็นโครงสร้างไม้ระบบกริดเชลล์ ที่ใช้ไม้สนขนาด<br />

5x5 ซม วางเป็นตาราง ห่างประมาณ 50 cm สานซ้อน 2-4<br />

ชั้น โดยข้อต่อของไม้สน มีการออกแบบความคลาดเคลื่อน<br />

ยินยอม โดยการใส่รอยบากที่ข้อต่อ เพื่อให้สามารถปรับ<br />

ตำาแหน่งการยึดข้อต่อได้”…ตะแกรงไม้ ถูกวางบนฐานชั่วคราว<br />

แล้วประกอบที่ละชิ้น เพื่อสร้างกริดขนาดใหญ่ สกรูจะถูก<br />

ปรับให้แน่นขึ้นหลังจากประกอบทั้งหมดแล้ว มันมีจุดที่ถูก<br />

กำาหนดไว้ก่อน เพื่อให้ไม้แต่ละชิ้นสามารถประกอบกันได้<br />

ตรงจุดอย่างแม่นยำา” หลังจากนั้น ระบบการยกชั่วคราว<br />

ที่ประกอบด้วย นั่งร้าน และรถยก จะค่อยๆ ดึงโครงสร้าง<br />

ทั้งหมดขึ้นด้านบน เพื่อให้เกิดรูปร่างตามที่ถูกออกแบบไว้<br />

จุดเชื่อมแต่ละจุด จะถูกปรับให้แน่น หลังจากโครงขึ้นแล้ว<br />

ความยืดหยุ่นของข้อต่อไม้ ในระบบการก่อสร้างด้วยไม้<br />

เป็นสิ่งที่ทำาให้เกิดความยืดหยุ่นในระบบทั้งหมด ข้อต่อ จึง<br />

เป็นเหมือนร่างของระบบที่ซ่อนอยู่ในสถาปัตยกรรมนั้น<br />

05<br />

โมเดล1:1 ของ Joint ที่ถูก<br />

สร้างขึ้นใน Institute for<br />

Lightweight Structure,<br />

University of Stuttgard<br />

เมื่อปี 1974<br />

06<br />

ภาพระหว่างการก่อสร้าง<br />

Mannheim Multihalle<br />

หลังจากโครงสร้างถูกยก<br />

ขึ้น และปรับ Joint ให้แน่น<br />

ถ่ายช่วงปี 1974/1975<br />

The roof of the Multihalle in Mannheim, completed<br />

in 1975, is a lattice structure built from 2-4 layers of<br />

5 cm square pine with a 50cm pitch grid. Members<br />

were connected with slit joints which allow redundant<br />

adjustment of the fixing position after assembly.<br />

The roof shape was developed using physical 1/100<br />

scale models. At the actual assembly site, the laths<br />

were arranged on a temporary platform, “then joined<br />

together piece by piece to form a large grid: the<br />

bolts were tightened later.” After this initially flexible<br />

structure was created, the improvised lifting system<br />

consisting of scaffolding towers and forklifts slowly<br />

pushed the entire construction upwards to achieve<br />

the designed form precisely. The node bolts of the<br />

lattice shells were tightened after that. To bring precision<br />

to the complex shape of the roof, slit joints<br />

were designed to allow adjustment after assembly.<br />

Softness is the idea behind this building system.<br />

The flexibility of timber joints in wood construction<br />

provides flexibility to the building system. The<br />

system of joinery is an incarnation that represents<br />

the system behind the architecture.<br />

5


WOOD IS ...<br />

49<br />

Image credit 05-06 : Frei Otto Archives / Carlfried Mutschler + Partners Archives ©saai | Sudwestdeutsches Archiv fur<br />

Architektur und Ingenieurbau, Karlsruhe Institute of Technology<br />

6


50<br />

theme<br />

7<br />

Image credit: ©Gehry Partners, LLP.<br />

07<br />

ภายนอก Danziger<br />

Studio & Residence,<br />

Los Angeles หลังจาก<br />

สร้างเสร็จไม่นาน<br />

3. Autonomy<br />

“ผมคิดว่าผมมองหาการเคลื่อนไหวมาโดยตลอด…วิญญาณ<br />

ของคิวบิสม์พยายามหนีออกจากบ้านแปลกประหลาดที่มัน<br />

ติดอยู่…”<br />

ในบ้านของเขา “วิญญาณของคิวบิสม์” คือโครงไม้ 2x4<br />

ที่ถูกเพิ่มเข้ามาใน และรอบบ้านเดิม นำาแสงและความ<br />

เคลื่อนไหว เข้ามาใน บ้านแบบฉบับคนชั้นกลางยุค 1920<br />

ใน Santa Monica ความกระจัดการจายเป็นชิ้นๆ จาก<br />

ภายนอก ถูกเชื่อมต่อเป็นห้องเดี่ยวขนาดใหญ่ด้านใน<br />

ประมาณ 10 ปี ก่อนหน้านั้น ในปี 1964 Gehry ออกแบบ<br />

บ้านและสตูดิโอ ให้ Lou Danziger ที่ฮอลลีวูด กล่องไม้<br />

สองกล่องถูกเชื่อมต่อด้วยผนังรั้ว ทำาให้ดูเผินๆ เหมือนมี<br />

Volume 3 ชิ้น เชื่อมต่อกันอยู่ กล่องเหล่านี้ เดิมเขาตั้งใจ<br />

ให้เป็นคอนกรีตเปลือย แบบ Corbusier แต่เนื่องจากงบ<br />

ประมาณที่จำากัด Gehry ตัดสินใจเปลี่ยนระบบการก่อสร้าง<br />

มาใช้ระบบโครงไม้ 2x4 ที่แพร่หลายมากในพื้นที่ แล้วจบ<br />

ด้วยการพ่นปูน (Sprayed-on Stucco) แทน กล่องไม้<br />

หุ้มปูนทั้งสอง เปิดรับคนด้วยพื้นที่ Double Space ช่อง<br />

เปิดขนาดใหญ่หลายทิศทางทำาให้โครงไม้เปลือยด้านบน<br />

ที่ปกคลุมพื้นที่ทั้งหมด ลอยอยู่ในความสว่าง สร้างความ<br />

เคลื่อนไหวให้อาคาร<br />

3. Autonomy<br />

“…I'd always thought I was looking for movement…<br />

this ghost of cubism was trying to escape this weird<br />

house that it got caught in.”<br />

In his own house, the “ghost of cubism”, acrobatic<br />

2x4 timber frames are inserted into and around<br />

the existing house bringing light and movement to<br />

a 1920s typical middle-class suburban house of<br />

Santa Monica.<br />

Almost a decade earlier, in 1964 in Hollywood,<br />

Danziger House, a three-volume structure was made<br />

of two shifted wooden boxes connected by a wall.<br />

Each box contained two stories of high-ceilinged<br />

space and was originally intended to be built with<br />

Corbusien Beton Brut. However, due to a very limited<br />

budget, the architect, Frank Gehry, changed the<br />

construction method to the two-by-four stud wood<br />

construction that is ubiquitous in the area. The<br />

two stucco-sprayed wooden boxes both welcome<br />

people with tall double space. The ceiling surface<br />

with exposed wood studs covers the entire space<br />

far overhead, and openings cut high above the space<br />

allow the ceiling to float brightly.


WOOD IS ...<br />

51<br />

“Wood as Everyday Material.. a strategy for introducing<br />

the concepts of movement and time into architecture<br />

while dealing with budgetary constraints. It creates<br />

large spaces inside while taking advantage of its<br />

inexpensiveness. “<br />

“.…ตอนนั้นชานเมืองดูจะไม่มีที่สิ้นสุด มันถูกสร้างขึ้นอย่าง<br />

รวดเร็วด้วยระบบโครงไม้ 2x4 ฉาบปูน ถ้าคุณขับรถ คุณ<br />

จะเห็นอาคารไม้ที่ยังไม่เสร็จ กำ าลังก่อสร้างยาวไปเป็นไมล์ๆ”<br />

Gehry ใช้โครงสร้างไม้ระบบ 2x4 ซ้ำาๆ ในกลุ่มบ้านที่เขา<br />

ออกแบบในช่วงเริ่มต้นของการทำางาน มันเป็นกลยุทธ์ใน<br />

การใช้ประโยชน์จากการจัดการกับข้อจำากัดทางงบประมาณ<br />

ระบบ 2x4 นอกจากจะสร้างพื้นที่ขนาดใหญ่ได้ในราคาที่<br />

ย่อมเยา ยังเป็นตัวแทนของความธรรมดา ไม้ในฐานะวัสดุ<br />

ในชีวิตประจำาวัน<br />

“..สถาปัตยกรรมถูกโยงและผูกไว้กับปัญหาของการใช้งาน<br />

มากเกินไป….. พื้นที่แบบห้องเดี่ยว เป็นแนวคิดที่ดึงดูดผม<br />

เพราะเป็นวิธีที่สามารถหนีออกจากไม้ค้ำายันพวกนี้ ..สิ่งที่<br />

ลูกค้าต้องการ สิ่งที่คุณต้องการ งบประมาณ กฏหมาย<br />

ทั้งหมดเป็นเพียงแค่ไม้ค้ำายัน..”<br />

อะไร คือสิ่งที่ทำาให้สถาปัตยกรรมยืนได้ด้วยตัวเองเป็น (หรือ<br />

ดูเหมือนเป็น) อิสระจาก function และความต้องการอื่นๆ<br />

สำาหรับ Gehry มันคือการออกแบบพื้นที่”ห้องเดี่ยวขนาด<br />

ใหญ่” มาโดยตลอด ความพิเศษของ Gehry อยู่ที่วิธีการ<br />

แปลสิ่งเหล่านี้ ไปสู่วิธีการห่อหุ้ม และถึงวิธีการยืนอยู่ของ<br />

อาคาร โครงไม้ที่ถูกเปิดเผยในห้องเดี่ยวขนาดใหญ่ ทำางาน<br />

ไปพร้อมๆ กับการกำาหนดขนาด Volume ให้สอดคล้อง<br />

กับพื้นที่ด้านในเพื่อให้เกิดห้องเดี่ยว มันคือวิธีการที่ Gehry<br />

เรียกมันว่า วิธีหมู่บ้าน ซึ่งผลที่ได้มีลักษณะเป็นกลุ่มของ<br />

volume<br />

เมื่อเวลาผ่านไป ระบบโครงสร้างไม้ 2x4 ค่อยๆ หายไป<br />

จากงานของ Gehry แต่วิธีการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่าง<br />

ขนาดของพื้นที่กับ Volume เป็นสิ่งที่ถูกค้นหาอย่างต่อเนื่อง<br />

ในงานที่ตามมาของเขา การก่อสร้างด้วยระบบโครงไม้ 2x4<br />

ของอเมริกาฝั่งตะวันตกในช่วง 1960 น่าจะเป็นตัวกระตุ้น<br />

ที่สำาคัญของกระบวนการค้นหาและสร้างความสัมพันธ์แบบ<br />

ตรงไปตรงมา ระหว่างพื้นที่ภายในและวิธีการตั้งอยู่ของ<br />

สถาปัตยกรรม<br />

“...The suburbs were endless. And it was all being<br />

done very quickly with two-by-fours, wood, studs<br />

and plaster. You drove around; you’d see miles of<br />

unfinished wooden buildings as they were being<br />

constructed.”<br />

Wood as Everyday Material: In a series of houses<br />

that Gehry designed early in his career, two-by-four<br />

was a strategy for introducing the concepts of movement<br />

and time into architecture while dealing with<br />

budgetary constraints. It creates large spaces inside<br />

while taking advantage of its inexpensiveness.<br />

“Architecture is so cluttered with problems of function…For<br />

me.. the one-room building…..appealed<br />

to me because I was trying to look for a way to<br />

get rid of the crutches...The client wants this, you<br />

want that, budget, building codes, zoning - all that.<br />

They're all crutches.”<br />

How can architecture exist autonomously while being<br />

(or appearing to be) isolated from its function and<br />

other architectural requirements (or contents)? From<br />

the beginning of his career, Gehry has consistently<br />

designed huge one-room spaces to address this<br />

issue. Yet, Gehry's invention came when he translated<br />

it into how the building stands. The wooden<br />

frame is exposed in the huge one-room space, and<br />

the architectural exteriors are set in a volume that<br />

corresponds immediately to the size of the space<br />

or what he called, a village type, as it results in<br />

multiple volumes.<br />

Over the years, the 2x4 gradually fell out of use, but<br />

the technique of creating a relationship between the<br />

size of the space and the volume was explored in<br />

later works. The assemblage of interiors and volumes<br />

in collusion...The two-by-four constructions of the<br />

60s on the West Coast were at least the trigger for<br />

that pursuit, the direct relationship between the<br />

interior and the way the architecture stands.


52<br />

Image credit: ©Gehry Partners, LLP.


53<br />

08<br />

08<br />

ภายใน Danziger Studio &<br />

Residence ในช่วงที่<br />

Danziger ยังอยู่อาศัยใน<br />

บ้าน Danziger ขายบ้าน<br />

ของเขาหลังจากที่เขาอยู่ที่<br />

บ้านนั้น กว่า30ปี ปัจจุบัน<br />

บ้าน Danziger ถูกปรับปรุง<br />

เป็นที่ตั้งของ Gallery ชื่อ<br />

Seventh House


54<br />

theme<br />

“It can create many links<br />

between the different<br />

systems. Sometimes,<br />

“so numerous that you<br />

don’t see them anymore.”<br />

09<br />

Hebelstrasse<br />

Apartments, Basel<br />

4. Accessibility<br />

ไม้ อยู่ในแทบทุกพื้นที่ ตั้งแต่การเริ่มต้น ของแทบทุก<br />

วัฒนธรรม ด้วยประวัติและเรื่องราวที่หลากหลาย ทำาให้<br />

ไม้สามารถสร้างจุดเชื่อมโยงระหว่างระบบได้ บางครั้ง<br />

“มากจนคุณไม่สามารถเห็นมัน”<br />

ผลงานในระยะแรกของ Herzog de Mouron อย่าง Studio<br />

Frei ที่ Weil am Rhein หรือบ้านไม้อัดที่ Bottmingen<br />

แสดงให้เห็นว่าไม้สามารถทำาหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่าง<br />

ภาพทางสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันได้ ไม่ว่าจะเป็น<br />

โรงเรียนไม้อนุบาล หรือกระท่อมไม้ ในสวนหลังบ้าน หรือ<br />

งานช่างไม้ญี่ปุ่น หรือแม้แต่ Pavilion ของ Corbusier<br />

ที่อพาร์ตเมนท์บนถนน Hebel แผ่นไม้โอ๊คและเสาไม้โอ๊ค<br />

ที่ถูกปรับแต่งด้วยมือ พร้อมพื้นไม้ของระเบียงทั้งสองชั้น<br />

“สร้าง “พื้นผิว” ที่มีความลึกที่แตกต่างให้กับสัณฐาน เป็น<br />

เหมือนห้วงอากาศระหว่างพื้นที่ภายใน และภายนอก”<br />

สำาหรับคลังสินค้าให้ Ricola ใน Laufen ผนังที่ถูกปลดปล่อย<br />

จากหน้าที่ของการรับน้ำาหนัก ทำาหน้าที่สร้างสัดส่วนเฉพาะ<br />

ให้กับปริมาตร “โครงสร้างซ้ำาๆ ของ facade เมื่อเดินเข้าใกล้<br />

ค่อยๆ เปลี่ยนสถานะเป็นชิ้นส่วนรับแรง ที่ต่อกันแบบหยาบๆ<br />

….แนวคิด เรื่องชั้นเก็บของ ไม่ใช่แนวความคิดที่ถูกใช้กับ<br />

อาคาร แต่เป็นสิ่งที่อาคารนั้นเป็น”<br />

4. Accessibility<br />

Wood has been everywhere since the start of almost<br />

every civilization. It has multiple histories, multiple<br />

stories. It can create many links between the different<br />

systems. Sometimes, “so numerous that you don’t<br />

see them anymore.”<br />

Herzog and de Meuron’s early works, such as Frei<br />

Studio in Weil am Rhein or the plywood house in<br />

Bottmingen show how wood can establish connections<br />

between different architectural pictures whether<br />

it be wooden barrack-like buildings for kindergartens<br />

or the sheds of the neighbouring garden or Japanese<br />

craftsmanship or even Corbusier’s pavilion.<br />

At the Apartment on Hebelstrasse, the oak panels<br />

together with hand-tuned oak columns and wooden<br />

floor of the two loggias form “a ‘surface’ to the<br />

configuration with varying depth, a kind of timber<br />

spatial layer between interior and exterior”<br />

For the Ricola Storage in Laufen, the wall which had<br />

liberated from its function as a supporting structure,<br />

“creates a specific proportion for an object-like<br />

volume”. Upon approaching, “the repetitive structure<br />

of the facades falls apart into its carrying and loading<br />

components that adjoin one another in a harsh<br />

way... The idea of stocking shelves is not applied to<br />

the building but is embodied by the building itself.”


WOOD IS ...<br />

55<br />

09<br />

Image credit: Architekturzentrum Wien, Collection, Photo: Margherita Spiluttini


56<br />

theme<br />

ใน Goetz Gallery ที่มิวนิค กล่องคอนกรีตที่ถูกกดลงไปใน<br />

ดิน ถูกวางทับด้วยกล่องไม้ที่สูงเท่ากัน ไม้ถูกจัดการให้เท่า<br />

และเหมือนกับคอนกรีตมากที่สุด แกลอรี่สองชั้นมีตำาแหน่ง<br />

และขนาดของช่องแสงด้านบนเท่ากัน จากภายในมันมี<br />

ลักษณะเหมือนกันมากจนยากที่จะแยกได้ ภายในกล่องไม้<br />

เสาที่จำาเป็นทางโครงสร้าง วิ่งผ่านช่องแสงเป็นระยะ แต่การ<br />

มีอยู่ของมันถูกทำาให้จางลง ด้วยกระจกสีขาวขุ่นที่ติดตั้ง<br />

จากภายใน กล่องไม้สี่เหลี่ยมผืนผ้าถูกสร้างด้วย Grid ขนาด<br />

ประมาณ 4.7x6.7 เมตร จำานวน 5 ชุด ซึ่งเป็น span ที่ใกล้<br />

เคียงกับ span ที่สร้างจากโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ความสูงรวม 9.4 เมตรของอาคาร บวกกับท่อคอนกรีต<br />

ขนาดเล็กสองอัน ที่ถูกวางในระดับเดียวกับพื้นด้านนอก<br />

สำาหรับพื้นที่ออฟฟิส ยิ่งทำาให้อาคารนี้เหมือนอาคารสามชั้น<br />

เข้าไปอีก แต่ถ้ากล่องคอนกรีตเล็กสองกล่องนี้ ทำาหน้าที่รับ<br />

แรงจริง คานขนาด 40 cm ของกล่องไม้ด้านบน ก็จะต้อง<br />

ทำาจากคอนกรีตเสริมเหล็กไม่ใช่ไม้ จากด้านนอก พื้นผิว<br />

สีเทาอุ่นคล้ายคอนกรีต ค่อยๆ โชว์ผิวของคานไม้ Glulam<br />

และรอยต่อของไม้อัด เมื่อเราเข้าใกล้<br />

ที่นี่ ไม้ ไม่ได้ถูกใช้ เพื่อคุณสมบัติที่เป็นเนื้อแท้ของมัน หรือ<br />

เพื่อความต่อเนื่องของประวัติศาสตร์หรือประเพณี แต่มัน<br />

ถูกบูรณาการเข้าไปในองค์ประกอบ แม้แต่คุณสมบัติและ<br />

ลักษณะเฉพาะด้านกลศาสตร์ของไม้ ก็ถูกนิยามใหม่ บน<br />

ความสัมพันธ์กับวัสดุอื่นๆ<br />

In Goetz Art Gallery, Munich, a two-storey building<br />

consisting of a partially submerged concrete box<br />

topped by a wooden box of the same height, wood<br />

is treated to appear as equivalent to the concrete<br />

as possible. The two galleries both have the same<br />

high-side light with one-third the height of the box,<br />

are so similar that they are indistinguishable in the<br />

interior. Structurally required columns cross the<br />

high sidelight in the wooden box, but the presence is<br />

blurred by the milky white glass which was installed<br />

on the interior side as well. The wooden box is made<br />

up of five sets of approximately 4.7m x 6.7m grids<br />

repeated to form a rectangular outline, the span of<br />

which is almost identical to the span that could be<br />

formed by a concrete structure. The total height of<br />

9.4 m and two small concrete tubes which are placed<br />

to contain an office as a continuation with the ground<br />

level made it look even more like a three-story. A<br />

concrete-like tinted warm grey surface started to<br />

reveal a texture of glulam beam and the joints of<br />

the plywood when approaching the building itself.<br />

Here, wood is not pursued for its intrinsic qualities<br />

or as an extension of its historical use, but rather,<br />

it is integrated into the overall organization of the<br />

building as part of a framework. Even the properties<br />

and mechanical characteristics of wood were<br />

redefined in relation to other materials.<br />

10<br />

Sammlung Goetz,<br />

Munich<br />

10<br />

Image credit: wikicommon


WOOD IS ...<br />

57<br />

”ผมเชื่อว่ามีสถานที่ที่ถูกกำาหนด หรือถูกวางโครงสร้างไว้<br />

ล่วงหน้า การแทรกแซงที่นอบน้อมและ เหมาะสม ที่อาจ<br />

จะเป็นแค่การเน้นอะไรบางอย่างของสถานที่นั้น อาจจะ<br />

เหมาะสมกว่า การตะโกนป่าวประกาศ” วิธีการของพวก<br />

เขา ไม่ใช่ความพยายามในการสร้าง "ศูนย์กลางใหม่ที่<br />

อิสระ" แต่เป็นการตีความวัสดุ สภาพแวดล้อม และบริบท<br />

แล้วกำาหนดระยะห่างที่เหมาะสม เป็นความแตกต่างที่เริ่ม<br />

เห็นเมื่อเข้าไปมองใกล้ๆ หรือเมื่อสังเกตด้วยระยะเวลาที่<br />

ยาวนาน ที่นี่ "เวลาคือส่วนของเครื่องมือในการทำางาน"<br />

ความทำางานง่าย และเข้าถึงได้ง่าย ทำาให้ไม้สามารถย้อม<br />

เลียนแบบ หรือเชื่อมต่อ กับพื้นที่หรือฐานของการอ้างอิง<br />

ได้หลากหลาย ไม่ว่าคุณจะเรียกคุณลักษณะนี้ ว่าความ<br />

ปรุโปร่ง หรือความไม่มีตัวตน ก็ตาม ไม้สามารถเป็นพื้นที่<br />

แห่งการทดลอง ของกระบวนการสร้างความเป็นนามธรรม<br />

ด้วยมิติของการอ้างอิง<br />

5. Longevity<br />

"Shikinen Zotai" หรือ การรื้อสร้างใหม่ตามปีที่กำาหนด<br />

ไม่ว่าจะเป็นการสร้างใหม่ทั้งหมด หรือเฉพาะส่วน เคยเป็น<br />

พิธีที่ถูกปฏิบัติอย่างแพร่หลายตามศาลเจ้าในประเทศญี่ปุ่น<br />

ปัจจุบันจำานวนศาลเจ้าที่ยังคงปฏิบัติอยู่ลดน้อยลงมาก<br />

การที่ศาลเจ้าบางแห่งเลิกประเพณีนี้ไป เพราะอาคารถูกขึ้น<br />

ทะเบียนเป็นอาคารอนุรักษ์ บ่งชี้ความแตกต่างทางความ<br />

คิดต่อความต่อเนื่องและยืนยาว<br />

หนึ่งใน Shikinen Zotai ที่ยังคงเหลือ และใหญ่ที่สุด คือ<br />

ของศาลเจ้าหลวงที่ Ise ที่ถูกเรียกว่า Shikinen Sengu ซึ่ง<br />

เกิดขึ้นทุกๆ 20ปี มาเป็นเวลากว่า 1300 ปี มันเป็นตัวอย่าง<br />

ที่โด่งดังของความยั่งยืนที่ไม่ต้องคงทนเป็นตัวอย่างของ<br />

การมองสถาปัตยกรรมเป็นเครือข่ายของปรากฏการณ์ที่มี<br />

กระบวนการและอาณาบริเวณ ที่นี่ ระยะเวลา 20 ปี ไม่ใช่<br />

ระยะห่าง แต่เป็น 20 ปี ของการเตรียมการและการมีส่วน<br />

ร่วม เป็นช่วงเวลาของการฝึกฝนและแสดงความสามารถ<br />

ของช่างแขนงต่างๆ ซึ่งรวมถึงพิธีกรรมและเทศกาลต่างๆ<br />

ที่มีอย่างต่อเนื่อง แต่ความต้องการไม้ฮิโนกิขนาดใหญ่<br />

คุณภาพสูงมากกว่า 10,000 ต้น ทุกๆ 20 ปี ต้องการวงจร<br />

ที่ยาว และแม่นยำามากกว่านั้น ตั้งแต่ประมาณศตวรรษ<br />

ที่ 11 ไม้ฮิโนกิขนาดใหญ่ที่จำาเป็นในการก่อสร้างเริ่ม<br />

ขาดแคลน การบริโภคอย่างต่อเนื่องโดยการเปลี่ยนที่หา<br />

ทรัพยากรไปเรื่อยๆ โดยไม่ปลูกทดแทน เกิดขึ้นเป็นเวลา<br />

นาน แผนจัดการป่า 200 ปี ที่ถูกประกาศ ในปี 1923 เป็น<br />

ความพยายามจริงจังครั้งแรกในการจัดการและดูแลป่าของ<br />

ศาลเจ้าเอง หลังจากนั้นเกือบ 100 ปี ใน "Shikinen Sengu"<br />

ครั้งล่าสุด เมื่อปี 2013 เป็นครั้งแรกตั้งแต่ยุคคามาคุระที่<br />

ศาลเจ้า สามารถใช้ไม้ฮิโนกิบางส่วนประมาณ 20% ของ<br />

ปริมาณทั้งหมดจากป่าของศาลเจ้าเอง 20%ใน 100 ปี!<br />

”…I believe that there are places already so strongly<br />

predetermined or pre-structured that very subordinated,<br />

well-suited interventions, which only accentuate<br />

the place in a small way, are more appropriate<br />

than loud statements.” Their approach was not<br />

an attempt to build up "a new and independent<br />

centrality" but rather how to interpret materials,<br />

surroundings, and context, and then set a proper<br />

distance from them, a difference that gradually<br />

emerged when looking closer or when observed with<br />

a longer period. Here, “time is part of a working tool”.<br />

Wood is easy to work with. It can bleach, mimic, and<br />

connect with places or references. Through all these<br />

accessibilities, wood creates differences. Whether<br />

this quality is called transparency or immateriality,<br />

in either case, wood was a central material in experimentation.<br />

It is a process of abstraction thanks to the<br />

plural dimensions of references.<br />

5. Longevity<br />

The culture of the Shikinen Zotai or periodic rebuilding,<br />

whether total rebuild or partial rebuild of specific<br />

elements, used to be practiced in a number of<br />

shrines in Japan. Today, the number has decreased,<br />

some ironically, stop this tradition due to the “preservation”<br />

after being registered as cultural heritage.<br />

One of the remaining practices is the one of the Ise<br />

Jingu, or the Shikinen Sengu, which has been carried<br />

out approximately. every 20 years for over 1300 years.<br />

It is a famous exemplar of longevity that does not<br />

center around durability. A great example of how<br />

to see architecture not as an individual entity but<br />

a collective phenomenon with its own territory and<br />

process. The 20-year interval here doesn’t mean<br />

a 20-year gap but 20 years of preparation and<br />

involvement. A continued practice of skilled workers<br />

involving constant rituals and festivals. However, the<br />

need for more than 10,000 large, high-quality Japanese<br />

cypresses of hinoki every 20 years requires a<br />

much more precise and longer cycle. From around<br />

the 11th century, the depletion of high-quality hinoki<br />

became clear. The phenomenon of not cultivating<br />

resources, but continuously consuming by changing<br />

the logging location continued for a long time. In<br />

1923, a 200-year plan of forest management, an<br />

initiative to ensure a sustainable supply of Hinoki<br />

from the shrine-owned forests was first announced.<br />

About 100 years later, during the latest Shikinen<br />

Sengu in 2013, for the first time since the Kamakura<br />

period, a portion of Hinoki, just over 20% of the total<br />

needed, could be supplied from the shrine-owned<br />

forests. Barely 20% in 100 years!


58<br />

theme<br />

11<br />

หลังจากที่ไม้ถูกตัดและ<br />

เคลื่อนออกจากภูเขา จะ<br />

ถูกลำาเลียง เคลื่อนย้ายทาง<br />

เรือ และทางบก เป็นการ<br />

นำาเอาความเป็นเทศกาล<br />

มาช่วยเปิดกระบวนการ<br />

ทำาให้ผู้คนจำานวนมากใน<br />

พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง สามารถ<br />

เข้ามามีส่วนร่วม สร้าง<br />

ความผูกพันและความ<br />

คุ้นชิน


WOOD IS GOOD<br />

59<br />

11<br />

Image credit: ©Jingushicho


60<br />

theme<br />

12<br />

Misoma Hajime Sai<br />

( 御 杣 始 祭 ) หรือพิธี<br />

เปิดภูเขา Misoma เป็นพิธี<br />

แรกๆ ในพิธีจำานวนมาก<br />

ที่เกิดขึ้นในระยะเวลากว่า<br />

แปดปีของการ”ก่อสร้าง”<br />

เป็นการแสดงความเคารพ<br />

ต่อป่า และต้นไม้ ไม้ที่ทำา<br />

หน้าที่เป็นเสาที่ใหญ่ที่สุด<br />

ของโถงหลักของศาล เมื่อ<br />

ถึงเวลา Shikinen Sengu<br />

หลังจากถูก “รื้อ” แล้ว จะ<br />

ถูกปรับเปลี่ยนและใช้ต่อ<br />

อีก 20 ปี ในฐานะ ประตู<br />

Torii ที่ทางเข้าของศาล<br />

และหลังจากนั้นอีก 20 ปี<br />

จะถูก ย้ายไปทำาหน้าที่<br />

เป็นประตู Torii ในเมือง<br />

Kameyama และ Kuwana<br />

ซึ่งเป็นทางเข้าของ Ise<br />

ในอดีต<br />

“Wood offers time to nurture commitment, a period to confirm<br />

the trust and care of the people. It presents options-depending on<br />

the will of those involved, care and commitment can be added<br />

to maintain or to release it back into the wild.”<br />

Image credit: ©Jingushicho<br />

12<br />

1 Warren, W. (2007). Jim Thompson: The House on The Klong (pp27).<br />

2 Ishiyama, O. (1982). Barracks Jodo (pp23).<br />

3 Grahame, A., Wilkhu, T. (2017). Walter Ways and Segal Close: The Architect Walter Segal and London’s Self-Build Communities.<br />

4 Vrachliotis, G., Kleinmanns, J., et al. (2017). Frei Otto: Thinking by Modeling.<br />

5 Frank Gehry Interviewed by Obrist, H. U. (2016). Lives of the Artists, Lives of the Architects (pp158).<br />

6 Frank Gehry Interview from Friedman, M. (2009)<br />

7 El Croquis Herzog de Meuron 1981-2000 (pp80).<br />

8 Herzog, J. (1988). The Hidden Geometry of Nature (in Herzog & De Meuron 1978-1988: The Complete Works Volume1 (1997), pp209).<br />

9 Herzog, J. (Interviewee), & Zaera, A. (Interviewer). Continuities (in El Croquis: Herzog & De Meuron, 1981-2000, pp 22).<br />

10 Unno, S. (2022). Mori to Ki to Kenchiku no Nihonshi (pp. 199-209).


สิ่งสำาคัญอีกอย่างที่ควรคำานึงคือความจริงที่ว่า นี่คือระบบ<br />

ของศาลเจ้าที่ทั้งศักดิ์และสิทธิ์สูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น ว่า<br />

กันว่า "Shikinen Sengu" ครั้งล่าสุด ใช้งบประมาณกว่า<br />

55 พันล้านเยน มากกว่าครึ่งมาจากค่าไหว้เจ้าที่เก็บจาก<br />

ศาล 80,000 กว่าแห่งทั่วประเทศญี่ปุ่น ที่เหลือมาจากการ<br />

บริจาคโดยตรงจากกลุ่มธุรกิจและการเมือง มันไม่ใช่แค่<br />

เรื่องของวงจรของคน วัสดุ และเทคโนโลยี แต่รวมไปถึง<br />

กลยุทธ์ในการรณรงค์และการหาทุน การขยายอิทธิพลผ่าน<br />

กิจกรรมทางวัฒนธรรม<br />

พัฒนาการทางเทคโนโลยี ทำาให้ไม้ กลายเป็นสื่ออเนกประสงค์<br />

ปัจจุบันเราสามารถสร้างชิ้นส่วน ไม้ขนาดใหญ่ได้ ด้วยวัตถุดิบ<br />

ที่เล็กและเกรดต่ำาลง ทำาให้สามารถใช้ประโยชน์จากไม้ที่มี<br />

วงจรชีวิตสั้นลง นอกจากนั้นมันยังทำาให้เราตระหนักได้ว่า<br />

ไม่มีวัสดุ หรือระบบวิเศษที่สามารถอยู่อย่างยั่งยืนได้ด้วย<br />

ตัวของมันเอง ระบบและกลยุทธ์ที่ดีเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ แต่<br />

คงไม่พอเพียง ประเด็นอาจจะอยู่ที่ศิลปะของการสร้างความมี<br />

ส่วนร่วม และเหนือสิ่งอื่นได้การสร้างสิ่งที่คนรัก และใส่ใจจริง<br />

ความยืนยาวของสถาปัตยกรรมไม้ แสดงถึงปริมาณของ<br />

ความใส่ใจและทรัพยากรที่ถูกมอบให้ตลอดช่วงอายุ ลอง<br />

นึกถึงพื้นที่เมืองเก่าของเกียวโต สิ่งที่เราเห็นไม่ใช่แค่กลุ่ม<br />

อาคารไม้ แต่มันคือความเอาใจใส่และความต่อเนื่องของ<br />

วัฒนธรรม การที่เราแทบไม่เห็นไม้ในพื้นที่ทางประวัติศาสตร์<br />

ในอยุธยา ไม่ได้หมายถึงไฟสงครามเพียงอย่างเดียว แต่<br />

หมายถึง ความขาดช่วงของวัฒนธรรม ข่าวการทุบอาคาร<br />

คอนกรีตจำานวนมาก น่าจะสร้างความกระจ่างแล้ว ว่าความ<br />

คงทนไม่ได้หมายถึงความยั่งยืน ความไม่คงทนและคุณสมบัติ<br />

ที่ย่อยสลายได้ของไม้ อาจกลายเป็นข้อดีได้ ไม้ ให้เวลาใน<br />

การยืนยันความใส่ใจ และให้โอกาสในการปลูกฝัง เป็นการ<br />

เปิดตัวเลือกที่จะดูแลเอาใจใส่เพื่อรักษาให้ยืนยาว หรือเลือก<br />

ที่จะปล่อยเค้ากลับไป<br />

เมื่อพาไม้ออกจากธรรมชาติ ความอ่อนธรรมชาติของ<br />

ไม้ ทำาให้มันต้องการการดูแลที่ต่อเนื่องจากมนุษย์ ไม่<br />

ว่าจะตั้งใจหรือไม่ ไม้นำาความธรรมดา เข้ามาในงาน<br />

สถาปัตยกรรม บางครั้งพร้อมกับความลำาบากที่ต้อง<br />

ดูแล บางครั้งในฐานะคู่ตรงข้ามของความสูงส่ง ที่เคย<br />

ผลัก (ทั้งร่างกาย และความเข้าใจของ) มนุษย์ออกจาก<br />

สถาปัตยกรรม ไม้เปิดเผยสิ่งที่เคยถูกจัดการในกล่องดำา<br />

เปิดโอกาสในการวางความสัมพันธ์ที่จับต้องได้ ระหว่าง<br />

ธรรมชาติ คน เทคโนโลยี เวลา และวงจร ไม้ช่วยตอบ<br />

ว่าทำาไมเรากำาลังเขียนเรื่องวัสดุอยู่ในวันนี้ การทำางาน<br />

กับคุณสมบัติของระบบ มาพร้อมกับประเด็นของความ<br />

ธรรมดาที่ว่านี้<br />

WOOD IS ...<br />

It is essential to recognize that these are systems<br />

of the most sacred, the top of the top. The latest<br />

Shikinen Sengu is estimated to cost around 55<br />

billion JPY. More than half come from the first<br />

offering fees collected from over 80,000 shrines<br />

nationwide. The remaining comes from direct donations<br />

from the political and business sectors. In other<br />

words, it’s not only about achieving circularity that<br />

incorporates human, material and technology, but<br />

it also involves campaigns through cultural events,<br />

and a strategic fundraising system- a perfect fanbased<br />

process economy!<br />

Technological advancement has transformed wood<br />

into a more versatile medium. Today large-scale<br />

wooden components in contemporary architecture<br />

can be made from smaller or lower grades of wood,<br />

thus shortening the cultivation process. Still, the story<br />

of Ise reminds us how there’s no magic material or<br />

system that can be sustained without effort. A strategic<br />

system is necessary but not enough. Rather,<br />

it’s about the art of engaging people and, above all,<br />

creating something they genuinely care about.<br />

The longevity of wooden constructions directly<br />

means the volumes of care and commitment they<br />

have received over the years. Think of those wooden<br />

temples and houses in Kyoto, it’s not just the<br />

building, but the continuity of the building culture<br />

and unwavering commitment behind it. The fact that<br />

the wooden part of the historical sites of Ayutthaya<br />

has barely survived, not only indicates the impact of<br />

fires and wars but also the discontinuity of culture.<br />

The news of demolishing modern concrete buildings<br />

reminds us that durability doesn't necessarily equate<br />

to sustainability. The decaying nature of wood can<br />

be seen as an advantage today. Wood offers time<br />

to nurture commitment, a period to confirm the trust<br />

and care of the people. Depending on the will of<br />

those involved, care and commitment can be added<br />

to maintain or to release it back into the wild.<br />

With softness originating from nature, once brought<br />

out, wood requires regular maintenance by human<br />

hands. Whether intentional or not, it introduces the<br />

idea of ordinariness to architecture, sometimes with a<br />

certain burdensomeness for care, sometimes against<br />

the idea of nobility which keeps people at a distance<br />

(from understanding and bodily experience). It uncovers<br />

what has, until recently, been blindly handled<br />

behind—a tangible plot between nature, humans,<br />

technology, time, and cycles in a single project.<br />

Here, wood offers why we write on material today.<br />

We pose the properties of the system in a project, the<br />

world in which the "ordinariness" is also a concern.<br />

61<br />

ภรพัสุ ศิริคุรุรัตน์<br />

ผู้ร่วมก่อตั้งสำนักงาน<br />

bsides และอาจารย์ประจำ<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ภรพัสุเคยทำงานในฐานะ<br />

นักวิชาการวัฒนธรรม<br />

และสถาปนิก ที่สำนักงาน<br />

ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย<br />

กระทรวงวัฒนธรรม ในปี<br />

2021 ภรพัสุได้รับปริญญา<br />

เอกด้านสถาปั ตยกรรม<br />

จากมหาวิทยาลัยโตเกียว<br />

ทาคุมิ ไซโต<br />

ก่อตั้ง bsides สำนักงาน<br />

ออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

ที่กรุงเทพในปี 2012 หลัง<br />

จากจบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาโท ด้านสถาปั ตย-<br />

กรรมจากมหาวิทยาลัย<br />

โตเกียว ทาคุมิมีประสบ-<br />

การณ์การทำงานในฝ่าย<br />

ออกแบบ บริษัท Thai<br />

Takenaka International<br />

Pornpas<br />

Siricururatana<br />

is a co-founder of<br />

bsides and a lecturer<br />

at Department of Architecture,<br />

Kasetsart<br />

University. She used<br />

to serve as a cultural<br />

officer and in-house<br />

architect at the Office<br />

of Contemporary Art<br />

and Culture, Ministry<br />

of Culture. Recently she<br />

received a doctorate<br />

degree from her alma<br />

mater, the University<br />

of Tokyo.<br />

Takumi Saito<br />

founded bsides, an<br />

architectural practice<br />

based in Bangkok in<br />

2012 with Pornpas<br />

Siricururatana. He<br />

graduated a master's<br />

degree in architecture<br />

from the University of<br />

Tokyo in 2012, and has<br />

experience working in<br />

the design department<br />

of Thai Takenaka International<br />

Ltd.


