23.07.2020 Views

ASA JOURNAL 01-59

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

YANGNAR STUDIO<br />

วารสารสารร<br />

อสาสาสา<br />

รรรา<br />

THE ARCHITECTURAL <strong>JOURNAL</strong><br />

OF THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

SPACETIME ARCHITECTS<br />

ARCHITECTKIDD<br />

<strong>01</strong><br />

2<strong>01</strong>6<br />

HANDMADE<br />

NPDA STUDIO<br />

HANDMADE IN ARCHITECTURAL<br />

DESIGN PROCESS / CHICAGO<br />

ARCHITECTURE BIENNIAL: LIGHT<br />

HOUSE - THE ART OF LIVING<br />

LIGHTLY BY ALL(ZONE) / ARCASIA<br />

18TH FORUM, 2<strong>01</strong>5 BY <strong>ASA</strong> / <strong>ASA</strong><br />

FORUM 2<strong>01</strong>6<br />

STUDIOMAKE


หลังคาห้าห่วง แกรนาด้า คูล ซีรีส์<br />

สะท้อนความร้อนได้ดีกว่า เพื่อบ้านที่อยู่สบาย<br />

โครงการบ้านริมสวน รามอินทรา บ้านเดี่ยวบนทําเลสวยมากด้วยศักยภาพ<br />

ท่ามกลางบรรยากาศเงียบสงบร่มรื่น อยู่ติดถนนใหญ่รามอินทรา กม.14 ติด<br />

โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพูที่จะก่อสร้างแล้วเสร็จพร้อมใช้งานในอีกไม่กี่ปี<br />

ข้างหน้านี้ ด้วยขนาดที่ดินเริ่มต้น 75 ตารางวา มาพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวก<br />