62<br />

theme / review<br />

Learning<br />

by<br />

Doing<br />

1<br />

Yangnar Studio designed a two-story wooden structure known as “Baan<br />

Tita” in San Kamphang, Chiang Mai, with a profound appreciation for the<br />

local woodworking wisdom and techniques of skilled local builders.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo Courtesy of: Yangnar Studio and Rungkit Charoenwat except as noted


2<br />

01<br />

ภาพมุมสูงของบ้านทิตา<br />

02<br />

ช่องเปิดที่ส่วนครัว<br />

ถูกออกแบบให้เป็นช่อง<br />

สำาหรับนำาผักจากแปลงปลูก<br />

รวมถึงวัตถุดิบอื่นๆ เข้า<br />

มายังพื้นที่ส่วนเตรียมครัว


64<br />

theme / review<br />

ท่ามกลางพื้นที่ราบลุ่มที่อุดมสมบูรณ์โอบล้อม<br />

ไปด้วยแนวทิวเขา ของตำาบลห้วยทราย อำาเภอ<br />

สันกำาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เรือนไม้หลังหนึ่ง<br />

ถูกปลูกขึ้นร่วมกับภูมิทัศน์ของสวนกล้วยและ<br />

พืชผักสวนครัว อาคารไม้ขนาดสองชั้นหลังนี้<br />

ถูกสร้างขึ้นด้วยความเคารพต่อภูมิปัญญาการใช้<br />

ไม้ผ่านการเรียนรู้จากช่างท้องถิ่นสถาปัตยกรรม<br />

ที่ให้ความสำาคัญต่อการทดลองถึงความเป็นไป<br />

ได้ใหม่จากแรงบันดาลใจของงานสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นมาสู่การออกแบบร่วมสมัย เรือนไม้หลัง<br />

นี้คือ “บ้านทิตา” ผลงานของ คุณเท่ง-เดโชพล<br />

รัตนสัจธรรม สถาปนิกจากยางนาสตูดิโอ<br />

“โครงการนี้เหมือนโครงการทดลองที่เรานำาเอา<br />

ทักษะและความรู้เชิงช่างที่ได้สั่งสมมาจากการ<br />

ทำางานไม้ตลอดระยะเวลาการทำางานออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมมาประกอบรวมกันขึ้นเป็นผลงาน<br />

ชิ้นนี้” คุณเดโชพล กล่าวถึงภาพรวมของโครง-<br />

การบ้านทิตา โดยวัตถุประสงค์แรกที่ทำ าให้เกิด<br />

การก่อสร้างบ้านเกิดขึ้นมาจากความต้องการของ<br />

คนในครอบครัว ที่ต้องการบ้านพักอาศัยรวมกับ<br />

พื้นที่ทำางานออกแบบ ทำากิจกรรม Workshop<br />

และผลลัพธ์ที่ได้มาคือการออกแบบเรือนไม้ที่<br />

ผสมผสานภูมิปัญญาการออกแบบพื้นที่ใช้สอย<br />

จากสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ประกอบรวมเข้ากับ<br />

เทคนิคการก่อสร้างเชิงช่างจากช่างไม้ท้องถิ่น<br />

ในมิติทางสถาปัตยกรรมของบ้านทิตา ผู้ออกแบบ<br />

ให้ความสำาคัญกับการเชื่อมต่อเชิงพื้นที่โดย<br />

ใช้ภูมิปัญญาการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในงาน<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นตามบริบทพื้นที่ตั้ง กล่าวคือ<br />

ออกแบบให้เป็นเรือนไม้ยกพื้นสูงผังพื้นรูปตัว L<br />

และให้ความสำาคัญกับพื้นที่ ชานแดดและชานร่ม<br />

โดยพื้นที่ชานแดดคือพื้นที่ทางเข้าบ้านบริเวณ<br />

ทิศเหนือ ออกแบบไว้เป็นพื้นที่อเนกประสงค์<br />

สำาหรับการทำางาน หรือการทำา Workshop งานไม้<br />

ของยางนา สตูดิโอติดกับพื้นที่รับประทานอาหาร<br />

เมื่อเดินขึ้นบันไดจะเข้าสู่พื้นที่ชานร่ม หรือเติ๋น<br />

ในภาษาเหนือ พื้นชานไม้ตีเว้นร่องเพื่อช่วยให้<br />

ฝุ่นละอองที่ติดมากับขาตกลงไปด้านล่างตาม<br />

ภูมิปัญญาท้องถิ่น พื้นที่ชานที่เชื่อมโยงพื้นที่<br />

ชั้นล่างเข้ากับส่วนชั้นบนนี้ติดตั้งประตูเฟี้ยม<br />

เพื่อสร้างความยืดหยุ่นของการอยู่อาศัย สร้าง<br />

คุณลักษณะกึ่งเปิดโล่ง เชื่อมโยงการเชื่อมต่อ<br />

ทางสายตา รวมถึงทำาให้เกิดการถ่ายเทอากาศ<br />

เพื่อสร้างสภาวะน่าสบายขึ้นภายในพื้นที่ใช้สอย<br />

ของเรือน<br />

ถัดเข้ามาเป็นพื้นที่ครัวของบ้านอยู่ฝั่งทิศตะวัน-<br />

ออก สามารถเข้าได้สองฝั่ง จากทางฝั่งทิศใต้<br />

ทางด้านหลังบ้าน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ผู้ออกแบบ<br />

ปลูกสวนกล้วยเอาไว้ ทางขึ้นบ้านส่วนนี้มีพื้นที่<br />

ล้างเท้าไว้ก่อนขึ้นบันได และเข้าได้จากส่วนชาน<br />

ร่มที่เชื่อมกับพื้นที่อเนกประสงค์ด้านหน้าของ<br />

บ้าน พื้นของครัวในส่วนครัวไฟ และส่วนซักล้าง<br />

ปูพื้นไม้กระดานแบบตีเว้นร่องเช่นเดียวกับส่วน<br />

พื้นชานร่ม ขณะที่พื้นที่ส่วนเตรียมครัวที่เชื่อม<br />

ต่อกับส่วนห้องนั่งเล่นปูไม้กระดานแบบชิดเพื่อ<br />

ให้สอดคล้องกับการใช้สอย บริเวณพื้นที่ส่วน<br />

ครัวผู้ออกแบบได้ออกแบบช่องเปิดในระดับที่<br />

หลากหลาย ทั้งหน้าต่างบริเวณส่วนเตรียมครัว<br />

และซักล้าง รวมไปถึงหน้าต่างในระดับเดียวกับ<br />

พื้นครัว ซึ่งหน้าต่างนี้ถูกใช้เป็นช่องเปิดสำ าหรับ<br />

การหยิบจับส่งวัตถุดิบในการทำาครัว เช่น ผักที่<br />

เด็ดมาจากเรือกสวนด้านข้าง โดยไม่จำาเป็นต้อง<br />

เสียเวลาเดินผ่านตัวบ้านเข้ามาในครัว ในส่วน<br />

ของผนังถูกออกแบบให้เป็นฝาไหลไม้ ที่สร้าง<br />

คุณลักษณะของการใช้สอยได้สองแบบ ในระหว่าง<br />

การทำาครัว ฝาไหลเปิดจะช่วยเอื้อให้เกิดการ<br />

ระบายอากาศ ในช่วงฤดูหนาวหรือในโมงยามที่<br />

ต้องการความเป็นส่วนตัวผู้ใช้สอยสามารถเลื่อน<br />

ปิดกลายเป็นผนังทึบได้ เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น<br />

ที่ปรากฏในงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ช่องเปิด<br />

และรูปแบบของฝาไหลของผนังเหล่านี้เกิดขึ้น<br />

จากการทดลองสร้างความเป็นไปได้ของการ<br />

เชื่อมต่อระหว่างพื้นที่จากการใช้สอยจริงของ<br />

ผู้ใช้อาคาร<br />

ทางฟากทิศตะวันตกเป็นพื้นที่ของครอบครัวที่<br />

ยกระดับขึ้นมาจากส่วนนั่งเล่น ก่อนที่จะมีบันได<br />

ยกระดับไปสู่ส่วนพื้นที่ทำ างาน และห้องนอนรวม<br />

ถึงห้องน้ำา โดยผู้ออกแบบใช้พื้นที่เชื่อมต่อของ<br />

ห้องนอน และห้องน้ำาเป็นส่วนพื้นที่ทำางาน<br />

วางโต๊ะทำางานประชิดกับแนวผนังเปิดหน้าต่าง<br />

รับวิวทางฝั่งทิศตะวันตก เป็นพื้นที่ที่ผู้ออกแบบ<br />

จัดภูมิทัศน์ของพื้นที่ปลูกผักสวนครัว และพืช<br />

หมุนเวียนเอาไว้ ทำาให้มองเห็นทัศนียภาพของ<br />

ภูมิประเทศรอบข้างได้ไกลเพิ่มแรงบันดาลใจ<br />

ขณะใช้พื้นที่ทำางาน ส่วนของห้องนอนมีจำานวน<br />

สองห้องถูกแบ่งออกในแนวแกนทิศเหนือและ<br />

ทิศใต้ ออกแบบเป็นผนังแป้นเกล็ด ห้องน้ำ าอยู่<br />

มุมอาคารฝั่งทิศใต้<br />

ในส่วนของวัสดุของโครงการ ผู้ออกแบบใช้การ<br />

สะสมรวบรวมไม้เก่าสำาหรับโครงสร้างในส่วน<br />

ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเสา คาน ตง หรือโครงสร้าง<br />

หลังคา โดยในขั้นตอนการก่อสร้างใช้ทีมงาน<br />

ของยางนาสตูดิโอ ซึ่งมีทั้งสถาปนิก ช่างท้องถิ่น<br />

รวมทั้งหมด 20 คน ลงแขกกันประกอบโครง-<br />

สร้างหลักของบ้าน ตั้งแต่วางเสาลงบนตอม่อปูน<br />

จนถึงการเข้าสลักโครงสร้างหลังคา แล้วเสร็จ<br />

ภายใน 1 วัน ก่อนจะค่อยๆ ทำาในส่วนอื่นของ<br />

สถาปัตยกรรมในเวลาต่อมา ในส่วนของวัสดุมุง<br />

ผู้ออกแบบเลือกใช้แป้นเกล็ดไม้เก่าจากร้าน<br />

รับขายไม้เก่า เมื่อพิจารณาถึงการเลือกใช้วัสดุ<br />

และการออกแบบภูมิทัศน์โดยรอบ จะพบว่า<br />

ผู้ออกแบบคำานึงถึงความสำาคัญของการออกแบบ<br />

ที่คำานึงถึงวงจรชีวิต (Life Cycle) ของวัสดุก่อ-<br />

สร้างไม้ในงานออกแบบ เพื่อให้โครงการบรรลุ<br />

ประโยชน์สูงสุดในการสร้างสถาปัตยกรรม<br />

ที่สอดคล้องกับความยั่งยืนให้มากที่สุด ผ่าน<br />

ภูมิปัญญาที่ได้สะสมรวบรวมเอาไว้<br />

เมื่อกล่าวถึงมิติของการใช้งานไม้ในการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรม ผลงานบ้านทิตาได้สนทนาถึง<br />

ความสำาคัญขององค์ความรู้เชิงช่าง ของช่างไม้<br />

ท้องถิ่น ผ่านการแสดงออกจากการสนทนา<br />

ของไม้ต่อผู้ใช้สอยสถาปัตยกรรม บทสนทนา<br />

ที่อนุญาตให้ไม้สามารถสื่อสารตัวของมันเองได้<br />

“ในบางครั้งการแปรรูปไม้ในปัจจุบันที่อาศัย<br />

เทคโนโลยีขั้นสูง ทำาให้เกิดความเนี้ยบขึ้นกับ<br />

งานไม้ แต่ในทางกลับกันมันอาจทำาให้ไม้ขาด<br />

มนต์สเน่ห์ เพราะสเน่ห์ของไม้คือความเป็นไม้<br />

ความเป็นธรรมชาติในตัวมันเอง การแปรรูปไม้<br />

ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จากช่างท้องถิ่น ผ่านการ<br />

ถากไม้ การไสไม้ มันเป็นการด้น (improvise)<br />

ไม้ที่เป็นสเน่ห์” คุณเดโชพลกล่าวเสริมถึงการ<br />

ให้ความสำาคัญต่อการแปรรูปไม้ผ่านภูมิปัญญา<br />

ท้องถิ่นที่ปรากฏอยู่ในโครงการบ้านทิตา และ<br />

รวมถึงโครงการอื่นๆ ของยางนาสตูดิโอ<br />

การอนุญาตให้ไม้ได้แสดงความเป็นธรรมชาติ<br />

ปรากฏผ่านพื้นผิว การเข้าไม้ การบากเจาะ ฯลฯ<br />

เป็นคุณสมบัติที่เกิดขึ้นจากการสั่งสมองค์ความรู้<br />

ที่ยางนาสตูดิโอทดลองการใช้ไม้มาโดยตลอด<br />

และโครงการบ้านทิตา เป็นหนึ่งในความพยายาม<br />

สร้างความสมดุลระหว่างการสร้างสุนทรียศาสตร์<br />

ทางสถาปัตยกรรมของงานไม้ กับแนวทางการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมที่ยั่งยืนท่ามกลางทาง<br />

เลือกในการใช้วัสดุก่อสร้างในงานสถาปัตยกรรม<br />

ที่ทวีความหลากหลายให้แก่นักออกแบบได้<br />

เลือกใช้


LEARNING BY DOING<br />

65<br />

03<br />

มุมมองทางทิศตะวันตก<br />

ของบ้านที่ติดกับแปลงผัก<br />

สวนครัว และเป็นบริเวณ<br />

พื้นที่ทำางานและส่วน<br />

พักผ่อนของบ้าน<br />

04<br />

ภาพตัดยาวของบ้านทิตา<br />

แสดงให้เห็นความเชื่อมต่อ<br />

ของพื้นที่ระหว่างพื้นที่<br />

ชั้นล่างกับพื้นที่ชั้นบน<br />

และความสัมพันธ์ของ<br />

พื้นที่ชานแดดและชานร่ม<br />

ด้านใน<br />

3<br />

4<br />

SECTION A<br />

1. PANTRY<br />

2. LIVING AREA<br />

3. FAMILY AREA<br />

4. WORKSHOP AREA


66<br />

5


LEARNING BY DOING<br />

67<br />

6<br />

05<br />

พื้นที่ชานร่มหรือ “เติ๋น”<br />

ที่ถูกออกแบบระดับ<br />

ความสูงให้สัมพันธ์กับ<br />

การเชื่อมต่อเชิงสายตา<br />

และการเข้าถึงระหว่าง<br />

ชานแดดชั้นล่างและส่วน<br />

รับแขกชั้นบน โดยพื้น<br />

ในส่วนนี้เป็นไม้ตีเว้นร่อง<br />

เพื่อกำาจัดฝุ่นที่ติดมา<br />

กับเท้าเวลาเข้าบ้าน<br />

06<br />

พื้นที่รับแขกชั้นบน<br />

ออกแบบให้ยืดหยุ่น<br />

ด้วยประตูบานเฟี้ยม<br />

ที่สามารถเปิดเป็นพื้นที่<br />

กึ่งเปิดโล่งได้<br />

In the lush flat terrain of Houy Sai sub-district, San<br />

Kamphang district, Chiang Mai province, Thailand,<br />

there is a wooden house built within the surrounding<br />

landscape of a home-grown garden with banana<br />

trees and various edible plants. Dechophon Rattanasatchatham,<br />

an architect from Yangnar Studio,<br />

designed a two-story wooden structure known as<br />

“Baan Tita” with a deep appreciation for the local<br />

woodworking wisdom and techniques of skilled local<br />

builders. The architecture of “Baan Tita” highlights<br />

the significance of experimenting and exploring new<br />

possibilities in vernacular architecture for the design<br />

of a contemporary architectural creation.<br />

“This project is pretty much an experiment where<br />

I was able to incorporate the artisanal woodworking<br />

skills and knowledge I have acquired throughout<br />

my career in architectural practice into the design<br />

of the house,” Dechophon said in regards to the<br />

main concept behind Baan Tita’s architecture. The<br />

fundamental motivation for the creation of this<br />

house derives from the members of the family who<br />

own it and their desire for a home that combines<br />

living spaces with other functional areas meant to<br />

accommodate design-related activities as well as<br />

workshops. Such requirements gave birth to the<br />

wooden residential building, which incorporates the<br />

design of living spaces based on components and<br />

characteristics of vernacular architecture as well<br />

as the construction techniques and skills of local<br />

craftsmen and builders.<br />

From an architectural standpoint, the architect<br />

focuses on facilitating a spatial connection that<br />

employs local knowledge to create usable spaces<br />

that draw inspiration from the spatial allocation<br />

and characteristics of vernacular architecture. To<br />

further explain, the design is realized as a stilt house<br />

with an elevated floor, created with an L-shaped<br />

layout that includes outside and shaded decks as<br />

a key element. The outdoor deck is the entryway to<br />

the property, located to the north, and is built as a<br />

multi-functional space that houses Yangnar Studio’s<br />

workstation and workshop area, as well as the dining<br />

area. Walking up the steps leads to the shaded<br />

deck known as ‘Tern’ in northern Thai. The floor is<br />

made of wooden planks with grooves that allow<br />

dust and debris from the inhabitants’ feet and legs<br />

to fall through the cavities, a feature common in<br />

Thai vernacular residential architecture. The deck<br />

connects the ground floor space to the higher level<br />

via a set of folding partitions, allowing for a more<br />

flexible living space with the semi-outdoor feature<br />

that provides both a visual connection and natural<br />

ventilation, ultimately bringing thermal comfort to<br />

the overall living space.


68<br />

theme / review<br />

7<br />

GROUND FLOOR PLAN<br />

1. SHOES CORNER<br />

2. DINNING AREA<br />

3. WORKSHOP AREA<br />

4. LIVING AREA<br />

5. WASHING AREA<br />

6. BATHROOM<br />

07<br />

ผังพื้นชั้นล่าง แสดง<br />

พื้นที่ความสัมพันธ์กับ<br />

การออกแบบภูมิทัศน์<br />

โดยรอบแวดล้อมด้วย<br />

แปลงผักสวนครัว<br />

08<br />

ผังพื้นชั้นบน แสดงความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างชานและ<br />

ส่วนพักอาศัยภายใน<br />

8<br />

1st FLOOR PLAN<br />

1. BALCONY<br />

2. LIVING AREA<br />

3. PANTRY<br />

4. KITCHEN<br />

5. WASHING AREA<br />

6. FAMILY AREA<br />

7. BEDROOM<br />

8. WORKING AREA<br />

9. BATHROOM


LEARNING BY DOING<br />

69<br />

09<br />

พื้นที่ชานร่มและ<br />

ส่วนรับแขกของบ้าน<br />

ถูกออกแบบแนวผนัง<br />

ฝาไหลเพื่อเอื้อให้เกิด<br />

การถ่ายเทอากาศ<br />

The kitchen is located farther inside and towards<br />

the east side of the residence, and it can be entered<br />

from the south side and back of the house, where<br />

the banana trees are growing. Before walking up the<br />

steps to the higher floor and the main living area,<br />

residents and visitors can wash their feet at the<br />

foot of the staircase, where a small brick tub filled<br />

with water is provided. The room is also accessible<br />

from the shaded deck, which connects to the multifunctional<br />

ground at the front of the house.<br />

The hot kitchen and washing area’s floors are built<br />

of wooden planks with grooves in between, similar<br />

to the floor of the shaded deck. The floor of the<br />

pantry next to the family room, however, has no<br />

grooves between the planks since the space’s functions<br />

do not require such a feature. The kitchen also<br />

has a number of openings at various locations and<br />

levels, such as the pantry and washing areas, as<br />

well as windows that are built on the same level as<br />

the floor. The window allows inhabitants to place<br />

the freshly harvested home-grown vegetables and<br />

fruits directly in the pantry area without having<br />

to stroll through other living spaces of the house.<br />

The walls are made of sliding panels that serve two<br />

purposes. The panels can be left open when all<br />

the cooking takes place to enhance ventilation or<br />

slid and closed during the winter or when privacy<br />

is required, another component inspired by the<br />

local wisdom in Thai vernacular architecture. The<br />

apertures and sliding panels are genuine usergenerated<br />

functions that resulted from the architect’s<br />

experimentation with different possibilities<br />

to create efficient spatial connections.<br />

Old wood is used for the house’s columns, beams, trusses, and<br />

structural components of the roof. The building crew consisted<br />

of twenty Yangnar Studio staff members, including the architect<br />

and builders, who all worked together to construct the house’s<br />

essential elements.<br />

9


10


10<br />

พื้นที่ส่วนเตรียมครัว<br />

และส่วนครัวไฟของบ้าน<br />

ถูกออกแบบให้มีการ<br />

ระบายอากาศถ่ายเทที่<br />

พอเหมาะด้วยภูมิปัญญา<br />

การใช้ผนังฝาไหที่ปรากฏ<br />

ในงานสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นของภูมิภาค


72<br />

theme / review<br />

11<br />

พื้นที่ส่วนซักล้างอยู่ติด<br />

กับพื้นที่ครัว ถูกออกแบบ<br />

ให้วางในตำาแหน่งของ<br />

ชานแดดฝั่งทิศใต้ของบ้าน<br />

11<br />

Located to the west is the family area, whose floor<br />

is elevated from the main living space. From here,<br />

another set of steps leads up to the working area,<br />

bedrooms, and bathroom. The architect transforms<br />

the transition space between the bathroom and the<br />

bedroom into a workspace. A fairly big table is<br />

placed next to the wall, facing a series of windows<br />

that open towards the west with a view of the<br />

beautiful outside surroundings of the edible garden<br />

that grows various vegetables on different parts of<br />

the plot all year round. As one sits at the table,<br />

looking out the windows at the scenic view of<br />

the mountain from a distance can be a source<br />

of delightful relaxation and inspiration. The two<br />

bedrooms are on the north-south axis, with the<br />

bathroom situated on the south side. The walls<br />

are constructed using a traditional architectural<br />

technique of stacked wooden planks known as<br />

‘pan gled.’


LEARNING BY DOING<br />

73<br />

Among the materials chosen for the project is<br />

old wood, used for the house’s columns, beams,<br />

trusses, and structural components of the roof.<br />

The building crew consisted of twenty Yangnar<br />

Studio staff members, including the architect<br />

and builders, who all worked together to construct<br />

the house’s essential elements, from setting the<br />

wooden columns into the concrete footing to<br />

assembling the timber parts of the roof structure.<br />

These processes took one day to complete<br />

before the rest of the house was erected in the<br />

following stages. The roofing material is made<br />

of wooden tiles bought from a local business<br />

that sells antique and recycled wooden building<br />

parts. Looking deeper into the architect’s choice<br />

of material and landscape architecture, there is<br />

an apparent effort and attention paid to the life<br />

cycle of the wooden materials used in the design<br />

in order to create the most sustainable work of<br />

architecture possible by devising all of the accumulated<br />

local wisdom and knowledge.<br />

12<br />

12<br />

รายละเอียดการเข้าไม้<br />

บริเวณบันไดขึ้นบ้าน<br />

13<br />

พื้นที่ทำา Workshop งานไม้<br />

ของบ้านบริเวณใต้ถุนบ้าน<br />

13


74<br />

theme / review<br />

<strong>14</strong>


LEARNING BY DOING<br />

75<br />

“One of the greatest attractions of wood is its unique nature.<br />

The local builders’ skills and wisdom in processing timbers<br />

into usable wooden components is what makes wood so<br />

charming because it adds all these improvisational details<br />

of how each piece of wood is cut and shaved,”<br />

Baan Tita presents an exploration of the use of<br />

wood in architectural design, serving as an interesting<br />

dialogue between the building techniques<br />

employed by local builders and their exceptional<br />

craftsmanship skills, as well as interactions between<br />

the material and users. It is a conversation that<br />

enables wood to truly express itself. “Advanced<br />

technology is sometimes utilized in the manufacturing<br />

and processing of wood, leading to products<br />

that exhibit enhanced precision and neatness.<br />

Nevertheless, on the flip side, these products lack<br />

a certain charm. One of the greatest attractions<br />

of wood is its unique nature, which sets it apart<br />

from other materials. The local builders’ skills and<br />

wisdom in processing timbers into usable wooden<br />

components is what makes wood so charming<br />

because it adds all these improvisational details<br />

of how each piece of wood is cut and shaved,”<br />

explained Dechopon about the emphasis that has<br />

15<br />

been put on the incorporation of local wisdom in<br />

the construction of Baan Tita and other projects by<br />

Yangnar Studio.<br />

The ability of wood to reveal its true nature through<br />

its surface, joinery, and traces of drilled and shaved<br />

textures is a result of Yangnar Studio’s continuous<br />

experimentation and growing understanding of how<br />

the material can be used in architecture. Baan Tita<br />

is an admirable and inspiring attempt by the studio<br />

to achieve a balance between the aesthetics of<br />

wooden architecture and a sustainable approach to<br />

architecture. This is particularly challenging given<br />

the wide range of building materials available today<br />

and the multitude of options that architects and<br />

designers have at their disposal.<br />

fb.com/YangNarStudio<br />

<strong>14</strong><br />

ภาพจากฝั่งทิศตะวันออก<br />

ของบ้าน บริเวณทางเข้า<br />

ด้านหน้าเป็นพื้นที่ทำา<br />

กิจกรรมกลางแจ้ง<br />

15<br />

บริเวณชานแดดที่เชื่อมต่อ<br />

พื้นที่ส่วนรับแขกชั้นบน<br />

เข้ากับส่วนห้องนอน<br />

และสัมพันธ์กับพื้นที่<br />

ทำากิจกรรมชั้นล่าง<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

ปั จจุบันเป็ นหัวหน้านัก<br />

วิจัยสำารวจภาคสนาม<br />

ให้กับ Maritime Asia<br />

Heritage Survey Thailand<br />

Project มหาวิทยา<br />

ลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ ่ น<br />

และนักศึกษาปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สนใจศึกษามรดกทาง<br />

วัฒนธรรมและขณะนี้<br />

กำาลังทำาวิจัยเกี่ยวกับ<br />

สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง<br />

ในพื้นที่ภูมิทัศน์วัฒนธรรม<br />

มลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is a Field Team Leader<br />

of the Maritime Asia<br />

Heritage Survey Thailand<br />

Project, Kyoto<br />

University, Japan, and<br />

a vernacular architecture<br />

Ph.D. candidate<br />

at Silpakorn University.<br />

His research on<br />

the built environment<br />

of the Malay cultural<br />

landscape is being<br />

done out of a passion<br />

for cultural heritage.<br />

Project name: Baan Tita Company name: Yangnar studio Project location: San Kamphaeng, Chiang Mai, Thailand Building Type: Wood House Completion Year: 2021 Area:<br />

150 sq.m. Lead Architect: Dechophon Rattanasatchatham Interior design: Yangnar studio Construction Supervisor: Yuttana Yanawong Structure Engineer: Yangnar studio<br />

Builder Team: Yangnar studio builder team Documentary Photographer: Yuttana Yanawong Photographer credits: Rungkit Charoenwat Materialization: Used wood source in<br />

neighborhood area, Used wooden shingle roof sheet, Local handmade brick, Cement roof tiles


76<br />

theme / review<br />

Time<br />

Passages<br />

Rush Plean-suk has transformed three old rice barns into a collection<br />

of buildings, ‘Atelier VELA’, featuring exhibition spaces and recreational<br />

areas that reflect an entwined dialogue between architecture and its<br />

surroundings.<br />

Text: Surawit Boonjoo<br />

Photo Courtesy of Sumphat gallery and Philippe Moisan except as noted


01<br />

มุมมองบริเวณส่วนหลังคา<br />

ของอาคารหลอมข้าวฝั่งซ้าย<br />

1


่<br />

่<br />

้<br />

78<br />

theme / review<br />

“ในแง่หนึ่งที่ผมชื่นชอบอาคารสถาปัตยกรรม<br />

ไม้ของไทยนั้น เนื่องจากอาคารไม้เหล่านี้<br />

สามารถสะท้อนกลับไปถึงลักษณะวิถีชีวิตของ<br />

ชุมชนและผู้อยู่อาศัย หรือให้ไปไกลกว่านั้น<br />

ถึงเรื่องของรูปแบบสังคมที่ต้องย้ายถิ่นฐาน<br />

จึงส่งผลให้อาคารไม้มีขนาดเล็ก แต่สามารถ<br />

ต่อขยายและถอดประกอบพอให้ขนขึ้นเกวียน<br />

ได้ รวมกับลักษณะเสาสูงเนื่องจากเป็นพื้นที่<br />

อุ้มน้ำา”<br />

อาคารยุ้งข้าวที่มีลักษณะเสาอยู่ด้านนอก ผนัง<br />

กลับเข้าไปอยู่ด้านใน รวมกับบรรยากาศหลัง<br />

การนำาข้าวมาเก็บในยุ้ง ที่มีผู้คนในชุมชนมาร่วม<br />

ตัวพูดคุย สังสรรค์ ร้องเพลง และรับประทาน<br />

อาหารร่วมกัน เป็นภาพความทรงจำาในอดีตที่<br />

เกิดขึ้นรายล้อมพื้นที่บริเวณบ้านขณะอาศัยอยู<br />

กับครอบครัวของรัฐ เปลี่ยนสุข แห่ง Sumphat<br />

gallery ผู้ออกแบบดัดแปลงอาคารหลอมข้าว<br />

หรือยุ้งข้าวทางภาคเหนือ เป็นชุดอาคารและ<br />

พื้นที่จัดแสดงผลงานศิลปะและงานออกแบบ<br />

รวมถึงเป็นบริเวณพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจให้<br />

ผู้ที่ผ่านไปผ่านมาได้นั่งพักดื่มด่ำากับธรรมชาติ<br />

เครื่องดื่มและขนมหวาน สัดส่วนของกลุ่มอาคาร<br />

บริเวณอาคารฝั่งซ้ายและขวาชั้นล่างเป็นพื้นที่<br />

จัดแสดงผลงานและทำากิจกรรมต่างๆ ขณะที<br />

บริเวณด้านบนของอาคารซึ่งเป็นโครงสร้าง<br />

หลอมข้าวฝั่งซ้ายจะเป็นส่วนออฟฟิศและทาง<br />

ด้านฝั่งขวาจะเป็นสถานที่จัดแสดงผลงาน<br />

ออกแบบขนาดเล็ก ในขณะที่อาคารในตำาแหน่ง<br />

กลางขนาดเล็กได้ทำาหน้าที่เป็นอาคารพื้นที่<br />

บริการ<br />

สำาหรับกลุ่มอาคารซึ่งสถาปนิกออกแบบขึ้นใหม่<br />

ในชื่อ ‘Atelier VELA’ หรือ ‘สถานที่ทำางาน<br />

ที่อยู่ภายใต้ร่มเงา’ ที่ตั้งอยู่ ณ อำาเภอบ้านนา<br />

จังหวัดนครนายก นี้ไม่เพียงเป็นการนำาอาคาร<br />

ที่เคยใช้เป็นที่เก็บข้าวมาปรับเปลี่ยนขยับขยาย<br />

เพิ่มบริบททางพื้นที่ใหม่ พร้อมไปกับการพลิก<br />

เผยองค์ประกอบโครงสร้างเรือนไม้โบราณ<br />

หากแต่ยังแสดงบทสนทนาสอดประสานระหว่าง<br />

สถาปัตยกรรมกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ<br />

อันนับเป็นหัวใจหลักในการออกแบบแต่ต้น<br />

อาคารทั้งสามหลัง ซึ่งได้ถูกวางแปลนให้โอบรับ<br />

ล้อมรับกับต้นไม้หลักที่มีอยู่ในพื้นที่ก่อนการ<br />

ก่อสร้าง อย่างต้นจามจุรีขนาดใหญ่ที่ยืนต้น<br />

ตระหง่าน ณ บริเวณทางเข้า<br />

กลุ่มอาคารทั้งสามเรียงแนวเป็นตัวอักษร U<br />

สอดรับไปกับร่มเงาของต้นจามจุรี ตามแนว<br />

ทิศตะวันออก-ตะวันตก ส่งผลให้ทิศทางร่มเงา<br />

ของแสงที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

ตลอดทั้งวัน กล่าวคือด้วยผังของอาคารจะ<br />

ช่วยเสริมสร้างการรับรู้ถึงการเคลื่อนตัวของ<br />

เวลา ในที่นี้ก็คือร่มเงาตกกระทบอันแวดล้อม<br />

พื้นที่ ทั้งจากธรรมชาติ รวมถึงองค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมส่วนต่างๆ ที่ไหวไปตาม<br />

การย้ายตำาแหน่งของดวงอาทิตย์ อันเข้ามา<br />

ตอกย้ำาถึงที่มาที่ไปของ ‘สถานที่ทำางานที่อยู่<br />

ภายใต้ร่มเงา’<br />

นอกจากนั้น รัฐ ยังเน้นย้ำาถึงอีกหนึ่งส่วนสำาคัญ<br />

ของการออกแบบอาคารและการใช้งานของ<br />

สถานที่แห่งนี้ นั่นคือความเรียบง่ายและสามารถ<br />

เข้าใจได้ง่าย โดยเมื่อไม่ว่าจะเป็นผู้ที่เข้ามาเยี่ยม<br />

ชมแกลเลอรี หรือมาแวะเที่ยวชมธรรมชาติและ<br />

ทานอาหาร ก็จะสามารถรับรู้ถึงการจัดแบ่ง<br />

สัดส่วนและบทบาทหน้าที่ของอาคารแต่ละ<br />

หลังได้อย่างชัดเจน อีกทั้งเมื่อพวกเขาเหล่านี<br />

กลับไปก็จะยังสามารถจดจำาภาพเหล่านั้นไว้ได้<br />

นี่อาจไม่ใช่เพียงการทำางานระหว่างความ<br />

เรียบง่ายทางการออกแบบอาคารไม้ หากแต่<br />

เป็นการออกแบบที่คลุกเคล้าสิ่งดังกล่าวเข้า<br />

กับธรรมชาติโดยรอบไปพร้อมๆ กัน ซึ่งสร้าง<br />

ให้เกิดบรรยากาศ ความทรงจำา เรื่องราวที่<br />

ช่วยโอบอุ้มและปลุกปั้นภาพความทรงจำาจาก<br />

องค์ประกอบต่างๆ โดยเฉพาะองค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมเรือนไม้ที่หล่อหลอมไว้ด้วย<br />

ความทรงจำาและเรื่องราวอันมากมาย<br />

ยุ้งข้าวที่ประกอบก่อขึ้นเป็นกลุ่มอาคารทั้ง<br />

สามหลัง เป็นยุ้งข้าวหรือหลอมข้าวจากทาง<br />

ภาคเหนือของประเทศไทย โดยรัฐ ผู้ออกแบบ<br />

และเจ้าของโครงการได้สั่งซื้อผ่านช่องทาง<br />

ออนไลน์ในช่วงขณะของการแพร่ระบาดของ<br />

เชื้อโควิด-19 เขาเล่าต่อว่าหลอมข้าวแต่ละหลัง<br />

มีขนาดและรูปทรงแตกต่างกัน ซึ่งก็สัมพันธ์<br />

ไปกับสถานะทางสังคมของผู้เป็นเจ้าของ โดย<br />

หลอมข้าวทั้งสามหลังมีลักษณะตั้งแต่เป็น<br />

อาคารขนาดเล็กที่มีไม้ไผ่สานขัดรอบอาคาร<br />

บริเวณด้านนอกที่แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของ<br />

ชาวเหนือที่จะนำาอาหารเนื้อสัตว์และผักมาห้อย<br />

ตากแห้ง อาคารที่มีขนาดใหญ่ขึ้นมาอีกเท่าตัว<br />

ที่มีลักษณะแผ่นผนังไม้ปิดทึบสื่อถึงการอยู่<br />

อาศัยเป็นครอบครัวใหญ่ หรือแม้กระทั่งเรือน<br />

ขนาดใหญ่ขึ้น เป็นอาคารหน้าจั่ว มีตราประจำา<br />

ตระกูลซึ่งบอกเล่าถึงความมั่งคั่งมีอยู่มีกิน<br />

ของผู้สูงศักดิ์ ในส่วนนี้เองที่เป็นส่วนสำาคัญ<br />

อีกประการซึ่งผู้ออกแบบให้ความสนใจ<br />

นอกเหนือไปจากโครงสร้างการประกอบเข้า<br />

ไม้ที่มีรูปแบบเฉพาะอันน่าสนใจของหลอมข้าว<br />

ทางภาคเหนือ<br />

อาคารหลอมข้าวทั้งสามได้ค่อยๆ ถอดรื้อ<br />

โดยช่างไม้ผู้มีประสบการณ์ภายในพื้นที่อย่าง<br />

ประณีต อาคารถูกถอดออกนับตั้งแต่แผ่นไม้<br />

จนถึงกระเบื้องมุ้งหลังคาที่เต็มไปด้วยร่อง<br />

รอยและคราบตะไคร่ ก่อนขนส่งเดินทางมา<br />

ก่อสร้างเป็นอาคารในบทบาทใหม่ อาคารหลัง<br />

ใหม่ได้ก่อสร้างบนรากฐานคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ในรูปแบบการตั้งเข้าเสาแบบสลับไปมาเพื่อ<br />

รองรับแรงลมพายุ ในส่วนบริเวณพื้นเป็นการ<br />

เทปูนขัดหยาบ ผนังอิฐมอญก่อ นอกจากนั้น<br />

ในหลายส่วนของงานสถาปัตยกรรมยังมีการ<br />

ใช้โครงไม้ไผ่สานขัดอีกด้วย<br />

เนื่องด้วยอาคารโครงสร้างไม้โบราณแต่ละ<br />

หลังเมื่อรื้อถอนออกมาก็ประสบกับปัญหา<br />

ไม้แตกชำารุดในบางส่วน ส่งผลให้หน้าต่าง<br />

อะลูมิเนียมถูกนำามาใช้ทดแทนทั้งในส่วนที่<br />

แตกหักหรือช่องลม เพื่อให้เกิดความสะดวก<br />

ในการรองรับการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ<br />

อีกทั้งเสริมสร้างทัศนะที่ไม่ตัดขาดระหว่าง<br />

ห้องจัดแสดงผลงานกับพื้นที่ธรรมชาติโดยรอบ<br />

และในกรณีคล้ายกัน ซึ่งเกิดขึ้นกับการจัดการ<br />

กระเบื้องหลังคา เนื่องจากอายุการใช้งานที่<br />

ยาวนานของกระเบื้อง ประกอบคุณสมบัติวัสดุ<br />

เป็นรูพรุนอุ้มน้ำา ทำาให้มีความเปราะ แตกง่าย<br />

ประกอบกับการนำามาจัดเรียงใหม่ ส่งผลให้<br />

อาจเกิดการรั่วซึมของน้ำาในบางจุด ผู้ออกแบบ<br />

จึงจัดการเสริมแผ่นสังกะสี รองรับด้วยแผ่นไม้<br />

อัดกันน้ำา และต่อดัวยชั้นไฟเบอร์อีกครั้งหนึ่ง<br />

เพื่อจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น<br />

เห็นได้ว่า การเลือกใช้วัสดุเก่าไม่ว่าจะเป็นแผ่น<br />

ผนังไม้หรือกระเบื้อง ก็จะตามมาด้วยข้อจำากัด<br />

ในการนำามาประกอบสร้างใหม่ให้สามารถคง<br />

ความดั้งเดิมไว้อย่างครบถ้วน โดยเฉพาะกับ<br />

ในกรณีนี้ที่ผู้รื้อถอนและผู้จัดการก่อสร้างใหม่<br />

เป็นช่างคนละชุด อีกทั้งผู้ออกแบบก็ไม่สามารถ


เข้ามาจัดการควบคุมดูแลได้อย่างเต็มที่กระนั้น<br />

ก็ตามด้วยความพร่องไม่สมบูรณ์แบบ อย่าง<br />

ถูกฝาถูกตัวในการนำาอาคารไม้ที่ถูกรื้อมา<br />

ประกอบใหม่แห่งนี้ ก็ช่วยสร้างเสริมความ<br />

เป็นไปได้ใหม่ๆ อันหลากหลายให้นำาไปสู่การ<br />

จัดการรับมือได้อย่างน่าสนใจไปพร้อมกัน<br />

ผลสืบเนื่องจากการปรับเปลี่ยนรูปแบบโครง<br />

สร้างของอาคาร ไม่ตอกเสาลงลึกดังรูปแบบ<br />

อาคารเดิม ร่วมกับการกลับด้านรับไม้เสาของ<br />

อาคารเข้ากับฐานคอนกรีตที่สลับไป-มา ส่งผล<br />

ให้อาคารมีความสูงชะลูด จึงนำาไปสู่การบิด<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรม ต่อโครงสร้างหลังคา<br />

เป็นชายคาเข้าไปช่วยค้ำา ซึ่งนอกจากจะช่วย<br />

TIME PASSAGES<br />

ค้ำาโครงสร้างของอาคารแล้ว ยังเพิ่มพื้นที่<br />

บริเวณด้านล่างของอาคารให้สามารถได้ใช้งาน<br />

น่าสนใจว่าพื้นที่ที่เกิดขึ้นนี้ในมุมหนึ่งก็เข้ามา<br />

มีส่วนในการช่วยปรับมุมมอง รวมถึงเอื้อให้<br />

สามารถใช้งานบริเวณพื้นที่ใต้หลอมข้าวหรือ<br />

ยุ่งข้าวได้อย่างเต็มที่ ซึ่งแต่เดิมมักจะเป็นที่วาง<br />

สิ่งของใช้ทั่วไป<br />

การปรับเปลี่ยนให้กลายเป็นพื้นที่ยกฐานสูงขึ้น<br />

ให้สามารถได้เข้ามาใช้งานเป็นห้องจัดแสดง<br />

ผลงานศิลปะและงานออกแบบ รวมถึงพื้นที่<br />

ให้สามารถพักผ่อนหย่อนใจที่เปลี่ยนไปนี้<br />

ชวนให้ฉุกคิดถึงรูปแบบพื้นที่ที่ประหนึ่งเป็น<br />

“ใต้ถุนบ้าน” ซึ่งนอกเหนือจากการจัดเก็บจัด<br />

79<br />

วาง ก็จะเป็นบริเวณที่ผู้คนใช้พักผ่อน พูดคุย<br />

และทำากิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ด้วยมุมมอง<br />

นี้เองจะเห็นได้ว่าไม้แต่ละแผ่นของหลอมข้าว<br />

ที่ประกอบขึ้นเป็นอาคารแห่งใหม่ แม้จะ<br />

แปลงเปลี่ยนจากความดั้งเดิม แทรกเสริมด้วย<br />

โครงสร้างใหม่ จนท้ายที่สุดกลายเป็นสิ่งอื่น<br />

แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้งสองอาคารยังคงไว้ไม่ต่างกัน<br />

คือ กลิ่นอายของความสัมพันธ์ระหว่างวิถีชีวิต<br />

ของผู้คนที่จะช่วยเข้ามาดำาเนินและขับเคลื่อน<br />

สถาปัตยกรรมแห่งนี้ให้รุ่มรวยไปด้วยเรื่องราว<br />

ชีวิต และความทรงจำาชุดใหม่ที่จะดำาเนินต่อไป<br />

อย่างไม่รู้จบ<br />

2<br />

02<br />

บรรยายกาศจากมุมมอง<br />

ทางเข้าแสดงให้เห็นบริบท<br />

แวดล้อมของที่ตั้งโครงการ


80<br />

theme / review<br />

3<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1. GALLERY<br />

2. CRAFT PRODUCT<br />

3. TEA BREAK<br />

4. PANTRY<br />

5. KITCHEN<br />

6. GUEST W.C.<br />

7. BATHROOM<br />

8. COURTYARD<br />

9. BBQ AREA<br />

4<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

1.1 GALLERY OFFICE<br />

2.1 SMALL OBJECT DISPLAY<br />

3. STORAGE


TIME PASSAGES<br />

81<br />

The project itself is distinctive for being a revamp of old<br />

rice barns that removed unnecessary components to<br />

reveal the original timber structure and new spatial<br />

context, its design should be recognized for the way it<br />

represents an entwined dialogue between architecture<br />

and its surroundings.<br />

03<br />

ผังอาคารชั้นล่างของ<br />

โครงการ<br />

04<br />

ผังอาคารชั้นสองของ<br />

โครงการ<br />

“One thing I admire about Thai wooden architecture<br />

is how it reflects the characteristics and lifestyles<br />

of its users and dwellers. If we look even further and<br />

deeper into the social characteristics of nomadic<br />

communities, we can see how wooden buildings<br />

were designed to be small but expandable. They<br />

could be dismantled, reassembled, and transported<br />

using less advanced vehicles, such as an ox cart.<br />

Other components, such as tall poles, were derived<br />

from the need to elevate the built structure from<br />

flooded terrain during the rainy season.”<br />

Rush Plean-suk, the architect of Sumphat gallery,<br />

recalls his childhood memories of ‘Lhom Khao, or<br />

rice barns, commonly found in a northern part of<br />

Thailand, which included not only the architectural<br />

details of the columns, which were placed on the<br />

periphery with the walls built further inside, but also<br />

how it was a place where community members<br />

gathered to talk, socialize, sing, and share meals.<br />

Rush is the mastermind behind the transformation<br />

of three rice barns into a collection of buildings<br />

that is home to exhibition spaces and semi-public<br />

recreational areas that welcome everyone to step<br />

inside and enjoy the presence of nature as well<br />

as a wide range of dishes and drinks. The design<br />

divides the functional programs of the right and<br />

left wings of the building cluster into the ground<br />

floor, which houses the exhibition and activity<br />

spaces, and the upper floors, where the office<br />

space is located. The upper part of the structures<br />

was built with components from traditional rice<br />

barns in the northern region, while the exhibition<br />

showing smaller-scale works is placed on the<br />

right side of the premises, with the small building<br />

in the center housing the project’s service areas.<br />

The new building complex is named ‘Atelier VELA’<br />

and is located in the Banna district of Thailand’s<br />

Nakhon Nayok province. While the project itself is<br />

distinctive for being a revamp of old rice barns that<br />

removed unnecessary components to reveal the<br />

original timber structure and new spatial context, its<br />

design should be recognized for the way it represents<br />

an entwined dialogue between architecture and its<br />

surroundings. The concept became the essence of<br />

the design of the three buildings, whose placements<br />

and orientations correlate with pre-existing trees<br />

growing on the site, such as the towering rain tree at<br />

the project’s entrance.<br />

In response to the shade provided by the spreading<br />

canopies of the rain trees, the three structures are<br />

arranged in a U-shaped layout in an east-west<br />

orientation. Because of this, the structures and<br />

spaces become a canvas for the paths of natural<br />

light and cast shadows throughout the day. Through<br />

their interactions with light and shadow that move<br />

about the premise, the walls of the buildings<br />

enhance one’s perception of the constant progression<br />

of time. The built structures interact with the<br />

surrounding nature and architectural components<br />

when the course of sunlight changes, adding to the<br />

project’s concept of “workspaces in the shade.”