ครบครัน และมีสวนสาธารณะขนาดใหญ่ตั้งอยู่ภายในโครงการ พื้นที่แห่งความสุข<br />

ที่สัมผัสได้ง่ายดายและมากกว่าเริ่มต้นขึ้นจากตรงนี้<br />

คุณปุก-วีรวรรณ อธิพันธุ์อําไพ<br />

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์<br />

บริษัท สวนหลวงบ้านและที่ดิน จํากัด<br />

คุณปุก-วีรวรรณ อธิพันธุ์อําไพ ผู้จัดการฝ่าย<br />

พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ บริษัท สวนหลวง<br />

บ้านและที่ดิน จํากัด เผยถึงแนวคิดของโครงการ<br />

บ้านริมสวน รามอินทรา ที่ตีโจทย์มาจากความอุบอุ่น<br />

ผ่านการดีไซน์สถาปัตยกรรมเพื่อการอยู่อาศัยที่<br />

สะดวกสบาย และแตกต่างจากโครงการบ้านจัดสรร<br />

ทั่วไป ที่สําคัญคือบ้านทุกหลังต้องประหยัดพลังงาน<br />

และมีการถ่ายเทอากาศที่ดี ด้วยความตั้งใจนี้เอง<br />

ทําให้โครงการบ้านริมสวน รามอินทรา ได้รับเลือก<br />

ให้เป็นบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งเป็นหนึ่ง<br />

ในรางวัลที่สร้างความภูมิใจให้กับโครงการเป็น<br />

อย่างยิ่ง<br />

“เราอยากทําบ้านเดี่ยวที่มีความสะดวก เพื่อเป็นทาง<br />

เลือกของผู้บริโภค ให้มาถึงโครงการแล้วมีความ<br />

ร่มรื่น มีที่ดินบริเวณกว้างที่สามารถปลูกต้นไม้หรือ<br />

ทําอะไรได้ เราอยากได้บ้านที่อยู่สบายเลยเป็นที่มา<br />

ของการดีไซน์สถาปัตยกรรมภายนอกที่สูงโปร่ง บ้าน


อยู่สบายต้องมีการถ่ายเทอากาศที่ดี ประหยัด<br />

พลังงาน เริ่มจากการดีไซน์ตัวบ้านให้หน้าต่างและ<br />

ประตูมีทิศทางตรงกันข้าม (Cross-Ventilation) เพื่อ<br />

เปิดออกแล้วมีลมพัดผ่านได้ง่าย อีกทั้งวัสดุที่เลือกใช้<br />

เป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนทั้งสิ้น”<br />

บ้านกลิ่นอายชานเมืองในสไตล์ยุโรป โดดเด่นด้วย<br />

สีสันอันสดใสและโครงสร้างอาคารที่สูงโปร่ง พร้อม<br />

ลดน้ําหนักของสีหลังคาให้อ่อนลงเพื่อเบรกกับสีสัน<br />

ของบ้าน ส่วนกระเบื้องหลังคา เลือกใช้ หลังคา<br />

ห้าห่วง แกรนาด้า คูล ซีรีส์ เพราะมีคุณสมบัติใน<br />

ด้านการสะท้อนความร้อน กันความร้อนเข้าสู่ตัวบ้าน<br />

ได้เป็นอย่างดี ประกอบกับบ้านออกแบบให้มีชายคา<br />

ยื่นยาวขึ้นเพื่อบังแสงแดดที่จะเข้ามากระทบกับตัว<br />

อาคารโดยตรง<br />

“เมื่อน้ําหนักของสีไปอยู่ที่ตัวบ้าน หลังคาควรจะเป็น<br />

สีอ่อน อีกทั้งสีอ่อนสะท้อนความร้อนได้ดีกว่า เรา<br />

เลือกใช้ หลังคาห้าห่วง แกรนาด้า คูล ซีรีส์ ที่มี<br />

คุณสมบัติในการสะท้อนความร้อน รูปร่างของ<br />

สถาปัตยกรรมที่เป็นจั่วทรงสูง ทําให้ความร้อนจาก<br />

แสงอาทิตย์ที่ผ่านเข้ามาในตัวอาคารที่มีอยู่ แล้ว<br />

ค่อยๆ ระบายออกไปโดยไม่ถ่ายเทลงมาในส่วนที่คน<br />

อยู่อาศัย<br />

“นอกจากเรื่องรูปทรงและสีสัน ยังมีเรื่องการระบาย<br />

น้ําที่ดี เนื่องจากหลังคาของเราสูงชัน ต้องการการ<br />

ระบายน้ําที่รวดเร็ว หลังคาห้าห่วง แกรนาด้า คูล ซีรีส์<br />

มีรูปลอนที่สูงกว่า ทําให้การระบายน้ําออกไปจาก<br />

หลังคาทําได้ดีกว่ากระเบื้องคอนกรีตทั่วไป ช่วยลด<br />

ปัญหาการรั่วซึม นอกไปจากการสะท้อนความร้อน”<br />

PRODUCT:<br />

หลังคาห้าห่วง แกรนาด้า คูล ซีรีส์<br />

661 สีเทา ทุนดรา (Tundra Grey)<br />

SHERA Call Center: 0-2289-9888<br />

E-mail: sheracallcenter@sherasolution.com


THEMES<br />

50<br />

36<br />

44<br />

64<br />

58<br />

36 Guan Yin Pavilion<br />

44 Now26 Studio<br />

50 Somjai House<br />

58 PTT Metro Urban Forest<br />

64 Na Lah House<br />

6 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


SECTIONS<br />

NEWS<br />

16 Rowing Club Shelter<br />

20 Lat Phrao Canal<br />

22 Bangkok Chinatown<br />

Riverfront<br />

26 Cambodia Eleven 2<strong>01</strong>5<br />

28 Wat Bundanjai<br />

16<br />

70<br />

ASEAN<br />

70 ASEAN ARCHITECTS 03<br />

Vo Trong Nghia Architects,<br />

Vietnam<br />

SPECIAL REPORT<br />

76 Chicago Architecture Biennial:<br />

Light House - The Art of Living<br />

Lightly by all(zone)<br />

80 ARCASIA 18 th Forum, 2<strong>01</strong>5 by <strong>ASA</strong><br />

104 <strong>ASA</strong> CARTOON<br />

8 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


FOREWORD<br />

ADVISORS<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

SMITH OBAYAWAT<br />

PONGKWAN LASSUS<br />

ASSOC. PROF. TONKAO PANIN, PH.D.<br />

ANEK THONGPIYAPOOM<br />

ASSOC. PROF. M.L. PIYALADA<br />

THAVEEPRUNGSRIPORN, PH.D.<br />

WIRAT PANTAPATKUL<br />

MAADDI THUNGPANICH<br />

MONGKON PONGANUTREE<br />

EDITOR IN CHIEF<br />

SUPITCHA TOVIVICH<br />

CONTRIBUTORS<br />

ADISORN SRISAOWANUNT<br />

DARREN YIO<br />

JAKSIN NOIRAIPHOOM<br />

JIRAWIT YAMKLEEB<br />

NATTAWUT USAVAGOVITWONG<br />

PAPHOP KERDSUP<br />

SORAVIS NA NAGARA<br />

WARUT DUANGKAEWKART<br />

WORARAT PATUMNAKUL<br />

XAROJ PHRAWONG<br />

YINGYONG POONNOPATHAM<br />

SPECIAL THANKS TO<br />

ALL(ZONE)<br />

ARCASIA<br />

ARCHITECTKIDD<br />

<strong>ASA</strong> FORUM 2<strong>01</strong>6 TEAM<br />

NPDA STUDIO<br />

SPACETIME ARCHITECTS<br />

STUDIOMAKE<br />

VO TRONG NGHIA ARCHITECTS<br />

YANGNAR STUDIO<br />

ENGLISH TRANSLATOR<br />

TANAKANYA CHANGCHAITUM<br />

GRAPHIC DESIGNERS<br />

WILAPA KASVISET<br />

MANUSSANIT SRIRAJONGDEE<br />

VANICHA SRATHONGOIL<br />

CO-ORDINATOR<br />

KETSIREE WONGWAN<br />

THE ASSOCIATION OF SIAMESE<br />

ARCHITECTS UNDER ROYAL<br />

PATRONAGE ORGANIZES<br />

248/1 SOI SOONVIJAI 4 (SOI 17)<br />

RAMA IX RD., BANGKAPI,<br />

HUAYKWANG, BANGKOK 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

PRINT<br />

FOCAL IMAGE<br />

248/1 SOI SANTINARUEMAN RD.<br />

SUKHUMVIT RD. BANGKOK 10230<br />

T : +66 22<strong>59</strong> 1523<br />

E : <strong>ASA</strong><strong>JOURNAL</strong>@GMAIL.COM<br />

ADVERTISING DEPARTMENT<br />

T : +66 2397 0582-3<br />

F : +66 2747 6627<br />

SUBSCRIBE TO <strong>ASA</strong> <strong>JOURNAL</strong><br />

T : +66 2319 6555<br />

าสารรวาวออาออาสา<br />

รราาออวาาาวอ<br />

รวารออรวารรวารอสราารออาร<br />

าสวาอรออสาสสอสา<br />

าราสารรวาอวารสารอาษาาราสอา<br />

ออสารรอสวารอาารอาาสวา<br />

ออรวารารอาอารรวารอสรา<br />

าส<br />

รารารอาาาาสอ<br />

อาาอาร<br />

สาสาสาาาอว<br />

Architectural processes have arguably always collaborated with hand practices,<br />

ranging from the past when it seemed that these techniques were no different to<br />

craftsmanship, to the contemporary architecture scene where hand practices<br />

remain, in many ways, the most basic yet important tool within the discipline.<br />

What can be accomplished by hand is therefore still given the utmost priority and<br />

consideration during every thinking process of creating architecture. This edition<br />

of <strong>ASA</strong> features various projects that highlight this collaboration between architecture<br />

and hand processes, practices which play a big role in the shaping of forms,<br />

the staging of thinking, mocking, sketching, and the construction process through<br />

examples such as Guan Yin Pavilion by Studiomake, Now26 by Architectkidd, Bann<br />

Som Jai by NPDA Studio, PTT Urban Forest by Spacetime Architects and Huan Na<br />

Lah by Yangnar Studio. Moreover, a special report from the ARCASIA Forum that<br />

was hosted by The Association of Siamese Architects is included within this issue<br />

as well.<br />

10 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


รรารรารสาสาสา<br />

รรรา<br />

ที่ปรึกษา<br />

รสรวรรษ<br />

าสษา<br />

าสรร<br />

ารารวา<br />

นายกสมาคม<br />

าวววรร<br />

อุปนายก<br />

ารวรรส<br />

าอาสา<br />

าราสรา<br />

รวสษ<br />

รราวา<br />

าสาา<br />

เลขาธิการ<br />

าราร<br />

นายทะเบียน<br />

าวาออรอสา<br />

เหรัญญิก<br />

ารร<br />

ปฏิคม<br />

าราวรา<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

าสาวสรสารา<br />

กรรมการกลาง<br />

าวรร<br />

าส<br />

าวาอาาออสรา<br />

าวาาร<br />

รราวรษร<br />

รรวรรษ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

าอร<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

สรว<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

าววว<br />

<br />

อราสวสาสาสวสวรษรอรอา<br />

สารสรวาสาารสวาสาราราสรารา<br />

รารร<br />

<br />

อสวารราารสาษรราราสาษ<br />

รอสารววรวาวราาารว<br />

าราวารสารราราสารร<br />

วสอสราสารวาาอสวร<br />

อวาอราอาาาสารารอร<br />

ารอออรอราวารอรสาร<br />

รวรรารวอาสาสา<br />

ารอราอาาราวสา<br />

รวรารสาาาวาาาราารอสาารษา<br />

รวาราารารอรอราออสาอรวารรา<br />

วารววาอารสารารสสาาารษอร<br />

สาราอสวาอาวร<br />

ารารอาสารรารสาาว<br />

อสารสราาสารรสวา<br />

สาสรรวาาาวารารสา<br />

รราวาสาาราอาารราราสวรอ<br />

าวาอาอวารสารอาษาอ<br />

าวววรร<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ปี 2557-25<strong>59</strong><br />

สาราาสา<br />

12 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


Retractable Pergola System<br />

Rain or shine... Day or night...<br />

Enjoy your lives with no limit...<br />

Complete your outdoor activities with pleasure and style !<br />

Kesini Ville Size 13.0 X 8.0 M.


MESSAGE<br />

FROM<br />

THE PRESIDENT<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

2<strong>01</strong>4—2<strong>01</strong>6<br />

CONSULTANTS<br />

PROFESSOR SURAPON VIRULRAK, PH.D.<br />

SINN PHONGHANYUDH<br />

SATHIRUT TANDANAND<br />

PRABHAKORN VADANYAKUL<br />

PRESIDENT<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

VICE PRESIDENT<br />

POL.LT.COL. BUNDIT PRADUBSUK, PH.D.<br />

ANUCHAR YUSANANDA<br />

PRADITCHYA SINGHARAJ<br />

VASU POSHYANANDANA, PH.D.<br />

ASSOC. PROF. TONKAO PANIN, PH.D.<br />

NITIS STHAPITANONDA<br />

SECRETARY GENERAL<br />

PRAKIT PHANANURATANA<br />

HONORARY REGISTRAR<br />

CAPT.ON-USAH CHIENGKUL<br />

HONORARY TREASURER<br />

KARNCHIT PUNYAKANOK<br />

SOCIAL EVENT DIRECTOR<br />

PREECHA NAVAPRAPAKUL<br />

PUBLIC RELATIONS DIRECTOR<br />

SURASSADA NIPARIYAI<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

CHAVALIT TANGMITJAROEN<br />

SUNANTAPAT CHALERMPANTH<br />

GP. CAPT. ADISORN BUNKHACHAI<br />

VINEETA KALYANAMITRA<br />

ASSOC. PROF. M.L. PIYALADA<br />

THAVEEPRUNGSRIPORN, PH.D.<br />

PONN VIRULRAK, PH.D.<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (LANNA)<br />