82<br />

theme / review<br />

05<br />

อาคารหลอมข้าวฝั่งซ้าย<br />

ของโครงการที่ได้รับการ<br />

ดัดแปลงเป็นพื้นที่จัดแสดง<br />

ผลงานศิลปะและออกแบบ<br />

Rush went on to say that another important feature<br />

of the architectural design and functionality<br />

of this place is its simplicity and accessibility.<br />

Whether the users are gallery visitors or people<br />

who come to enjoy the presence of nature and<br />

fine food, they can all experience the divide and<br />

connection, as well as the functions assigned to<br />

each of the buildings, and leave with a lasting<br />

memory of the spaces. The project is thus more<br />

than just the beautiful simplicity of wooden architecture.<br />

The design interweaves all of these things<br />

with the natural surroundings, all while curating<br />

the right ambiance, memories, and stories that will<br />

collectively be formed and shaped into a lasting<br />

impression, particularly towards the elements of<br />

wooden architecture that serve as the embodiment<br />

of countless memories and stories.<br />

The architectural components of the erected<br />

structures, which have been turned into a cluster<br />

of three buildings, are those of rice barns that<br />

were ubiquitous in Thailand’s northern region.<br />

Rush, as the project’s designer and owner, got<br />

a hold of these structural members through an online<br />

channel during COVID-19. He described how<br />

each built structure has a unique size and design<br />

that correspond to the owner’s social rank. The<br />

three barns range in size from a modest structure<br />

with woven bamboo components constructed<br />

around the perimeter to a larger structure that<br />

reflects the way of life of northern Thai people<br />

who sun-dry meat and vegetables. Another building<br />

is nearly twice the size and has a gable roof<br />

installed with a family insignia, implying the riches<br />

and status of the owner’s family. It became one<br />

of the aspects that Rush was interested in about<br />

the barns, in addition to structural components<br />

with details of wood joinery developed and inherited<br />

through generations of local artisans and<br />

builders.<br />

5


TIME PASSAGES<br />

83


6<br />

06<br />

มุมภายในอาคารที่แสดง<br />

ให้เห็นถึงการกลับด้าน<br />

รับไม้เสาของอาคารเข้ากับ<br />

ฐานคอนกรีต


TIME PASSAGES<br />

85<br />

Each of the wooden panels<br />

salvaged and reconstructed<br />

from old rice barns and<br />

reinforced with new structural<br />

members may have<br />

been given new meanings.<br />

What is preserved in these<br />

new buildings are the traces<br />

of people’s connections and<br />

relationships, which will<br />

endlessly fill the architecture<br />

with many more<br />

new stories, lives, and<br />

memories.<br />

7<br />

07<br />

ส่วนชายคาที่ได้รับการ<br />

ต่อเติมเพื่อให้สอดรับไป<br />

กับความสูงที่ชะลูดขึ้น<br />

ของอาคาร<br />

The original three buildings were progressively and<br />

carefully dismantled by competent local carpenters,<br />

even down to the moss-covered wooden panels<br />

and roofing tiles. The components were then<br />

transferred and assembled into new structures with<br />

new functions and responsibilities. The new buildings<br />

were built on a reinforced concrete base with an<br />

alternating layout of column placements designed<br />

to endure storms and rain. The architectural components<br />

of the buildings include a rough, polished<br />

exposed concrete floor, red brick walls, and woven<br />

bamboos.<br />

The dismantled parts of each of these old wooden<br />

buildings were partially damaged, necessitating<br />

the use of aluminum frames to replace the broken<br />

ones and some of the openings to ease the installation<br />

of air conditioning systems while permitting<br />

visual access between the exhibition spaces and<br />

the outside natural surroundings. The roof tiles<br />

were in a similar situation. With the originals having<br />

already been used for an extended period of time<br />

and the water-absorbing characteristics of the<br />

material making the tiles fragile and breakable,<br />

reusing them may result in water leakage. To solve<br />

the issue and prevent future problems, the designer<br />

reinforced the roof with galvanized sheets supported<br />

by highly water-resistant plywood and<br />

another layer of fiber.


86<br />

theme / review<br />

8<br />

08<br />

ภายในพื้นที่ห้องจัดแสดง<br />

บริเวณชั้นหนึ่งของหลอม-<br />

ข้าวฝั่งขวา<br />

09<br />

บริเวณชั้นสองภายใน<br />

โครงสร้างหลอมข้าว<br />

ฝั่งขวาซึ่งเป็นพื้นที่ห้อง<br />

จัดแสดงผลงานออกแบบ<br />

ขนาดเล็ก<br />

9


TIME PASSAGES<br />

87<br />

10<br />

บรรยากาศมุมมองพื้นที่<br />

พักผ่อนย่อนใจซึ่งมี<br />

อาคารพื้นที่ส่วนบริการ<br />

อยู่เบื้องหลัง<br />

It is obvious that using old materials such as<br />

wooden panels and tiles comes with restrictions,<br />

especially when the reassembly attempts to retain<br />

the materials’ authenticity. The process was made<br />

even more difficult with this project because<br />

the contractors in charge of dismantlement and<br />

reconstruction were on different teams, and the<br />

designer was unable to thoroughly oversee the<br />

entirety of the project. Nonetheless, within imperfections<br />

are some intriguingly fitting components,<br />

and reassembling old components resulted in<br />

many new possibilities and impressive solutions.<br />

There are certain noticeable elements that were<br />

born from the modifications made to some of the<br />

building’s structural elements, such as how the<br />

columns were embedded less deeply into the<br />

ground or the arrangement of the wooden columns<br />

to correspond with the alternating attributes<br />

of the foundation, which resulted in the building<br />

being rather tall in height. This eventually leads<br />

to some additional changes to the overall architectural<br />

structure. One of them is the canopy,<br />

which was initially constructed to support the roof<br />

structure but ended up creating additional functional<br />

space. It’s interesting to see how the newly<br />

built components allow the space within the barns<br />

to be used more efficiently than just for storage.<br />

There are certain commonalities found in the design’s<br />

elevated floor that grant access to the exhibition<br />

space showcasing art and design creations,<br />

including the additional recreational functions and<br />

the space underneath the elevated floor of traditional<br />

Thai stilt homes. The space is used not just<br />

to keep miscellaneous objects but also for people<br />

to rest, relax, converse, and engage in different<br />

kinds of activities. From this perspective, each<br />

of the wooden panels salvaged and reconstructed<br />

from old rice barns and reinforced with new<br />

structural members may have been given new<br />

meanings. While they may evolve into something<br />

else, what is preserved in these new buildings are<br />

the traces of people’s connections and relationships,<br />

which will endlessly fill the architecture<br />

with many more new stories, lives, and memories.<br />

sumphat.com<br />

สุระวิทย์ บุญจู<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันมีความ<br />

สนใจด้านงานศิลปะ<br />

วัฒนธรรม ทั้งแบบ<br />

ประเพณีและร่วมสมัย<br />

10<br />

Surawit Boonjoo<br />

Graduated from the<br />

Faculty of Archeology,<br />

Silpakorn University.<br />

His interest currently<br />

is in art and culture,<br />

both traditional and<br />

contemporary.<br />

Project: Atelier VELA Location: Nakhon Nayok, Thailand Year of Completion: 2022 Design: Sumphat gallery<br />

Design team: Rush Pleansuk and Philippe Moisan


88<br />

theme / review<br />

Old into<br />

New<br />

1<br />

On Samui Island, Habita Architects has redesigned an unfinished<br />

structure with a different design approach, using reclaimed wood to<br />

align with a new architectural language.<br />

Text: Pitirat Yoswattana<br />

Photo Courtesy of Habita Architects, Suntan Viengsima and Rungkrit Chroenwat except as noted


2<br />

01<br />

การใช้ไม้เป็นเปลือกอาคาร<br />

ในรูปแบบต่าง ๆ มองผ่าน<br />

หลังคาวิลล่าที่เป็นหลังคา<br />

ซีดาร์ชิงเกิ้ล ไปยังกลุ่ม<br />

อาคารต้อนรับที่ถูกห่อหุ้ม<br />

ด้วยไม้เก่าที่ถูกนำามาใช้ใน<br />

รูปแบบใหม่<br />

02<br />

ลักษณะเปลือกอาคาร<br />

Lanai coves ที่เป็นระแนงไม้<br />

ที่ถูกใช้ซ้ำา ๆ เพื่อสะท้อน<br />

แนวคิด into the coconut<br />

grove สะท้อนความเป็นสมุย


90<br />

theme / review<br />

กลุ่มอาคารไม้สีเข้ม ที่ทอดตัวโอบรับสายตา<br />

ผู้มาเยือน ตัดกับผนังสีขาว ลายสานขาวดำา<br />

เงาจากระแนงไม้เฉียงสลับไปมา แล้วไล่เรียง<br />

ผ่านผิวสระน้ำาสีฟ้า ทิวมะพร้าว ยาวไปสู่<br />

ท้องทะเลหาดเชิงมนของเกาะสมุย เป็นภาพ<br />

จำาหลักของโครงการ คิมป์ตัน คีตาเล สมุย<br />

ที่สร้างความน่าสนใจให้แตกต่างออกไปจาก<br />

โครงการรีสอร์ทริมทะเลอื่น พื้นที่โครงการนี้<br />

มีประวัติการถูกออกแบบและก่อสร้างมาจนถึง<br />

ระยะหนึ่ง แล้วได้หยุดดำาเนินการไป จากนั้น<br />

ได้ถูกส่งต่อมาถึง บริษัทสถาปนิกแฮบบิตา<br />

ในโจทย์ใหม่ทั้งหมด ทิศทางการออกแบบจึง<br />

ต้องถูกรื้อมาพิจารณาใหม่ตั้งแต่ต้น ทั้งในแง่<br />

กฎหมาย การวางผังบริเวณ จำานวนและขนาด<br />

ห้องพัก ขนาดอาคาร รวมไปถึงแนวคิดในการ<br />

ออกแบบรูปทรงและวัสดุที่ใช้ก่อสร้าง<br />

เนื่องจากอาคารเดิมที่หยุดก่อสร้างไป ประกอบ<br />

ด้วยงานไม้จำานวนมาก ทั้งส่วนโครงสร้าง<br />

โครงหลังคา ผนังไม้ สถาปนิกจึงได้นำามา<br />

เป็นประเด็นในการสร้างทิศทางการออกแบบ<br />

โครงการใหม่ ไม้ทั้งหมดถูกสำารวจ นำากลับ<br />

มาใช้ หรือนำาไปเรียบเรียงด้วยภาษาทาง<br />

สถาปัตยกรรมใหม่ ซึ่งการตัดสินใจใช้สีเข้ม<br />

ในการย้อมไม้ เกิดจากเหตุผลด้านความ<br />

หลากหลายของชนิดไม้ที่มีอยู่เดิม ทั้งตะเคียน<br />

ตะแบก รวมไปถึงไม้ใหม่ที่นำามาเสริม และไม้<br />

สังเคราะห์บางส่วนที่มาเติมเต็มในจุดที่ไกล<br />

จากสายตา เพื่อให้สามารถคุมโทนสีงานไม้<br />

ทั้งโครงการให้ไปด้วยกัน นอกจากงานไม้แล้ว<br />

อาคารเดิมถูกรื้อใหม่ คงเหลือไว้เพียงโครง<br />

สร้างในบางส่วน เช่น อาคารต้อนรับด้านหน้า<br />

และกลุ่มห้องอาหารริมทะเล ซึ่งจำาเป็นต้องถูก<br />

ปรับตามหน้าที่ใช้สอยและทิศทางการออกแบบ<br />

ใหม่เช่นกัน<br />

พื้นที่ของโครงการประกอบไปด้วยส่วนต้อนรับ<br />

(Lanai Coves) ส่วนห้องอาหาร คาเฟ่ บาร์และ<br />

เลานจ์ (Lanai, Hom, Boho) เป็นอาคารหลัก<br />

สองชั้น ต่อเนื่องไปยังสระว่ายน้ำา ถึงห้องอาหาร<br />

ริมทะเล (Fish House) และบาร์ริมทะเล<br />

(Shades) เรียงตัวอยู่ในแกนกลางทั้งหมดเปิด<br />

พื้นที่ด้านข้างซ้ายขวาจัดวางห้องพักไว้ทั้งหมด<br />

138 ห้อง ในบริเวณริมหาด จัดวางวิลล่าหนึ่ง<br />

ห้องนอน พร้อมสระส่วนตัวริมทะเล 12 หลัง<br />

(One Bedroom Ocean Front Pool Villas)<br />

ขนาด 224 ตารางเมตร เปิดรับวิวหน้าหาด<br />

เต็มตา โดยมีวิลล่าขนาดใหญ่ สองห้องนอน<br />

พร้อมสระส่วนตัว 1 หลัง (Two Bedroom<br />

Villa Kitalay) ขนาด 628 ตารางเมตร ตั้งอยู่<br />

ริมทะเลมีความเป็นส่วนตัว ถัดมาด้านในเป็น<br />

ส่วนของวิลล่าขนาดหนึ่งห้องนอน พร้อมสระ<br />

ส่วนตัวในสวน 8 ห้อง (One Bedroom Garden<br />

Pool Villas) ขนาด 171 ตารางเมตร และ<br />

อาคารห้องพักความสูง 3 ชั ้น จำานวน 6 หลัง<br />

สำาหรับห้องพัก 117 ห้อง แบ่งเป็นห้องขนาด<br />

เริ่มต้น 58 ตารางเมตร (Rooms) และห้องสวีท<br />

117 ตารางเมตร (Suites) โดยมีห้องชั้นล่าง<br />

เชื่อมต่อกับสระว่ายน้ำาได้ (Pool Access)<br />

ส่วนสปา (Pimãanda) ห้องออกกำาลังกาย<br />

(Power Room) และคิดส์คลับ (Junio)<br />

แยกเป็นกลุ่มอาคารด้านหลังที่มีบริเวณและ<br />

บรรยากาศเป็นส่วนตัว<br />

จากความต้องการขนาดพื้นที่ใช้สอย และ<br />

เงื่อนไขที่ต้องจัดการกับโครงสร้าง และวัสดุ<br />

ของอาคารเดิม ผนวกกับความพยายาม<br />

ทดลองเสาะหาภาษาทางสถาปัตยกรรมที่<br />

เป็นไปได้ในการออกแบบองค์ประกอบของ<br />

“ความเก่ากับความใหม่” และ “ความเป็น<br />

พื้นถิ่นกับความร่วมสมัย” ให้อยู่ร่วมกันอย่าง<br />

ลงตัว สถาปนิกจึงนำาเสนอแนวทางออกแบบ<br />

ให้มีการแยกองค์ประกอบความเก่าใหม่ออก<br />

จากกันให้ชัดเจน และมองความเป็นไปได้<br />

ของปฏิสัมพันธ์ของทั้งสองสิ่ง ด้วยเทคนิค<br />

“แทรกสอด (insertion) ฝาก (parasite)<br />

แตะ-ชน (juxtaposition) ห่อ (wrap) และ<br />

ถักทอ (weaving)” เช่น ส่วนของโครงสร้าง<br />

เสาไม้ที่ลอยแยกออกจากตัวอาคารสมัยใหม่<br />

อย่างชัดเจน เสมือนงานสมัยใหม่ถูกห่อด้วย<br />

อาคารไม้ หรือการยื่นส่วนของห้องที่เป็น<br />

องค์ประกอบไม้ทั้งหมด ให้ลอยฝากอยู่บนผิว<br />

อาคารปูนด้านนอก<br />

“Into the Coconut Grove” อีกภาษาหนึ่งใน<br />

การออกแบบ ที่สถาปนิกได้เลือกใช้หลังคา<br />

ระแนงไม้แนวเฉียงสลับทิศทาง ซ้อนด้านล่าง<br />

ด้วยหลังคาที่ยอมให้แสงส่องผ่าน สื่อถึงแสงเงา<br />

ผ่านใบมะพร้าว เพื่อแสดงความเคารพต่อที่<br />

ทาง คือความเป็นเกาะสมุย สำาหรับแนวคิดนี้<br />

สถาปนิกเคยสะท้อนผ่านงานออกแบบสนามบิน<br />

สมุย แต่สำาหรับ คิมป์ตัน คีตาเล ได้มีการ<br />

ทบทวนการออกแบบงานไม้ร่วมกับ คุณสันธาน<br />

เวียงสิมา ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เพื่อพัฒนารูปแบบ<br />

โครงสร้าง รอยต่อ และรายละเอียดให้เหมาะสม<br />

มากขึ้น สามารถถอดเปลี่ยน ซ่อมแซม ได้ง่าย<br />

ในอนาคต มีระบบกันซึมที่ดีขึ้น ซึ่งระแนงเฉียง<br />

นี้ถูกนำาไปใช้เป็นภาษาหลักในการออกแบบทั้ง<br />

ผนัง และหลังคาที่ห่อหุ้มอาคารไว้หลายส่วน<br />

อย่างไรก็ตามด้วยข้อจำากัดบางอย่าง แม้จะ<br />

ต้องยกเลิกในบางจุดที่ถูกมองว่าสำาคัญรอง<br />

ลงมา แต่ก็ยังกลายเป็นองค์ประกอบหลักที่<br />

สร้างบรรยากาศให้โรงแรมได้เป็นอย่างดี โดย<br />

เฉพาะ<br />

ในอาคารต้อนรับและพื้นที่ส่วนกลางหลักรูปตัวยู<br />

ที่แขกผู้เข้าพักจะเดินเข้ามาเพื่อพบกับมุมมอง<br />

เปิดกว้างผ่านสระไปสู่ทะเล ได้ประสบการณ์<br />

จากบรรยากาศแสงเงาของหลังคาที่เป็นแผง<br />

ระแนงไม้ทั้งหมด<br />

นอกจากระแนงไม้เฉียงแล้ว สถาปนิกและ<br />

ผู้เชี่ยวชาญยังได้ศึกษารายละเอียดงานไม้<br />

พร้อมจัดทำาหุ่นจำาลองขนาดเท่าจริงในอีก<br />

หลายจุด เพื่อพัฒนาการออกแบบรายละเอียด<br />

ให้ดียิ่งขึ้น ทั้งในแง่การใช้งาน ความแข็งแรง<br />

ความสวยงาม และโดยเฉพาะการทำางานจริง<br />

ของช่าง เช่น ส่วนของรอยต่อมุมผนัง โครง<br />

หลังคา การเข้าไม้จุดต่างๆ การชนกันของ<br />

องค์ประกอบอาคารในตำาแหน่งต่างๆ<br />

จากความพยายามออกแบบจัดการกับงานไม้<br />

ทั้งหมดของสถาปนิก ทั้งด้านความสวยงาม<br />

การก่อสร้าง ความคุ้มค่า การดูแลรักษา แม้ว่า<br />

ในระหว่างทาง งานไม้บางส่วนที่ตั้งใจออกแบบ<br />

ในตอนต้น อาจถูกปิดทับ หรือยกเลิกไป ด้วย<br />

เหตุผลด้านอื่นๆ ที่เข้ามาเป็นเงื่อนไข เช่นเดียว<br />

กับในหลายโครงการ ถึงแม้ความตั้งใจทั้งหมด<br />

ของสถาปนิก จะไม่ได้ไปต่อถึงปลายทางอย่าง<br />

ภาพที่ฝันไว้ด้วยเหตุปัจจัยนานา เพื่อประนี-<br />

ประนอมกับการก่อสร้าง งบประมาณ การแก้<br />

ปัญหาร่วมกับผู้ออกแบบส่วนอื่น รวมไปถึง<br />

แนวคิดจากผู้ลงทุนและผู้บริหารโรงแรมเอง<br />

เพื่อให้โครงการดำาเนินไปอย่างสำาเร็จราบรื่น<br />

ร่วมกัน แต่ก็เห็นได้ชัดว่า ในท่ามกลางความ<br />

พยายามยาวนานตลอดการออกแบบ สิ่งที่<br />

กลั่นกรองออกมาเป็นภาพสุดท้ายที่ส่งเสริม<br />

กันกับทุกองค์ประกอบจากความร่วมมือของ<br />

ผู้ออกแบบทุกฝ่าย ก็จะกลายเป็นภาพสำาเร็จ<br />

ที่สวยงามของโครงการได้ ดังเช่น โครงการ<br />

คิมป์ตัน คีตาเล ที่สามารถสื่อสารไปถึงผู้ใช้<br />

งานได้อย่างน่าประทับใจ


OLD INTO NEW<br />

91<br />

3<br />

03<br />

ทางเดินสู่อาคารต้อนรับ<br />

ที่มีเส้นขอบฟ้าอยู่ที่ปลาย<br />

ทางเดิน ตัวอาคารใช้สีไม้<br />

ที่เข้ม และจะมีการใช้สีสัน<br />

ที่มากขึ้นภายใน พื้นของ<br />

อาคารปูกระเบื้องในลวดลาย<br />

ที่ได้รับแรงบันดาลใจจาก<br />

ลวดลายของเสื่อที่ชาวบ้านใช้<br />

04<br />

พื้นที่ส่วนกลาง ซึ่งทำาหน้าที่<br />

เป็นบาร์ เลาจน์<br />

และร้านอาหาร ที่ต่อเนื่องไป<br />

ยังสระว่ายน้ำา และทะเล ที่<br />

อยู่เบื้องหน้า<br />

4


92<br />

theme / review<br />

The project was resumed, with Habita Architects assigned as<br />

the new design team to work on a completely new brief. This<br />

involved redesigning the project in various aspects, including<br />

legal constraints, area plan design, the number and sizes of<br />

the rooms and buildings, as well as the design concept and<br />

choice of building materials.<br />

05<br />

อาคาร Fish house<br />

ที่ถูกออกแบบเป็นกลุ่ม<br />

เรือนพื้นถิ่น ที่วางตัว<br />

ในธรรมชาติ<br />

06<br />

รายละเอียดของกลุ่ม<br />

อาคาร Fish house<br />

ที่เน้นความเรียบง่ายและ<br />

รายละเอียดของอาคาร<br />

พื้นถิ่น


OLD INTO NEW<br />

93<br />

6<br />

A collection of charming, dark-colored wooden<br />

buildings beautifully adorns the picturesque<br />

landscape, extending a warm invitation to visitors.<br />

The structures create a pleasing contrast with<br />

the white walls and the black and white woven<br />

pattern. The alternating, angled series of laths<br />

cast delightful shadows, while the blue aquatic<br />

mass of the pool makes its presence known. Rows<br />

and rows of coconut trees add to the idyllic scene,<br />

leading to a stunning curved beach on Samui<br />

Island. All of these exist as parts of Kimpton Kitalay<br />

Samui, setting this beachfront resort apart from<br />

other establishments ubiquitous in this tropical<br />

paradise.<br />

5<br />

The project’s design was initially completed<br />

and underwent a construction phase before all<br />

operations came to a halt. The project was later<br />

resumed, with Habita Architects assigned as the<br />

new design team that would be working on a<br />

completely new brief. This involved redesigning<br />

the project in various aspects, including legal<br />

constraints, area plan design, the number and<br />

sizes of the rooms and buildings, as well as the<br />

design concept and choice of building materials.


94<br />

theme / review<br />

Due to the presence of unfinished structures that<br />

were originally built, the architecture team had to<br />

find a new approach for the design. They noticed<br />

that there was an abundance of wood used in the<br />

structural components, roof frames, and walls,<br />

which led them to explore a different direction. The<br />

wooden components went through inspection and<br />

were either reused or reconfigured to align with<br />

a new architectural language. The decision to dye<br />

the reclaimed wood a darker shade was influenced<br />

by the variety of wood types used in the previous<br />

design. These included ta-khian, Thai crape myrtle,<br />

and other additional kinds of timber, including<br />

synthetic wood. The darker shade was specifically<br />

chosen for parts of the wood that are not clearly<br />

visible to maintain the overall mood and tone of the<br />

project. In addition to the woodwork, the majority of<br />

the original building had been dismantled, resulting<br />

in only certain parts of the structure remaining, such<br />

as the front lobby building and the beach-front<br />

restaurant. These sections also required modifications<br />

to serve the new functions and design<br />

direction.<br />

07<br />

ผังบริเวณ วางพื้นที่<br />

ส่วนกลางไว้เป็นแกนกลาง<br />

นำาสายตาสู่ทะเล<br />

MASTERPLAN<br />

5 M<br />

A RECEPTION AND FOOD<br />

AND BEVERAGE OUTLETS<br />

B SPECIALITY RESTAURANT<br />

C POOL BAR<br />

D SPA AND GYM<br />

E KIDS CLUB<br />

F HOTEL CLUSTER 1-6<br />

G POOL VILLA 1-4<br />

H BEACHFRONT VILLA 1-6<br />

I PRESIDENTIAL VILLA<br />

J BACK OF HOUSE<br />

K MEP BUILDING 1<br />

L MEP BUILDING 2<br />

M LUGGAGE STORAGE<br />

N HOUSE KEEPING UNIT 1<br />

AND GUEST TOILET<br />

O HOUSE KEEPING UNIT 2<br />

P IRP. PUMP ROOM AND<br />

GARBAGE STORAGE<br />

7


OLD INTO NEW<br />

95<br />

08<br />

ภาพพื้นที่ภายในของ<br />

ห้องอาหาร BOHO ที่มีการ<br />

ใช้ผนังไม้ในรายละเอียด<br />

ที่ต่างกันคือผนังไม้ตีชิด<br />

ตามตั้ง และผนังตีซ้อน<br />

เกล็ดระบายอากาศ<br />

09<br />

ภาพหุ่นจำาลองโครงสร้าง<br />

ไม้เพื่อศึกษารอยต่อของ<br />

ตำาแหน่งต่าง ๆ ที่สำาคัญ<br />

(เครดิตภาพ: สันธาน<br />

เวียงสิมา)<br />

10<br />

พื้นที่ส่วนอาคารต้อนรับ<br />

ที่เป็นส่วนเลาจน์ โดยที่<br />

หลังคาจะมีแสงที่ผ่าน<br />

ระแนงไม้ลงมาสะท้อน<br />

แนวคิดนั่งใต้ต้นมะพร้าว<br />

8<br />

10<br />

9


11


11<br />

Presidential Villa<br />

(Two Bedroom Villa<br />

Kitalay) พูลวิลล่า<br />

สองห้องนอนพร้อม<br />

สระส่วนตัวขนาดใหญ่<br />

เพียงหลังเดียวที่มุม<br />

ส่วนตัวริมหาดที่วาง<br />

อยู่เคียง One Bedroom<br />

Ocean Front Pool Villas<br />

พูลวิลล่าหนึ่งห้องนอน


98<br />

theme / review<br />

12<br />

The project’s grounds include the lobby, known<br />

as Lanai Coves, as well as a two-story building<br />

that houses the resort’s restaurant, café, bar, and<br />

lounge (Lanai, Hom, and Boho). This building is<br />

connected to the swimming pool and the seaside<br />

restaurant, Fish House, as well as the beach bar,<br />

Shades. All of these amenities are conveniently<br />

located along the same central axis. The layout<br />

design allows for spaces on both the right and<br />

left sides of the property to accommodate all 138<br />

units of the resort. The beachfront unit is a onebedroom<br />

oceanfront pool villa spanning 224 square<br />

meters and offering an unobstructed view of the<br />

beach. Not too far away sits the 628-square-meter,<br />

two-bedroom Villa Kitalay.<br />

13<br />

12<br />

One Bedroom Ocean<br />

Front Pool Villa พูลวิลล่า<br />

หนึ่งห้องนอน พร้อมสระ<br />

ส่วนตัวริมทะเล จัดผังเป็น<br />

แนวลึก วางสวนไว้ตรงกลาง<br />

เพื่อเพิ่มบรรยากาศที่ดีให้<br />

ทั้งห้องนอนและห้องน้ำา<br />

This villa boasts a private pool and offers full access<br />

to the beach. There are eight one-bedroom<br />

garden pool villas, each measuring 171 square<br />

meters, situated further away from the beach.<br />

Additionally, there is a cluster of six three-story<br />

buildings that accommodate a total of 117 units.<br />

These units range in size from 58 square meters<br />

for standard rooms to 117 square meters for suites,<br />

with the latter specifically designed with pool<br />

access. The spa, Pimãanda, the fitness center,<br />

Power Room, and the kid’s club, Junio, are all<br />

situated in separate buildings, each offering its<br />

own distinct space and private atmosphere.


OLD INTO NEW<br />

99<br />

13<br />

แสงที่พาดผ่านระแนงไม้<br />

เกิดเงาในห้องอาบน้ำา<br />

Ocean Front Pool Villa<br />

เสมือนแสงที่ผ่านใบของ<br />

มะพร้าว<br />

<strong>14</strong><br />

ผัง One Bedroom Ocean<br />

Front Pool Villa พูลวิลล่า<br />

หนึ่งห้องนอน พร้อมสระ<br />

ส่วนตัวริมทะเล<br />

15<br />

รูปตัด One Bedroom<br />

Ocean Front Pool Villa<br />

The design team faced several challenges in<br />

creating the right balance between the “old and<br />

the new” and “spatial experiences and contemporariness”<br />

while also considering the need for<br />

functional spaces and efficient management of the<br />

original structure and materials. The architecture<br />

team’s proposed new design approach aims to<br />

clearly distinguish the new and old elements while<br />

exploring opportunities for interactions between<br />

the differing elements. This would be achieved<br />

through a number of techniques, ranging from<br />

‘insertion,’ ‘parasite,’ juxtaposition,’ ‘wrap,’ and<br />

‘weaving.’ For example, consider how the wooden<br />

columns were intentionally constructed to visually<br />

distinguish themselves from the modern structures.<br />

This design choice creates an aesthetic where<br />

the wooden elements gracefully surround and<br />

complement the contemporary architecture. Another<br />

example is the deliberate design of a room’s wooden<br />

components to extend outward and seamlessly<br />

merge with the concrete exterior of the building.<br />

“Into the Coconut Grove” is a distinct element of<br />

the project’s design language. The architecture<br />

team chose to use wooden laths for the roof,<br />

arranging them in a slanting, reversed pattern.<br />

Beneath the laths, there is an additional layer of<br />

roofing material that allows light to pass through.<br />

This design element references the shape of the<br />

shadow cast through coconut leaves, paying tribute<br />

to the character of Koh Samui. The design team<br />

successfully implemented a similar concept with<br />

their design of Koh Samui International Airport.<br />

The wooden components of Kimpton Kitalay were<br />

redesigned in collaboration with Suntan Viengsima,<br />

a woodcraft expert. The collaborative effort resulted<br />

in the enhancement of structural components,<br />

joinery, the leakage prevention system, and details<br />

that facilitate easier future replacement and maintenance.<br />

The incline laths contribute their own<br />

accent to the design language of the walls and<br />

various sections of the roof.<br />

I<br />

A<br />

B<br />

G<br />

E<br />

D<br />

H<br />

F<br />

C<br />

H<br />

H<br />

F<br />

C<br />

H<br />

G<br />

E<br />

D<br />

I<br />

A<br />

B<br />

<strong>14</strong><br />

GROUND FLOOR PLAN<br />

G A<br />

E D<br />

B<br />

SECTION AB<br />

15<br />

A VILLA ENTRANCE<br />

B SWIMMING POOL<br />

C POOL DECK<br />

D COVERED DECK<br />

E BEDROOM<br />

F TOILET<br />

G BATHROOM<br />

H OUTDOOR SHOWER<br />

I MEP ROOM


100<br />

theme / review<br />

17


OLD INTO NEW<br />

101<br />

The wooden components of Kimpton Kitalay were redesigned<br />

in collaboration with Suntan Viengsima, a woodcraft expert.<br />

The collaborative effort resulted in the enhancement of structural<br />

components, joinery, the leakage prevention system, and details<br />

that facilitate easier future replacement and main- tenance. The<br />

incline laths contribute their own accent to the design language<br />

of the walls and various sections of the roof.<br />

ปิ ติรัตน์ ยศวัฒนา<br />

สถาปนิกและนักวาดภาพ<br />

ประกอบอิสระ ที่สนใจใน<br />

การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ<br />

อย่างสมดุล ให้คุณค่า<br />

หาความสุข-จากสิ ่งรอบ<br />

ตัว และสอนโยคะเป็ นบาง<br />

คราว<br />

16<br />

Pitirat Yoswattana<br />

is a freelance architect,<br />

an illustrator and a<br />

yoga teacher. She is<br />

passionate about the<br />

balance between humans<br />

and nature, and<br />

always seeks simple<br />

happiness.<br />

16<br />

มุมมองเปิดสู่ทะเล จาก<br />

ระเบียงห้องพักชั้นบน<br />

17<br />

มุมที่นั่งในสระส่วนตัวของ<br />

ห้องพูลวิลล่าสองห้องนอน<br />

ริมทะเล<br />

However, despite some limitations that restricted<br />

the use of wood in less prioritized areas, the natural<br />

material remains a crucial element in setting the<br />

overall mood and tone of the resort. This is especially<br />

true in the lobby and the U-shaped common<br />

area, where guests are welcomed with a panoramic<br />

view of the pool, leading to the beach and the<br />

sea. Here, they can fully appreciate the interplay<br />

of light and shadow created by the wooden laths<br />

on the roof.<br />

In addition to the wooden laths, the architecture<br />

team and the woodcraft expert conducted further<br />

research on the details of the woodwork. They<br />

utilized life-sized models to better understand<br />

and enhance the buildings’ functions, durability,<br />

aesthetics, and practicality of construction. This<br />

included studying the joints of building corners,<br />

roof frames, wood joinery, and the combination<br />

of different materials and components throughout<br />

the buildings.<br />

The architecture team worked impressively with all<br />

aspects of the wooden components, from aesthetics<br />

and construction to cost-effectiveness and maintenance.<br />

Several wooden elements from the initial<br />

design have been either covered or removed for<br />

various reasons, just like what has occurred in many<br />

other projects. The architecture team’s initial vision<br />

did not come to fruition exactly as intended due to<br />

a number of factors, both anticipated and unforeseen.<br />

Compromises had to be made due to budget<br />

constraints and the need to find solutions that satisfied<br />

all parties, including investors and the resort’s<br />

executive team. Despite these challenges, it is clear<br />

that the final result, which was achieved through a<br />

lengthy design development process, is a testament<br />

to the collaborative efforts of everyone involved that<br />

ultimately conceive a beautifully completed creation,<br />

a message that Kimpton Kitalay passes on to its<br />

visitors in the most impressive manner.<br />

habitaarchitects.com<br />

Project: Kimpton Kitalay Samui Location: Choengmon Beach, Koh Samui, Surathani, Thailand Hotel Operator: IHG Hotels & Resorts Year of Completion: 2021 Architect:<br />

Habita Architects Interior Designer: P49 Deesign Landscape Designer: TK Studio Lighting Designer: CWL Structural and MEP Engineer: Beca Signage design: Shrimp Asia<br />

Branding & Design Agency Bangkok


102<br />

theme / review<br />

Holy<br />

Crab<br />

1<br />

At St. Xavier’s Oratory in Tak<br />

Province, the architect has worked<br />

closely with the local carpenter<br />

to create a religious building with<br />

beautifully woven wooden skin, a<br />

spectacular representation of the<br />

relationship between design and<br />

locals.<br />

Text: Nathanicha Chaidee<br />

Photo Courtesy of Francisco Garcia Moro<br />

and Panoramic Studio except as noted


2<br />

01<br />

รูปร่างอาคารถูกออกแบบ<br />

ให้มีรูปลักษณ์เป็นที่จดจำ าได้<br />

02<br />

จากความตั้งใจของสถาปนิก<br />

ให้สถาปัตยกรรมที่ไม่โดด<br />

ออกจากสภาพแวดล้อม<br />

ธรรมชาติโดยรอบ


104<br />

theme / review<br />

ณ พื้นที่ห่างจากแนวชายแดนพม่าเพียง 20<br />

กิโลเมตร ที่ อ.อุ้มผาง จ.ตาก บาทหลวง<br />

Reynaldo Tardielly จากอินโดนีเซีย หมายมั่น<br />

สร้างศาสนสถานที่นอกจากจะเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์<br />

สำาหรับความเชื่อทางศาสนาแล้ว ยังเป็นศูนย์<br />

รวมจิตใจสำาหรับชุมชนชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่<br />

ความท้าทายของ Francisco Garcia Moro<br />

สถาปนิกจากสเปน ในการออกแบบ และ<br />

ก่อสร้างโบสถ์ St. Xavier’s Oratory จึงเป็น<br />

เรื่องการสร้างสรรค์ศาสนสถานที่ผู้คนในพื้นที่<br />

สามารถเข้าใจได้โดยง่าย เข้ากับความรับรู้<br />

และวิถีชีวิตของผู้คน เมื่อรวมกันกับทัศนียภาพ<br />

ของธรรมชาติอันงดงามริมฝั่งแม่น้ำาแล้ว เขา<br />

จึงเลือกถอดความของงานสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นอย่างบ้านเรือนที่อยู่อาศัย และการใช้<br />

งานคราฟต์โดยช่างฝีมือในท้องที่เป็นแนว<br />

ความคิดเริ่มต้นของการออกแบบ<br />

ประการแรกตั้งต้นจากพื้นที่ธรรมชาติที่รายรอบ<br />

ตัวอาคารตั้งอยู่ริมฝั่งน้ำาและป่าเขา โจทย์ของ<br />

เขาจึงเป็นการออกแบบให้สถาปัตยกรรม<br />

ของโบสถ์หลอมรวมไปกับธรรมชาติ โดยที่<br />

ไม่โดดออกมาจากสภาพแวดล้อม แต่ยังคง<br />

เป็นที่จดจำาในฐานะสถาปัตยกรรมของชุมชน<br />

และขณะเดียวกันจากมุมมองภายในโบสถ์<br />

ธรรมชาติเหล่านี้ก็ทำาหน้าที่เป็นจุดเด่นให้กับ<br />

สถานที่ด้วย<br />

โจทย์ของสภาพแวดล้อมนำามาสู่การวางผัง<br />

อาคารที่ใช้การบิดแกนของตัวอาคาร เพื่อให้<br />

เสาทำาหน้าที่เหมือนกับเป็นผู้โอบล้อมอาคาร<br />

โดยรอบ สังเกตจากเสาที่วางตัว 45 องศา<br />

จากแนวแกนบนผังพื้นของอาคาร ผลพลอยได้<br />

คือพื้นที่ภายในที่กว้างโล่งสำาหรับการปฏิบัติ<br />

ศาสนพิธี หรือการใช้งานสำาหรับชุมชนภายใน<br />

ได้อย่างยืดหยุ่น องศาของเสาจึงเป็นเหมือน<br />

กับการนำาสายตาไปสู่จุดศูนย์กลางที่แท่นพิธี<br />

โดยที่ไม่ได้รู้สึกบดบังทัศนวิสัยแต่อย่างใด<br />

ในแง่ของรูปแบบสถาปัตยกรรม เขาลงพื้นที่<br />

ไปศึกษาที่อยู่อาศัยและความเป็นอยู่ของชาว<br />

กะเหรี่ยงอย่างใกล้ชิด รวมทั้งการศึกษา<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของภาคเหนืออื่นๆ เพื่อ<br />

ค้นหาเทคนิคมาประกอบในการทำางานครั้งนี้<br />

จนนำามาสู่การออกแบบของอาคารที่มาจาก<br />

การจับปูในท้องนาของเด็กๆ ในช่วงฤดูฝน<br />

และเขาเลือกใช้รูปร่างของปูมาสร้างโบสถ์ที่<br />

เหมือนกับเป็นปูขนาดใหญ่ของชุมชน เพื่อ<br />

สร้างภาษาทางการออกแบบที่สื่อสารกับผู้คน<br />

ในพื้นถิ่นได้อย่างเข้าใจ<br />

ต่อเนื่องมาสู่การทำางานกับคุณสุลี ช่างไม้ในพื้นที่<br />

เพื่อค้นหาเทคนิคการก่อสร้างและลวดลายของ<br />

การสานเป็นตาข่ายรูปข้าวหลามตัด ที่เหมือน<br />

กับเป็นผืนผ้าที่ห่มคลุมตัวอาคารทั้งหมดเอาไว้<br />

ส่วนนี้คือส่วนที่ท้าทายเป็นอย่างมาก เพราะ<br />

เป็นการทำางานร่วมกันระหว่างการสร้างลวด-<br />

ลายในการเขียนแบบในระบบสามมิติ เข้ากับ<br />

ประสบการณ์งานช่างฝีมือที่ถือว่ามีความคราฟต์<br />

สูง ช่างฝีมือเลือกใช้ไม้ยูคาลิปตัสเป็นวัสดุใน<br />

การสานลายที่ห่มคลุมโบสถ์แห่งนี้ ด้วยเหตุผล<br />

ของความยืดหยุ่น จนนำามาสู่งานสานจากความ<br />

ร่วมมือของงานออกแบบและผู้คนในพื้นที่<br />

“ผมเองเป็นเหมือนกับสถาปนิกต่างถิ่นที่เข้ามา<br />

ทำางานที่นี่ เพื่อที่จะพัฒนางานออกแบบของ<br />

ผมและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ผมต้องอาศัยความ<br />

เชี่ยวชาญและประสบการณ์ของช่างเป็นอย่าง<br />

มาก ทั้งในเรื่องเทคนิคการก่อสร้างให้งานเสร็จ<br />

สิ้นอย่างสมบูรณ์แบบ” สถาปนิกกล่าวถึงบท<br />

เรียนสำาคัญจากการทำางานออกแบบในครั้งนี้<br />

ไม้ซึ่งเป็นวัสดุหลักในงานออกแบบครั้งนี้ล้วน<br />

แล้วแต่มาจากภายในพื้นที่ทั้งสิ้น สองในสาม<br />

ของอาคารใช้ไม้ตะเคียนจากสวนป่าที่ได้รับ<br />

การจัดการให้เป็นตามกฎหมายของกรมป่าไม้<br />

และอีกหนึ่งในสาม ใช้ไม้สักที่มาจากการรื้อ<br />

ถอนบ้านในชุมชน ไปจนถึงเฟอร์นิเจอร์ไม้<br />

ภายในอาคารก็ใช้ไม้เหลือทิ้งเหล่านี้ด้วย<br />

นอกจากจะเป็นการหมุนเวียนใช้ไม้ให้เกิด<br />

คุณค่าสูงสุดแล้ว ผู้คนยังรู้สึกผูกพันและ<br />

สัมพันธ์กับโบสถ์แห่งนี้ผ่านวัสดุที่เขาเคย<br />

เห็นหรือสัมผัสอย่างชินตาในชีวิตประจำาวัน<br />

รายละเอียดในเรื่องแสงสว่างก็เป็นอีกส่วน<br />

สำาคัญของงานศาสนสถาน เริ่มตั้งแต่การสาน<br />

อาคารเป็นทรงโปร่งเพื่อเปิดรับแสงธรรมชาติ<br />

เข้ามาสู่ภายใน และสร้างบรรยากาศของการ<br />

เป็นสถาปัตยกรรมชุมชน แสงธรรมชาติจะ<br />

ช่วยลดความหนาตันของตัวอาคาร รวมทั้ง<br />

แสงธรรมชาติที่มาจากหลังคากระจกด้านบน<br />

ศาสนสถานแห่งนี้จึงราวกับเปิดต้อนรับผู้คน<br />

อย่างเอื้ออารี<br />

ส่วนการจัดการแสงภายในมีรายละเอียดของ<br />

ไม้ซ่อนในเสาที่น่าสนใจ เขาใช้เทคนิคการ<br />

ประกอบไม้เพื่อให้มีร่องสำาหรับซ่อนหลอดไฟ<br />

เป็นแหล่งกำาเนิดแสงทางอ้อม นอกจากแสง<br />

สว่างจะไม่สว่างจ้าจนเกินไปแล้ว ยังช่วยให้<br />

เสาโครงสร้างดูเบาไร้น้ำาหนัก นอกจากนั้นแล้ว<br />

เสาไม้ที่เกิดจากเทคนิคการประกอบที่เว้นร่อง<br />

ยังมีส่วนช่วยในการระบายอากาศให้ทั่วถึง<br />

ตลอดภายในอาคาร สร้างมุมมองพร้อมกับ<br />

คุณภาพชีวิตที่ดีขณะใช้งานอาคาร<br />

หลังผ่านการใช้งานจริงแล้ว ผู้คนรู้สึกถึง<br />

การมีส่วนร่วมกับศาสนสถานแห่งนี้ผ่านงาน<br />

สถาปัตยกรรม ตั้งแต่เสาที่เป็นเอกลักษณ์<br />

เฉพาะนี้ ซึ่งถูกดัดแปลงไปใช้ในงานอาคาร<br />

หลังอื่นๆ ในชุมชน ความภาคภูมิใจในแผ่นไม้<br />

จากหลังบ้านที่ถูกนำาไปใช้งานในอาคารส่วน<br />

กลางของชุมชน รวมทั้งตัวอาคารเองที่ซ่อน<br />

ตัวอย่างสงบเสงี่ยมท่ามกลางสิ่งแวดล้อม<br />

แต่ทว่าก็ยังคงงดงามและสร้างแรงบันดาลใจ<br />

ต่อเนื่องให้ผู้คนพยายามสร้างสรรค์อาคาร<br />

อื่นๆ ของชุมชนที่มีกลิ่นอายของความงาม<br />

และเป็นศิลปะ


HOLY CRAB<br />

105<br />

03<br />

การวางผังอาคารภายใน<br />

โบสถ์ที่ปิดแกนเสา 45<br />

องศาเปิดมุมมองและพื้นที่<br />

ใช้งานที่กว้างขึ้น<br />

04<br />

สถาปนิกพัฒนารูปทรง<br />

การออกแบบมาจากรูปร่าง<br />

ของปู เพื่อสร้างภาษาการ<br />

ออกแบบที่คุ้นเคยกับคนใน<br />

ชุมชน<br />

3<br />

LAYOUT PLAN<br />

2.5 M<br />

4


5


107<br />

To create a religious<br />

building that locals<br />

could relate to and<br />

understand and<br />

that resonates with<br />

people’s perceptions<br />

and ways of life, the<br />

architect chose to<br />

decode the beauty<br />

of Thai vernacular<br />

architecture with<br />

a design concept<br />

that drew influence<br />

from local homes<br />

and craftsmanship<br />

elements inherited<br />

and created by local<br />

builders.<br />

05<br />

มุมมองจากภายในโบสถ์ที่<br />

เปิดให้เห็นสภาพแวดล้อม<br />

โดยรอบพื้นที่ผ่านผนัง<br />

อาคารโปร่งสานด้วยไม้<br />

ยูคาลิปตัส


108<br />

theme / review<br />

06<br />

รูปด้านของโบสถ์ที่ห่อหุ้ม<br />

ด้วยลายสาน จากการ<br />

ผสานแนวคิดและทักษะ<br />

ของช่างท้องถิ่น<br />

6


HOLY CRAB<br />

109<br />

07<br />

การวางบิดองศาของเสา<br />

ในผังอาคารช่วยนำาสายตา<br />

ไปสู่จุดศูนย์กลางแท่นพิธี<br />

โดยที่ไ่ม่ได้รู้สึกถูกบดบัง<br />

ทัศนวิสัย<br />

7<br />

Only 20 kilometers from the Myanmar border, in<br />

Thailand’s Tak province in Umphang district, Indonesian<br />

priest Reynaldo Tardielly was determined<br />

to build a religious structure that would serve not<br />

only as a sacred ground for the Christian faith but<br />

also as a spiritual hub for members of the local<br />

Karen community.<br />

Spanish architect Francisco Garcia Moro faced a<br />

challenge while designing and building St. Xavier’s<br />

Oratory about figuring out how to create a religious<br />

building that locals could relate to and understand<br />

through architecture that resonates with people’s<br />

perceptions and ways of life. The architect chose<br />

to decode the beauty of Thai vernacular architecture<br />

with a design concept that drew influence<br />

from local homes and craftsmanship elements<br />

inherited and created by local builders.<br />

Situated on waterside land in the middle of forestland,<br />

the oratory was designed to exist in harmony<br />

and humility with nature while still possessing the<br />

characteristics of a community center. Nature plays<br />

an important part in the spatial experience of the<br />

building and is incorporated as the highlight of the<br />

spatial program.


110<br />

08<br />

วัสดุไม้ในอาคารมาจาก<br />

ในท้องถิ่นทั้งหมด ไม่ว่าจะ<br />

เป็นไม้ตะเคียนจากสวนป่า<br />

หรือไม้เก่าจากการรื้อถอน<br />

บ้านในชุมชน 8


HOLY CRAB<br />

111<br />

09<br />

Drawings แสดง<br />

รายละเอียดการเข้าไม้<br />

The site’s surroundings led the architect to develop<br />

the layout in which the building’s axis is deviated<br />

for the columns to perfectly embrace the entire<br />

structure. The columns are set 45 degrees off the<br />

axis of the floor plan, creating an open, spacious<br />

space that is ideal for religious ceremonies. The<br />

building’s spatial versatility also allows it to host<br />

community events and activities. The angles in<br />

which the columns are positioned fulfill an aesthetic<br />

purpose by drawing users’ attention to the altar in<br />

the center of the area without obstructing the view.<br />

In regards to the architecture, the architect conducted<br />

extensive fieldwork to study the Karen<br />

people’s homes, living spaces, and way of life.<br />

The research also looked into various types of<br />

vernacular architecture in Thailand’s northern<br />

region in search of native techniques and wisdom<br />

that could be applied to the project. Such an<br />

endeavor led to the discovery that during the rainy<br />

season, the Karen children are usually out in the<br />

fields catching freshwater crabs. Having learned<br />

about such a way of life, the architect drew inspiration<br />

from the shape of a freshwater crab. The<br />

oratory’s resemblance to a gigantic crab makes the<br />

building more relatable for community members,<br />

with a design language that effectively communicates<br />

with the locals in a meaningful way.<br />

9


112<br />

theme / review<br />

10<br />

The wood, the principal material of the design, was locally<br />

sourced: local thakien wood, old teak wood salvaged from<br />

demolished local homes, and reclaimed wood for interior<br />

furniture. This circular approach not only maximizes the use<br />

of harvested wood, but it also fosters a sense of connection<br />

between locals and the church through the use of materials<br />

that people are familiar with.<br />

10<br />

สถาปนิกเลือกประกอบไม้<br />

เพื่อให้มีร่องสำาหรับซ่อน<br />

หลอดไฟเป็นแหล่งกำาเนิด<br />

แสงทางอ้อมนอกจากแสง<br />

จะไม่สว่างจ้าจนเกินไปแล้ว<br />

ยังช่วยให้เสาโครงสร้าง<br />

ดูเบา<br />

Working with Mr. Reen Sulee, a local carpenter,<br />

was a challenge. The collaboration aimed at finding<br />

construction and weaving techniques that would<br />

result in a lattice covering the whole structure of the<br />

building. The approach was difficult since it was<br />

a collaborative effort in which three-dimensional<br />

software was employed alongside the handcrafted<br />

skills and processes of local artisans. Because<br />

of its flexibility, Mr. Sulee picked eucalyptus wood<br />

as the medium to work with. The woven building<br />

skin is beautifully crafted and eventually becomes<br />

a spectacular representation of the relationship<br />

between design and locals.


HOLY CRAB<br />

113<br />

“I was this foreign architect who came here to<br />

develop the design I created for this project as well<br />

as solutions to problems that arose along the way.<br />

I relied heavily on the expertise and experiences<br />

of these local builders, including the construction<br />

techniques that would help complete the work,” the<br />

architect recalled of the lessons he had learned<br />

while working on the project’s design.<br />

The wood, which serves as the principal material<br />

of the design, was locally sourced. Two-thirds of<br />

the structure is built using Thakien wood, which<br />

was obtained from local communities under the<br />

management of the Department of Forestry. The<br />

remaining third is constructed from old teak wood<br />

salvaged from demolished local homes. Reclaimed<br />

wood is also used for interior furniture. This circular<br />

approach not only maximizes the use of harvested<br />

wood, but it also fosters a sense of connection<br />

between locals and the church through the use of<br />

materials that people are familiar with.<br />

Lighting adds another key aspect to the architecture<br />

of the oratory. The lattice structure welcomes<br />

natural light and exudes vernacular features that<br />

people can easily associate with. Natural light also<br />

contributes to the building’s visual slenderness.<br />

Meanwhile, additional light from the skylight makes<br />

the structure look and feel more welcoming, like<br />

a warm embrace.<br />

The indoor lighting design boasts the intricacies of<br />

hidden lighting sources. Woodworking techniques<br />

create grooves that allow artificial light to be installed<br />

and indirect lighting effects to be rendered.<br />

When the church is lit at night, the light from the<br />

hidden lamps inside the pillars illuminates the<br />

structure, making it appear weightless and almost<br />

magical. Additionally, the composite pillars allow<br />

for natural cross-ventilation and cool air to flow<br />

through the structure while affording stunning<br />

views of the building and improving user well-being<br />

simultaneously.<br />

After a period of actual usage, people have become<br />

more engaged with the oratory through its architectural<br />

elements. Such a connection is evident from<br />

how the church’s unique pillars have been used in<br />

the construction of other local buildings, or how<br />

people take pride in the way the planks from their old<br />

homes have been repurposed for this community<br />

building, to how the oratory, nestled gracefully yet<br />

humbly in the midst of nature, has inspired people<br />

to create more buildings of such beauty and artistry.<br />

pacogarciamoro.com<br />

11<br />

จากกระบวนการ<br />

ร่วมกันสร้างและวัสดุไม้<br />

หมุนเวียนจากในชุมชน<br />

ทำาให้คนในพื้นที่รู้สึก<br />

ผูกพันกับศาสนสถาน<br />

หลังนี้<br />

ณัฐนิช ชัยดี<br />

จบการศึกษาด้านออกแบบ<br />

ตกแต่งภายใน ปั จจุบัน<br />

เป็ นคอลัมนิสต์อิสระ<br />

ด้านสถาปั ตยกรรม งาน<br />

ออกแบบ และวัฒนธรรม<br />

Nathanich Chaidee<br />

is a graduate of<br />

interior design and<br />

currently working as<br />

a freelance journalist<br />

in architecture, design<br />

and culture.<br />

11<br />

Project: St.Xavier Oratory Design: Francisco Garcia Moro Construction Management: Father Reynaldo Tardielly Contractor: Wanmai Srisuk Carpenter:<br />

Reen Sulee Engineer: Lophadol Suwan Electrician: Preecha Laothanasan


1<strong>14</strong><br />

theme / review<br />

At<br />

the<br />

Heart<br />

of<br />

It<br />

In Khao Yai, DBALP’s Glass Hall stands out with its minimalistic modern<br />

architecture combined with traditional elements found in Buddhist<br />

temples in the northeastern and northern regions.<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo Courtesy of Duangrit Bunnag Architect Limited and W Workspace except as noted


1<br />

01<br />

มุมมองทางเข้าวิหารจาก<br />

ด้านสกัด


116<br />

theme / review<br />

2<br />

02<br />

มุมมองทางเข้าวิหารจาก<br />

ลานด้านหน้าผ่านสระน้ำา<br />

03<br />

รูปด้านยาว<br />

3<br />

ELEVATION<br />

วัสดุในงานสถาปัตยกรรมผันแปรไปตาม<br />

เงื่อนไขแต่ละถิ่นที่ จวบจนโลกสมัยใหม่มาถึง<br />

วัสดุก่อสร้างได้หลั่งไหล แลกเปลี่ยนกันไปตาม<br />

แต่ละแห่งหนบนโลกนี้ เราจึงได้พบกับวัสดุ<br />

สถาปัตยกรรมที่มีความหลากหลายตามความ<br />

ก้าวหน้าของเทคโนโลยีการขนส่ง อย่างการใช้<br />

ไม้จากต่างถิ่นเข้ามาในไทย การใช้ไม้สนจาก<br />

ป่าปลูกในเมืองหนาว ที่มีการออกแบบให้การ<br />

ใช้ไม้มีทั้งการตัด และปลูกอย่างสมดุล ถึงแม้ว่า<br />

โลกสมัยใหม่จะมีวัสดุอย่างเหล็ก และคอนกรีต<br />

มาห่มคลุมสถาปัตยกรรม แต่ไม้ก็ยังเป็นวัสดุที่<br />

ให้ความเฉพาะ ด้วยสัมผัสของไม้ให้ความรู้สึก


อบอุ่น เป็นมิตรใกล้ชิดกับมนุษย์ มีความยืดหยุ่น<br />

มากกว่าวัสดุอุตสาหกรรม ทำาให้ไม้ได้รับความ<br />

นิยมในงานสถาปัตยกรรมอยู่เสมอ<br />

ในพื้นที่เขาใหญ่ อำาเภอปากช่อง จังหวัดนคร-<br />

ราชสีมา ปรากฏวิหารของศูนย์ปฏิบัติธรรมชื่อ<br />

ว่า “วิหารแก้ว” เป็นวิหารไม้ทรงสูง รูปทรง<br />

แลดูสมัยใหม่ เรียบง่าย ด้วยเส้นตั้งจากเสาที่<br />

คล้ายเสานางเรียงในสถาปัตยกรรมทางศาสนา<br />

ศูนย์ปฏิบัติธรรมแห่งนี้ออกแบบโดย บริษัท<br />

ดวงฤทธิ์ บุนนาค จำากัด แนวคิดการวางผังโดย<br />

ใช้ประโยชน์จากที่ตั้ง ที่เป็นเส้นบรรจบของ<br />

เชิงเขาสองลูก สถาปนิกเลือกวางวิหารโถงไว้<br />

ที่ตรงกลางปลายจบเขาทั้งสองลูก เกิดเส้น<br />

เสริมความแรงให้กับสถาปัตยกรรมที่มีแกน<br />

ชัดเจน แกนกลางทำาหน้าที่แบ่งกลุ่มอาคาร<br />

ออกเป็นซ้าย-ขวา กลุ่มอาคารบริการที่เป็น<br />

โรงอาหารแบบเปิดโล่ง และอาคารห้องสมุด<br />

ทั้งสองอาคารวางเกาะเส้นแกนหลัก ทำาให้<br />

การจัดระเบียบเป็นแบบพุ่งเข้าหาศูนย์กลาง<br />

ที่ลานทางขึ้นวิหารที่มีสระน้ำาตื้นเป็นภูมิทัศน์<br />

ส่วนเสริมให้รูปทรงมีขนาดส่วนที่ใหญ่ลดความ<br />

แข็งลงได้ด้วยการสะท้อนบนผิวน้ำาที่ทำาให้ดู<br />

เบาลอย ด้านข้างทางทิศตะวันออก ถูกวางไว้<br />

เป็นที่พักของผู้มาปฏิบัติธรรม ด้วยกลุ่มเรือนพัก<br />

จำานวน 10 หลัง ถูกวางรายรอบสระน้ำาที่ขุด<br />

เตรียมไว้เป็นพื้นที่หน่วงน้ำา และกักเก็บน้ำาไว้<br />

ใช้งาน<br />

การขึ้นรูปทรงวิหารโถง หรือที่เรียกได้ว่าวิหาร<br />

ที่เป็นแบบเปิดโล่ง มีผนังปกปิดจากภายนอก<br />

บางส่วน เริ่มจากการที่สถาปนิกศึกษารูปตัด<br />

ของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในภาคอีสาน และ<br />

ภาคเหนือ ในส่วนของภาคอีสานได้ศึกษาสัดส่วน<br />

รูปตัดจาก ‘สิม’ วัดปทุมคงคา หรือวัดนกออก<br />

ที่อำาเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ในคำา<br />

อีสานนั้น ‘สิม’ มาจากการกร่อนคำาว่า ‘สีมา’<br />

หมายถึงขอบเขตอันศักดิ์สิทธ์ ซึ่งในการกำ าหนด<br />

สีมาของวัดในภาคอีสาน อันที่มีมาจากภาษาลาว<br />

คืออุโบสถในภาคกลางนั่นเอง แต่สิมมีขนาด<br />

ที่เล็กกว่า ตามการใช้สอยที่อนุโลมให้สำาหรับ<br />

พื้นที่ห่างไกล ขาดแคลนทรัพยากร ไม่สามารถ<br />

สร้างอุโบสถได้ตามมาตรฐาน<br />

สิมวัดปทุมคงคาเป็นสถาปัตยกรรมที่มีส่วน<br />

ผสมของทั้งศิลปะแบบปลายสมัยอยุธยา<br />

AT THE HEART OF IT<br />

ต้นสมัยรัตนโกสินทร์ มากกว่าศิลปะแบบลาว<br />

ต่างภาคอีสานส่วนอื่นๆ เนื่องด้วยนครราชสีมา<br />

เป็นเมืองหน้าด่านของกรุงเทพ และลาว มา<br />

ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา ทำาให้สถาปัตยกรรมมี<br />

ความคล้ายคลึงกับทางภาคกลางมากกว่า<br />

แต่ย่อส่วนลง เมื่อพิจารณาลักษณะของสิม<br />

หลังนี้ เป็นแบบมีผนังโดยรอบ ไม่ใช่ชนิดสิ<br />

มโถง โครงสร้างเสาเป็นไม้แปดเหลี่ยม หุ้ม<br />

ด้วยผนังปูนที่ภายนอก ทำาให้ความเด่นชัดอยู่<br />

ที่ด้านสกัด ที่มีสัดส่วนหลังคาลาดชันสูง<br />

สำาหรับการศึกษาสถาปัตยกรรมในส่วนภาค-<br />

เหนือ สถาปนิกได้ศึกษาจากวิหารวัดไหล่<br />

หินหลวง จังหวัดลำาปาง วิหารนี้มีลักษณะเป็น<br />

วิหารโถง หรือผนังโล่ง โดยเมื่อมองไปยัง<br />

ด้านสกัดที่ทางเข้า จะเป็นเสาลอย ไม่มีผนัง<br />

โครงสร้างเสาด้านสกัดมี 4 ต้น ทำาให้การแบ่ง<br />

สัดส่วนพื้นที่ภายในเป็น 3 ส่วน มีเสาร่วมใน<br />

เป็นตัวขับเน้นที่ว่างปลายวิหารที่มีพระประธาน<br />

ตั้งอยู่ ลักษณะโครงสร้างเป็นไม้หลังคา มีความ<br />

ลาดชัน 45 องศา แม้ว่าจะเป็นวิหารโถงที่ไม่มี<br />

ผนังทึบรอบแบบสิมวัดปทุมคงคา แต่ปลาย<br />

วิหารช่วงที่เป็นที่ตั้งพระประธานเป็นผนังทึบ<br />

บางส่วน เพื่อควบคุมความสลัวให้กับบริเวณ<br />

ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของวิหาร ลักษณะโครงสร้าง<br />

วิหารวัดไหล่หินหลวงส่งอิทธิพลต่อระบบ<br />

โครงสร้างหลังคาวิหาร<br />

วิหารแก้ว ออกแบบโดยการวางให้ด้านสกัด<br />

หันไปแนวทิศตะวันออก-ตก ตำาแหน่งวาง<br />

พระประธานอยู่ทางด้านทิศตะวันตก หัน<br />

พระพักตร์พระพุทธรูป และวางทางเข้าไว้<br />

ทิศตะวันออก ตามคติพุทธตอนพระพุทธเจ้า<br />

ตรัสรู้ การเข้าถึงวิหารโถงจากลานด้านหน้า<br />

ต้องเดินผ่านสระน้ำาที่ออกแบบไว้ให้เต็มไป<br />

ด้วยบัว การรับรู้ที่ว่างภายในเป็นไปอย่าง<br />

คลุมเครือ แม้ว่าชื่ออาคารคือ วิหารแก้ว ที่<br />

สื่อถึงความโปรงใส แต่การวางโครงสร้างเสา<br />

ไม่ได้เป็นแบบตรงไปตรงมา มีการวางเสา<br />

สลับเหลื่อมกันไปมาของเสาแนวภายนอกสุด<br />

ส่วนแนวเสาภายในจะตั้งซ้อนอยู่ระหว่างแนว<br />

เสาภายนอก ผลจากการวางโครงสร้างเสา<br />

ระบบนี้ ก่อเกิดการรับรู้ที่คลุมเครือ ไม่ชัดเจน<br />

คาดเดาที่ว่างภายในได้ยาก<br />

117<br />

ก่อนจะเข้าไปยังภายในวิหาร จะพบกับปริมาตร<br />

ของวิหารที่มีขนาดส่วนสื่อถึงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์<br />

เป็นภาพที่มีเสาไม้ขนาดใหญ่มีรูปแบบการเรียง<br />

ไม้ในแนวตั้งขับให้เส้นตั้งที่เสาชัดเจนยิ่งขึ้น<br />

องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมดูเปลี่ยนไป<br />

จากรูปตัดที่สถาปนิกได้ศึกษาไว้ มีลักษณะ<br />

การจัดเรียงเป็นสำาเนียงใหม่ในไวยากรณ์เดิม<br />

ส่วนของแปลานได้ถูกขับให้เน้นชัดขึ้นกว่าสิม<br />

วัดปทุมคงคา เน้นทางเข้าชัดเจนขึ้น ส่งผลต่อ<br />

ภาพพระพุทธรูปปลายทาง เมื่อผ่านเข้าไปยัง<br />

ภายใน เสาจะช่วยพรางพื้นที่ภายในให้ติดต่อ<br />

กับภายนอกด้วยการวางชุดเสาภายนอกแบบ<br />

สลับ เมื่อพิจารณารูปตัดแต่ละช่วงเสา จะเป็น<br />

การพัฒนาจากสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเดิม<br />

ให้ตอบสนองกับแนวคิดร่วมสมัยมากขึ้น<br />

รายละเอียดของเสาไม้ โครงหลังคาไม้ ถูก<br />

ประกอบกันขึ้นจากโครงสร้างเหล็ก กรุชั้นใน<br />

ด้วยแผ่นซีเมนต์บอร์ด จากนั้นจึงกรุชั้นนอก<br />

สุดด้วยไม้สนนำาเข้าขนาด 1” x 6 “ รูปแบบ<br />

วางไม้กรุให้ขนานไปกับแนวตั้งของเสา ส่วน<br />

ของขื่อ อะเสเหล็กหุ้มด้วยไม้ในแนวนอน<br />

ล้อไปกับแนวการวางโครงสร้างหลังคา แม้ว่า<br />

จะเป็นวิหารโถงที่จะพบกับปัญหาฝนสาด<br />

ระบบระบายน้ำาที่พื้นได้เตรียมไว้ด้วยยกพื้น<br />

ปล่อยให้ด้านล่างเป็นพื้นยก ในการออกแบบ<br />

รายละเอียดงานไม้ สิ่งที่ต้องระวังอันดับต้นๆ<br />

คือการระวังเรื่องความชื้น ถ้าปล่อยให้ไม้มีจุด<br />

สะสมความชื้นได้ง่าย จะเป็นจุดที่เสื่อมโทรม<br />

ได้เร็ว ต้องป้องกันไม่ให้เจอดิน หรือน้ำ าโดยตรง<br />

ในส่วนที่จะชนกับน้ำา ดิน ได้มีการออกแบบ<br />

รายละเอียดให้เว้นรอยต่อไว้ ไม่ให้สะสม<br />

ความชื้นโดยตรง หรือจะเรียกได้ว่าให้ไม้ได้<br />

หายใจ<br />

“สำาหรับผม เรื่องของพุทธศาสนาเป็นเรื่องของ<br />

การปฏิบัติ เราทำาวิธีการสะท้อนของอาคารนี้<br />

ด้วยอะไรบ้างที่สะท้อนความเป็นพุทธ อะไร<br />

บ้างที่เป็นสาระจริงๆ เพียงแต่ผมไม่ได้ทำามัน<br />

ออกมาในเชิงสัญลักษณ์เท่านั้นเอง ผมว่าคำาว่า<br />

สมดุล ธรรมชาติเป็นหัวใจ มันมีไม้แล้วก็มีหิน<br />

มันมีเปิดแล้วก็มีปิด มีภายนอกแล้วก็มีภายใน<br />

อันนี้ก็เป็นวิธีคิดแบบที่ผมมอง” ดวงฤทธิ์<br />

บุนนาค สถาปนิก และกรรมการผู้จัดการได้<br />

เอ่ยถึงแนวคิดของงานออกแบบชิ้นนี้ไว้ในการ<br />

สรุปช่วงท้าย


04<br />

ภาพมุมเสยในวิหาร<br />

แสดงให้เห็นถึงความ<br />

ซับซ้อนของระบบ<br />

โครงสร้างหลังคา


4


120<br />

theme / review<br />

5<br />

05<br />

มุมมองจากภายในวิหาร<br />

มองไปยังภายนอก<br />

เสาที่วางเหลื่อมกันทำาให้<br />

เกิดภาพที่คลุมเครือ<br />

06<br />

หลังคาเป็นโครงสร้าง<br />

surface structure เมื่อ<br />

ดูใกล้เข้าไป จะเห็นความ<br />

ค่อยกลายรูปทรง<br />

07<br />

แปลนวิหาร<br />

6


AT THE HEART OF IT<br />

121<br />

The steel framework is used with the details<br />

of the wooden columns and roof frame, with<br />

cement boards cladding the inside. The imported<br />

pine wood panels are used as the finishing<br />

material of the exterior, installed to align with<br />

the vertical arrangement of the columns.<br />

Building materials were once varied by the conditions<br />

and regions in which they were used. The<br />

dawn of the modern world, however, has resulted<br />

in mass innovation, production, and transportation<br />

of construction materials throughout the world.<br />

As technology and logistics continue to advance,<br />

Thailand has seen an influx of a diverse range of<br />

materials from overseas, such as imported pine<br />

wood from the northern hemisphere from sustainably<br />

operated plantations that ensure a well-balanced<br />

production and harvest.<br />

While the world has grown accustomed to modern,<br />

industrial materials such as steel and concrete<br />

being used as the shells of architectural structures,<br />

wood retains incomparable characteristics, from<br />

its warm touch that exudes a close connection<br />

with humans to its superior flexibility compared to<br />

industrial materials, and thus remains at the top of<br />

the list of preferred alternatives when it comes to<br />

building construction.<br />

The “Glass Hall,” sitting in the Khao Yai region<br />

of the Pak Chong district of Thailand’s Nakhon<br />

Ratchasima province, is part of the meditation<br />

center. The structure stands out with its minimalistic<br />

modern architecture combined with traditional<br />

elements, such as the rows of columns that resemble<br />

the “Nang Rieng columns” commonly found in<br />

religious architecture. Duangrit Bunnag Architect<br />

Company Limited, the assigned architecture<br />

team, designed the layout to optimize the natural<br />

landscape of the site, where the foothills of the<br />

mountains converge.<br />

7


122<br />

theme / review<br />

08<br />

แบบขยาย wall section<br />

The main hall is strategically positioned to create<br />

a clear focal axis that enhances the presence of<br />

the architectural structures. This central axis, which<br />

is also the area where the service buildings, such<br />

as the open-plan cafeteria and the library building,<br />

are located, dividing the structures into two wings<br />

and creating the centralized layout. A shallow pool<br />

adds to the scenery on the slope leading up to the<br />

main hall, making its imposing form more delicate<br />

with the way it is mirrored on the water’s surface.<br />

To the west, a cluster of ten lodging structures are<br />

built around the pool, which serves as a water basin<br />

during the rainy season and also functions as a<br />

container for water to be used.<br />

The design of the main hall incorporates open-plan<br />

features and partial walls that separate the interior<br />

space from the outside, drawing inspiration from<br />

the vernacular elements found in religious buildings<br />

in the northeastern and northern regions. The design<br />

team’s research looked into the components of<br />

“sim” or “sima”, at Pathum Kongkha Temple in Pak<br />

Thong Chai district, Nakhon Ratchasima province.<br />

The term ‘sim’ means a monastic boundary or main<br />

building in temples in northeastern provinces. It is<br />

equivalent to the Lao-rooted term “Ubosot,” used<br />

predominantly in Thailand’s central region to refer<br />

to a temple’s ordination hall. Nevertheless, a sim<br />

is generally smaller in size and proportion. This is<br />

partly due to the limited access to resources of<br />

the temples in remote rural areas, which causes<br />

ordination halls and decorative elements to be<br />

smaller than or deviate from the standard even<br />

though they are deemed acceptable.<br />

8<br />

WALL SECTION 1 WALL SECTION 2


TWO IN ONE<br />

123<br />

09<br />

มุมมองจากภายนอก<br />

สู่ภายในวิหาร ความ<br />

เชื่อมโยงภายนอกและ<br />

ในคลุมเครือเกิดจาก<br />

การวางเสา<br />

9


124<br />

theme / review<br />

“Buddhism is all about practice. I approached the building’s<br />

architecture with components that reflected Buddhism and<br />

its real essences but were not delivered in a symbolic way.<br />

Balance and nature are at the heart of the design: elements<br />

of wood and stone, closure and opening, inside and outside.<br />

That’s my take on it,”<br />

10<br />

ภาพภายในส่วนอาคาร<br />

บริวาร<br />

11<br />

มุมมองจากลานด้านหน้า<br />

วิหาร<br />

Unlike most temples in the northeastern region<br />

that have Lao influences, the ‘sim’ at Pathum Kong<br />

kha Temple is a unique blend of artistic elements<br />

from the late Ayutthaya era and early Rattanakosin<br />

Era. Nakhon Ratchasima served as a frontier town<br />

between Bangkok and Laos when Ayutthaya was<br />

the capital of Siam. The temple architecture in<br />

Nakhon Ratchasima is primarily influenced by the<br />

architectural characteristics of religious architecture<br />

in the central region, with the most notable<br />

difference being its smaller size. The meditation<br />

center’s ‘sim’ sees more enclosure of walls, in<br />

contrast to the comparatively smaller and more<br />

open ‘Sim Thong.’ The building’s structure consists<br />

of a series of hexagonal columns, with concrete<br />

walls wrapping around the exterior. This design<br />

choice emphasizes the building’s narrow side with<br />

a steep roof structure, making it the focal point of<br />

the entire building.<br />

The design team looked at Lai Hin Luang Temple<br />

in Lampang Province as a case study of northern<br />

Thai architecture. The mostly wallless structure<br />

of the building is especially visible from the entry,<br />

which is on the narrow side of the building. The<br />

interior is separated into three portions due to the<br />

presence of four stand-alone pilasters seen from<br />

the building’s narrow side. The paired columns further<br />

into the structure emphasize the empty space<br />

at the end of the hall, which houses the principal<br />

Buddha sculpture. The wooden roof structure is<br />

angled at 45 degrees, while the semi-outdoor<br />

structure is partially wallless, similar to the sim of<br />

Pathum Kongkha Temple. Dense walls were built<br />

on both sides of the building, at the farthest end of<br />

the building where the main Buddha sculpture is<br />

located, to keep the most sacred ground of the hall<br />

dimly lit. Meanwhile, the ordination hall and roof<br />

structure share certain relevant characteristics.<br />

The Glass Hall of this Meditation Center is designed<br />

to have its narrow side facing east-west, evoking<br />

the historic moment of the Great Buddha’s enlightenment.<br />

To enter the hall from the front, one must<br />

walk past the lotus ponds. There’s a sense of obscurity<br />

to how the empty space inside is experienced,<br />

despite the transparency that the name ‘Glass Hall’<br />

implies. The alternate placement of the columns on<br />

the outer perimeter, as well as how the columns on<br />

the inner row are purposefully placed in between<br />

their spans, obfuscate spatial perception, making<br />

the space confusing and difficult to define.<br />

Upon entering the hall, one may perceive the magnitude<br />

and proportion that define the hallowed<br />

ground’s boundaries, especially with the presence of<br />

huge wooden columns that emphasize the vertical<br />

and long sequence. The general architectural feature<br />

differs from the components found in the case<br />

studies. While maintaining the same grammatical<br />

order, the new arrangement adds a fresh architectural<br />

accent. The purlins are accentuated, making<br />

them more visible than those in Pathum Kongkha<br />

Temple’s main hall, resulting in a more pronounced<br />

presence of the entrance, which directly affects<br />

one’s experience of the main Buddha sculpture<br />

while approaching the temple. The columns veil the<br />

interiors while keeping them visually and physically<br />

accessible to the outside surroundings with the<br />

help of the alternating positioning of the outer<br />

row of pillars. Each section of each column span<br />

demonstrates an interesting development of vernacular<br />

elements to fit a more modern concept.