ADUL HERANYA<br />

CHAIRMAN OF NORTHEASTERN REGION<br />

(ESAN)<br />

ASST. PROF. SUR<strong>ASA</strong>K LOHWANICHAI<br />

CHAIRMAN OF SOUTHERN REGION (TAKSIN)<br />

WIWAT JITNUAN<br />

Firstly, Happy New Year and Chinese New Year to all members. I wish you all<br />

good health and success in everything you do and in every way that you wish.<br />

Congratulations to the committee of southern region (Taksin) and organizing<br />

committee of ‘South Up’ – the Southern architect fair which was organized during<br />

29-31 January at Lime Light shopping mall in Phuket for it accomplishment. In this<br />

event, a number of interesting seminars and exhibitions in terms of the architectural<br />

scene and material circle were arranged and seem to have received good attention<br />

from the audience.<br />

Recently, during the period of mid-January to early February, we organized a<br />

lecture on the topic of design practice for disaster situations. The event was organized<br />

in both Bangkok, Thailand and Tokyo, Japan and we received kind collaboration<br />

from the Japan Institute of Architects (JIA) who assisted with architectural inspections<br />

at various sites. These were good opportunities for the participants from<br />

many institutes – be they bureaucratic or personal to educational institutes and<br />

private organizations - to gain some knowledge. Therefore, all of the participants<br />

are included in the list, and will be a part of the seminar that will be organized in the<br />

future in order to share this knowledge with the public. Moreover, we have to say<br />

thanks to the funding and support from SMS Schimmer as well.<br />

During this trip, I had the opportunity to visit some exhibitions and talked with<br />

Mr. Waro Kishi, a Japanese architect who creates contemporary architecture that<br />

still contains a sense of traditional Japanese emotions. We are also grateful for the<br />

opportunity to invite him to serve as a speaker at a seminar in Thailand in the future<br />

if possible and, in terms of the budget, we also desire to bring these exhibitions to<br />

be exhibited in Bangkok as this work seems to be going along well with the content<br />

of this edition of <strong>ASA</strong> properly.<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