AT THE HEART OF IT<br />

125<br />

10<br />

11


13<br />

126<br />

theme / review


AT THE HEART OF IT<br />

127<br />

12<br />

มุมมองอาคารบริวารผ่าน<br />

ลานด้านหน้าวิหาร<br />

13<br />

ภาพจากมุมมองแบบสูง<br />

เห็นการเชื่อมต่อของทุก<br />

อาคารด้วายลานด้านหน้า<br />

12<br />

The steel framework is used with the details of<br />

the wooden columns and roof frame, with cement<br />

boards cladding the inside. The 1” x 6” imported<br />

pine wood panels are used as the finishing material<br />

of the exterior, installed to align with the vertical<br />

arrangement of the columns. Steel crossbeams and<br />

stud beams are also clad with wood, allowing their<br />

horizontal planes to coincide with the roof structure’s<br />

framework. Being a semi-outdoor and semi-open<br />

building comes with rain-related problems. To<br />

improve the floor’s drainage system, the design<br />

raises the floor, thereby leaving a space between<br />

the floor and the ground. The woodwork details<br />

are extremely reactive to dampness, which can<br />

cause early damage if left to accumulate. As a<br />

result, the wooden components are shielded from<br />

direct contact with the soil or water. Meanwhile, the<br />

design avoids positioning the joints in areas where<br />

the wood will come into direct contact with water or<br />

the ground, allowing the wood to “breathe” better.<br />

“For me, Buddhism is all about practice. I approached<br />

the building’s architecture with com-ponents that<br />

reflected Buddhism and its real essences but were<br />

not delivered in a symbolic way. Balance and nature,<br />

I believe, are at the heart of the design: elements of<br />

wood and stone, closure and opening, inside and<br />

outside. That’s my take on it,” said Duangrit Bunnag,<br />

the project’s architect and Chief Executive Officer<br />

of Duangrit Bunnag Architect Company Limited, on<br />

the design concept.<br />

สาโรช พระวงค์<br />

เป็ นสถาปนิก นักเขียน<br />

สนใจในสถาปั ตยกรรม<br />

สมัยใหม่ถึงสถาปั ตยกรรม<br />

ร่วมสมัย ปั จจุบันเป็ น<br />

อาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี<br />

Xaroj Phrawong<br />

Architect and writer<br />

who is interested in<br />

modern an contem<br />

porary architecture<br />

now he is a lecturer<br />

at Faculty of Architecture,<br />

RMUTT.<br />

dbalp.com<br />

Project: The Glass Temple Client: True Corporation Location: Nong Nam Deang, Pak Chong District,<br />

Nakhon Ratchasima, Thailand Function: Meditation Center Architecture Design Company Architect<br />

Firm: Duangrit Bunnag Architect Limited Chief Architect: Duangrit Bunnag Design team: (participant<br />

employee): Kanitha Boonyatasaneekul Supervision: Paiboon Meepanyaprasert Structural Engineer:<br />

EMS Consultants Engineer: (Water and Electricity): EMS Consultants Interior: Prinponn Boonkham<br />

Landscape: Ritdhawat Chalermviriya, Songpol Sukto Construction Company Architecture: Wiphanai,<br />

Ritta Site Area: 160,000 m 2 Gross Floor Area: 8,445 m 2 Design Year: 2011-2013 Completion Year:<br />

2012-2020


128<br />

materials<br />

Materials,<br />

Tools,<br />

Techniques<br />

Fundamental<br />

Factors in the Design<br />

Process and Wood<br />

Architectural Work<br />

Text: Suntan Viengsima / Sansuda Jiamjit<br />

Architectural Woodworking Design Research Center Faculty of Architecture,<br />

Rajamangala University of Technology Thanyaburi


MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

129<br />

Materials, tools, and techniques are<br />

fundamental factors related to one<br />

another in designing and constructing<br />

wooden architecture, both in traditional<br />

and contemporary contexts. The appropriate<br />

wood material for the tool has a<br />

direct effect on the quality of the work;<br />

the appropriate tool for the method of<br />

work demonstrates the expertise of the<br />

operator; and the appropriate approach<br />

to the material will be effective for the<br />

task. Consequently, through trial and<br />

error, quality, skill, and efficiency became<br />

“wisdom” in the creative process<br />

of wooden architecture. This article<br />

discusses wood material as one of<br />

the common factors in designing and<br />

working with wooden architecture, as<br />

well as the fundamentals of examining<br />

the concept of “materials, tools, and<br />

methods” from a holistic standpoint.<br />

วััสดุุ เครื่่องมืือ และ วิิธีีการื่ เป็็ นปัั จจัยพื้้นฐานซึ่่ งมีีควัามส ัมืพื้ันธ์์ต่่อกันใน<br />

กรื่ะบวันการื่ออกแบบและการื่ทำำางานสถาปัั ต่ยกรื่รื่มืไม้้ทำังงานสถาปัั ต่ยกรื่รื่มื<br />

แบบพื้้นถินนิยมืและสมััยนิยมืในบรื่ิบทำป็ั จจุบัน วััสดุุไม้้ทำีเหมืาะสมก ับเครื่่องมืือ<br />

ส่งผลโดุยต่รื่งต่่อคุณภาพื้งาน เครื่่องมืือทำีเหมืาะสมก ับวิิธีีการื่ทำำางานแสดุงให้<br />

เห็นทัักษะควัามืสามืารื่ถของผ้ป็ฏิิบัติิงาน วิิธีีการื่ทำีเหมืาะสมก ับวััสดุุย่อมืเกิดุ<br />

ป็รื่ะสิทำธีิภาพื้ในการื่ทำำางาน ซึ่่ งทำังคุณภาพื้ ทัักษะ และ ป็รื่ะสิทำธีิภาพื้ หลอมืรื่วัมื<br />

กันผ่านการื่ลองผิดุลองถ้กจนคลีคลายเกิดุเป็็ น “ภ้มืิปัั ญญา” ในกรื่ะบวันการื่<br />

สรื่้างสรื่รื่ค์งานสถาปัั ต่ยกรื่รื่มืไม้้ บทำควัามืนีจะได้้กล่าวถ ึงเพื้ียงวััสดุุไม้้หน่ งใน<br />

ปัั จจัยรื่่วัมืในกรื่ะบวันการื่ออกแบบและการื่ทำำางานสถาปัั ต่ยกรื่รื่มืไม้้ ในเบ่องต้้น<br />

ของการื่ศึึกษาแนวัควัามค ิดุ “วััสดุุ เครื่่องมืือ วิิธีีการื่” โดุยองค์รื่วัมื


130<br />

materials<br />

การเสื่อมสภาพของวัสดุไม้เนื่องจากศัตรูทำาลายไม้ประเภทต่างๆ เช่น<br />

รา ปลวก มอด แมลงกัดเจาะอื่นๆ, การเปลี่ยนแปลงทางขนาดและ<br />

รูปทรงของวัสดุไม้เนื่องจากสภาวะอากาศและสภาพแวดล้อม, ต้นทุน<br />

ค่าวัสดุไม้เพื่อการก่อสร้าง ฯลฯ เป็นประเด็นหลักซึ่งถูกตั้งคำาถามใน<br />

การทำางานสถาปัตยกรรมไม้* หรือสถาปัตยกรรมประกอบไม้** เสมอ<br />

(คำานิยามของผู้เขียน *สถาปัตยกรรมไม้ หมายถึง สถาปัตยกรรมซึ่ง<br />

ใช้ไม้เป็นวัสดุหลักสำาหรับองค์ประกอบทางโครงสร้างและองค์ประกอบ<br />

อื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ **สถาปัตยกรรมประกอบไม้ หมายถึงสถาปัตยกรรม<br />

ซึ่งใช้วัสดุอื่นเป็นวัสดุหลักสำ าหรับองค์ประกอบทางโครงสร้างเป็นส่วนใหญ่<br />

โดยใช้ไม้เป็นวัสดุเพื่อการประกอบโครงสร้างและ/หรือเพื่อองค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมและการตกแต่งเป็นส่วนใหญ่) ความเข้าใจในธรรมชาติ<br />

ของวัสดุไม้สามารถใช้อธิบายคุณลักษณะของวัสดุไม้ซึ่งนำาไปสู่การ<br />

คาดการณ์สันนิษฐานปัจจัยเสี่ยงในการเสื่อมสภาพของวัสดุไม้เพื่อการ<br />

พิจารณาออกแบบและวางแผนการก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมด้วยวัสดุ<br />

ไม้ร่วมกับการใช้คุณสมบัติของวัสดุไม้ด้านต่างๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />

คุณลักษณะทางกายภาพของไม้เป็นสิ่งแรกที่ควรทำาความเข้าใจใน<br />

เบื้องต้น ส่วนประกอบหลักของวัสดุไม้ ประกอบด้วย A ใจไม้1 หรือไส้ไม้<br />

B เนื้อไม้2 C กระพี้3 เรียงลำาดับตามการเจริญเติบโต โดยใจไม้หรือไส้ไม้<br />

เป็นส่วนประกอบซึ่งเกิดขึ้นก่อนที่จะขยายการเจริญเติบโตขึ้นในรอบ<br />

ของการเจริญเติบโตตามฤดูกาลปรากฏให้เห็นเป็นชั้นวงปี 4 ที่หน้าตัด<br />

ขวางของลำาต้น 5 อาจกล่าวได้ว่าใจไม้หรือไส้ไม้นั้นเสมือนศูนย์กลางการ<br />

เจริญเติบโตซึ่งนำาไปสู่ความเข้าใจการปรากฏระยะห่างของชั้นวงปีแต่ละ<br />

วงที่ไม่เท่ากันแปรผันตามปัจจัยในการเจริญเติบโตในช่วงเวลาต่างกัน<br />

หรือ ระยะห่างของชั้นวงปีเดียวกันในแต่ละด้านที่ไม่เท่ากันช่วยให้<br />

จินตนาการรูปทรงของลำาต้นได้โดยสังเขป เป็นต้น ใจไม้หรือไส้ไม้จัด<br />

เป็นตำาหนิ6 ประเภทหนึ่งของวัสดุไม้ซึ่งมักเกิดการแตกร้าวเป็นโพรง<br />

มากน้อยต่างกันดังนั้นการใช้งานวัสดุไม้อมไส้ (ไม้แปรรูปซึ่งมีส่วนของ<br />

ใจไม้หรือไส้ไม้ปรากฏบนหน้าตัดขวาง) จึงควรพิจารณาอย่างรอบคอบ<br />

เนื่องจากอาจเกิดการแตกร้าวเพิ่มเติมตามแนวไส้ไม้ตลอดความยาว,<br />

การเสื่อมสภาพจากสาเหตุของความชื้นและแมลงกัดเจาะ 7 ในร่องโพรง<br />

ไส้ไม้นั้น, คุณสมบัติเชิงกลที่ลดลงเนื่องจากการแตกร้าวและโพรงไส้ไม้<br />

ฯลฯ ทั้งนี้ขนาดและรูปทรงของลำาต้นไม้ก่อนการแปรรูปตามธรรมชาติ<br />

แตกต่างจากรูปทรงเรขาคณิตที่คาดเดาขนาดและรูปทรงที่ชัดเจนได้<br />

ใจไม้หรือไส้ไม้ซึ่งเสมือนศูนย์กลางการเจริญเติบโตจึงอาจคดโค้งแปรผัน<br />

ตามรูปทรงของลำาต้นด้วยโดยวัสดุไม้แปรรูปสามารถสันนิษฐานแนว<br />

ของไส้ไม้ได้จากการพิจารณาลักษณะของเสี้ยน 9 ซึ่งปรากฏ<br />

When working in wood architecture* or wood composite<br />

architecture**, the most frequently questioned issues include<br />

the following: deterioration of wood materials due to various<br />

types of wood-damaging pests such as mold, termites, weevils,<br />

and other insects; size and shape changes of wood materials<br />

due to weather and environment; cost of wood materials for<br />

construction; etc. The author defines timber architecture as<br />

architecture in which wood is the primary structural and most<br />

other elemental material. Wood composite architecture<br />

employs other materials for structural elements, while wood is<br />

used for structural assembly and the majority of architectural<br />

and decorative elements. Understanding the character of wood<br />

materials would aid in describing their properties, leading<br />

to the prediction and anticipation of risk factors for wood<br />

deterioration. It must be considered when designing and<br />

planning architectural construction with wood materials, along<br />

with maximizing the use of various wood material properties.<br />

The physical properties of wood are among the initial concepts<br />

to comprehend. A. Pith, B. Heartwood, and C. Sapwood,<br />

arranged according to growth, are the primary components<br />

of the wood material During the periodic growth cycle, the pith<br />

is the component that forms before the growth cycle. In the<br />

cross-section of a tree’s trunk, it manifests as layers termed<br />

annual rings. The pith of the wood or the wood core is similar<br />

to a growth center, which leads to an understanding of the<br />

appearance of the unequal distance between each ring layer,<br />

which varies according to growth factors at different times, or<br />

the unequal spacing of the same ring on each side, which<br />

enables one to approximate the shape of the trunk. The pith<br />

of the wood is one of the defects in wood materials that<br />

frequently fractures into varying degrees of hollows. The use<br />

of veneer materials (timber with the pith that is visible in the<br />

cross-section) should therefore be carefully considered, as<br />

further cracking may occur along its entire length or cause<br />

deterioration or damage due to moisture and insect borer in<br />

the pith hole, or a reduction in strength and physical properties<br />

due to cracking and a hole or cavity in the pith, etc. Before<br />

processing, the dimensions and shape of the original tree trunk<br />

may differ from its predicted geometric shape. Therefore, the<br />

pith, which resembles a growth center, may be curved and<br />

differ according to the shape of the trunk. In processed wood<br />

materials, the orientation of the pith can be inferred from the<br />

appearance of the grain<br />

Photo Reference<br />

1-2. Suntan Viengsima / Sansuda Jiamjit


MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

131<br />

01<br />

หน้าตัดแสดง<br />

ส่วนประกอบของไม้<br />

02<br />

ความเสียหายของ<br />

องค์ประกอบทาง<br />

โครงสร้างเนื่องจากไส้ไม้8<br />

1<br />

2


132<br />

materials<br />

03<br />

ไม้แปรรูปอมไส้<br />

04<br />

ลักษณะของเสี้ยนไม้เมื่อผ่า<br />

เปิดปีกไม้สามารถช่วยใน<br />

การสันนิษฐานแนวของไส้<br />

ไม้ได้ตามทิศทางของยอด<br />

ภูเขาของลายเสี้ยนแบบ<br />

ลายภูเขา Cathedral grain<br />

3<br />

4<br />

Photo Reference<br />

3-4. Suntan Viengsima / Sansuda Jiamjit


MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

133<br />

เนื้อไม้เป็นส่วนซึ่งเหมาะสมสำาหรับการใช้งานมากที่สุด เนื้อไม้ที่ดีใน<br />

อุดมคติควรปราศจากตาไม้10 ลักษณะที่อาจแตกหรือหลุดซึ่งในทาง<br />

วิศวกรรมโครงสร้างมีผลโดยตรงต่อคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุไม้แปรรูป<br />

ในทางสถาปัตยกรรมย่อมมีผลต่อความทนทานและความงามอย่าง<br />

ปฏิเสธไม่ได้ นอกจากนั้นในการทำางานตาไม้ที่แม้จะไม่ใช่ตาแตกหรือ<br />

หลุดอาจเป็นอุปสรรคต่อการทำางานบางประเภทซึ่งส่งผลต่อคุณภาพ<br />

ของผลงาน ตาไม้ที่ปรากฏนั้นเป็นบริเวณกิ่งของต้น ไม้แปรรูปจากต้น<br />

ซึ่งมีอายุก่อนตัดโค่นมากและมีขนาดความโตสูงนั้นมีทางเลือกในการ<br />

แปรรูปเลี่ยงส่วนใกล้กระพี้และเปลือกได้มากกว่าเพื่อให้ปรากฏตำาหนิ<br />

ประเภทตาไม้น้อยกว่าหรือมีลักษณะตาไม้ที่ไม่เป็นตำาหนิที่อาจเกิด<br />

ความเสียหายอย่างมีนัยสำาคัญ(ขนาดความโตของไม้ตัดโค่น คือ ขนาด<br />

เส้นรอบวงของลำาต้นบริเวณกึ่งกลางของลำาต้นไม้ตัดโค่นนั้นโดยอาจทด<br />

ส่วนเปลือกและกระพี้) นอกเหนือจากตาไม้ประเภทตาแตกหรือตาหลุด<br />

แล้วยังมีลักษณะทางกายภาพประเภทอื่นๆบนเนื้อไม้ที่เป็นตำาหนิ อาทิ<br />

รูมอดและร่องรอยการทำาลายเนื้อไม้จากแมลงกัดเจาะประเภทต่างๆ,<br />

การเสื่อมสภาพจากรา เช่น ราผุ ราผิว หรือ ราเสียสี, เนื้อไม้แตกร้าว<br />

เนื่องจากการแลกเปลี่ยนความชื้นที่บริเวณปลายไม้ End check หรือที่<br />

ผิว Surface check เป็นต้น<br />

กระพี้เป็นส่วนประกอบของไม้ที่ยังมีชีวิตในขณะที่ตัดโค่น ประกอบด้วย<br />

ท่อลำาเลียงน้ำาและอาหารซึ่งยังทำางานอยู่เพื่อการเจริญเติบโตของต้น<br />

กระพี้มีลักษณะอ่อนนุ่มและเป็นแหล่งอาหาร/เจริญเติบโต/เจริญพันธุ์<br />

ที่เหมาะสมของศัตรูทำาลายไม้จึงพบว่าส่วนกระพี้เป็นบริเวณที่ถูกทำาลาย<br />

โดยศัตรูทำาลายไม้มากแม้แต่ส่วนกระพี้ของไม้สักซึ่งกล่าวกันว่าทนทาน<br />

ต่อการทำาลายโดยปลวกและแมลงกัดเจาะก็ตาม นอกเหนือจากการ<br />

ทำาลายโดยศัตรูทำาลายไม้แล้วความหนาแน่นที่ต่ำากว่าบริเวณเนื้อไม้<br />

ทำาให้มีผลต่อการทำางานตกแต่งผิวในงานสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง<br />

รวมทั้งส่วนกระพี้ยังพร่องคุณสมบัติเชิงกลในเชิงโครงสร้างเนื่องจาก<br />

อายุ อาจกล่าวได้ว่านอกจากข้อจำากัดทางคุณสมบัติทางกายภาพแล้ว<br />

ยังมีข้อจำากัดด้านคุณสมบัติเชิงกลอีกด้วยซึ่งหากพิจารณารายการ<br />

ประกอบแบบและข้อกำาหนดทั่วไปในการก่อสร้าง General specification<br />

โดยทั่วไปจะพบว่าระบุว่ากระพี้เป็นส่วนที่เป็นตำาหนิและไม่อนุญาตให้<br />

ใช้สำาหรับองค์ประกอบทางโครงสร้าง<br />

ข้อสังเกตสำาคัญอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับวัสดุไม้ คือ วัสดุไม้ควรต้อง<br />

ได้รับการอบ 11 ก่อนนำามาใช้งานหรือไม่ ซึ่งควรจะทำาความเข้าใจกัน<br />

ก่อนว่า “เหตุใดจึงต้องอบไม้” ไม้เมื่อตัดโค่นแล้วจะคายน้ำาออกจน<br />

สมดุลกับความชื้นในสภาพแวดล้อมของไม้นั้น กระบวนการคายน้ำาจะ<br />

เริ่มต้นจากน้ำา Free water ซึ่งอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ Cell cavity<br />

ก่อน ในขั้นตอนนี้น้ำาหนักของไม้จะลดลงแต่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง<br />

ทางขนาด 12 และรูปทรง 13 (การเปลี่ยนแปลงทางรูปทรงเกิดจากความ<br />

ไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลงทางขนาดในระนาบรัศมี<strong>14</strong> กับระนาบผิว<br />

สัมผัส 15 ) จนเมื่อถึงจุดอิ่มตัว FSP-Fiber saturation point (หมายถึง<br />

จุดอิ่มตัวของน้ำาในเซลล์) น้ำา Free water ซึ่งอยู่ในช่องว่างระหว่าง<br />

เซลล์16 ถูกคายออกจนหมดไป น้ำา Bound water ซึ่งอิ่มอยู่ในเซลล์จึง<br />

เริ่มถูกคายออก ซึ่งการคายออกของน้ำาที่อิ่มตัวอยู่ในเซลล์ทำาให้เซลล์<br />

Heartwood is the most useful portion of a tree. The optimal<br />

heartwood should be devoid of knots, which may fracture<br />

or fall off. This may directly affect the mechanical properties<br />

of the lumber material in structural engineering. It has an<br />

undeniable impact on the durability and attractiveness of<br />

buildings. Moreover, working with these knots, even if they<br />

are not broken or falling off, may be a hindrance for certain<br />

types of work, thereby influencing the quality of the work.<br />

The tree’s tendrils are its knots. Lumber from aged pre-falling<br />

trees and of larger size has more processing options by<br />

avoiding the near sapwood and bark, resulting in fewer knot<br />

defects or non-knot appearances, or the knot with no defect<br />

that may cause significant damage (the circumference of<br />

the trunk in the middle of the felled tree trunk is the size of<br />

the felled tree). Other physical characteristics of defective<br />

heartwood include moth holes and traces of heartwood<br />

damage caused by various types of insect borers; fungal<br />

deterioration such as rot, mold, or discoloration; heartwood<br />

cracks caused by moisture exchange at the end check or<br />

surface check, etc.<br />

Sapwood is the vegetative portion of the tree when it is cut<br />

down. It contains xylems, the vessels or conduits that transport<br />

water and nutrients, which are still active for plant development.<br />

Sapwood is soft and an ideal sustenance, growth, and<br />

reproduction source for wood-destroying organisms. Even<br />

the sapwood of teak, which is reputed to be resistant to<br />

wood pests and insect borers, has been found to be the<br />

most susceptible to infestation by wood pests. In addition<br />

to being harmed by insects, the wood’s lower density effects<br />

the surface finish in architecture and decoration, and the<br />

sapwood loses its mechanical properties as it ages. In addition<br />

to these mechanical property restrictions, there are additional<br />

mechanical property restrictions that, according to the general<br />

construction requirements and specifications, identify sapwood<br />

as a defect component and prohibit its use in structural<br />

applications.<br />

Before using wood materials, it is essential to determine<br />

whether or not they must be cured. It must first be understood<br />

why drying the wood is necessary. When wood is cut<br />

down, it dehydrates until its moisture content matches that<br />

of its surroundings. The process of dehydration begins with<br />

unrestricted water in the cell cavity. At this stage, the weight<br />

of the wood decreases, but there is no change in size or shape<br />

(the shape change is caused by the dimensional imbalance<br />

changes in the radial plane and the tangent plane) until the<br />

wood reaches the FSP (fiber saturation point), or the point of<br />

intracellular water saturation. The intercellular space’s free<br />

water is discharged. Saturated, bonded water in the cell begins<br />

to be released until it is gone. In addition to the change in<br />

weight, the evaporation of the saturated water within the cell<br />

causes the cell to begin to change in size and shape. The


134<br />

materials<br />

หดลีบลงตามลำาดับ จึงทำาให้เริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลงทางขนาดและ<br />

รูปทรงขึ้นนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงของน้ำาหนัก กระบวนการ<br />

คายน้ำา/แลกเปลี่ยนน้ำาและความชื้นกับสภาพแวดล้อมของไม้ยังคง<br />

ดำาเนินต่อไปจนถึงจุดที่สมดุลกับ EMC-Equilibrium moisture content<br />

ค่าความชื้นสมดุลซึ่งแปรผันกับอุณหภูมิ T-Temperature และความชื้น<br />

สัมพัทธ์ในอากาศ RH-Relative humidity ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่<br />

ตลอดเวลาซึ่งหมายความว่าไม้จะมีการแลกเปลี่ยนความชื้นในเนื้อไม้<br />

MC-Moisture content แปรผันตาม EMC ค่าความชื้นสมดุลนี้ตลอด<br />

เวลา ซึ่งแม้ว่า EMC ค่าความชื้นสมดุลนี้จะเปลี่ยนแปลงแปรผันตาม<br />

อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศบริเวณนั้นแล้วยังมีปัจจัยแวดล้อม<br />

ด้านสภาพแวดล้อมจำาเพาะร่วมซึ่งมีผลร่วมด้วยในการแลกเปลี่ยน<br />

ความชื้นของไม้กับสภาพแวดล้อม อาทิ ความเร็วลม แสงธรรมชาติ<br />

การทาสารเคลือบผิว ฯลฯ<br />

ปัญหาที่แท้จริงของน้ำาและความชื้นที่ส่งผลต่อวัสดุไม้ไม่ใช่การคายน้ำา<br />

หรือแลกเปลี่ยนความชื้นกับสภาพแวดล้อมหากกระบวนการนั้นอยู่ใน<br />

เงื่อนไขที่เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น บริเวณหน้าตัดขวางของไม้ซึ่งเป็น<br />

ปลายเปิดของท่อลำาเลียงน้ำา/อาหารและช่องว่างระหว่างเซลล์จะคายน้ำา<br />

ได้ดีมากกว่าบริเวณผิว ดังนั้นไม้ขนาดหน้าตัดใหญ่และมีความยาวใน<br />

ระยะหนึ่ง เมื่อมีการคายน้ำาบริเวณหน้าตัดรวดเร็ว ทำาให้ค่าความชื้น<br />

บริเวณนั้นลดลง ขณะที่ส่วนอื่นมีค่าความชื้นสูงกว่ามาก การเปลี่ยนแปลง<br />

ทางขนาดของพื้นที่ซึ่งมีค่าความชื้นแตกต่างกันสูงที่ไม่สมดุลกันจึงทำา<br />

ให้เกิดการแตกร้าวที่ปลายไม้ End check ทั้งนี้หากทำาการทาสารเคลือบ<br />

ซึ่ง block การคายน้ำาหรือแลกเปลี่ยนความชื้นบริเวณปลายไม้โดย<br />

สมบูรณ์ ความชื้นในเนื้อไม้ก็จะถูกผลักดันออกทางผิวทำาให้เกิดการ<br />

แตกร้าวบริเวณผิว Surface check เกิดเป็นปัญหาใหม่ขึ้น เป็นต้น จึง<br />

เป็นที่เข้าใจได้ชัดเจนว่า การอบไม้เป็นหนึ่งในกรรมวิธีเตรียมวัสดุไม้<br />

ให้มีความชื้นลดลง(แห้ง) ภายใต้สภาวะควบคุมเพื่อแก้ป้องกันความ<br />

เสียหายจากกระบวนการคายน้ำา/แลกเปลี่ยนความชื้นตามธรรมชาติ<br />

ยังมีกรรมวิธีอื่นในการทำาให้ความชื้นในเนื้อไม้ลดลงภายใต้สภาวะ<br />

ควบคุมนอกเหนือจากการอบไม้ในตู้ไอร้อน 17 เช่น การผึ่งลมภายใต้<br />

ร่มเงา 18 การใช้กระแสลมจากเครื่องกลไหลผ่าน เป็นต้น ดังนั้นจึงคลี่คลาย<br />

ข้อสังเกตดังกล่าวได้ว่า “ไม้ควรมีความชื้นที่เหมาะสมจากการเตรียม<br />

ไม้ก่อนนำามาใช้งานไม่ว่าจะโดยกรรมวิธีใดก็ตามในกระบวนการนั้น”<br />

(กรรมวิธีการทำาให้ความชื้นในเนื้อไม้ลดลงนั้นจำาเป็นต้องพิจารณาปัจจัย<br />

พื้นฐานของวัสดุไม้ร่วมด้วยเสมอ อาทิ ขนาดหน้าตัดและความยาวไม้<br />

เพื่อป้องกันความเสียหายในระหว่างกระบวนการนั้น) เมื่อเข้าใจเช่นนี้<br />

ก็จะนำามาสู่ความเข้าใจในลำาดับต่อไปว่าเมื่อเตรียมไม้โดยลดค่าความชื้น<br />

ภายใต้สภาวะควบคุมได้จนใกล้เคียงค่าความชื้นสมดุล EMC ในสภาพ-<br />

แวดล้อมของสถานที่ทำางานต่างกันแล้วจึงปล่อยให้ไม้แลกเปลี่ยนความ<br />

ชื้นตามธรรมชาติในสภาพแวดล้อมนั้นๆ ในระยะเวลาหนึ่งก่อนนำามา<br />

ใช้งานก็จะเกิดปัญหาในการเปลี่ยนแปลงทางขนาดและรูปทรงได้มาก<br />

การไสปรับขนาด การติดตั้ง การตกแต่งผิว และการทำางานอื่นๆ ภาย<br />

หลังจากกระบวนการนี้ย่อมได้ประสิทธิภาพและคุณภาพของงานสูงขึ้น<br />

5<br />

Photo Reference<br />

5-6. Suntan Viengsima / Sansuda Jiamjit


MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

135<br />

05-06<br />

แสดงการผุและการทำาลาย<br />

โดยศัตรูทำาลายไม้บริเวณ<br />

เปลือกและกระพี้ของไม้สัก<br />

ขณะที่บริเวณเนื้อไม้ยังคง<br />

สภาพที่ดี<br />

process of transpiration or exchange of water and moisture<br />

with the wood’s surrounding environment continues until<br />

equilibrium with EMC (equilibrium moisture content), which<br />

varies with ambient temperature and relative humidity. This<br />

means that the wood’s moisture content will constantly alter<br />

in accordance with the EMC. This equilibrium moisture content<br />

varies not only with air temperature and relative humidity,<br />

but also with specific environmental factors that influence<br />

the exchange of wood moisture with the environment, such<br />

as wind speed, natural light, application of coatings, etc.<br />

The actual issue with water and moisture affecting wood<br />

materials is not transpiration or exchange of humidity with<br />

the environment, so long as the process is carried out under<br />

optimal conditions. For instance, the cross-sectional area<br />

of wood, which is the open end of the water and nutrientcarrying<br />

vascular and intercellular spaces, can become<br />

more desiccated than the surface area. When there is rapid<br />

dehydration of a large cross-sectional area, the moisture<br />

content of that area decreases, whereas the moisture content<br />

of other parts increases significantly. Unbalanced dimensional<br />

changes in regions with significant humidity differences will<br />

result in fractures known as end checks. But if a coating is<br />

applied that completely obstructs transpiration or moisture<br />

exchange at the end of the wood, the moisture in the wood<br />

will be forced out through the surface, resulting in surface<br />

checks and new issues. Wood drying is recognized as one of<br />

the methods for preparing wood materials to dehumidify (dry)<br />

under controlled conditions in order to prevent injury from<br />

natural transpiration or exchange of humidity processes.<br />

6<br />

In addition to drying in a hot steam cabinet, there are other<br />

methods for reducing moisture in heartwood under controlled<br />

conditions, such as shaded air drying, drying by using air flows<br />

from machinery, etc. Therefore, it can be assumed that the<br />

wood will have an appropriate moisture content after any<br />

pre-treatment in that process, and the process of reducing<br />

the wood’s moisture content must always take into account<br />

the fundamentals of the wood material, such as its size, crosssection,<br />

and length, in order to prevent damage during the<br />

process. It should also be understood that there will be many<br />

problems with size and shape changes when preparing wood<br />

by reducing the moisture under controlled conditions to a level<br />

close to the EMC equilibrium humidity in the environment of<br />

a particular location and then allowing the wood to exchange<br />

natural moisture in that environment for a period of time before<br />

use. The planning, sizing, mounting, and completing operations<br />

that follow this procedure result in improved productivity and<br />

quality of the job.


136<br />

materials<br />

การเปลี่ยนแปลงทางขนาดเกิดขึ้นตามธรรมชาติของวัสดุไม้ โดยไม้<br />

แต่ละสายพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงทางขนาดที่แตกต่างกันจากอัตรา<br />

การหดตัว Shrinkage rate ในด้านรัศมี Radial และ ด้านผิวสัมผัส<br />

Tangential ของวงปี ไม้ทุกสายพันธุ์มีอัตราการหดตัวด้านผิวสัมผัสวงปี<br />

สูงกว่าด้านรัศมีเสมอ ข้อเท็จจริงนี้อาจใช้ประกอบการพิจารณาคัดเลือก<br />

วัสดุไม้แปรรูปและการออกแบบรายละเอียดวิธีการประกอบสร้างเพื่อ<br />

การใช้งานที่เหมาะสมแตกต่างกัน ยกตัวอย่างปัญหาที่พบบ่อยจากการ<br />

หดขยายตัวของวัสดุไม้ในการติดตั้งพื้นไม้ภายนอกอาคารในสภาพที่<br />

เผชิญสภาวะอากาศโดยตรงซึ่งเกิดการบวมเบียดกันของแผ่นพื้นไม้<br />

จนโก่งตัว อาจป้องกันด้วยการพิจารณาเลือกใช้วัสดุไม้สายพันธุ์ซึ่งมี<br />

อัตราการหดขยายตัวต่ำาร่วมกับลักษณะของไม้แปรรูปซึ่งผิวด้านหน้า<br />

กว้างเป็นระนาบรัศมีที่มีอัตราการหดขยายตัวต่ำาจากสมมติฐานที่ว่า<br />

ตัวแปรขนาดความกว้างสูงคูณด้วยค่าคงที่อัตราการหดขยายตัวด้าน<br />

รัศมีต่ำาย่อมได้ผลลัพธ์ที่ต่ำาลง(หมายถึงการขยายตัว) เมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับการใช้วัสดุไม้ซึ่งผิวด้านหน้ากว้างเป็นระนาบผิวสัมผัสซึ่งอัตราการ<br />

หดขยายตัวสูงกว่า (ระนาบรัศมีปรากฏลายเสี้ยนที่ผิวไม้ลักษณะ<br />

ลายเส้น Straight grain ขณะที่ระนาบผิวสัมผัสปรากฏลายเสี้ยนที่<br />

ผิวไม้ลักษณะลายภูเขา Cathedral grain) โดยรายละเอียดการติดตั้ง<br />

อาจใช้วิธีการจับยึดซึ่งยอมให้วัสดุไม้หดขยายตัวในขนาดและทิศทาง<br />

ที่ควบคุมได้ร่วมด้วย<br />

ทั้งนี้นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงทางขนาดของพื้นไม้ภายนอก<br />

ดังตัวอย่างที่กล่าวมานี้ยังมีอุปสรรคเรื่องการเปลี่ยนแปลงรูปทรงและ<br />

ความทนทานร่วมด้วย การเปลี่ยนแปลงทางรูปทรงของวัสดุไม้ซึ่งเกิด<br />

จากสภาพอากาศส่วนหนึ่งผู้เขียนสรุปเบื้องต้นเพื่อความเข้าใจโดยง่าย<br />

คือ ผลที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของการหดขยายตัวด้านรัศมีและ<br />

ผิวสัมผัสของวัสดุไม้นั้นนั้น จากข้อเท็จจริงเรื่องอัตราการหดขยายตัว<br />

ของวัสดุไม้ทำาให้เข้าใจได้ว่ารูปลักษณะของลายเสี้ยนไม้ที่ผิวหน้าตัดซึ่ง<br />

เกิดการจากการแปรรูปไม้ที่แตกต่างกันย่อมทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

ทางรูปทรงแตกต่างกันด้วยและรูปลักษณะของลายเสี้ยนที่ผิวหน้าตัดนี้<br />

สามารถใช้ในการคาดการณ์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรูปทรงของ<br />

วัสดุไม้นั้นนั้นได้โดยสังเขป กล่าวโดยสรุปว่าวัสดุไม้ซึ่งผ่านกระบวนการ<br />

ลดความชื้นภายใต้สภาวะควบคุมที่เหมาะสมใกล้เคียงกับความชื้นสมดุล<br />

ในสภาพแวดล้อมใช้งานจะลดความเสี่ยงจากความเสียหายและเสื่อม-<br />

สภาพเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของความชื้นในวัสดุไม้อย่างฉับพลัน<br />

ตามธรรมชาติ<br />

การจำาแนกจัดกลุ่มวัสดุไม้เนื้อแข็ง ไม้เนื้อปานกลาง และไม้เนื้ออ่อน<br />

ใช้เกณฑ์ในการจำาแนก 2 ประการ คือ ความทนทานตามธรรมชาติ19<br />

และความแข็งแรงในการดัด 20 ที่ค่าความชื้นในเนื้อไม้ 12%MC ซึ่งอาจ<br />

อธิบายสั้นสั้นเข้าใจง่ายด้วยคำาว่า “ทน-ทาน” ในภาษาไทยโดยความ<br />

ทนหมายถึงอายุการใช้งานโดยคุณสมบัติของตัวเอง ความทานหมายถึง<br />

คุณสมบัติการต้านทานรับแรงกระทำา หรือความแข็งแรงของวัสดุไม้นั้น<br />

ในหนังสือไม้เนื้อแข็งของประเทศไทย โดยสำานักวิจัยการจัดการป่าไม้<br />

และผลิตผลป่าไม้ กรมป่าไม้ ระบุว่าไม้เนื้อแข็งมีความแข็งแรงในการดัด<br />

สูงกว่า 1000 กก./ซม.2 และ ความทนทานตามธรรมชาติสูงกว่า 6 ปี,<br />

Dimensional variation and changes in size occur naturally<br />

in wood materials. Each wood species has a different size<br />

variation due to the shrinkage rate in the radial and tangential<br />

directions of the annual ring. All wood species had a higher<br />

annual ring tangential shrinkage rate than the radius one.<br />

This fact may be used to consider the selection of lumber<br />

and the detailed design of the construction methods to fit<br />

different uses. For example, a common problem caused by<br />

the shrinkage of wooden materials when installing wooden<br />

floors outside the building in direct weather conditions<br />

may cause the wooden floor to swell and bend. It can be<br />

prevented by considering the selection of wood species with<br />

a low shrinkage rate in combination with the characteristics<br />

of lumber whose front surface is a radial plane with a low<br />

shrinkage rate, based on the assumption that the high<br />

amplitude variable multiplied by the constant of a low radial<br />

contraction rate would have a lower result of expansion when<br />

compared to using a wooden material whose front surface is<br />

a tangential plane with a higher contraction rate. (The radial<br />

plane shows a straight grain on the wood surface, while the<br />

tangential plane shows the cathedral grain.) The installation<br />

details may use a clamping method that allows the wood<br />

material to shrink or expand in a controlled size and direction.<br />

In addition to the above-mentioned risks of the exterior<br />

wooden floor shrinking and expanding, there are also risks of<br />

deformation and durability. The weather contributes to the<br />

morphological transformations of timber materials. Simply put,<br />

the result of the relationship between radial and tangential<br />

direction shrinkage of wood materials is that, based on the<br />

shrinkage rate of wood materials, the appearance of the grain<br />

pattern on the cross-sectional surface as a result of different<br />

wood processing will also result in different shape changes.<br />

The appearance of the grain pattern on the cross-sectional<br />

surface can be used to predict the deformation properties of<br />

the timber material. It can be concluded that wood materials<br />

dehumidified under optimally controlled conditions near their<br />

operating environment’s equilibrium humidity will reduce the<br />

risk of damage and deterioration caused by abrupt natural<br />

changes in humidity.<br />

The classification of wood materials into solid, medium, and<br />

soft employs two classification criteria: natural durability<br />

and bending strength at a wood moisture content of 12%<br />

MC, which can be quickly and easily explained in terms of<br />

their durability and endurance. Durability refers to a timber<br />

material’s inherent lifetime, whereas endurance refers to its<br />

resistance to force or its strength. According to the Royal<br />

Forest Department of Thailand’s Bureau of Forest Management<br />

Research and Forest Products, hardwood has bending<br />

strength greater than 1000 kg/cm2 and natural durability<br />

greater than 6 years; medium hardwood has bending strength<br />

between 600 and 1000 kg/cm2 and natural durability


MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

137<br />

07<br />

ตัวอย่างการติดตั้งพื้นไม้<br />

ภายนอกซึ่งใช้วิธีการจับ<br />

ยึดโดยยอมให้ไม้ขยาย<br />

ตัวได้ในขนาดและทิศทาง<br />

ควบคุม การจับยึดด้วย<br />

วัสดุจับยึดสลับข้างในแต่ละ<br />

ช่วงตงช่วยให้ไม้สามารถ<br />

ขยายตัวได้เล็กน้อย<br />

08<br />

การขยายตัวบวมเบียดของ<br />

พื้นไม้ เมื่ออัตราการขยาย<br />

ตัวของแผ่นพื้นไม้เกินกว่า<br />

ร่องที่เว้นเผื่อการขยายตัว<br />

ไว้จึงเกิดการเบียดกันจน<br />

โก่งตัว<br />

7<br />

Photo Reference<br />

7-8. Suntan Viengsima / Sansuda Jiamjit 8


138<br />

materials<br />

09-10<br />

ตัวอย่างความเสียหาย<br />

จากศัตรูทำาลายไม้<br />

9<br />

10<br />

Photo Reference<br />

9-10. Suntan Viengsima / Sansuda Jiamjit


MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

139<br />

ไม้เนื้อปานกลางมีความแข็งแรงในการดัดระหว่าง 600-1000 กก./ซม. 2<br />

และความทนทานตามธรรมชาติระหว่าง 2-6 ปี, ไม้เนื้ออ่อนมีความ<br />

แข็งแรงในการดัดต่ำากว่า 600 กก./ซม. 2 และความทนทานตามธรรมชาติ<br />

ต่ำากว่า 2 ปี ค่าความแข็งแรงในการดัดนั้นอธิบายคุณสมบัติ และ<br />

ประสิทธิภาพของวัสดุโดยตัวเองได้ชัดเจนแล้ว ขณะที่ความทนทานตาม<br />

ธรรมชาติที่กล่าวถึงนั้นเป็นการทดลองการจำาลองสภาพตามธรรมชาติ<br />

ในห้องปฏิบัติการเพื่อการเปรียบเทียบคุณสมบัติทางกายภาพและอื่นๆ<br />

ของไม้แต่ละสายพันธุ์ซึ่งในสภาพความเป็นจริงย่อมมีปัจจัยในการ<br />

เสื่อมสภาพของวัสดุไม้ที่แตกต่างกัน ผู้เขียนจำาแนกศัตรูทำาลายไม้ซึ่ง<br />

เป็นปัจจัยในการเสื่อมสภาพของวัสดุไม้ออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ดังนี้<br />