<strong>ASA</strong> PRESIDENT 2<strong>01</strong>4-2<strong>01</strong>6<br />

14 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


The alternative of architecture.<br />

We provide quality and<br />

afforable products as<br />

Aluminium Composite FR<br />

Solid & Hollow high quality<br />

Polycarbonate 36-40 micron<br />

anti UV coating & radiation<br />

protective layer<br />

INTER QUALITY CENTER CO.,LTD.<br />

Tel. 02-530-3644-46<br />

www.inter-quality.com


NEWS<br />

ROWING CLUB<br />

<strong>01</strong><br />

SHELTER<br />

<strong>01</strong><br />

โครงกรศลเก็บเรือพย ชมรมเรือพย จุลงกรณ์<br />

มหวิทยลัย เป็นโครงกรที่เกิดจกควมร่วมมือกัน<br />

ระหว่งคณะสถปัตยกรรมศสตร์ จุลงกรณ์มหวิทยลัย<br />

และสถบันอินทรีสร้งสรรค์ บริษัท ปูนีเมนต์นครหลวง<br />

จำกัด มหชน ด้วยกรเล็งเห็นถึงปัหของนักศึกษ<br />

สถปัตยกรรมในปัจจุบันที่กรเข้มของเครื่องมือดิจิตอล<br />

ทำให้ระยะห่งระหว่งงนออกแบบและตัวผู้ออกแบบเอง<br />

ห่งขึ้นเรื่อย จึงเกิดเป็นกรพันกรเรียนกรสอนกึ่ง<br />

เวิร์คชอปในรยวิช ออกแบบและก่อสร้ง Desin &<br />

Build’ ที่เน้นให้นิสิตได้กลับไปทำควมเข้ใจในคุณสมบัติ<br />

พื้นฐนของวัสดุ นำเสนอวิธีคิดใหม่ในกรนำวัสดุจกระบบ<br />

อุตสหกรรม และเศษเหลือ มเรียบเรียง และลงมือปิบัติ<br />

จริงในกรสร้งสถปัตยกรรมจกวัสดุนั้น ขึ้นมในช่วง<br />

กรศึกษภคดูร้อน<br />

เวิร์คชอปในครั้งนี้เริ่มจกกรนำนิสิตไปศึกษที่ตั้ง<br />

ของโครงกรึ่งอยู่บนสันอ่งเก็บนำ้ของจุลงกรณ์<br />

มหวิทยลัย ที่จังหวัดสระบุรี จกนั้นจึงได้พนิสิตไปศึกษ<br />

กระบวนที่โรงงนผลิตวัสดุก่อสร้งหลย แห่งเพื่อให้<br />

เข้ใจถึงคุณสมบัติ ข้อจำกัด และเอกลักษณ์ของวัสดุต่ง<br />

นอกจกนี้นิสิตยังได้มีโอกสพูดคุยกับอจรย์และสมชิก<br />

ของชมรมเรือพย เพื่อให้เข้ใจในควมต้องกรต่ง ของ<br />

โครงกร ขนดของเรือพย และกิจกรรมที่เกิดขึ้นภยใน<br />

ศลเก็บเรือพยนี้มกยิ่งขึ้น<br />

หลังจกที่ได้รับทรบข้อมูลเบื้องต้นแล้ว นิสิตทั้ง 1 คน<br />

ที่เข้ร่วมเวิร์กชอปในครั้งนี้ ถูกแบ่งออกเป็นสมกลุ่มย่อย<br />

เพื่อนำเสนอแบบร่งแนวคิด อย่งไรก็ตม แม้ว่ในท้ยที่สุด<br />

จะไม่มีแบบร่งใดที่สัมทธิผล แต่จกกรพันแบบอย่ง<br />

ต่อเนื่องและเข้มข้นตลอด 2 สัปดห์ ทำให้แบบที่ถูกนำม<br />

16 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


TINMAN HOUSE<br />

เจ้าของ - วสันต์ ติรางกูร<br />

สถาปนิก - Junsekino Architect and Design<br />

ภาพ - Spaceshift Studio<br />

ที่มาแห่งบ้านเหล็ก TINMAN HOUSE การใช้งาน ประสานความงาม<br />

คุณหวัน – วสันต์ ติรางกูร วิศวกรที่ปรึกษาด้านพลังงาน คือเจ้าของบ้าน<br />

เหล็กทรงแปลกตาซึ่งซุกตัวอย่างสงบในซอยเล็กๆ ท่ามกลางความพลุกพล่าน<br />

ย่านสุทธิสาร โดยคำาว่า TINMAN มาจากคาแร็คเตอร์ของหุ่นกระป๋อง จาก<br />

วรรณกรรมอมตะเรื่อง The Wonderful Wizard of Oz ที่ออกเดินทางเพื่อ<br />

ตามหาหัวใจและจิตวิญญาณของตนเอง มีความซื่อสัตย์ ถ่อมตน แต่ก็แฝงด้วย<br />

ความเข้มแข็งอดทน เป็นชื่อที่ดูเหมาะสมกับตัวบ้านซึ่งมีโครงสร้างหลักเป็นเหล็ก<br />

ทั้งหมด และยังดูดิบ เท่ ตามสไตล์ของเจ้าของบ้านอีกด้วย<br />

เสน่ห์แห่งเหล็ก<br />

เมื่อพูดถึงการใช้เหล็กของบ้านหลังนี้ คุณจูน เซคิโน จาก Junsekino Architect<br />

and Design ผู้ออกแบบบ้านหลังนี้ ให้เหตุผลหลักอยู่ 2 ประการ คือ หนึ่ง<br />

เจ้าของบ้านมีความชื่นชอบในตัวเหล็กอยู่แล้ว มีความทรงจำาที่ดีและมีความสุข<br />

หากได้อยู่ในบ้านเหล็ก สอง เหล็กมีความแข็งแรงทนทาน และมีความงามในตัวของ<br />

มันเอง ไม่จำาเป็นต้องมีวัสดุใดมาปกปิดทับอีกครั้ง เป็นเนื้อวัสดุที่ตรงไปตรงมา<br />

อีกทั้งยังก่อสร้างรวดเร็ว สามารถทำางานให้เสร็จได้ตรงตามระยะเวลาที่กำาหนด<br />

บ้านเหล็ก 3 ชั้น นี้ถูกออกแบบให้มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูงที่สุด ด้วยพื้นที่<br />

ใช้สอยประมาณ 415 ตารางเมตร จัดวางบนที่ดินได้อย่างคุ้มค่าที่สุด เพราะบ้าน<br />

หลังนี้ตั้งอยู่ใจกลางเมืองราคาที่ดินสูง โดยกำาหนดระยะช่วงเสาไว้ที่ 6 เมตร เป็น<br />