- Biotic agent ศัตรูทำาลายไม้ประเภทสิ่งมีชีวิต อาทิ รา<br />

แมลงกัดเจาะประเภทต่างๆ เช่น ปลวก มอด เป็นต้น<br />

- Non biotic agent ศัตรูทำาลายไม้ประเภทสิ่งไม่มีชีวิต<br />

อาทิ ดิน สภาวะอากาศอันประกอบด้วย แดด ลมอุณหภูมิ<br />

น้ำา และความชื้น เป็นต้น<br />

แนวความคิดในการป้องกันการเสื่อมสภาพของวัสดุไม้เบื้องต้น คือ<br />

การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากปัจจัยการเสื่อมสภาพจากศัตรูทำาลายไม้<br />

ทั้งสองกลุ่มร่วมกับการบำาบัดถนอมรักษาคุณภาพวัสดุไม้ตามสมควร<br />

แก่เงื่อนไขในแต่ละกรณี<br />

สาเหตุที่มีนัยสำาคัญในการเสื่อมสภาพของวัสดุไม้โดยศัตรูทำาลายไม้<br />

ประเภทสิ่งมีชีวิต Biotic agent โดยทั่วไปจำาแนกเป็น 3 ประการหลัก<br />

- เพื่อเป็นอาหาร<br />

- เพื่อเป็นที่อยู่<br />

- เพื่อการเจริญพันธุ์<br />

ศัตรูทำาลายไม้ประเภทสิ่งมีชีวิตบางชนิดสร้างรังเพื่อการอยู่อาศัยและ<br />

เจริญพันธุ์ในดินแต่อาศัยวัสดุไม่เป็นอาหาร เช่น ปลวก บางชนิดทำาลาย<br />

วัสดุไม้เพื่อใช้อาศัยและเจริญพันธุ์ตามฤดูกาลแต่ไม่ใช้ไม้เป็นอาหาร<br />

เช่น แมลงภู่ (พบการเจาะรูสร้างโพรงในวัสดุไม้แห้งแต่ไม่พบในไม้<br />

ที่ยังมีชีวิต) บางชนิดทำาลายวัสดุไม้ทั้ง 3 สาเหตุหลัก เช่น เห็ด รา ฯลฯ<br />

จึงเห็นได้ว่าศัตรูทำาลายไม้ประเภทสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดล้วนมีพฤติกรรม<br />

การทำาลายวัสดุไม้ที่แตกต่างกันดังนั้นการป้องกันสาเหตุการเสื่อมสภาพ<br />

ย่อมต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงจากชนิดของศัตรูทำาลายไม้ ลักษณะ<br />

พฤติกรรมของการทำาลายในแต่ละกรณีแตกต่างกันไป ยกตัวอย่างการ<br />

ป้องกันปลวกจากการทำาลายวัสดุไม้เพื่อเป็นอาหารโดยการทำาให้วัสดุ<br />

ไม้นั้นเกิดสภาพที่ไม่เหมาะสมในการเป็นอาหารของปลวก เช่น การใช้<br />

สารเคมีบำาบัดวัสดุไม้เพื่อให้เกิดความเป็นพิษ เป็นต้น หรือ การสร้าง<br />

อุปสรรคในการกัดกินวัสดุไม้เพื่อเป็นอาหาร เช่น การทาสารเคลือบ<br />

บางชนิดบนผิวไม้ ซึ่งสารเคลือบนั้นแม้ไม่มีความเป็นพิษแต่ทำาให้เกิด<br />

อุปสรรคต่อกระบวนการกินและย่อยของปลวก เป็นต้น นอกจากนั้นยัง<br />

สามารถป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อการทำาลายวัสดุไม้จากปลวกได้โดยการ<br />

รบกวนสภาพแวดล้อมในการอาศัยและเจริญพันธุ์ เช่น ภูมิปัญญา<br />

พื้นบ้านในการใช้เกลือเปลี่ยนค่าความเป็นกรดด่างของดิน เป็นต้น<br />

between 2 and 6 years; and softwood has bending strength<br />

less than 600 kg/cm2 and natural durability less than 2 years.<br />

The strength value itself clearly describes the properties and<br />

performance of the material, whereas the natural durability<br />

is typically measured by simulating natural conditions in<br />

the laboratory to compare the physical and other properties<br />

of each species of wood, in which there are factors in the<br />

deterioration of different wood materials under real-world<br />

conditions. The author categorizes wood-destroying factors,<br />

which are the causes of wood materials’ deterioration, into<br />

two main categories:<br />

• Biotic agents include fungi and various types of<br />

insects, such as termites, weevils, and so on.<br />

• Non-biotic agents are nonliving objects like soil and<br />

weather conditions like sunlight, wind, temperature,<br />

water, and humidity, among others.<br />

The concept of preliminary prevention of deterioration of<br />

wood materials is therefore to avoid the danger of deterioration<br />

factors from both groups of wood-destroying pests while<br />

preserving the quality of wood materials suited to the circumstances<br />

in each case.<br />

In general, the significant causes of deterioration of wood<br />

materials by biotic agents fall into 3 main categories-<br />

• for food<br />

• for shelter<br />

• for fertility<br />

Some species of wood-destroying insects, such as termites,<br />

destroy wood and construct nests to live and reproduce in<br />

the soil, but feed on wood. Some species destroy wood to<br />

live and reproduce seasonally but do not consume it, such<br />

as bumblebees, which drill holes in dry wood materials but<br />

not living wood to construct nests. Certain organisms, such<br />

as mushrooms and fungi, are capable of destroying wood for<br />

each of the three primary reasons.<br />

Each biotic agent destroys wood in a unique way, and the<br />

nature of the devastation varies from instance to instance.<br />

For instance, to protect wood from termites, the wood<br />

must become unsuitable for termite food, such as by using<br />

chemicals to treat wood materials to cause toxicity, etc., or<br />

by creating obstacles to eating wood for food, such as by<br />

applying non-toxic coatings to wood surfaces that impede the<br />

eating and digestion processes of termites, etc. In addition, it<br />

can prevent risk factors from degrading wood materials from<br />

termites by disrupting their living and reproductive environment,<br />

such as the local wisdom of adjusting the pH of the soil with<br />

salt, etc.


<strong>14</strong>0<br />

materials<br />

ศัตรูทำาลายไม้ประเภทสิ่งไม่มีชีวิตบางชนิดส่งผลต่อการเสื่อมสภาพของ<br />

วัสดุไม้โดยตรง เช่น ความร้อนจากแสงธรรมชาติทำาให้เกิดการแตกร้าว<br />

ที่ผิว 21 รังสีอัลตราไวโอเลตจากแสงธรรมชาติทำาให้เกิดการเสียสี เป็นต้น<br />

ขณะที่บางชนิดส่งผลต่อการเสื่อมสภาพของวัสดุไม้ทางอ้อมโดยเป็น<br />

เงื่อนไขให้เกิดศัตรูทำาลายไม้ประเภทสิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถใช้การออกแบบ<br />

และวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสมในการป้องกันความเสี่ยงจากปัจจัยการ<br />

เสื่อมสภาพ 22 นั้นได้ เช่น การออกแบบการระบายอากาศที่ดีลดการ<br />

กักเก็บความชื้นซึ่งเป็นสาเหตุร่วมที่ทำาให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม<br />

ในการเจริญเติบโตของเห็ดราทำาลายไม้ เป็นต้น<br />

ตามที่ได้กล่าวมาเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพและศัตรูทำ าลายไม้โดยสังเขปนั้น<br />

จะเห็นได้ว่าปัจจัยเสี่ยงต่างๆ สามารถวิเคราะห์เหตุและผลได้ มากน้อยตาม<br />

เงื่อนไขและสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน พึงตระหนัก<br />

เสมอว่ากระบวนการถนอมรักษาคุณภาพไม้โดยวิธีกายภาพหรือเคมี<br />

บำาบัดทั้งก่อน-ระหว่าง-หลังการก่อสร้างจะไม่ได้ประสิทธิภาพสูงสุด<br />

เลยหากมิได้พิจารณาหลีกเลี่ยงป้องกันความเสี่ยงจากปัจจัยการเสื่อม-<br />

สภาพอย่างเหมาะสมในเบื้องต้นเสียก่อน<br />

ภาพสะท้อนภูมิปัญญาความรู้และความเข้าใจวัสดุไม้นำาไปสู่การออกแบบ<br />

และวางแผนเพื่อแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากวัสดุไม้สูงสุดในงานสถา-<br />

ปัตยกรรมพื้นถิ่นในประเทศไทย ความเชื่อที่ว่าบ้านไม้อยู่เย็นเห็นว่า<br />

คงจะไม่จริงทั้งหมดในทัศนะของผู้เขียน ไม้เป็นวัสดุที่ดูดและคายความ<br />

ร้อนได้ดี หมายความว่า เมื่อวัสดุไม้ได้รับความร้อนจากแสงธรรมชาติ<br />

จะดูดรับความร้อนไว้จนเมื่อความร้อนจากแสงธรรมชาตินั้นหมดไป<br />

อาจจากสาเหตุเมฆบัง, มุมของดวงอาทิตย์ ฯลฯ ไม้จะคายความร้อนได้<br />

รวดเร็ว เห็นได้ชัดจากพื้น”ชานแดด”ของเรือนไทยประเพณีภาคกลาง<br />

ซึ่งรับแดดโดยตรงในเวลากลางวันจะร้อนจนอาจไม่สามารถเดินบนพื้น<br />

ชานแดดด้วยเท้าเปล่าได้จึงใช้การเดินลัดเลาะผ่านพาไลของกลุ่มเรือน<br />

ซึ่งมีส่วนเปิดโล่งจากกันในแต่ละเรือนไม่ไกลนัก นอกจากนั้นรูปทรงและ<br />

ลักษณะของหลังคาซึ่งมีหลังคากันสาดยื่นยาวปกคลุมฝาเรือน 23 ไว้มิใช่<br />

เพียงป้องกันฝนเท่านั้นแต่ยังป้องกันความร้อนจากแสงธรรมชาติบริเวณ<br />

ฝาเรือนด้วย<br />

ทั้งหมดนี้เป็นเพียงคำาอธิบายและตัวอย่างส่วนหนึ่งจากความรู้ความ<br />

เข้าใจทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับวัสดุไม้ปัจจัยร่วมพื้นฐานปัจจัยหนึ่งซึ่งมี<br />

ความสัมพันธ์ต่อกระบวนการออกแบบและการทำางานสถาปัตยกรรมไม้<br />

ที่ส่งผลต่อคุณภาพและคุณค่าของงานไม้สถาปัตยกรรมและงาน<br />

สถาปัตยกรรมไม้ ไม้เป็นวัสดุธรรมชาติ การทำางานด้วยวัสดุไม้จำาเป็น<br />

ต้องเข้าใจธรรมชาติของวัสดุไม้ด้วย มิใช่เพื่อการเอาชนะธรรมชาติ แต่<br />

เพื่อการใช้ประโยชน์จากธรรมชาตินั้นอย่างสูงสุดสำาหรับการอยู่ร่วมกัน<br />

ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติอย่างยั่งยืนโดยเครื่องมือในการออกแบบ<br />

และการทำางานสถาปัตยกรรมไม้เพื่อใช้ประโยชน์จากธรรมชาติของวัสดุ<br />

ไม้อย่างสูงสุดนั้น คือ ภูมิปัญญา<br />

Certain non-biological agents have a direct impact on the<br />

deterioration of wood materials; for instance, heat from<br />

natural light causes surface flaking and ultraviolet radiation<br />

from natural light causes discoloration. Some agents indirectly<br />

influence the deterioration of wood materials by causing<br />

biotic agents to degrade wood, which can be utilized in the<br />

design and construction of structures to reduce the risk<br />

of wood degradation factors. A decent ventilation design,<br />

for instance, helps minimize moisture retention, which is a<br />

common factor in the development of deforestation fungi.<br />

As mentioned previously regarding degrading and wooddestroying<br />

factors, the risk factors can be analyzed for their<br />

cause and effect based on the operating conditions and<br />

environments. Those who work with wood must be aware<br />

that the process of preserving timber quality by physical or<br />

chemical means, either before, during, or after construction,<br />

cannot be effective if the risk of deterioration is not mitigated<br />

appropriately.<br />

All of this wisdom, knowledge, and comprehension of wood<br />

materials led naturally to the design and planning to solve<br />

problems and maximize the use of wood materials in<br />

Thailand’s traditional architecture. According to the author,<br />

however, the notion that a wooden home provides cooler<br />

space may not be wholly accurate. Wood is a material that<br />

absorbs and emits heat efficiently, which means that when<br />

the wood material receives heat from natural light, it will<br />

absorb heat until that heat is no longer present, which could<br />

be caused by clouds, the sun’s angle, etc. Wood emits heat<br />

rapidly. The floor of the ‘sun deck’ of a traditional Thai house<br />

in the central region of Thailand, which receives direct sunlight<br />

during the day, demonstrates this. It could be so hot that<br />

one may not be able to walk barefoot on it, so users must<br />

travel along the verandas of the cluster of houses, which have<br />

an open part that is close to each other. (Figure 11 depicts a<br />

traditional Thai house in the central region) In addition, the<br />

shape and characteristics of the roof, which include lengthy<br />

eaves or overhangs that cover the house’s sidings, prevent not<br />

only rain but also heat from natural light around the house.<br />

These are merely a few explanations and examples from<br />

scientific knowledge about wood materials, which are some<br />

of the fundamental common factors related to the design<br />

process and woodwork that influence the quality and value<br />

of wood architecture. Wood is a natural substance. Working<br />

with wood materials necessitates a comprehension of the<br />

nature of wood materials, not to conquer nature but to<br />

make the most of nature for humans and nature to coexist<br />

sustainably. And wisdom is the most effective method for<br />

designing and working with wood in architecture in order<br />

to maximize the nature of wood materials.


MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

<strong>14</strong>1<br />

11<br />

11<br />

ชานแดดของเรือนไทย<br />

ประเพณีภาคกลาง<br />

สันธีาน เวัียงสิมืา<br />

เป็ นสถาปนิก ช่างไม้สถาปั ตย-<br />

กรรม มีผลงานการเขียน<br />

หนังสื อเกี่ยวกับงานไม้<br />

มากมายหลายเล่ม และยัง<br />

เป็ นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช<br />

มงคลธัญบุรี (2565-2566)<br />

และได้รับรางวัลสำาคัญ<br />

ต่างๆ เช่น รางวัลราชมงคล<br />

สรรเสริญกิตติมศักดิ์ ด้าน<br />

ศิลปะ สาขาสถาปั ตยกรรม<br />

(2564) รางวัลวิ โรฒ ศรีสุโร<br />

ประเภทส่งเสริม เพื่อการ<br />

อนุรักษ์ สร้างสรรค์ ทัศนศิลป์<br />

และสถาปั ตยกรรมพื้นถิ่น<br />

(2566)<br />

สรื่รื่สุดุา เจียมืจิต่<br />

เป็ นสถาปนิก ผู้เชี่ยวชาญ<br />

อาคารเขียวไทย ปั จจุบันเป็ น<br />

อาจารย์ประจำาสาขาวิชา<br />

เทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม<br />

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช<br />

มงคลธัญบุรี และเป็ นผู้ร่วม<br />

เขียนหนังสื อเกี่ยวกับงานไม้<br />

มากมายหลายเล่ม เช่นหนังสื อ<br />

ชุดงานไม้ ไร้จารีต ช่างไม้ ไร้จริต<br />

เล่มที่ 4 ปากไม้ (2566)<br />

หนังสื อชุดคู่มือการอนุรักษ์<br />

สถาปั ตยกรรมไม้ โดยยูเนสโก<br />

Suntan Viengsima<br />

is an architect and architectural<br />

carpenter who<br />

has authored numerous<br />

volumes on architectural<br />

woodwork. In addition<br />

to being an expert in the<br />

Faculty of Architecture<br />

at Rajamangala University<br />

of Technology Thanyaburi<br />

(2022-<strong>2023</strong>), he has<br />

received numerous prestigious<br />

awards, including<br />

the Honorary Rajamangala<br />

University of Technology<br />

Thanyaburi Award (2021)<br />

in the field of architecture<br />

(2021) and the Wirot Srisuro<br />

Award for the conservation<br />

and creativity of visual arts<br />

and vernacular architecture<br />

(<strong>2023</strong>).<br />

Sunsuda Jiemjit<br />

is an architect who<br />

specializes in ecological<br />

structures in Thailand.<br />

She is currently a lecturer<br />

in the Department of<br />

Architectural Technology,<br />

Faculty of Architecture at<br />

Rajamangala University<br />

of Technology Thanyaburi,<br />

as well as the co-author<br />

of numerous books on<br />

woodwork in architecture,<br />

including a series of books<br />

on woodworking, and a<br />

series of UNESCO handbooks<br />

for the conservation<br />

of wooden architecture.


<strong>14</strong>2<br />

materials<br />

Renewable Energy<br />

Wood Flooring<br />

Wood Flooring<br />

ต้นแบบพื้นไฮเทคใน Union South รัฐ<br />

Wisconsin นี้ได้รับการติดตั้งโดยทีมวิจัย<br />

จากมหาวิทยาลัย Wisconsin-Madison.<br />

แผ่นพื้นไม้ดัดแปลงทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด<br />

96 ตารางฟุตจะสะสมพลังงานจากการย่ำา<br />

เท้าบนพื้นและแปลงเป็นไฟฟ้า เยื่อไม้ซึ่งเป็น<br />

วัสดุเหลือใช้ราคาถูก มีจำานวนมากมายและ<br />

หมุนเวียนได้ เป็นหัวใจสำาคัญของการทำางาน<br />

เทคโนโลยีนี้ ประจุจะถูกส่งผ่านสายไฟที่ฝังไว้<br />

ซึ่งสามารถจ่ายไฟให้กับหลอดไฟหรือชาร์จ<br />

แบตเตอรี่ได้ การทดสอบเบื้องต้นในห้อง<br />

ปฏิบัติการแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีใช้งาน<br />

ได้หลายล้านรอบโดยไม่มีปัญหาใดๆ แม้ว่า<br />

ทีมงานยังไม่ได้แปลงตัวเลขเหล่านั้นเป็น<br />

จำานวนปีของอายุการใช้งานของพื้น แต่ด้วย<br />

การออกแบบที่เหมาะสม เทคโนโลยีนี้คาดว่า<br />

จะสามารถมีอายุใช้งานได้ยาวนานพอสมควร<br />

เลยทีเดียว<br />

A high-tech flooring prototype in Union<br />

South, Wisconsin, has been installed<br />

by a research team at the University of<br />

Wisconsin-Madison. The 96-squarefoot<br />

rectangle of modified wood flooring<br />

panels harvests the energy of footsteps<br />

and converts it into electricity. The wood<br />

pulp, a cheap, abundant, and renewable<br />

waste material, is central to the technology’s<br />

function. The charge is transmitted<br />

through embedded wires, which<br />

can power lights or charge batteries.<br />

The initial test in the lab shows that the<br />

technology works for millions of cycles<br />

without any problem. The team haven’t<br />

converted those numbers into years of<br />

life for a floor yet, but with appropriate<br />

design, the technology expectedly can<br />

outlast the floor itself<br />

news.wisc.edu


Wood<br />

Chirp Barn<br />

Wood Structure<br />

ไม้ซึ่งเป็นวัสดุก่อสร้างที่ได้รับความนิยมมา<br />

นานนับพันปี ยังคงได้รับการคิดค้นเพื่อพัฒนา<br />

ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในด้านสถาปัตยกรรม<br />

จากนวัตกรรมทางเทคโนโลยี<br />

ล่าสุด โปรแกรม Design + Make ของ Architectural<br />

Association มุ่งเน้นไปที่การใช้ไม้ใน<br />

สถาปัตยกรรม โดยมุ่งเน้นไปที่การประยุกต์ใช้<br />

นวัตกรรมของไม้ในกระบวนการ โปรแกรมนี้ตั้ง<br />

อยู่ใน Hooke Park เมือง Dorset มีวัตถุประสงค์<br />

เพื่อการวิจัย สาธิต และสอนการใช้ผลิตผลจาก<br />

ป่าให้ดีขึ้น โดยผสานรวมเครื่องมือต่างๆ เช่น<br />

การสแกน 3 มิติ การสร้างแบบจำาลองเชิง<br />

กำาเนิด และการประดิษฐ์ด้วยหุ่นยนต์ ช่วยให้<br />

นักออกแบบสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยว<br />

กับคุณสมบัติวัสดุของท่อนไม้ได้ ในโครงการ<br />

ชื่อ Wood Chirp Barn นักเรียนได้ออกแบบ<br />

และสร้างโครงสร้างโรงเก็บของโดยใช้รูปทรง<br />

ไม้ธรรมชาติ โดยใช้กิ่งก้านบีช 25 แฉกเป็น<br />

โครงสร้างหลังคา โปรแกรมนี้แสดงให้เห็นว่า<br />

เทคโนโลยีสามารถสร้างโอกาสในการออกแบบ<br />

ไม้ท่อนได้มากขึ้น แม้จะอยู่ในรูปแบบธรรมชาติ<br />

ที่เรียบง่ายก็ตาม<br />

Timber, a popular construction material<br />

for thousands of years, has been explored<br />

in architecture due to technological<br />

innovations.<br />

Recently, the Design + Make program<br />

at the Architectural Association focuses<br />

on the use of timber in architecture, with<br />

a focus on the innovative application<br />

of timber in the process. The program,<br />

located in Hooke Park, Dorset, aims to<br />

research, demonstrate, and teach better<br />

use of forest produce. It integrates tools<br />

like 3D scanning, generative modeling,<br />

and robotic fabrication, allowing designers<br />

to feedback with the material properties<br />

of timber logs. In a project called Wood<br />

Chirp Barn, students designed and built<br />

a shed structure using natural timber<br />

forms, using 25 forked beech branches<br />

for the roof structure. The program demonstrates<br />

that technology can create<br />

more design opportunities for timber<br />

logs, even in simple natural forms.<br />

archdaily.com


<strong>14</strong>4<br />

materials<br />

ForestBank Collection<br />

Alternative Material<br />

พื้นที่ป่าไม้ทั่วโลกถูกตัดลดลงทุกปี เพื่อรับมือ<br />

กับวิกฤตการตัดไม้ทำาลายป่าทั่วโลก สตูดิโอ<br />

ออกแบบของญี่ปุ่น Studio Yumakano กำาลัง<br />

นำาขยะอินทรีย์มาสร้างสิ่งทดแทนที่มีลักษณะ<br />

คล้ายไม้ขึ้นมาเอง คอลเลกชันงานออกแบบ<br />

ForestBank ถูกสร้างขึ้นโดยใช้วัสดุใหม่ ซึ่ง<br />

ประกอบด้วยเศษต้นไม้และใบไม้<br />

ForestBank พยายามสร้างมูลค่าจากป่าใน<br />

องค์รวม ไม่ใช่แค่ไม้ แต่มุ่งเน้นไปที่การค้นหา<br />

คุณค่าต่างๆ ในป่าทั้งหมดโดยการรวมต้นไม้<br />

ขนาดเล็ก ใบไม้ เปลือกไม้ เมล็ดพืช ดิน และ<br />

วัสดุอื่นๆ ที่ไม่มีประโยชน์สำาหรับการก่อสร้าง<br />

หรือการผลิตเฟอร์นิเจอร์ ด้วยฐานแร่ที่ทำา<br />

ปฏิกิริยาและเรซินอะคริลิกสูตรน้ำา วัสดุเหล่านี้<br />

มีลวดลายที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับมุมและ<br />

ความลึกของการตัด ทำาให้เกิดความหลากหลาย<br />

พอๆ กับลายไม้ ฤดูกาล ภูมิประเทศ และสภาพ<br />

ป่าอื่นๆ ในช่วงเวลาเก็บเกี่ยวจะส่งผลต่อเฉดสี<br />

ของวัสดุที่เก็บเกี่ยว วัสดุนี้สามารถขึ้นรูปได้<br />

โดยใช้เทคนิคงานไม้ทั่วไป และนำาไปใช้ใน<br />

หลากหลายสาขา รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และการ<br />

ออกแบบตกแต่งภายใน<br />

Forest areas around the world are being<br />

cut down every year. To deal with the<br />

global deforestation crisis, Japanese<br />

design studio Studio Yumakano is taking<br />

organic waste and creating its own<br />

wood-like replacement. The ForestBank<br />

material collection is created using new<br />

materials. which consists of tree debris<br />

and leaves<br />

ForestBank investigates the worth of<br />

complete forests, not just lumber. It<br />

concentrates on discovering the various<br />

values in entire forests by combining<br />

small trees, foliage, bark, seeds, soil,<br />

and other materials deemed useless for<br />

construction or furniture production with<br />

a reactive mineral base and water-based<br />

acrylic resin. These materials have patterns<br />

that vary depending on the angle<br />

and depth of the cut, producing a variety<br />

as fascinating as wood grain. Season,<br />

terrain, and other forest conditions at<br />

the time of harvest affect the hues of<br />

the harvested materials. The material<br />

can be shaped using conventional wood<br />

working techniques and utilized in numerous<br />

disciplines, including furniture<br />

and interior design.<br />

yumakano.com


<strong>ASA</strong> Journal<br />

asa Platform Selected<br />

Materials <strong>2023</strong><br />

<strong>14</strong>5<br />

OUT<br />

NOW!<br />

asa Platform Selected Materials<br />

<strong>2023</strong> is a new materials<br />

and product selection programme<br />

to introduce new<br />

materials to watch in architecture<br />

and construction, organised<br />

by the asa Journal and<br />

the asa Platform of the Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage. This<br />

book is the official catalogue<br />

of the project, which collects<br />

the interesting stories of<br />

materials from 13 awardwinning<br />

brands in various<br />

categories for the year <strong>2023</strong>.<br />

asa Platform Selected Materials<br />

<strong>2023</strong> คือโครงการคัดเลือกวัสดุและ<br />

ผลิตภัณฑ์ ใหม่ สําหรับงานสถาปั ตย-<br />

กรรมbและการก่อสร้างที่น่าจับตามอง<br />

ซึ ่งจัดโดยวารสารอาษา และ asa<br />

Platform ของสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

หนังสื อฉบับพิเศษเล่มนี้เป็ นสู จิบัตร<br />

อย่างเป็ นทางการของโครงการ ซึ ่ง<br />

รวบรวมที่มาและเรื่องราวที่น่าสนใจ<br />

ของวัสดุจาก 13 แบรนด์ที่ได้รับรางวัล<br />

ในสาขาต่าง ๆ ประจําปี <strong>2023</strong><br />

Download the e-book here


<strong>14</strong>6<br />

PROFESSIONAL<br />

Sher<br />

Maker<br />

Sher Maker is a Chiang Mai-based<br />

design studio founded by<br />

Patcharada In-plang and Thongchai<br />

Chansamak, two trained architects<br />

who also refer to themselves as<br />

makers. Their shared interests in<br />

hobbies and handcrafted creations<br />

led to a design philosophy centered<br />

around the ‘making process’.<br />

Text: Surawit Boonjoo<br />

Photo Courtesy of Sher Maker, Rungkit charoenwat,<br />

Ratthee Phaisanchotsiri and Nontarat Hasitapong


01<br />

บรรยากาศพื้นที่ภายใน<br />

อาคารที่ถูกแบ่งให้มีพื้นที่<br />

ใช้งาน 34 ส่วน 1


<strong>14</strong>8<br />

professional<br />

2<br />

02<br />

พัชรดา อินแปลง และ<br />

ธงชัย จันทร์สมัคร<br />

ผู้ก่อตั้ง Sher Maker<br />

งานออกแบบสถาปัตยกรรมผ่านกระบวนการสืบค้น เรียนรู้<br />

และทดลอง นับเป็นหนึ่งในทิศทางการทำงานออกแบบอันนำ<br />

สู่การพบเจอกับสิ่งใหม่ๆ อย่างมากมาย ที่รายล้อมประกอบ<br />

อยู่กับองค์ความรู้ซึ่งเป็นจุดหมายปลายทาง หากแต่เมื่อ<br />

นำองค์ความรู้เหล่านั้นมาผสานทำงานร่วมกับการทำความ<br />

เข้าใจผู้ใช้งาน บริบท สภาพแวดล้อม โดยเฉพาะการทำงาน<br />

ด้วยกระบวนการเชิงช่างพื้นถิ่น นับเป็นคำจำกัดความที่มัก<br />

ใช้นิยามสตูดิโอออกแบบ Sher Maker จากเชียงใหม่ ที่ก่อตั้ง<br />

โดยสองผู้วางบทบาทตนเองเป็นทั้งสถาปนิกและเมกเกอร์<br />

ตุ๋ย-พัชรดา อินแปลง และ โอ๊ต-ธงชัย จันทร์สมัคร<br />

หลายครั้งเมื่อได้ยินชื่อสตูดิโอ Sher Maker อาจจะชวน<br />

นึกถึงกระบวนการทำงานของสตูดิโอที่เหมือนจะมุ่งเน้น<br />

ความสนใจไปทางด้านการทำงานที่เกี่ยวข้องกับต้นไม้ ซึ่ง<br />

อ้างอิงมาจากคำว่า “เฌอ” หากแต่พัชรดาได้ขยายความ<br />

ต่อว่า แท้จริงแล้วเหตุผลหลักในการเลือกใช้คำดังกล่าว<br />

เนื่องจากเป็นคำที่มีความเป็นเพศหญิง หรืออาจจะกล่าว<br />

ต่อไปได้ว่าเป็นคำที่ให้ความรู้สึกไม่สามารถระบุเพศได้<br />

อย่างชัดเจนว่าเป็นหญิงหรือชาย แล้วจึงนำมาประกอบ<br />

กับสิ่งที่ทั้งคู่เป็นอยู่ นั่นคือ “เมกเกอร์”<br />

“เราทำงานกับพี่โอ๊ต ธงชัย ตั้งแต่ช่วงปี 2558-2559<br />

โดยเจอกันเพราะว่าเป็ นคนที่ทำงานในแวดวงงานคราฟต์<br />

เอาง่ายๆ เลยเราก็เป็ นเมกเกอร์ โดยพี่โอ๊ต ก็ทำ Brown<br />

Bike แล้วเราก็ทำสตูดิโอที่เป็ นงานคราฟต์ งานทำมือ<br />

อยู่แล้วก็เลยได้เจอกัน ก่อนหน้านั้นตัวเราเองก็ทำงาน<br />

เป็ นสถาปนิก freelance อยู่แล้ว และอีกงานหนึ ่งที่<br />

เราทำก็คือคิวเรทงานคราฟต์ เป็ นคิวเรเตอร์ด้วย ทำ<br />

หลายๆ อย่าง งานแรกที่ทำแล้วตีพิมพ์รวมกันผ่านชื่อ<br />

Sher Maker คือเมื่อปี 2561 เป็ นงานรีโนเวทปั ๊ มน ้ำมัน<br />

ปตท. ในอำเภอสารภี แต่ก่อนหน้านั้นก็มีคุยกันเรื่อง<br />

แนวทางความคิดว่า ถ้าหากจะทำสตูดิโอจะทำไปใน<br />

ทิศทางไหน เราก็เริ ่มต้นด้วยความเรียบง่าย คุยกัน<br />

และเล็งเห็นถึงความสนใจและแนวทางที่ตรงกันจึงเป็ น<br />

ที่มาของการร่วมตั้งสตูดิโอร่วมกัน”<br />

พัชรดาจบการศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและ<br />

การออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง ขณะที่ธงชัยสำเร็จการศึกษาจากคณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากจบการศึกษา<br />

พัชรดาได้เริ่มต้นทำงานกับ Studiomake ออฟฟิศสถาปนิก<br />

และเวิร์กช็อป ซึ่งตั้งอยู่ ณ จังหวัดนนทบุรี เป็นเวลา 3 ปี<br />

ก่อนกลับมาที่จังหวัดเชียงใหม่ และทั้งสองก็ได้เริ่มต้นพบ<br />

เจอกันเนื่องด้วยความสนใจร่วมกันทั้งในด้านงานอดิเรก<br />

และการทำงานในสายงานทำมือ อาจกล่าวได้ว่านี่น่าจะเป็น<br />

รากฐานทางความคิดให้กับการทำงานออกแบบที่คิดคำนึง<br />

ถึงกระบวนการลงมือทำอันเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ จึงนำไป<br />

สู่การวางฐานรากในการทำงานบนความเข้าใจถึงกระบวนการ<br />

ผลิตในทุกขั้นตอน


SHER MAKER<br />

<strong>14</strong>9<br />

03<br />

ชั้นจัดวางโมเดล<br />

และชิ้นงานวัสดุต่าง ๆ<br />

The process of designing architecture through research, learning, and experimentation is<br />

one of the approaches that can reasonably lead to endless possibilities and discoveries, many<br />

of which come to light along the way, revolving around the materialized body of knowledge<br />

that is the end result. The application of the acquired knowledge to an understanding of users,<br />

contexts, and the environment, as well as the methods and skills of local craftsmanship, are<br />

vital elements by which Sher Maker is frequently characterized and defined. Patcharada Inplang<br />

and Thongchai Chansamak, two trained architects who also refer to themselves as<br />

makers, are the driving forces behind this Chiang Mai-based design studio.<br />

Upon hearing the name of the studio, Sher Maker, many wonder about the meaning of the<br />

name. Patcharada explained that the reason for choosing such a word is because it sounds<br />

feminine. It also gives the impression that the gender cannot be identified as male or female.<br />

And then attributed to what both are, “makers”.<br />

“I originally began working with Thongchai around 2015–2016. We met<br />

because we were both active in the craft community. Thongchai was working<br />

on his Brown Bike at the time, and I was a maker. I also opened my own craft<br />

studio, specializing in crafts and handmade products, so we naturally met.<br />

I was also a freelance architect and curator, curating craft exhibitions and<br />

things like that. I was doing a lot of different things. In 2018, we completed<br />

and published our first project under the name Sher Maker. It was the refurbishment<br />

of a gas station in Chiang Mai’s Saraphi neighborhood. But we<br />

had been discussing our ideas and aspirations for opening a studio together<br />

for a while before that, as well as the route we would be taking. It was a<br />

modest start, just us talking and noticing that we have similar interests<br />

and approaches to design. That’s essentially how we started this studio<br />

together.”<br />

3<br />

Patcharada is a graduate of the Faculty of Architecture, Art, and Design at King Mongkut<br />

Institute of Technology, while Thongchai is an alumnus of the Faculty of Architecture at<br />

Chiang Mai University. After graduating, Patcharada spent three years working with Studiomake,<br />

an architecture practice and workshop based in Nonthaburi. After relocating back to<br />

Chiang Mai, she crossed paths with Thongchai. They discovered their shared interests in<br />

hobbies and handcrafted creations, which became the foundation for the studio’s design<br />

philosophy centered around the importance of the ‘making process.’ It led to the foundation<br />

of their design practice, which is founded on a true understanding of every step in the entire<br />

production process.<br />

“I believe that studios located outside of Bangkok have an advantage in developing a strong brand.<br />

During our lectures and presentations abroad, we noticed a genuine interest in our work. People<br />

were intrigued by the fact that our studio is situated in an unexpected location and possesses this<br />

unpredictable design language. We have reached a consensus that residing in a rural suburb does<br />

indeed have an impact on our work, thoughts, and work process, as well as our language and perspective<br />

towards our design. We are content and at ease with our current situation, which positively influences<br />

the quality and efficiency of our work. We have the ability to work on projects that truly interest us.<br />

That is the reason why we have decided to establish<br />

our studio in Chiang Mai.”