ช่วงเสาที่มีระยะไม่มากไม่น้อยเกินไป ใช้งานได้สะดวกและทำาให้ความหนาของ<br />

คานไม่มากนัก ดูไม่เทอะทะหรือทำาให้ตัวบ้านสูงเกินไป<br />

Detail<br />

การโชว์ขอบและสันของเหล็กให้เห็นเป็น<br />

เส้นยาว ช่วยให้อาคารดูลงตัว ชัดเจน<br />

Siam Yamato Steel Co., Ltd. (SYS)<br />

Tel. : 0-2586-7777 e-mail : sys@syssteel.com<br />

www.syssteel.com : sysfanpage : @syssteel<br />

Steel you can trust


ใช้สร้งศลเรือพยในขนดจริงนั้น ผสมผสนไปด้วย<br />

จุดเด่นที่ผ่นกรคัดเลือกมจกแบบร่งทั้งสมข้งต้น<br />

ตั้งแต่กรเลือกใช้วัสดุอย่งอิฐมวลเบมเรียงแบบสลับ<br />

ฟันปลเพื่อสร้งให้เกิดเป็นผนังที่เป็นทั้งผนังรับนำ้หนัก<br />

และช่องลมผ่นในเวลเดียวกัน ในขณะที่วัสดุอีกชนิดหนึ่ง<br />

ที่นิสิตได้ทำกรศึกษอย่งไฟเบอร์ีเมนต์นั้น ได้ถูกนำม<br />

จัดวงใหม่ให้เกิดเป็นระนบเหนือศีรษะเพื่อกรองแดดที่<br />

เข้มสู่ศลแห่งนี้<br />

ควมน่สนใจอีกจุดหนึ่งของเวิร์คชอปนี้คือกรให้นิสิต<br />

ที่เข้ร่วมโครงกรได้ลงมือปิบัติกรก่อสร้งศลเก็บเรือ<br />

พยนี้ขึ้นมด้วยตัวเอง ภยใต้ระยะเวลที่จำกัดอยู่เพียง<br />

แค่ วันเท่นั้น ึ่งนอกจกจะเป็นกรช่วยสร้งให้นิสิต<br />

นักศึกษสถปัตยกรรมได้เรียนรู้ถึงคุณสมบัติจริง และ<br />

ข้อจำกัดของวัสดุก่อสร้งด้วยตนเองแล้ว ยังช่วยให้พวกเข<br />

เหล่นั้นได้เรียนรู้และรู้จักวงแผนรับมือกับข้อผิดพลด<br />

ที่อจเกิดขึ้นหน้งนในระหว่งกรก่อสร้งด้วยเช่นกัน<br />

กรเรียนรู้จกประสบกรณ์จริงเช่นนี้ นับเป็นสิ่งที่หไม่ได้<br />

จกห้องเรียนทั่วไป เพระนอกจกจะช่วยทำให้นิสิต<br />

สถปัตยกรรมได้รู้จักคำนึงถึงกรออกแบบที่ตอบรับกับ<br />

กรก่อสร้งมกขึ้นแล้ว ยังช่วยทำให้คำว่ช่องว่งระหว่ง<br />

งนออกแบบและผู้ออกแบบอยู่ใกล้กันมกขึ้นอีกด้วย<br />

02<br />

<strong>01</strong> ารออออ<br />

ารราอาาา<br />

02ารสสาอวส<br />

รวาอรออว<br />

03อารวอาา<br />

รอาาอาา<br />

TEXT<br />

Paphop Kerdsup<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of<br />

Department of<br />

Architecture,<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

The Rowing Club Shelter Project is a collaboration<br />

between the Faculty of Architecture, Chulalongkorn<br />

University and Siam City Cement PCL. The project considered<br />

the current issue amongst architecture students<br />

that the gap between ‘design’ and ‘designer’ is continuing<br />

to grow due to the increased use of digital devices.<br />

Therefore, the initiative developed a ‘Design & Build’<br />

course with a workshop employing active learning<br />

processes. Through this course, students were able to<br />

focus on a material’s nature, rearrange scraps and build<br />

a design by themselves during the summer session.<br />

This workshop brought students to the site of the project<br />

located on the ridge of the Chulalongkorn University<br />

Reservoir, Saraburi province. Students then inspected<br />

the production processes at building material factories<br />

in order to truly understand the material’s attributes,<br />

characteristics and restrictions. Moreover, students<br />

had the opportunity to speak with the instructor and<br />

members of the club in order to acquire information<br />

regarding the project’s requirements, size of the<br />

rowboats and activities occurring in the shelter.<br />

After obtaining all information, all 13 students participating<br />

in the workshop were separated into three groups<br />

and presented conceptual sketches. Despite having no<br />

perfect scheme in the end, constant intensive development<br />

of the design process over the two weeks resulted in<br />

the final design of a shelter blending all three schemes.<br />

Lightweight blocks were arranged into a zigzag pattern<br />

creating both ventilation and a bearing wall. An additional<br />

material that the students analyzed, fiber cement concrete,<br />

was utilized as a plane overhead to filter the sunlight.<br />

Another interesting aspect of this workshop was<br />

that the students built the shelter by themselves in just<br />

five days time, which helped them to learn the attributes<br />

and restrictions of materials and how to deal with problems<br />

that might occur during the process of construction.<br />

Knowledge gained from this type of first-hand experience<br />

cannot be acquired in any common classroom. The more<br />

that students are able to consider the fact that design<br />

responds to the construction process, the closer the<br />

gap between ‘design’ and ‘designer’ will be.<br />

03<br />

18 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


facebook.com/KhonKoolKlong<br />

LAT PHRAO<br />

CANAL 02<br />

<strong>01</strong><br />

ปัหชุมชนบุกรุกพื้นที่ริมคลองเป็นปัหที่รัฐบล<br />

ให้ควมสำคัในกรแก้ปัห เนื่องจกปัจจุบันมีชุมชน<br />

บุกรุกอศัยอยู่ในสยคลองหลักทั่วกรุงเทพมหนครกว่<br />

11,000 ครัวเรือน อย่งไรก็ตม กรแก้ปัหพื้นที่ริม-<br />

คลองมักใช้วิธีกรไล่รื้อชุมชนึ่งมักไม่แก้ปัหกรบุกรุก<br />

พื้นที่สธรณะในระยะยว เนื่องจกชุมชนบุกรุก<br />

ริมคลองเป็นหนึ่งในอกรของควมเหลื่อมลำ้ทงเศรษฐกิจ<br />

เมืองที่สะท้อนออกมในรูปของกรไม่สมรถเข้ถึงที่อยู่<br />

อศัยที่มีมตรฐนของคุณภพชีวิตที่ดี ในฐนะบริกร<br />

พื้นฐนแห่งรัฐได้ เครือข่ยภคีสถบันกรศึกษเพื่อกร<br />

พันพื้นที่ริมคลอง ACCD ที่ประกอบด้วยนักวิชกร<br />

ด้นสถปัตยกรรม วิศวกรรม และสังคมวิทย จก<br />

สถบันกรศึกษ 8 แห่ง ได้จัดทำแนวคิดในกรปรับปรุง<br />

พื้นที่ริมคลองลดพร้ว ตมนโยบยของรัฐบลในกร<br />

แก้ปัหที่อยู่อศัยและกรบุกรุกพื้นที่ริมคลองลดพร้ว<br />

อันเป็นหนึ่งใน 9 สยคลองหลักของกรุงเทพมหนคร<br />

โดยร่วมกับสำนักงนเขตและสถบันพันองค์กรชุมชน<br />

ในกรพันพื้นที่ริมคลองลดพร้ว รวมระยะทง<br />

24 กิโลเมตรที่ผ่นพื้นที่ 8 เขต ประกอบด้วย สยไหม<br />

ดอนเมือง บงเขน หลักสี่ จตุจักร ลดพร้ว ห้วยขวง<br />

และวังทองหลง โดยมีแนวคิดสำคั 4 ประกร คือ<br />

1 กรเพิ่มพื้นที่ระบยนำ้และบรรเทปัหอุทกภัย<br />

ึ่งหมยถึงกรคืนพื้นที่รุกลำ้ของชุมชนบุกรุกริมคลอง<br />

เพื่อประสิทธิภพกรระบยนำ้ของคลอง โดยทำให้เกิด<br />

พื้นที่รับนำ้เพิ่มมกขึ้น และย้ยที่อยู่อศัยออกจกคลอง<br />

2 กรคืนพื้นที่สธรณะริมคลองเพื่อประโยชน์ของคน<br />

เมือง เป็นกรสร้งโอกสในกรใช้พื้นที่ริมนำ้ในเชิง<br />

สธรณะ เช่น กรเปลี่ยนพื้นที่ริมนำ้เพื่อกรสัจร<br />

ทงเลือก ได้แก่ ทงจักรยน และท่เรือเพื่อกรสร้ง<br />

โอกสในกรสัจรในเมืองที่เชื่อมต่อกับกรขนส่งมวลชน<br />

โดยเฉพะโครงกรรถไฟฟสยสีเขียว สีชมพู และสีส้ม<br />

ในอนคต รวมถึงกรสร้งโอกสในกรเข้ถึงพื้นที่ริม-<br />

คลองเพื่อกรนันทนกร กรออกแบบตลิ่งเพื่อกร<br />

จัดกรนำ้อย่งยั่งยืน เป็นกรเสนอให้กรออกแบบตลิ่ง<br />

ในเชิงวิศวกรรมเป็นรูปแบบผสมผสนระหว่ง hard<br />

structure และ soft structure ตมแต่ละช่วงบริบท<br />

20 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


NBK Terracotta<br />

Façade Panels<br />

NBK has opened up a completely new dimension in<br />

facade design and received worldwide acclaim. Every<br />

new building serves as an impetus for further projects.<br />

What all schemes share is exceptional architecture.<br />

Today, the NBK-system is used in all its variants across the<br />

globe. The most distinguished of architects have come to<br />

appreciate the tremendous creative possibilities offered<br />

by this terracotta facade system, which combines<br />

traditional craftsmanship with leading-edge manufacturing<br />

technology. Its ability to accommodate even the finest<br />

design details in terms of shape, color, texture and glaze<br />

paves the way for unique, tailored solutions.<br />

innovative products make innovative projects<br />

Hunter Douglas Thailand<br />

124 Krungthep Kreetha Road, Saphansung, Bangkok 10250<br />

T : 66.2.368.4141 F : 66.2.368.4144<br />

E : info@hunterdouglas.asia<br />

W : www.hunterdouglas.asia


ของสยคลอง จกเดิมที่เคยใช้แบบมตรฐนใน<br />

ลักษณะโครงสร้งแข็งอย่งเดียว 4 คนอยู่ร่วมกับ<br />

คลอง หรือกรจัดระเบียบพื้นที่ริมคลองเพื่อเป็นที่อยู่<br />

อศัย และจัดหที่อยู่อศัยให้แก่ชุมชนริมคลองใน<br />

ละแวกใกล้เคียง เพื่อให้ชุมชนสมรถสนับสนุนเมือง<br />

ในฐนะที่เป็นเศรษฐกิจฐนรกในภคบริกรของเมือง<br />

ึ่งแนวคิดนี้ได้รับกรตอบสนองในทงที่ดีจกรัฐบล<br />

โดยก่อให้เกิดกลไกกรทำงนเพื่อแก้ปัหพื้นที่ริม<br />

คลองในรูปของคณะทำงนร่วมระหว่งภคส่วนต่ง<br />

อันเป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมกรกรแก้ไขปัหที่อยู่<br />