150<br />

professional<br />

“เราคิดว่า แต้มต่อของคนที่ทำสตูดิโออยู่ที่ต่างจังหวัด<br />

มันมีแบรนด์บางอย่างที่แข็งแรงมาก โดยเวลาที่เราไป<br />

บรรยายในต่างประเทศ เรารู้สึกว่าพวกเขามีความสนใจ<br />

ในความที่เราเป็ นสตูดิโอที่มาจากพื้นที่ที่คาดไม่ถึง โดย<br />

มันจะเดาภาษางานออกได้อย่างไร แล้วเราก็มองว่าการ<br />

อยู่ในพื้นที่ชนบทมันก็จะส่งผลโดยตรงต่อการออกแบบ<br />

กระบวนการคิด กระบวนการทำงาน ภาษาการทำงาน<br />

และการมองงานของเราด้วย เราอยู่ที่นี้แล้วสบายใจ<br />

ทำงานออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ และได้ทำงานอย่าง<br />

ที่ตัวเองอยากทำจริงๆ จึงตั้งสตูดิโออยู่ที่ต่างจังหวัด<br />

ที่จังหวัดเชียงใหม่”<br />

สตูดิโอหลังคาทรงจั่วขนาดใหญ่ที่คลุมเกือบจรดพื้น ขนาด<br />

200 ตารางเมตร ซึ่งตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ เป็นสถานที่<br />

ตั้งของสตูดิโอ Sher Maker บนที่ดินซึ่งแต่เดิมมีต้นไม้ขนาด<br />

ใหญ่ อย่างต้นนนทรีและต้นกระถินยักษ์อยู่ก่อน อาคารหลังนี้<br />

ก่อสร้างในรูปแบบ “self-built” ที่ก่อสร้างและต่อเติมกันเอง<br />

โดยมีช่างทีมหนึ่งเข้ามาขึ้นโครงสร้างหลัก และหลังจากนั้น<br />

ก็เริ่มจัดการต่อกันเอง ภายใต้ความคิดในการสร้างเพื่อใช้<br />

งานเพียงชั่วคราวระยะ 10 ปี โครงสร้างของอาคารจึงใช้<br />

วัสดุและออกแบบอย่างเรียบง่ายด้วยรูปทรงเรขาคณิต<br />

ประกอบกับการแบ่งสัดส่วนอาคารที่มุ่งเน้นความสำคัญไป<br />

ที่ส่วนโถง พื้นที่อเนกประสงค์ของอาคาร และเนื่องจากมี<br />

ต้นไม้เดิมขนาดใหญ่ในบางจุดของอาคารจึงผสานโครงสร้าง<br />

แทรกต้นไม้ใหญ่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในพื้นที่อาคารอีกด้วย<br />

ก็เพราะเรามีความใกล้ชิดกับช่างทีมนี้มากๆ หมายถึงเขา<br />

รับโปรเจกต์จากเราเป็นหลัก แต่เขาก็มีอำนาจอิสระในการ<br />

ตัดสินใจ คิดราคา ปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดต่างๆ ร่วมกับ<br />

เรา คือการทำงานเป็นสองยูนิตร่วมกัน”<br />

เนื่องด้วยการทำงานใกล้ชิดกับทีมช่าง และการมีช่าง<br />

ร่วมอยู่ด้วยในทีม ก็ช่วยให้สามารถปรับเปลี่ยนข้อจำกัด<br />

เป็น “เซนส์ในการออกแบบ” ได้ กล่าวคือการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมของสตูดิโอแห่งนี้จะไม่มองการออกแบบ<br />

ในรูปแบบเส้นตรง พชัรดากล่าวเสริมว่า ในการออกแบบ<br />

ออฟฟิศที่ทำการของสตูดิโอมีแปลนแค่เพียงแผ่นเดียว<br />

เท่านั้น หลังจากนั้นก็จะทำงานในรูปแบบ self-built ที่<br />

เชื่อมต่อส่วนที่พร่องกันเอง คือการพูดคุยในส่วนของการ<br />

สเก็ต สัดส่วนขององค์ประกอบต่างๆ รวมถึงวัสดุ ผ่าน<br />

การสนทนาตกลงรายละเอียดการก่อสร้างและวัสดุแบบ<br />

ปากต่อปาก แล้วจึงเริ่มต้นทำงาน และซื้ออุปกรณ์ หรือ<br />

ในกรณีที่การก่อสร้างที่มีงบอยู่อย่างจำกัดมากๆ การ<br />

มีช่างอยู่ในทีมด้วยก็จะเข้ามามีส่วนช่วยลดหลายขั้นตอน<br />

ในการดำเนินงานได้ด้วยเช่นกัน<br />

04<br />

บรรยากาศภายใน<br />

ส่วนสานักงาน<br />

“ออฟฟิ ศสถาปนิกที่ดี ต้องเป็ นสถานที่ที่ผู้ทำงานมี<br />

สมาธิ เพราะฉะนั้นการยืนชายคาลงเตี้ยมากๆ ก็เพื่อให้<br />

เราสามารถทำงานในสถานที่ซึ ่งสามารถจดจ่อกับงาน<br />

ได้จริงๆ นอกจากนั้นยังควรมีพื้นที่ที่ไม่ใช่พื้นที่ทำงาน<br />

ในปริมาณที่ควรจะเป็ นครึ ่งต่อครึ ่ง โดยจะเป็ นพื้นที่<br />

สำหรับนั่งคุย นั่งประชุมกับช่าง หรือแม้กระทั่งสังสรรค์<br />

และทำเวิร์กช็อป ซึ ่งพื้นที่เหล่านี้ก็จะเป็ นส่วนช่วยนำไปสู่<br />

การค้นพบเรื่องสิ ่งใหม่ๆ”<br />

Design and built<br />

สตูดิโอ Sher Maker แบ่งการทำงานภายในออฟฟิศออก<br />

เป็น ทีมออกแบบจำนวนประมาณ 5-6 คน โดยจะปรับเพิ่ม<br />

และลดลงอยู่ในจำนวนดังกล่าว ซึ่งรับผิดชอบดำเนินการ<br />

ทำงานเป็นสามส่วนหลัก คือส่วนแรกดำเนินงานสืบค้นและ<br />

เก็บข้อมูลวัสดุ ทำ mock up ทำเวิร์กช็อป ส่วนงานลำดับ<br />

ต่อมาจะเป็นงานออกแบบ และในส่วนสุดท้ายก็จะเป็นการ<br />

เขียนแบบ นอกจากนั้นยังมีทีมช่างขนาดเล็ก ที่พัชรดาเน้น<br />

ย้ำว่า นี่ไม่ใช่ทีมช่างประจำของสตูดิโอ และสตูดิโอก็ไม่ได้<br />

ทำงาน turn key ซึ่งมักจะเป็นที่เข้าใจโดยผู้คนโดยทั่วไป<br />

“หากแต่ที่ทางสตูดิโอเลือกใช้คำว่า “design and built” นั้น<br />

4


SHER MAKER<br />

151<br />

5<br />

A large gable roof covering 200 square meters of the studio space, nestled peacefully in<br />

nature, located Sher Maker’s studio on a plot of land that initially had large trees, such as<br />

the nonsee trees and the giant acacia trees. The building was done in a “self-built” manner—<br />

built and constructed by themselves. A team of professional builders handled the main<br />

structure, and after that, the studio started dealing with the rest with the idea of building<br />

for temporary use for ten years. Hence, the structure of the building uses simple materials<br />

and is designed with a simple geometric form. The design was focused on the hall and the<br />

multi-purpose area of the building, and since there were large existing trees in some parts<br />

of the building, the structure was designed to merge into the building area.<br />

05<br />

ทีมงาน Sher Maker<br />

06<br />

พื้นที่เวิร์กช็อป<br />

สาหรับทดสอบวัสดุ<br />

และงานก่อสร้าง<br />

“A good architecture studio must be one where architects and staff can<br />

concentrate well on the work. Therefore, we lowered the eaves to work where<br />

we could truly concentrate on the work. In addition, there should also be a<br />

spacious non-working space, which could be half and half. It will be a space<br />

where everyone can sit, talk, meet with technicians, or even socialize and do<br />

workshops. These areas are important, and we believe they will contribute to<br />

discovering new things.”<br />

Design and Build<br />

Sher Maker sets up their studio operation to have a design team of 5–6 people. The number<br />

can vary depending on the project, but it stays within these numbers. The members of the<br />

design team are primarily in charge of three aspects. The first part entails conducting research<br />

and gathering material data, as well as working on mock-ups and in workshops. The next<br />

phase encompassed the design development, and the third was to create workable drawings.<br />

They also collaborate with a small team of builders and artisans. Patcharada stressed that<br />

these builders are not part of the studio’s in-house staff and that Sher Maker does not undertake<br />

turnkey projects in the way that most people would think.<br />

“We use the phrase ‘design and build’ because we have a close<br />

working relationship with this team of builders.” They mostly<br />

work on our projects, but as our independent partner, they have the<br />

authority to make decisions, estimate expenses, and revise details<br />

of a project together with us. It’s almost like we’re two units working<br />

together.”<br />

Working directly with builders and artisans and having some of them on the team assists<br />

Sher Maker greatly in transforming limits into ‘senses in design.’ To elaborate on this subject,<br />

Sher Maker’s approach to architectural design does not consider design to be a linear process.<br />

Patcharada recalls how they sketched out the design of their office building on a single<br />

piece of paper, then began the self-built process that would eventually fill in the gaps through<br />

discussions about sketches, proportions of various components, and materials. These conversations<br />

encompass details of the construction and materials purchased prior to the actual<br />

commencement of production, including the purchase of the necessary tools and supplies.<br />

When the budget is very restricted, having builders on the team helps a great deal to eliminate<br />

certain needless steps in the production process.<br />

6


152<br />

PROFESSIONAL<br />

7


ECO ARCHITECT<br />

153<br />

07<br />

อาคารสานักงาน<br />

ทรงหลังคาจั่วด้วย<br />

การใช้วัสดุไม้เก่าและ 7<br />

กรอบเหล็ก


154<br />

professional<br />

นอกจากนั้นกระบวนการทำงานดังกล่าวก็ยังมีส่วนช่วยให้<br />

ช่างได้คุ้นชินและเข้าใจภาษาในระบบการก่อสร้างที่มีความ<br />

หลากหลายมากยิ่งขึ้น โดยจากเดิมที่ช่างอาจแค่เคยทำ<br />

เพียงการก่ออิฐฉาบปูน ก็จะได้ลงมือทำงานในวิธีการต่างๆ<br />

มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามเนื่องด้วยระบบที่ไม่ใช่การรับเหมา<br />

ก่อสร้าง การทำงานในหลายๆ ครั้งก็อาจเกิดการผิดพลาด<br />

ในส่วนของรายละเอียดการก่อสร้าง แต่นี่ก็นับเป็นเรื่อง<br />

ปกติธรรมดาของการทำงานด้วยมือ ซึ่งสตูดิโอก็จะเข้ามา<br />

พยายามจัดการและดูแลในส่วนข้อผิดพลาดนี้ให้ดีที่สุด<br />

โดยทั้งจัดการให้ทีมช่างทำงานให้อย่างมีประสิทธิภาพและ<br />

ไม่ให้ส่งผลกระทบต่องานออกแบบมากให้ได้มากที่สุด<br />

กล่าวได้ว่าความมุ่งเน้นในสองส่วนดังกล่าวก็สามารถปรากฏ<br />

ให้เห็นผ่านหลากหลายโปรเจกต์งานออกแบบของสตูดิโอ ที่<br />

ถึงแม้จะดำเนินการด้วยฐานกระบวนการคิดเดียวกัน หากแต่<br />

รูปแบบของผลงานนั้นกลับมีความโดดเด่นและหลากหลาย<br />

อีกทั้งมีเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละพื้นที่ ในกรณีนี้อาจเป็น<br />

ผลสืบเนื่องจากการทำความเข้าใจถึงภาษาวัสดุและทักษะ<br />

เชิงช่างเฉพาะของแต่ละพื้นที่และปรับพัฒนาบอกเล่าบน<br />

ฐานรากนั้นๆ ด้วยกระบวนการและกลวิธีที่ช่วยเสริมสร้าง<br />

ความโดดเด่นแต่ไม่แปลกแยกให้กับสถาปัตยกรรมต่อบริบท<br />

พื้นที่โดยรอบ<br />

08<br />

ผลงานออกแบบโชว์รูม<br />

เฟอร์นิเจอร์ไม้ Moonler<br />

“ตั้งแต่การคุยโปรเจกต์ เราจะคุยกับเจ้าของว่า เขา<br />

เป็ นคนที่รับได้กับข้อดีและข้อเสียของสิ ่งเหล่านี้ ไหม<br />

(ข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ ้นจากการลงมือทำ) ยกตัวอย่าง<br />

เช่น โปรเจกต์ Moonler ที่เป็ นโชว์รูม ซึ ่งก็พู ดถึงเรื่อง<br />

คราฟต์เหมือนกัน แต่ในการทำงานก่อสร้างที่ออกมา<br />

ก็ไม่มีอะไรที่เป็ น human error ปรากฏให้เห็น คือ<br />

สามารถพู ดถึงเรื่องคราฟต์ ได้ แต่วิธีการหรือภาษาที่<br />

ใช้ ในการนำเสนอก็สามารถแสดงออกมาในอีกรูปแบบ<br />

ได้เช่นกัน”<br />

Localtechtonic and local human skill<br />

ด้วยความหลงในความเป็นท้องถิ่นทั้งในแง่มุมทางด้าน<br />

ภาษาทางสถาปัตยกรรมและกระบวนการทำงาน สตูดิโอ<br />

Sher Maker จึงมีรูปแบบวิธีการคิดในการทำงานโดยการ<br />

ใช้วิธีคิดแบบช่างในพื้นที่ ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนไปตาม<br />

กระบวนการทางสถาปัตยกรรมของแต่ละพื้นที่นั้นๆ กล่าว<br />

คือ สตูดิโอแห่งนี้จะมองย้อนทำงานออกแบบผ่านความ<br />

ความเป็นพื้นถิ่นนั้นๆ ก่อนการทำงานออกแบบที่เข้าใจ<br />

ถึงรากฐาน และสะท้อนออกมาผ่านความเป็นไปได้ทาง<br />

สถาปัตยกรรม ที่ผสานรวมกับทักษะกระบวนการทำงาน<br />

เชิงช่างของช่างในท้องถิ่นนั้นๆ<br />

“ไม่ว่าจะเป็ นวิธีคิดในการก่อรูปอาคาร มันมีเหตุและผล<br />

ในการก่อรูปสิ ่งๆ นี้อยู่ โดยจะคิดขึ ้นใหม่ตามบริบทนั้นๆ<br />

แล้วก็จะให้เวลากับการรีเสิร์ชสิ ่งที่จะนำมาใช้ อย่างเช่น<br />

วัสดุและวิธีการทำระบบอาคาร โดยเป็ น localtechtonic<br />

และอีกส่วนที่เราโฟกัสมากๆ ก็จะเป็ นทักษะของคนใน<br />

พื้นที่ โดยเราไปทำงานในพื้นที่ไหนๆ เราก็จะใช้ทักษะของ<br />

คนในพื้นที่นั้นๆ และไม่ว่าเราจะไปทำงานในพื้นที่ไหนๆ<br />

เราก็จะสนใจในสองส่วนนี้อยู่เสมอ โดยคีย์เวิร์ดหลักเลย<br />

ของ Sher Maker ก็คือ localtechtonic และ local<br />

human skill”<br />

8


SHER MAKER<br />

155<br />

09<br />

ดีเทลการเข้าเดือย<br />

เฟรมไม้จามจุรีบริเวณ<br />

โถงอาคาร<br />

10<br />

ภาพเวิร์กช็อปการเผาไม้<br />

ด้วยเทคนิค Shou Suki<br />

Ban แบบญี่ปุ่นดั้งเดิม<br />

9<br />

Builders can develop a broader and deeper understanding of the language and jargon used<br />

in the architectural construction process through Sher Maker’s work process. Builders who<br />

were previously expected to perform only basic brick and concrete work can now learn about<br />

all of the varied methods and techniques. Nonetheless, undertaking a project outside of the<br />

contracting system may result in mistakes in details, but this is quite normal for work processes<br />

where everything is done by hand. The studio, on the other hand, seeks to oversee and supervise,<br />

including mitigating problems as soon as possible and ensuring that the building team delivers<br />

the work with the highest level of efficiency, thus avoiding any adverse impact on the design.<br />

“We would discuss with project owners from the start whether they would be able to accept the<br />

pros and cons (the mistakes that come with the handmade method).” Moonler, a showroom with<br />

crafty features, is one such instance where there were no construction-related errors. You can<br />

talk about craft, but the presentation or language can be delivered in various ways.<br />

Sher Maker has adopted and developed their own ideation process in a manner similar to that<br />

of local builders or artisans, which is adaptability based on locally derived or evolved modus<br />

operandi that may be unique to a location or region. This goes hand in hand with their passion<br />

for locality, particularly the facets of vernacular architectural languages and the work processes<br />

behind them. Sher Maker views design through the vernacular characteristics of the area in<br />

which a work is located before developing a work based on a true understanding of the root<br />

and foundation represented through diverse architectural possibilities alongside the varying<br />

skills and methods of local builders and artisans.<br />

“Behind the conceptualization that shapes an architectural form are the rationale<br />

and consequences distinctively determined by the work’s context. We also spend<br />

time researching the materials we will use and developing a local tectonic building<br />

system. Another aspect that we pay special attention to is the skill of local makers.<br />

We would look for and incorporate the skills and know-how of local builders into<br />

our work. These two components have always been our primary priorities and<br />

interests, no matter where we work. The keywords of Sher Maker are local tectonics<br />

and local human skill.”<br />

10<br />

“The emphasis on these two elements is visible in several of the studio’s projects, which, despite<br />

being carried out using the same elemental thought process, are diverse and have their own<br />

individual characteristics that are also indicative of the areas from which they are conceived.”<br />

Such an end product may result from the studio’s attempt to understand the language uttered<br />

through materials, craftmanship skills originating from a specific locality, and how stories are told<br />

based on such roots using processes and methods that bring distinctive traits to an architectural<br />

creation while retaining its connection to the context and place of which it is a part.<br />

If we had to pick a project to illustrate the aforementioned process, it would be the refurbishment<br />

of the PTT gas station in Saraphi district, Chiang Mai, which the two founders completed shortly<br />

after starting the studio. The simple idea behind the magnificently remodeled façade composed<br />

of lustrous ceramic tiles is that it reintroduces the petrol station with a fresh, distinct identity.<br />

Meanwhile, the spectacular façade reflects the site’s surroundings, much like how reflective<br />

mirrors face one another and produce infinite reflections. The underlying significance of the<br />

wonderfully polished surface, which includes the earth used in the manufacturing of each tile,<br />

comprises the work process, which encompasses thorough research, site inspection, and<br />

experimenting with a local ceramic tile factory in the Saraphi area. The project met the brief, which<br />

was to convey the unique characteristics of Chiang Mai. Patcharada went on to say that, in her<br />

opinion, Chiang Mai should be represented by the craftsmanship skills of its people rather than<br />

an attempt to tell a Chiang Mai story through spectacular but superficial architectural design.


156<br />

professional<br />

11<br />

หากจะหยิบยกโปรเจกต์ใดมากล่าวถึง โปรเจกต์รีโนเวท<br />

ปั๊มน้ำมัน ปตท. ในอำเภอสารภี ระหว่างช่วงรอยต่อของ<br />

การเริ่มตั้งสตูดิโอ นับเป็นตัวอย่างที่สามารถอธิบายกรณี<br />

ข้างต้นได้อย่างพอดิบพอดีและชัดเจน ทั้งในความหมาย<br />

อย่างตรงไปตรงมา ของส่วน façade กระเบื้องมุกที่ถูก<br />

ออกแบบขึ้นใหม่ ได้สร้างเอกลักษณ์อันเด่นชัดให้แก่ปั๊ม<br />

น้ำมันแห่งนี้ และขณะเดียวกันบนภาพความโดดเด่นนั้น<br />

ก็สะท้อนสภาพพื้นที่โดยรอบพร้อมๆ กัน ราวกับกระจก<br />

ที่ส่องในทิศทางตรงกันข้ามที่สร้างพื้นที่การสะท้อนกลับ<br />

อันไร้ขอบเขต หรืออีกความหมายที่สอดแทรกภายใต้ความ<br />

เงางามและดินที่ปั้นขึ้นรูปกระเบื้องแต่ละแผ่น ซึ่งเป็นการ<br />

ทำงานผ่านกระบวนการสืบค้นข้อมูล ลงพื้นที่ ท ำงานทดลอง<br />

ร่วมกับโรงงานช่างทำกระเบื้องในพื้นที่อำเภอสารภี เพื่อ<br />

ตอบรับกับโจทย์ในการทำงานออกแบบคือ การสะท้อน<br />

ถึงความเป็นเชียงใหม่ พัชรดากล่าวเสริมว่า สำหรับเธอ<br />

การนำเสนอมุมมองความเป็นเชียงใหม่ ควรจะเป็นการ<br />

ถ่ายทอดผ่านทักษะฝีมือของคนในพื้นที่ มากกว่าการคำนึง<br />

ถึงรูปแบบการบอกเล่าด้วยรูปลักษณ์ที่ฉาบฉวยภายนอก<br />

ของสถาปัตยกรรม<br />

“วิธีการที่เราโน้มน้าวลูกค้าในการลงทุนกับวัสดุ คือ<br />

แทนที่จะเลือกใช้วัสดุอะไรก็ไม่รู้ เราก็เลือกใช้วัสดุที่<br />

อยู่ในพื้นที่ที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง ในขณะที่คนทำวัสดุ<br />

เหล่านั้นก็คือ ลูกค้าที่จะมาใช้งานปั ๊ มจริงๆ ทุกวัน อันนี้<br />

ก็คือการใช้กระบวนการออกแบบในการช่วยให้เกิด<br />

เศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่จริงๆ”<br />

ผลสืบเนื่องต่อจากนั้นโรงงานเซรามิกแห่งนี้ ก็ได้รับงาน<br />

จากสตูดิโอออกแบบหลากหลายแห่งในเวลาต่อมา กระทั่ง<br />

เปิดส่วนบริการใหม่ Raw Material เพื่อดูแลในส่วนวัสดุ<br />

แคลดดิ้งอาคาร ในขณะเดียวกันทางสตูดิโอก็ได้ชุดข้อมูล<br />

จากการค้นคว้าเกี่ยวกับกลุ่มเซรามิกและกลุ่มดินในเชิงลึก<br />

ของพื้นที่เชียงใหม่มาพร้อมๆ กัน จะเห็นได้ว่า รูปแบบ<br />

กระบวนการทำงานที่ขับเน้นที่กระบวนการค้นคว้าและ<br />

ทดลองของสตูดิโอ มักจะนำไปสู่การเข้าถึงองค์ความรู้<br />

ใหม่ๆ อีกทั้งช่วยเสริมสร้างให้เกิดการพัฒนาทั้งต่อตนเอง<br />

และผู้ร่วมงานอยู่เสมอไม่ว่าในทางตรงหรือทางอ้อม ซึ่ง<br />

ก็เป็นสิ่งที่พัชรดาพยายามเน้นย้ำถึงความต้องการในการ<br />

ขับเคลื่อนส่วนดังกล่าวให้เกิดขึ้นอยู่เสมอ<br />

“เราได้มีโอกาสทำ pavilion ของบรัษัทแผ่นลามิเนต EDL<br />

ในงานสถาปนิก ปี 2565 ที่ผ่านมา เราได้ออกแบบทำเป็น<br />

trimetric pavilion โดยคิดว่าไม่จำเป็นต้องสวย แต่ควรจะ<br />

ต้องมี message บางอย่างที่ชัดเจน เราก็คิดอย่างเรียบง่าย<br />

มากว่าเราจะไม่ทำ pavilion ที่สร้างขยะ โดยเราก็ออกแบบ<br />

โครงสร้างเป็นกล่องโปร่งในรูปแบบพื้นที่ปิด แล้วก็สล็อต<br />

แผ่นลามิเนตเข้าไปอย่างหลวมๆ โดยไม่มีการเจาะยึด หรือ<br />

แม้กระทั่งลอกสติ๊กเกอร์ออกเลย ซึ่งได้ไอเดียนี้เกิดจากการ<br />

ขนตีลังขนส่งแผ่นลามิเนต ซึ่งเราก็ไปหยิบเอาภาษาในการ<br />

ทำงานนั้นมาใช้ สุดท้ายแผ่นลามิเนตก็ไม่เสียหาย สามารถ<br />

นำไปตัดเป็นแผ่นตัวอย่าง หรือนำไปขายจริงเป็นตัวโชว์<br />

ก็ได้ และสำหรับไม้ที่เป็นโครงก็สามารถถอดออกนำไป<br />

ประกอบเป็นลังขนส่งได้จริง”<br />

ภาษาการทำงานออกแบบของสตูดิโอแห่งนี้ นอกจากจะ<br />

พยายามขับเน้นขยายส่วนของกระบวนการดำเนินงาน หรือ<br />

ธรรมชาติของความเป็นสิ่งนั้น ก่อนพลิกกลับมาน ำเสนอ ด้วย<br />

วิธีการที่คำนึงการหมุนเวียนอันไม่เสียเปล่า ในกระบวนการ<br />

เดียวกันนี้ ก็เอื้อให้สามารถสังเกตเห็นถึงความพยายามใน<br />

การนำเสนอศักยภาพความยึดหยุ่นในการดัดโค้งของวัสดุ<br />

ที่นำมาใช้งานไปในคราวเดียวกัน อีกทั้งภาษาที่คล้ายคลึง<br />

ก็ได้ปรากฏอย่างเด่นเช่นในงานออกแบบส่วนทางเดินเข้า<br />

ร้านกาแฟ Boonma ด้วยเช่นกัน


SHER MAKER<br />

157<br />

“We persuade customers to invest in materials. Instead of using<br />

whatever materials were available, we chose those that could be<br />

sourced locally or from nearby areas. Meanwhile, the creators of<br />

these materials are actual customers of the gas station. A project<br />

such as this depicts how design can be utilized to help propel the<br />

local economy.”<br />

Since then, the ceramic factory has been asked to collaborate with several other design studios,<br />

and they have even expanded their services with the Raw Material Unit, which specializes in<br />

building cladding materials. Meanwhile, Sher Maker obtained a new set of data from their<br />

extensive research on various groups of ceramics and earth in Chiang Mai. It demonstrates<br />

how the studio’s work method, which focuses on research and experimentation, frequently<br />

leads to the opening of a new door that grants access to a new body of knowledge. The approach<br />

also benefits both the studio and their collaborators in both direct and indirect ways,<br />

something Patcharada wishes the studio would continue to do.<br />

11<br />

ภาพการเวิร์กช็อป<br />

งานวัสดุดินเผา<br />

12<br />

Façade เซรามิก<br />

โครงการ PTT Saraphi<br />

13<br />

ผลงานออกแบบ<br />

Thematic Pavilion<br />

งานสถาปนิก’ 65<br />

12<br />

“At the Architect Expo <strong>2023</strong>, we had the opportunity to design a pavilion for EDL, the laminate<br />

company. It was one of the thematic pavilions, and we created the design with the idea that<br />

it didn’t have to be visually stunning, but it should include and communicate a clear message.<br />

The idea was to build a zero-waste pavilion, which was really simple and straightforward. It<br />

birthed this boxy and airy framework inside a closed-off space with slots for the laminates to<br />

be loosely inserted without the need for drilling, fastening, or even the use of adhesive. The<br />

concept was inspired by the way laminates are packaged for shipment. By factoring that into<br />

the design, we were able to create a pavilion that could successfully display the laminates<br />

without causing any damage to them, while the materials could later be turned into samples or<br />

sold at the shop display model pricing. The structure’s timber components were disassembled<br />

and reassembled into shipping crates for transporting goods.<br />

The studio’s design language frequently emphasizes work processes and the natural properties<br />

of materials or technologies. The delivery is carried out through an efficient circular approach,<br />

exhibiting an attempt to bring forth the potential and flexibility of the materials used. Such design<br />

language can be found in the design of the entryway to Boonma Café.<br />

The café’s design aims to showcase the site’s unique surroundings, highlighting its potential<br />

to generate one-of-a-kind spatial experiences rather than the tactility of physical objects.<br />

The café’s entrance was designed with a curtain wall that formed a semi-circular enclosure.<br />

To reflect the surrounding scenery, the original façade was removed and replaced with a<br />

mirror. Because of the site’s limited space, the design avoided interfering with the current<br />

setting, instead opting for the intervention of the preexisting landscape, making it appear<br />

wider and serving to enhance spectacular spatial experiences for users.<br />

13<br />

Processing Research and Open Data<br />

The core, or perhaps the most visible, component of Sher Maker’s work method is how the<br />

studio positions itself on the foundation, which begins with a true understanding of what<br />

they were planning to develop before commencing the ‘making’ process. While that is<br />

something that any design studio or line of work would also do, Sher Maker’s methodology<br />

and approach to gaining a good grasp of the subject matter with which they are working<br />

generally overlap with the actual practice and ‘making’ part of the process. It results in a set<br />

of data that is placed in a given direction and perspective, which finally leads to a specific<br />

way of accessing the body of knowledge.


158<br />

professional<br />

หากแต่เป็นการพลักดันศักยภาพเพื่อสร้างประสบการณ์<br />

ในการรับรู้ทางสภาพแวดล้อมที่โดดเด่นของพื้นที่แทนสิ่ง<br />

ที่เป็นวัสดุที่จับต้องได้ ในการทำงานออกแบบทางเข้าร้าน<br />

กาแฟแห่งนี้ ทางสตูดิโอเพียงทำงานผ่านการล้อมม่านเป็น<br />

ครึ่งวงกลม ตัดส่วน façade เดิมออก และติดตั้งกระจกเงา<br />

เพื่อสะท้อนทิวทัศน์โดยรอบ ภายใต้ข้อจำกัดทางพื้นที่ที่มี<br />

ขนาดแคบ งานออกแบบนี้จึงไม่ได้เข้าไปดัดแปลงสภาพ-<br />

แวดล้อมแม้แต่น้อย แต่กลับแทรกแซงฉีกขยายภาพภูมิทัศน์<br />

เดิมให้กว้างและทำงานเสริมสร้างประสบการณ์และตราตรึง<br />

ภาพในการจดจำแก่ผู้เข้ามาใช้บริการ<br />

Processing research and open data<br />

ตลอดกระบวนการทำงานของสตูดิโอ Sher Maker สิ่งที่<br />

สามารถรับรู้และเป็นแก่นแกนหลักในการทำงานออกแบบ<br />

ของพวกเขา คงต้องกล่าวว่าเป็นเรื่องของการจัดวางต ำแหน่ง<br />

แห่งที่ตนเองบนพื้นฐานที่จะต้องเริ่มจากการทำความเข้าใจ<br />

ในสิ่งที่ต้องการปรับพัฒนาอย่างถ่องแท้เสียก่อนการเริ่มต้น<br />

ลงมือดำเนินการ ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นสิ่งพื้นฐานที่ไม่ว่า<br />

สตูดิโอออกแบบแห่งไหนหรือการทำงานใดๆ ก็ต้องทำ<br />

หากแต่กระบวนการและแนวทางอันนำไปสู่ความเข้าใจ<br />

ที่ถ่องแท้ของสตูดิโอแห่งนี้ ได้ซ้อนชั้นไปพร้อมกับการทำ<br />

ความเข้าใจในการลงมือทำจริง ส่งผลให้ชุดข้อมูลที่วางอยู่<br />

บนทิศทางและมุมมองอันเฉพาะที่ได้รับอาจน ำไปสู่การเข้าถึง<br />

องค์ความรู้ในรูปแบบเฉพาะเจาะจง<br />

“ส่วนตัวเราสนใจในเรื่องของ material resource<br />

มากๆ โดยสนใจว่า แหล่งที่เราอยู่อาศัยนั้นมีอะไรที่มันดี<br />

และสามรถใช้ทดแทนกันและกันได้บ้าง อะไรที่อยู่ใกล้<br />

ไซต์ก่อสร้าง ถึงขั้นทำแผนผังกัน โดยที่ออฟฟิ ศได้มี<br />

การจัดทำแผนที่โรงเผาอิฐ โรงไม้เก่า บ่อดิน ลานทราย<br />

ทั่วเชียงใหม่ไว้ และเรามองว่าอยากจะเปิ ดเป็ น open<br />

data โดยสิ่งเหล่านี้สามารถทำให้คนรู้ ได้ว่าภูมิภาคที่<br />

เราอยู่อาศัยนั้น มันสามารถใช้วัสดุอะไรและสามารถ<br />

ช่วยประหยัดไม่เพียงในส่วนของงบประมาณ แต่รวมถึง<br />

รอยเท้าคาร์บอนในกระบวนการขนส่ง”<br />

นอกจากนั้นพัชรดายังกล่าวเสริมถึงความใส่ใจในประเด็น<br />

เรื่องของการทิ้งรอยเท้าคาร์บอนซึ่งเป็นหนึ่งในความสนใจ<br />

ที่ทางสตูดิโอพยายามจะจัดการ กระทั่งมีการสร้างความ<br />

ท้าทายกับตนเองในการทำงาน โดยการใช้วัสดุก่อสร้างใน<br />

รัศมีที่ไม่เกิน 20 กิโลเมตร และสามารถสร้างเป็นบ้านดีๆ ได้<br />

สักหนึ่งหลังด้วยราคาที่สามารถจับต้องได้นั้นเป็นไปได้จริง<br />

สิ่งนี้ยังเห็นผ่านการทำงานในหลายโปรเจกต์ข้างต้นซึ่งวัสดุ<br />

ที่เลือกใช้ล้วนเป็นวัสดุภายในพื้นที่หรือภายในองค์กร หรือ<br />

อีกโปรเจกต์ที่ทางสตูดิโอกำลังออกแบบ working space<br />

ของสตูดิโอเซรามิกเก่า ก็ได้นำเศษวัสดุอิฐเผาแกร่งที่เหลือ<br />

อยู่ภายในพื้นที่โรงงานเดิมนำมาใช้ในงานออกแบบ ผ่าน<br />

กระบวนการแปลงเปลี่ยนวัสดุเก่าด้วยการบิดสร้างเรื่องราว<br />

บนบริบทพื้นที่ใหม่ซึ่งซ้อนทับอยู่บนสถานที่เดิม<br />

สำหรับการวางเป้าหมายของสูติโอ Sher Maker พัชรดา<br />

ได้เลือกมองผ่านทัศนะของการทำงานออกแบบของสูติโอที่<br />

มีส่วนช่วยสร้างเสริมแรงกระเพื่อมต่อสังคม คือเธอมองว่า<br />

ในเวลาอีก 10-20 ปี ข้างหน้าสิ่งที่คาดหวังอยากให้เกิดขึ้น<br />

คือ การได้เผยแพร่ชุดข้อมูล open data ดีๆ สักหนึ่งชุด<br />

อันสามารถเข้ามาช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพในระบบ<br />

กระบวนการก่อสร้าง รวมถึงในเชิงธุรกิจการก่อสร้างใน<br />

ภูมิภาคขึ้นมาได้ ซึ่งนักศึกษาหรือคนในสายงานก่อสร้าง<br />

สามารถเข้าถึงและใช้งานข้อมูลได้ โดยสามารถรู้ถึงแหล่ง<br />

วัสดุที่ต้องใช้ที่อยู่ใกล้ตัว และในส่วนของกระบวนการทาง<br />

ความคิดเธออยากให้การเป็นสตูดิโอออกแบบที่อยู่ต่างจังหวัด<br />

เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้โดยปกติทั่วไป ด้วยชุดความคิดเดียวกัน<br />

กับคนที่เลือกตัดสินใจตั้งสตูดิโอในพื้นที่เมืองหลวง<br />

“ในพักหลังๆ มานี้คนก็ทยอยกลับบ้านกันมากขึ้น และ<br />

เราก็อยากให้มีความหลากหลายของออฟฟิศ ไม่ใช่เพียง<br />

กระจุกตัวอยู่แต่ในพื้นที่กรุงเทพฯ เราอยากเห็นว่าการ<br />

ตั้งสตูดิโอในพื้นที่ต่างจังหวัดนั้นทำได้ ช่วงหลังๆ ที่ไป<br />

บรรยายในมหาวิทยาลัย ก็จะมีเด็กๆ ถามว่าหากจะกลับไป<br />

ตั้งออฟฟิศอยู่ที่บ้านเกิดของตนเองนั้นจะเป็นไปได้จริงหรือ<br />

แล้วมันจะต้องทำอย่างไร เราจึงอยากทำให้เรื่องเหล่านี้เป็น<br />

เรื่องที่ปกติที่สามารถเกิดได้ในทุกภูมิภาค<br />

<strong>14</strong><br />

<strong>14</strong><br />

ผลงานออกแบบพื้นที่<br />

ภายใน Boonma คาเฟ่ที่<br />

เล่นกับขอบเขตของอาคาร<br />

และงาน landscape


SHER MAKER<br />

159<br />

15<br />

พื้นที่ใต้ชายคาของอาคาร<br />

สานักงานถูกออกแบบ<br />

เป็นพื้นที่เวิร์กช็อปและ<br />

พื้นที่รับประทานอาหาร<br />

15<br />

“We’re particularly interested in material resources, especially what good materials each locality or<br />

area has and whether they can be used as alternatives, including resources close to a project’s location.<br />

We’ve developed a map of makers and manufacturing facilities in Chiang Mai, such as brick fire kilns, old<br />

timber mills, and places that sell earth and sand. We’ve been planning to launch it as open data in order for<br />

people to have access to information about locally sourced materials in the regions they live in and what<br />

materials they can use as substitutes. It will not only help to cut building costs, but it will also help to<br />

minimize the carbon footprint associated with logistics.”<br />

Patcharada elaborated on the studio’s interest in carbon footprint concerns, one of the interests<br />

that they have been attempting to resolve. The situation has even become a challenge for them<br />

as they work to devise a realistic method to obtain all of the building materials from within a<br />

20-kilometer radius of the site for the construction of a high-quality home at an affordable cost.<br />

The effort has been shown in many of their projects, some of which were previously mentioned,<br />

where they chose to use materials that were available in the area or something that they made<br />

through collaborations with their partners. One of the studio’s current projects is the design of a<br />

ceramic studio’s workplace, which incorporates highly durable leftover bricks from the owner’s<br />

factory. The approach repurposes previously underutilized resources, telling a new story in a<br />

new context, emerging from and superimposing the original site.<br />

สุระวิทย์ บุญจู<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันมีความ<br />

สนใจด้านงานศิลปะ<br />

วัฒนธรรม ทั้งแบบ<br />

ประเพณีและร่วมสมัย<br />

Surawit Boonjoo<br />

Graduated from the<br />

Faculty of Archeology,<br />

Silpakorn University.<br />

His interest currently<br />

is in art and culture,<br />

both traditional and<br />

contemporary.<br />

Patcharada chose to view the goal of Sher Maker through the studio’s works and how they<br />

have contributed to helping create positive ripple effects in society. Patcharada said that what<br />

she expects to see happening within the next 10–20 years is the studio’s publication of a set of<br />

well-developed open data that can help improve the efficiency of construction processes and<br />

systems as well as the overall regional construction industry. The data will be accessible to<br />

students and those working in the construction field and allow them to search for local material<br />

sources. She also hopes to see a paradigm shift in how design studios can be operated outside<br />

of Bangkok, with similar reasons that birth a Bangkok-based studio as well as how it keeps its<br />

business running.<br />

“Recently, I’ve seen more people moving back home, and I’d really like to see more diversity<br />

in design offices in this country. Rather than having the majority of studios situated in Bangkok,<br />

I want to see that it is possible and practicable to establish a design studio in provinces other<br />

than Bangkok. When I give lectures at universities, students often ask if it is possible to run a<br />

design studio in their hometowns and what they need to do to achieve that. I want this to be a<br />

normalized condition in which every area and region has the ability for creative professionals<br />

to start a career and work for and from the places in which they were born.<br />

fb.com/Sher Maker


160<br />

professional / studio<br />

1922<br />

Architects<br />

ทีมงาน 1922 Architects<br />

Songtam Srinakarin and Piangor<br />

Pattayakorn chose to establish<br />

their studio in Chiang Rai due to the<br />

remoteness of the area and the desire<br />

to create something of their own.<br />

จุดเริ ่มต้นของสตูดิโอ 1922 Architects<br />

เริ่มขึ ้นได้อย่างไร ช่วยย้อนเล่าให้ฟั งสั้น ๆ<br />

ทรงธรรม ศรีนัครินทร์: เดิมผม และคุณ-<br />

เพียงออ พัทธยากร เราทำงานอยู่ที่ Spacetime<br />

Architects กันมาก่อน หลังจากเราตัดสินใจ<br />

สร้างครอบครัวร่วมกัน ก็มีจังหวะให้ได้จับพลัด<br />

จับผลูมาเปิดสตูดิโอกันอยู่ที่เชียงราย ตอนนั้น<br />

เรามองว่า ถ้าจะมาเริ่มปักหลักอยู่ที่นี่ก็ต้องสร้าง<br />

ผลงานอะไรเป็นของตัวเอง เราก็เลย สร้างบ้าน<br />

ของเรา โดยคิดเอาไว้ว่านอกจากบ้านหลังนี้จะ<br />

เป็นผลงานให้กับเราแล้ว เราก็ยังได้ใช้พื้นที่ตรง<br />

นี้เป็นพื้นที่ในการทดลองอะไรหลาย ๆ อย่าง<br />

และไขคำตอบใน สิ่งที่เราเคยสงสัยจากที่ผ่านมา<br />

บ้านหลังนี้ก็เลยเป็นเหมือนจุด เริ่มต้นของ<br />

หลายสิ่ง ทั้งสตูดิโอ การทดลอง และการได้<br />

เริ่มร่วมงานกับผู้คนหลา ๆ ส่วน<br />

ทำไมถึงไปเปิ ดสตูดิโอที่เชียงราย ทั้ง ๆ ที่จะ<br />

เปิ ดสตูดิโออยู่กรุงเทพฯ ก็ได้<br />

ทรงธรรม ศรีนัครินทร์: ขอเกริ่นก่อนว่าผม<br />

เป็นคนจังหวัดขอนแก่น ไปเรียนอยู่เอแบค<br />

ส่วนคุณเพียงออเป็นคนจังหวัดเชียงราย ไป<br />

เรียนอยู่ศิลปากร ก็คือเราอยู่กรุงเทพฯ กัน<br />

ตั้งแต่สมัยเรียนจนจบมาทำงานหลายปีเลย<br />

ด้วยความที่เป็นคนต่างจังหวัด แน่นอนก็มี<br />

ความคิดอยากกลับไปอยู่จังหวัดบ้านเกิดของ<br />

ตัวเอง สุดท้ายก็เลยเลือกมาอยู่เชียงราย ซึ่ง<br />

เป็นบ้านเกิดของคุณเพียงออ กับอีกส่วนหนึ่ง<br />

เราก็คิดเห็นตรงกันว่าสถาปนิกก็ไม่ควรไป<br />

กระจุกตัวอยู่แค่ที่กรุงเทพฯ ถึงแม้ในเรื่องของ<br />

ค่านิยมในสายงาน ค่าแรง หรือปัจจัยอื่น ๆ ใน<br />

ต่างจังหวัดจะไม่สะดวกหรือคุ้มค่าเท่ากรุงเทพฯ<br />

แต่การที่เรากระจายตัวมาอยู่ต่างจังหวัดก็จะ<br />

เป็นการเข้ามาทำให้พื้นที่เกิดความเข้มแข็งใน<br />

เรื่องเหล่านี้ในอนาคตได้ ซึ่งสำหรับเรื่องแบบนี้<br />

ก็ต้องใช้เวลากันพอสมควร เพราะขนาด สตูดิโอ<br />

ของเรากว่าจะตกตะกอนหรือได้เริ่มมาทำงาน<br />

ของตัวเองจริง ๆ ก็ยังใช้เวลาเกือบ 7 ปีเลย<br />

แล้วการไปสร้างผลงานที่เป็ นเหมือนชิ ้นงาน<br />

ทดลองของตนเองในพื้นที่ที่อาจไม่ได้มีคน<br />

เข้าใจในสิ ่งที่เรากำลังตั้งใจจะทำมันยากไหม<br />

ทรงธรรม ศรีนัครินทร์: ถ้าถามว่ายากไหม<br />

ก็มีทั้งความโชคดีที่ทำให้การทำงานมันง่ายขึ้น<br />

และก็มีความยากในเรื่องของการพูดคุยเกี่ยวกับ<br />

ดีเทลการออกแบบปะปนกันไป ความโชคดี<br />

ที่ว่าก็คือคุณสุดาพิมพ์ ภิระบรรณ์ ซึ่งเป็น<br />

เพื่อนสถาปนิกของเราเป็นคนเชียงราย แล้ว<br />

ครอบครัวของเค้า ก็ทำงานรับเหมาอยู่ที่นี่ แต่<br />

ก็เป็นช่างรับเหมาแบบชาวบ้าน เหมือนระดม<br />

คนทั้งหมู่บ้าน มาอะไรทำนองนั้น หนึ่งในนั้น<br />

ก็จะมีสล่าไม้อยู่ แต่ก็เป็นงานไม้ทั่วไป อาจไม่<br />

ได้เข้าใจดีเทลในงานของเรามาก คือเค้าก็ทำ<br />

ตามประสบการณ์รุ่นสู่รุ่น พอมาทำงานกับเรา<br />

ก็จะมีความยากในเรื่องการเห็นภาพไม่ตรงกัน<br />

ในครั้งแรก ก็ต้องมาคุยกันให้ชัดเจนว่าอยาก<br />

ให้เค้าลองเปิดใจว่าสิ่งที่เราอยากทดลองมัน<br />

อาจไม่ใช่สิ่งที่เค้าเคยทำมาก่อน และเราเองก็<br />

ไม่รู้ว่ามันจะออกมาสำเร็จหรือเปล่าแต่เราก็<br />

อยากลองดู ตอนแรกเค้าก็ไม่เข้าใจเราเท่าไหร่<br />

จนงานมันออกมาสำเร็จแล้วได้รับคำชมจาก<br />

หลาย ๆ คน เค้าก็เริ่มมีกำลังใจ มีความภาค-<br />

ภูมิใจขึ้นมา แล้วหลังจากนั้นก็เริ่มคุยกันง่าย<br />

ขึ้นเริ่มเห็นเป็นภาพเดียวกันมากขึ้น<br />

จากตัวอย่างผลงานของ 1922 Architects<br />

ที่ผ่านมา คิดว่าตนเองคือสตูดิโอ<br />

หนึ ่ง ที่กำลังตั้งใจจะนำเสนอถึงเรื่องการใช้<br />

วัสดุจากธรรมชาติหรืองานประเภทพื้นถิ ่น<br />

เลยหรือเปล่า<br />

ทรงธรรม ศรีนัครินทร์: ส่วนตัวผมไม่ได้อิน<br />

กับความเป็นพิ่นถิ่นประเพณีอะไร ก็แค่ ชอบ<br />

บ้านไม้ชาวบ้าน ๆ ทั่วไป เราไม่ได้มีแนวทาง<br />

ที่ชัดเจนขนาดนั้น เพราะคิดว่าเป็น เรื่องของ<br />

มุมมองมากกว่าว่าโจทย์นั้น ๆ ที่ได้มาคืออะไร<br />

แล้วเราก็แสดงความคิดเห็นของเราผ่านงาน<br />

สถาปัตยกรรมลงไป สำหรับงานบ้านตัวเองที่<br />

เป็นบ้านไม้และทำงานร่วมกับสล่า อาจเป็น<br />

ส่วนหนึ่งที่ทำให้หลายคนมองภาพไปในทิศทาง<br />

นั้นว่า แนวทางของเราน่าจะเป็นแบบนั้น ซึ่ง<br />

จริง ๆ แล้ว เราแค่พยายามอยากทำงานให้<br />

เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อม เราคิดเสมอว่าจะทำ<br />

ยังไงให้อาคารสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อม<br />

น้อยที่สุด แบบที่ว่าถ้าเราตายไปแล้วมันก็จะ<br />

ไม่เป็นขยะต่อ<br />

ดังนั้นในมุมของเราคิดว่าแนวทางของพวกเรา<br />

คงเป็นการพูดถึงเรื่องความเชื่อมโยงระหว่าง<br />

คนและธรรมชาติ สถาปัตยกรรมไม่ควรเป็น<br />

เครื่องมือที่ทำให้คนแยกตัวออกจากธรรมชาติ


แต่ควรจะเป็นสิ่งที่ทำให้คนอยู่อย่างกลมกลืน<br />

กับธรรมชาติ เรื่องนี้ จะเป็นแก่นของเรา ส่วน<br />

เรื่องอื่น ๆ ก็จะเป็นการเสริมประเด็นเข้าไป<br />

ตามความ เหมาะสม<br />

ช่วยขยายความการเชื่อมโยงกับธรรมชาติ<br />

ในแบบฉบับของ 1922 Architects ได้ไหม<br />

ทรงธรรม ศรีนัครินทร์: ส่วนหนึ่งก็น่าจะ<br />

เป็นเรื่องการเลือกใช้วัสดุยั่งยืน อย่างบ้านของ<br />

ตัวเองก็เลือกใช้ไม้จริงเกือบทั้งหมด เพราะ<br />

ในมุมของเราไม้มันยั่งยืนมาก ถ้ามองกลับไป<br />

ยุคก่อน จะเห็นว่ามีอาคารเก่า ๆ อายุเป็นร้อยปี<br />

มากมายที่สร้างขึ้นจากไม้ แต่ด้วยที่วัสดุไม้จริง<br />

ในทุกวันนี้ไม่ได้สามารถตอบโจทย์ทั้งวิธีชีวิต<br />

ของคนยุคปัจจุบันได้ดี เช่น สภาพอากาศ<br />

แปรปรวน การบำรุงรักษา หรือแม้แต่การ<br />

ก่อสร้างในแบบพื้นถิ่นโบราณที่มีความยาก<br />

และต้องมี ความรู้เฉพาะทางก็เลยทำให้ไม้ได้<br />

รับ ความนิยมน้อยลงเรื่อย ๆ และมีราคาสูงขึ้น<br />

1922 ARCHITECTS<br />

คนก็เลยหันไปเลือกใช้วัสดุอื่น ๆ ที่ตอบโจทย์<br />

กว่า ง่ายกว่า หรือสะดวกกับการดำเนินชีวิต<br />

เค้ามากกว่า<br />

แต่ทั้งนี้ก็ไม่ใช่ว่าวัสดุในปัจจุบันจะไม่ดี ทุกวันนี้<br />

มีวัสดุทดแทนธรรมชาติให้เลือกใช้ มากมาย<br />

เพียงแต่ถ้าดูจากที่ทำมาก็จะเห็นว่าถ้าเรามี<br />

โอกาสใช้วัสดุธรรมชาติ เราก็จะใช้ให้ได้มาก<br />

ที่สุด แต่ก็ต้องดูความเหมะสมทั้งในเรื่องการ<br />

ใช้งานของสถานที่นั้น ๆ และโจทย์ที่ได้รับมา<br />

อีกที ถ้าใช้วัสดุธรรมชาติแล้วเป็นภาระกับ<br />

คนอยู่ เราก็จำเป็นต้องลดลงแล้วมองหาวัสดุ<br />

ทดแทนที่เป็นมิตรกับธรรมชาติหรือที่มีความ<br />

น่าสนใจมาใช้<br />

คุณมองภาพสตูดิโอในอนาคตไว้อย่างไร<br />

ทรงธรรม ศรีนัครินทร์: เราตั้งใจไว้อยู่แล้ว<br />

ว่าไม่ได้อยากมีสตูดิโอสเกลใหญ่ รวมถึงเรา<br />

ก็ตั้งเป้าว่าคงรับงานกันเฉพาะในพื้นที่ของ<br />

161<br />

เราด้วย แล้วคงเน้นไปที่เรื่องการทดลองและ<br />

พัฒนาแนวทาง การทำงานในแง่มุมที่เราสนใจ<br />

อย่างเรื่องของไม้ ถ้าเราอยากทำให้ไม้กลับมา<br />

แพร่หลายอีกครั้ง เราอาจต้องทดลองหาวิธี<br />

แก้ไขทีละจุด เช่น การคิดเทคนิคทุกอย่างให้<br />

ช่างปัจจุบันสามารถทำงานได้ง่ายขึ้น เรื่องของ<br />

หน้าตาและดีเทลเทคนิคการก่อสร้างมันอาจ<br />

ไม่ได้เหมือนงานพื้นถิ่น แต่แก่นหลัก ๆ ที่มันดี<br />

อยู่แล้ว ที่ถูกคิดมาดีแล้ว เราก็เอามาประยุกต์<br />

ใช้ในรูปแบบของเรา เราจะทำยังไงให้มันอยู่<br />

อย่างร่วมสมัย อันนี้น่าจะเป็นส่วนหนึ่งที่คงจะ<br />

พัฒนาและหาคำตอบกันไปเรื่อย ๆ ในอนาคต<br />

รวมถึงถ้าหากมีโอกาสก็อยากแชร์แนวทาง<br />

หรือประสบการณ์ต่างๆ ของเราอยู่เหมือนกัน<br />

เพราะหลัง ๆ มานี้ก็มีน้อง ๆ ติดต่อมาขอ<br />

ฝึกงานอยู่เรื่อย ๆ ก็น่าจะเป็นเรื่องดีที่จะช่วย<br />

ให้สิ่งที่เรา คิดมีคนไปสานต่อหรือไปต่อยอดให้<br />

มันดียิ่งขึ้นกับงานออกแบบ<br />

Baan Nang Lae Nai<br />

Baan Brain Clinic<br />

Piti


162<br />

professional / studio<br />

Baan Nang Lae Nai<br />

How did 1922 Architects get their<br />

start? Could you please tell us<br />

about it briefly?<br />

Songtam Srinakarin: I and Piangor<br />

Pattayakorn used to work at Spacetime<br />

Architects. After deciding to start our own<br />

family, we were given the unexpected<br />

opportunity to open a studio in Chiang Rai.<br />

We believed that if we were to settle here,<br />

we would have a chance to construct<br />

something of our own. So we built our<br />

house, hoping that it could be a space to<br />

experiment with various things and receive<br />

answers to questions we’d had in the past,<br />

as well as a work of our own. So this<br />

property serves as a jumping-off for many<br />

things, including a studio, an experiment,<br />

and collaborations with many people.<br />

Why did you open a studio in<br />

Chiang Rai when you could have<br />

opened a studio in Bangkok?<br />

Songtam Srinakarin: Let me first<br />

say that I am from Khon Kaen Province<br />

and went to study at AAU, ABAC. As for<br />

Piangor, she is from Chiang Rai Province,<br />

and she studied at Silpakorn University.<br />

That is, we actually met in Bangkok. From<br />

the time we studied until we graduated,<br />

we worked for many years. As a person<br />

from another province, of course, there are<br />

thoughts of wanting to return to live in your<br />

own home province. In the end, we chose<br />

to come to Chiang Rai, which is Piangor’s<br />

hometown. And we have the same opinion<br />

that architects’ studios should not be<br />

located only in Bangkok, even in matters of<br />

values in the line of work, wages, or other<br />

factors. In the provinces, it will not be as<br />

convenient or worthwhile as in Bangkok,<br />

but the fact that we spread out to the outer<br />

provinces will help strengthen the remote<br />

community. It was not an easy decision, as<br />

it took some time for our studio to settle<br />

down or start working on our project,<br />

which took almost 7 years.<br />

Is it difficult to make your own<br />

experimental work in an area<br />

where no one may understand<br />

what you’re attempting?<br />

Songtam Srinakarin: Well, there is<br />

both good fortune that makes working<br />

simpler and difficulty in discussing<br />

design specifics. Sudapim Piraban, our


1922 ARCHITECTS<br />

163<br />

we believe that our approach should<br />

be the relationship between people<br />

and nature. Architecture should not be<br />

used to separate people from nature;<br />

rather, it should enable people to live in<br />

harmony with nature. This will be our<br />

overarching theme.<br />

colleague architect from Chiang Rai,<br />

was the source of our good fortune. Her<br />

family also works as contractors here.<br />

However, they are contractors, not plain<br />

peasants. It’s like rallying the entire community<br />

to come together and work. One<br />

of them is a wood artist, but his specialty<br />

is general woodworking. Because there<br />

are numerous details in our work, it may<br />

be tough at first because they always<br />

work via their conventional experiences<br />

from generation to generation. After<br />

coming to work with us for the first time,<br />

it would be tough to see the visuals of<br />

the design not matching up, therefore<br />

we needed to communicate properly.<br />

We want people to open up because<br />

what we’re proposing may be something<br />

they’ve never done before. We didn’t<br />

sure if it would be successful, but we<br />

wanted to give it a shot. They didn’t<br />

understand us at first, but once the task<br />

was completed effectively and received<br />

positive feedback from many people,<br />

they began to feel encouraged and<br />

proud. After that, it became easier to<br />

communicate with one another and to<br />

see more of the same picture.<br />

Based on previous instances of<br />

1922 Architects’ work, do you<br />

consider yourselves a studio that<br />

seeks to present the utilization of<br />

natural materials or local works?<br />

Songtam Srinakarin: Personally,<br />

I am not interested much in any local<br />

traditions. Ordinary wooden houses<br />

appeal to me. We don’t have a set of<br />

rules. I believe it is an issue of perception<br />

more than problem or what exactly it is.<br />

Then we communicate our thoughts<br />

through our architecture. For our own<br />

wooden house and collaboration with<br />

local artisans, I think that could be one<br />

of the reasons why so many people see<br />

us in that light. Actually, we merely strive<br />

to stay connected to our surroundings.<br />

We are constantly thinking about how<br />

to keep structures from generating difficulties<br />

for the environment, in such a way<br />

that it will no longer be garbage if we die.<br />

As a result, we believe that our approach<br />

should be the relationship between<br />

people and nature. Architecture should<br />

not be used to separate people from<br />

nature; rather, it should enable people to<br />

live in harmony with nature. This will be<br />

our overarching theme. In terms of other<br />

matters, further issues will be added as<br />

needed.<br />

Can you explain how 1922 Architects<br />

sees its work in relation to<br />

nature?<br />

Songtam Srinakarin: Part of it is<br />

presumably due to the use of environmentally<br />

friendly materials. In our own<br />

home, for example, I used almost entirely<br />

natural wood. Wood, in our opiniown, is<br />

quite sustainable. When we look back<br />

in time, we can see that there are many<br />

old buildings that are hundreds of years<br />

old that are built from wood, but because<br />

real wood materials today are not able<br />

to meet both the lifestyle and the needs<br />

of people in the present era, such as<br />

changing weather conditions, maintaining<br />

or even building in the ancient local style<br />

is difficult and requires specialized know-<br />

ledge. As a result, the wood received<br />

is becoming less popular and more<br />

expensive. As a result, people resort to<br />

other materials that better meet their<br />

demands, are easier to work with, or<br />

are more convenient for their lifestyle.<br />

This is not to say that present materials<br />

aren’t useful. There are numerous natural<br />

options available nowadays. However, if<br />

you look at what has been created, you<br />

will notice that if we have the possibility<br />

to use natural resources, we will use<br />

as many as we can. However, we must<br />

consider the appropriateness of both<br />

the utilization of that location and the<br />

concerns that we have received. If using<br />

natural resources is a burden on people,<br />

we must decrease their use and explore<br />

for substitute materials that are environmentally<br />

beneficial or entertaining to use.<br />

What do you think the future holds<br />

for Studio 1922?<br />

Songtam Srinakarin: We’d previously<br />

decided we didn’t want a large-scale<br />

studio. We also intend to work only in<br />

our current location, with the intention<br />

of experimenting and developing new<br />

methods of working in areas that interest<br />

us. As in the case of wood If we want<br />

to make wood popular again, we may<br />

have to solve each problem one at a<br />

time, such as thinking of every technique<br />

to make it easier for current technicians<br />

to work, the appearance of the work, and<br />

the details of the construction, which<br />

may not be as good as local work, but<br />

the main core is already good. That was<br />

carefully considered. How to use it in<br />

our own way, how to make it contemporary—this<br />

is one aspect that should be<br />

expanded and researched in the future,<br />

including whether there is a possibility<br />

to share various experiences we have.<br />

Many younger people have recently<br />

contacted us to inquire about internship<br />

opportunities. It would be beneficial to<br />

help us promote our ideas and have<br />

someone continue or develop them<br />

further, making them even better with<br />

design work.<br />

1922architects. com


164<br />

chat


VASU POSHYANANDANA<br />

165<br />

ในสถานะสมาคมวิชาชีพทางด้านสถาปั ตยกรรม เราจำเป็ นต้องแสดงบทบาทในการ<br />

ให้ความรู้เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่าของอาคารที่เป็ นมรดกทางสถาปั ตยกรรม แนวทาง<br />

ในการทำงานของคณะกรรมาธิการอนุรักษ์สถาปั ตยกรรม จึงแบ่งออกได้เป็ นสามกลุ่ม<br />

คือการรณรงค์ คัดการ การเผยแพร่องค์ความรู้เพื่อให้เกิดการตระหนักรู้ ด้วยการจัด<br />

กิจกรรมเสวนา รวมถึงการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการให้คำปรึกษา และส่วนที่สาม<br />

ก็คือการมอบรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปั ตยกรรมดีเด่น ซึ ่งทำกันมาอย่างต่อเนื่อง<br />

วสุ โปษยะนันทน์<br />

กรรมการกลาง<br />

อาษา: นโยบายและวิสัยทัศน์ของฝ่ ายอนุรักษ์<br />

สถาปั ตยกรรมของคณะกรรมการบริหาสมาคม<br />

ชุดนี้มีแนวทางและแผนงานเป็ นอย่างไรบ้าง?<br />

วสุ โปษยะนันทน์: ผมขอเล่าย้อนกลับไปนิดนึงนะครับ<br />

ก่อนที่มีการก่อตั้งขึ้นมานั้น เกิดขึ้นจากสถาปนิกกลุ่มหนึ่ง<br />

มองเห็นว่า เกิดสถานการณ์การคุกคามต่อมรดกทาง<br />

สถาปัตยกรรมตามสถาปัตยกรรมไทยโบราณของวัดต่างๆ<br />

โดยวัดรื้อทิ้งบ้างอะไรเช่นนี้ จึงมาคิดกันว่า ในสถานะของ<br />

สมาคมทางวิชาชีพทางด้านสถาปัตยกรรม เราจำาเป็นต้อง<br />

แสดงบทบาทในการให้ความรู้เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่าของ<br />

อาคารเหล่านั้น และพยายามรณรงค์เพื่อให้หยุดเหตุการณ์<br />

ที่กำาลังจะเกิดขึ้น ซึ่งในจุดเริ่มต้นก็จะเป็นเช่นนี้ อาจพูด<br />

ได้ว่าเป็นการเกิดขึ้นจากปัญหา และเราก็พยายามหาทาง<br />

แก้ปัญหา โดยการที่มีทั้งในเชิงรุก ซึ่งออกไปคัดค้าน หรือ<br />

รณรงค์เพื่อหยุดโครงการพัฒนาที่จะส่งผลกระทบต่อมรดก<br />

ทางสถาปัตยกรรม ในส่วนที่สองเราก็จะมีการเผยแพร่<br />

ความรู้เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่ยั่งยืน และในเวลาต่อมาเรา<br />

ก็มีการจัดมอบรางวัลการอนุรักษ์ เพื่อเป็นการให้กำาลังใจ<br />

และแรงจูงใจในการผลักดันให้ผู้คนอยากที่จะอนุรักษ์<br />

สถาปัตยกรรม<br />

จากเรื่องราวและวัตถุประสงค์ในเบื้องต้น ก็จะสะท้อน<br />

ถึงกิจกรรมที่ทางกรรมธิการของสมาคมเราดำาเนินการ<br />

ตลอดมา เฉพาะนั้นเราจึงสามารถแบ่งแนวทางในการ<br />

ทำางานของเราออกได้เป็นสามกลุ่มด้วยกันดังที่กล่าวไป<br />

คือการออกไปรณรงค์ การเผยแพร่องค์ความรู้เพื่อให้เกิด<br />

การตระหนักรู้ ด้วยการจัดกิจกรรมเสวนา รวมถึงการให้<br />

ความช่วยเหลือทางวิชาการให้คำาปรึกษา และส่วนที่สาม<br />

ก็คือการมอบรางวัลที่เราทำากันต่อเนื่องมา โดยในช่วงเวลา<br />

ที่ผ่านมาไม่นานนี้เราก็มีการปรับทิศทางสำาหรับการมอบ<br />

รางวัลกันเล็กน้อย นโยบายในปัจจุบันเราก็จะยังคงสืบทอด<br />

เจตนารมณ์ของกลุ่มกรรมธิการนับตั้งแต่ยุคแรกเริ่มสืบต่อ<br />

กันมา


166<br />

chat<br />

อาษา: ขณะนี้ฝ่ ายอนุรักษ์มีโครงการอะไร<br />

ที่อยู่ในระหว่างดำาเนินการบ้าง?<br />

วสุ โปษยะนันทน์: ถ้าหากจะให้เล่าอย่างต่อเนื่องเลย<br />

ก็จะเป็นเรื่องการมอบรางวัล ที่จะเป็นการเสนอชื่อเพื่อ<br />

ขอพระราชทานรางวัลอนุรักษ์ดีเด่น ที่แต่เดิมเลยเราเรียก<br />

กันว่างานอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ซึ่งมีระดับที่<br />

เทียบเท่ากันทั้งหมด และเราจะมอบให้กับผู้ที่เป็นผู้ครอบ-<br />

ครองอาคารนั้นๆ โดยในรูปแบบเดิมจะเป็นเช่นนี้ ต่อมา<br />

เมื่อผมได้รับมอบหมายให้จัดการดูแลงานสถาปนิกฯ อยู่<br />

ครั้งหนึ่งนั้น ซึ่งมีธีมเน้นในเรื่องของการอนุรักษ์ “มองเก่า<br />

ให้ใหม่” เราจึงมาคิดกันต่อว่าจะทำาอย่างไรเพื่อให้งาน<br />

อนุรักษ์สามารถเป็นเรื่องที่จับต้องได้และทุกคนสามารถมี<br />

ส่วนร่วม เพราะแต่เดิมเมื่อพูดถึงการอนุรักษ์ คนก็มักจะ<br />

มองเป็นภาพของเก่าๆ ความโบราณ ที่อยู่ตรงกันข้ามกับ<br />

การพัฒนา เราจึงอยากปรับแนวความคิดในจุดนี้เสียใหม่<br />

คือการอนุรักษ์นั้นนับเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาอย่าง<br />

ยั่งยืน โดยการใช้ศักยภาพของทรัพยากรให้เต็มที่และ<br />

เกิดประโยชน์สูงสุด การใช้อะไรที่มีอยู่แล้วมาปรับใช้ใน<br />

ชีวิตประจำาวันเป็นสิ่งที่ทำาได้ จึงต้องคิดว่า การอนุรักษ์<br />

ไม่ใช่เพียงแค่การแช่แข็ง เก็บเอาไว้ ห้ามเปลี่ยนแปลง<br />

ห้ามแตะต้อง แต่ท้ายที่สุดเนื่องจากเหตุการณ์การแพร่<br />

ระบาดของโควิด-19 งานจึงถูกเลื่อนออกไป เราจึงปรับ<br />

เปลี่ยนเป็นการจัดเป็นนิทรรศการบนช่องทางออนไลน์แทน<br />

พร้อมๆ ไปกับการขับเคลื่อนนโยบายมองเก่าให้ใหม่ เราก็<br />

ย้อนกลับมาพิจารณาเรื่องของการมอบรางวัลการอนุรักษ์<br />

เช่นเดียวกัน ซึ่งแต่เดิมมอบให้เพียงเจ้าของอาคาร แต่เพื่อ<br />

ที่จะช่วยให้คนส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างเราที่เป็นสถาปนิก<br />

ก็สามารถที่จะทำาสิ่งเหล่านี้ได้ โดยไม่จำาเป็นต้องเป็น<br />

สถาปนิกของกรมศิลป์ สถาปนิกที่ชอบของเก่าๆ หรือ<br />

สถาปัตยกรรมไทยเท่านั้น เราจึงเพิ่มรางวัลคู่ขนานกันไป<br />

กับการมอบรางวัลข้างต้นโดยมอบให้กับสถาปนิกผู้ออกแบบ<br />

ด้วย นอกจากนั้นที่แต่เดิมรางวัลการอนุรักษ์จะมีเพียงระดับ<br />

เดียวนั้น เราก็ปรับเปลี่ยนแบ่งระดับของรางวัล ซึ่งดัดแปลง<br />

จากรูปแบบการจัดแบ่ง กฎเกณฑ์ วิธีการในการตัดสิน<br />

รางวัลของยูเนสโก ฝั่งเอเชีย-แปซิฟิก โดยเล็งเห็นว่าการ<br />

มอบรางวัลที่สอดคล้องกันจะช่วยให้เกิดการผลักดันที่<br />

ต่อเนื่องไปในระดับสากล ในปัจจุบันรางวัลการอนุรักษ์ของ<br />

สมาคมฯ จึงมีการแบ่งออกเป็นระดับต่างๆ เป็น 4 ระดับ<br />

คือระดับดีเยี่ยม ดีมาก ดี และลำาดับสุดท้ายจะเป็นการมอบ<br />

ให้กับอาคารที่อาจจะยังไม่มีการอนุรักษ์หรืออนุรักษ์ได้<br />

อย่างไม่เพียงพอ แต่อาคารนั้นมีคุณค่าหรือเป็นอาคารที่มี<br />

ความเสี่ยง โดยเราเรียกรางวัลนี้ว่า รางวัลสมควรแก่การ<br />

เผยแพร่<br />

นอกจากนั้น เราก็จะมีการมอบรางวัลเสริมแก่บุคคลและ<br />

องค์กรที่มีการประกอบกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้<br />

เกิดประโยชน์ในการอนุรักษ์ไปพร้อมๆ กัน และในส่วน<br />

กลุ่มของอาคาร เราก็จะไม่แยกประเภทของลักษณะอาคาร<br />

ดังในอดีต รวมถึงกลุ่มสถาปัตยกรรมที่รวมกันอยู่เป็นชุมชน<br />

เราก็จะนับรวมอยู่ในประเภทเดียวกันทั้งหมด และก็จะมี<br />

อีกหนึ่งอันที่เพิ่มเข้ามาและอาจจะเป็นเอกลักษณ์สำาคัญ<br />

ที่สื่อถึงความไม่หยุดนิ่งของการอนุรักษ์ นั่นก็คือรางวัล<br />

สิ่งก่อสร้างใหม่ในบริบทอนุรักษ์ โดยอาจจะเป็นงานอาคาร<br />

ที่ปรับใช้ประโยชน์ของอาคารเก่าให้สอดคล้องกับความ<br />

ต้องการในปัจจุบัน และในการปรับฟังก์ชันใหม่ บ่อยครั้งก็<br />

จะนำาไปสู่การคิดนอกกรอบทำาให้รูปแบบพื้นที่ของอาคาร<br />

เปลี่ยนแปลงไป โดยรูปแบบของการออกแบบของใหม่ให้<br />

กลมกลืนไปกับของเก่าที่ไม่ใช่การทำาเลียนอาคารเดิมอย่าง<br />

แนบเนียนเป็นจนส่วนเดียวกัน ก็เป็นแนวทางที่เรากำาลัง<br />

ผลักดันอยู่<br />

เราจะมีการเปิ ดรับสมัครขอพระราชทานรางวัลอนุรักษ์ โดยอยาก<br />

ให้เกิดการมีส่วนร่วมทั้งในส่วนของเจ้าของอาคารและสถาปนิกที่<br />

มีส่วนร่วมในการออกแบบได้เสนอผลงานเข้ามา ซึ ่งเราก็อยากที่<br />

จะมอบกาลังใจให้กับผู้ดูแลรักษามรดกสถาปั ตยกรรมไว้เป็ น<br />

อย่างดี นอกจากนี้เรายังมีโปรเจกต์หนังสื อรวบรวมข้อมูลทาง<br />

สถาปั ตยกรรมของอาคารที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ โดยได้มีการเผย<br />

แพร่ออกมา ซึ ่งจะเป็ นข้อมูลเกี่ยวกับงานสถาปั ตยกรรมที่ได้รับ<br />

รางวัลในยุคแรก ๆ รวมถึงหนังสื อเกี่ยวกับการอนุรักษ์หอไตร<br />

จานวนสามเล่ม ทั้งหมดนี้สามารถอ่านและดาวน์ โหลดได้ ในรูป<br />

แบบ e-book


VASU POSHYANANDANA<br />

167<br />

อีกส่วนงานหนึ่งที่เรากำาลังดำาเนินการกันไปพร้อมกันก็คือ<br />

การร่วมงานกับสำานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีคณะกรรมการระดับชาติ ชื่อคณะ<br />

กรรมการกรุงรัตนโกสินทร์และกรุงเก่า รับผิดชอบดูแล<br />

รักษาคุณค่าของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์<br />

และเมืองเก่า สมาคมของเราจึงได้รับเชิญเป็นหนึ่งในคณะ<br />

กรรมการชุดดังกล่าว อีกทั้งในส่วนของอนุกรรมการย่อย<br />

ที่ดูแลส่วนเมืองเก่า เราก็ได้รับเชิญเป็นผู้แทนให้เข้าไป<br />

เป็นหนึ่งในอนุกรรมการของแต่ละเมืองเก่า ซึ่งนำาไปสู่การ<br />

ทำางานร่วมกับสถาปนิกที่มีความสนใจหรือมีประสบการณ์<br />

ทางการอนุรักษ์ที่อยู่ในภูมิภาคต่างๆ เข้ามาร่วมเป็นผู้แทน<br />

ของสมาคมเข้าไปค่อยรับผิดชอบให้คำาปรึกษาแก่ทาง<br />

อนุกรรมการแต่ละชุด อย่างในกรณีล่าสุดทีเกิดขึ้นที่จังหวัด<br />

กาญจนบุรี ที่มีการสร้าง skywalk ในบริเวณพื้นที่เมืองเก่า<br />

ในส่วนนี้เราก็ได้เข้าไปจัดการปรึกษาหาทางออกร่วมกัน<br />

เพื่อให้สามารถในการดำาเนินการต่อเนื่องไปได้ นอกจากนี้<br />

เราก็ยังมีการประสานงานแนะนำาให้ข้อมูลในกรณีเรื่องร้อง-<br />

เรียนเกี่ยวกับมรดกทางสถาปัตยกรรมจากคณะกรรมาธิการ<br />

ศาสนาและศิลปวัฒนธรรมของสมาชิกวุฒิสภา<br />

อาษา: คณะกรรมการฝ่ ายอนุรักษ์มีทีมงาน<br />

หรืออนุกรรมการต่างๆ ทำางานอย่างไรบ้าง?<br />

วสุ โปษยะนันทน์: ทีมของเราจะเป็นสถาปนิกที่ประกอบ-<br />

วิชาชีพ นักวิชาการ และอาจารย์มหาวิทยาลัย เมื่อมีปัญหา<br />

ต่างๆ เกิดขึ้นเราก็จะนำาเข้ามาหารือเพื่อคิดหาทางแก้ไข<br />

ปัญหาทั้งในทางปฏิบัติและทฤษฎี ในกรรมาธิการอนุรักษ์<br />

ของเราก็จะมีตัวแทนกรรมาธิการภูมิภาคเข้ามาด้วย<br />

ซึ่งจะคอยดูแลประสานงานกับสถาปนิกในแต่ละภูมิภาค<br />

ทั่วประเทศของเรา โดยในหลายๆ กลุ่มกรรมธิการแต่ละ<br />

ภูมิภาคก็จะมีการเน้นเรื่องการอนุรักษ์ด้วย อย่างกลุ่มล้านนา<br />

และเรายังมีการติดตามประสานงานตัวแทนของเราที่เข้าไป<br />

อยู่ในอนุกรรมการเมืองเก่ากลุ่มต่างๆ อีกด้วย<br />

อาษา: สมาคมสถาปนิกสยามฯ มีการมอบ<br />

รางวัลอนุรักษ์มาโดยตลอด ถ้ามีสมาชิก<br />

หรือผู้สนใจจะเสนอโครงการเพื่อให้สมาคม<br />

พิจารณาจะต้องทำาอย่างไรบ้าง?<br />

วสุ โปษยะนันทน์: เร็วๆ นี้เราก็จะมีการประกาศรับสมัคร<br />

และมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลบนเว็บไซต์ โดยจะมีแบบ<br />

ฟอร์มให้กรอกเพื่อสมัครเสนอโครงการ หากมีคำาถาม<br />

หรือเกิดข้อสงสัยในรายเอียด หรือต้องการสอบถามข้อมูล<br />

เพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ผ่านทุกช่องทางต่างๆ ของ<br />

สมาคม ก็จะไม่ยุ่งยากมากมายประมาณนี้ แต่หากเปรียบ<br />

เทียบกับในอดีตก็อาจจะดูต้องจัดการมากขึ้นเล็กน้อย<br />

ซึ่งแต่เดิมก็จะเป็นเพียงการเสนอชื่อหรือเขียนนำาเสนอ<br />

เพียงเล็กน้อย และกรรมาธิการก็จะทำาการสืบค้นหาข้อมูล<br />

เพิ่มเติมเอง แต่อย่างที่แจ้งไปข้างต้นเนื่องจากเราทำาการ<br />

อ้างอิงไปตามเกณฑ์ของยูเนสโก จึงต้องมีการร้องขอ<br />

รายละเอียดข้อมูลมากยิ่งขึ้น<br />

อาษา: เนื่องจากคุณมีบทบาทและทำากิจกรรม<br />

เกี่ยวข้องกับงานอนุรักษ์มาเป็ นเวลายาวนาน<br />

ในความคิดเห็นของคุณตลอดเวลาที่ผ่านมามี<br />

สิ ่งใดที่เปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเช่นไร?<br />

วสุ โปษยะนันทน์: ผมมองว่าเปลี่ยนแปลงไปมากเลยครับ<br />

ในช่วงต้นของการทำางานของผม สำาหรับในสายตาของ<br />

คนทั่วไปนั้น คนทำางานอนุรักษ์มักจะถูกมองว่าเป็นอะไร<br />

ที่ประหลาด ก็จะถูกแปลกแยก จำาแนกกลุ่มออกมาอีก<br />

ต่างหาก ต่อมาเมื่อเกิดแนวคิดในการนำาอาคารเก่าที่ไม่ได้<br />

ใช้งานมาปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่ใหม่ ในจุดนี้สำาหรับเราใน<br />

สถานะนักออกแบบ ก็เริ่มมองเป็นความท้าทายอีกรูปแบบ<br />

ในการทำางานออกแบบ ซึ่งพอเมื่อเวลาผ่านมาพวกเราก็เริ่ม<br />

จะเห็นงานต่างๆ เหล่านี้มากยิ่งขึ้น ช่องว่างระยะระหว่าง<br />

คนทำางานอนุรักษ์กับคนออกแบบสมัยใหม่จึงแคบลง และ<br />

ในปัจจุบันสถาปนิกระดับปรมาจารย์หลายๆ คนที่ชื่อเสียง<br />

ก็ล้วนมีผลงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ เราจึงมองว่าการ<br />

อนุรักษ์ก็สามารถแสดงบทบาทของเราในสถานะนักออกแบบ<br />

ได้เหมือนกัน ถ้าหากสังเกตก็จะเริ่มเห็นถึงกระแสสังคมที่<br />

มีความตื่นเต้นในการย้อนกลับไปในอดีต โดยมีการรื้อฟื้น<br />

ตลาดร้อยปีหรือว่าชุมชนเก่าเกิดขึ้นในหลายๆ ที่<br />

อาษา: มีข่าวสารหรือเรื่องอะไรที่จะฝากถึง<br />

สมาชิกสมาคมบ้างหรือไม่?<br />

วสุ โปษยะนันทน์: อย่างที่แจ้งไปเลยครับ ก็จะมีการเปิดรับ<br />

สมัครขอพระราชทานรางวัลอนุรักษ์ โดยเราอยากให้เกิด<br />

การมีส่วนร่วมทั้งในส่วนของเจ้าของอาคารและสถาปนิกที่มี<br />

ส่วนร่วมในการออกแบบได้เสนอผลงานเข้ามา ซึ่งเราก็อยาก<br />

ที่จะมอบกำาลังใจให้กับผู้ดูแลรักษามรดกสถาปัตยกรรม<br />

ไว้เป็นอย่างดี นอกจากนี้เรายังมีโปรเจกต์หนังสือรวบรวม<br />

ข้อมูลทางสถาปัตยกรรมของอาคารที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์<br />

โดยได้มีการเผยแพร่ออกมาเป็นจำานวน 2 เล่ม ซึ่งจะเป็น<br />

ข้อมูลเกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรมที่ได้รับรางวัลในยุคแรกๆ<br />

ในปัจจุบันเป็นเวลาที่ผ่านมาเกือบอีกทศวรรษหนึ่งแล้ว เรา<br />

จึงรวบรวมชุดข้อมูลได้ในระดับที่เพียงพอ ที่จะสามารถ<br />

จัดทำาหนังสือขึ้นใหม่ได้อีกหนึ่งเล่ม โดยคาดการณ์ว่าจะ<br />

จัดทำาแล้วเสร็จและเผยแพร่ในงานสถาปนิกปีหน้าก็สามารถ<br />

ติดตามกันได้นะครับ รวมถึงหนังสือเกี่ยวกับการอนุรักษ์<br />

หอไตรจำานวนสามเล่ม ที่เล่มหนึ่งเกิดขึ้นจากโครงการ<br />

อนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทยประเพณี ทั้งหมดสามารถอ่าน<br />

และดาวน์โหลดได้ในรูปแบบ e-book นี่ก็จะเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของการบริการข้อมูลทางวิชาการของสมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ ครับ


168<br />

the last page<br />

ไม้แต่ละท่อนจะมีคุณลักษณะทั้งเชิงความงามและเชิงกลเป็นของ<br />

ตนเอง ช่างที่มีฝีมือจะสามารถดึงลักษณะเฉพาะของไม้แต่ละชิ้น<br />

ออกมาได้ เช่นในตัวอย่างของเรือนชาวไต เมืองกายา จังหวัด<br />

ทัญฮว้า ประเทศเวียดนาม ที่มีลักษณะเป็นห้องโล่งหนึ่งห้อง<br />

มีพื้นที่ว่างต่อเนื่องไม่ได้มีการกั้นผนัง มีช่วงโครงสร้างที่กว้าง<br />

ในแนวรูปตัดตามขวาง (transversal frame) ช่างเลือกใช้ไม้<br />

หนึ่งท่อนที่มีหน้าตัดขนาดใหญ่มาพาดช่วงเพื่อทำาหน้าที่เป็นขื่อ<br />

(tie beam) ในโครงสร้างหลังคา จากช่วงเสาที่กว้างและน้ำาหนัก<br />

ในตัวของขื่อเอง ช่างจึงเลือกใช้ไม้ที่มีลักษณะโค้งขึ้น เมื่อสังเกต<br />

แนวของเสี้ยนไม้โดยละเอียด พบว่ามีความโค้งตามธรรมชาติ<br />

ซึ่งไม้ที่มีเสี้ยนวิ่งในลักษณะนี้มีความสามารถในการรับแรงใน<br />

แนวตั้งฉากกับเสี้ยนได้ดีกว่าไม้ที่มีลักษณะปกติทั่วไป สะท้อนถึง<br />

ความสามารถของช่างไม้ที่จะฉกฉวยใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติ<br />

เชิงกลเฉพาะของไม้ชิ้นนั้นได้สูง<br />

Each timber possesses unique aesthetic and mechanical<br />

qualities. An experienced craftsman can exploit aforementionedpotential.<br />

In the example of a Tai house in<br />

Kaya township, Thanh Hoa Province, Vietnam, the house<br />

charactered by a basic open room with no walls dividing<br />

the space that resulted from relative wide span along<br />

the transverse frame. A large timber cross-section is used<br />

as a tie beam in the roof structure by the craftsman.<br />

Based on the house span and the weight of the tie beam,<br />

the craftsman used slightly curved log. Upon a closer<br />

examination on its grain, we found that it is naturally<br />

curved. Its mechanical quality can resist shear force perpendicular<br />

to the grain better than the straight one. This<br />

demonstrates the craftsman’s ability to take advantage<br />

of the wood’s highly specific mechanical properties.<br />

Photo Courtesy of Suchon Mallikamarl<br />

อ.ดร.สุชล มัลลิกะมาลย์<br />

ประจำภาควิชาสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ จบการศึกษาจากปริญญาเอกด้านประวัติศาสตร์การก่อสร้าง<br />

สถาปั ตยกรรมไม้ จาก Vienna University of Technology, Austria<br />

Suchon Mallikamarl,<br />

PhD., a Lecturer at Department of Architecture, Faculty of<br />

Architecture, Kasetsart University. He graduated PhD on Historic<br />

Timber Construction from Vienna University of Technology.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!