อศัยต่อไป<br />

TEXT<br />

Nattawut<br />

Usavagovitwong<br />

PHOTOS<br />

Khon Kool Klong<br />

02<br />

<strong>01</strong> าาอรราา<br />

รอรร<br />

02าาอรราาอ<br />

รร<br />

facebook.com/KhonKoolKlong<br />

Recent studies show that there are more than<br />

11,000 instances of construction that transgress the<br />

public canal area; therefore, the encroachment problem<br />

is being addressed by the government through actions,<br />

almost all of which take on the form of attempts to<br />

demolish structures and clear people out of the contested<br />

areas. These approaches are, however, not the<br />

proper policy that should be followed in order to relieve<br />

long-term issues caused by the economic disaster<br />

that restricted these peoples from moving to a more<br />

fitting place. The Academic Consortium for Canal-Side<br />

Development, through collaboration with architects,<br />

engineers and sociologists from eight institutes, has<br />

come up with a policy to recover the Lat Phrao canal in<br />

response to the housing policy inflicted by the government<br />

while addressing the encroachment problem<br />

within the site. This project, under the collaboration of<br />

the district office and the Community Organizations<br />

Development Institute, covers 24.5 kilometers of land<br />

along the canal within eight districts including the<br />

districts of Saimai, Don Muang, Bang Khen, Lak Si,<br />

Jatujak, Lat Phrao, Huai Khwang and Wang Thong Lang.<br />

The project will be achieved through the principles of<br />

1) Displacing residents from the area along the canal<br />

in order to increase the land capacity 2) Reclaiming the<br />

public space and re-arranging the land along the canal<br />

into usable spaces that will provide new opportunities<br />

for people such as bike lanes and a canal-boat pier<br />

connected to the Green and Pink BTS lines that will be<br />

constructed in the future. The design will also allow for<br />

people to use the land along the canal for various activities.<br />

3) To re-design the canal dam for long-term water<br />

management through a proposal to re-construct the<br />

canal dam following proper engineering processes and<br />

the combination of hard and soft structures dependent<br />

on each site condition rather than the previous design<br />

created from hard structures only. 4) To re-manage the<br />

residencies along the canal and provide nearby areas<br />

to those who were displaced in order to encourage the<br />

community to be rebuilt upon an economic foundation<br />

that could have a positive effect on the grand scheme<br />

of the area’s use. This concept was received well by<br />

the government for its process of troubleshooting<br />

achieved through collaboration leading to the formation<br />

of a committee to address the residency issue.<br />

facebook.com/KhonKoolKlong<br />

22 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


BANGKOK 03<br />

CHINATOWN<br />

RIVERFRONT<br />

ย่นตลดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง ได้แก่ ย่นทรงวด<br />

และจักรวรรดิ ถือเป็นย่นที่เป็นศูนย์กลงทงเศรษฐกิจ<br />

กรค้ในระดับเมืองที่ควรค่แก่กรอนุรักษ์ทงวันธรรม<br />

สำนักผังเมือง กรุงเทพมหนคร จึงมอบหมยให้สถบัน<br />

อศรมศิลปเป็นที่ปรึกษโครงกรอนุรักษ์ฟนฟูย่นตลด<br />

น้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง โดยกรดำเนินกรออกแบบพื้นที่<br />

ได้อศัยกระบวนกรที่มีประชชนในย่นตลดน้อยร่วม<br />

มือกับหน่วยงนที่เกี่ยวข้องทุกภคส่วนมร่วมแสดงควม<br />

คิดเห็น ให้กรพันและแก้ไขปัหของพื้นที่โครงกร<br />

เป็นไปอย่งตรงจุด กรเสนอผังแม่บทของโครงกรถูก<br />

จัดขึ้นเมื่อเดือนตุลคมที่ผ่นม ณ โรงแรมรอยัล ออร์คิด<br />

เชอรตัน โเต็ล แอนด์ ทวเวอร์ ึ่งมีกรนำเสนอถึง<br />

ขอบเขตพื้นที่ทั้งหมด 1 ไร่ โดยแบ่งเป็นกรฟนฟูพื้นที่<br />

ริมนำ้ พื้นที่สธรณะ และระบบคมนคมในย่น<br />

โครงกรปรับปรุงครอบคลุม 14 พื้นที่ ได้แก่ กรปรับปรุง<br />

ท่นำ้จักรวรรดิ กรปรับปรุงท่เรือรชวงศ์ กรปรับปรุง<br />

ท่นำ้เผยอิง กรปรับปรุงท่นำ้สวัสดี กรปรับปรุงท่นำ้<br />

ภณุรังษี กรปรับปรุงท่เรือกรมเจ้ท่ กรปรับปรุง<br />

ท่เรือสี่พระย กรพันพื้นที่คลองผดุง กรปรับปรุง<br />

ท่นำ้เอกชน กรปรับปรุงตรอกอย กรปรับปรุงถนน<br />

ทรงวด กรปรับปรุงถนนทรงสวัสดิ กรปรับปรุงถนน<br />

เยวรช และกรเสนอพื้นที่จอดรถบริเวณสถนีรถไฟ<br />

หัวลำโพง โดยมีพื้นที่นำร่องทั้งหมด 4 โครงกร คือ<br />

โครงกรปรับปรุงฟนฟูพื้นที่ท่นำ้สวัสดี โครงกรปย<br />

บอกทง โครงกรปรับปรุงฟนฟูพื้นที่ท่นำ้ภณุรังษี และ<br />

โครงกรปรับปรุงฟนฟูพื้นที่ทงเดินที่เชื่อมโยงสู่ริมแม่นำ้<br />

เจ้พระยในย่นตลดน้อย เกณ์กรพิจรณคัดเลือก<br />

พื้นที่นำร่อง คือ ควมสอดคล้องกับยุทธศสตร์ของโครงกร<br />

ควมสอดคล้องกับนโยบยกรุงเทพมหนคร กรเชื่อมโยง<br />

กับกรพันโดยรอบ กรเป็นพื้นที่อยู่ภยใต้กรดูแล<br />

ของหน่วยงนรัฐ และควมสอดคล้องกับควมต้องกร<br />

และควมจำเป็นของชุมชน<br />

<strong>01</strong> วอาาอาา<br />

ารษ<br />

TEXT AND PHOTO<br />

Worarat Patumnakul<br />

Courtesy of ARCHIDEX<br />

Talat Noi and adjacent areas, Song Wat and<br />

Chakkrawat, are considered a city business center<br />

worthy of preservation. The Department of City Planning,<br />

Bangkok Metropolitan Administration (BMA),<br />

therefore appointed The Arsom Silp Institute of Arts<br />

as a consultant to the project aimed at restoring and<br />

preserving Talat Noi and adjacent areas through collaboration<br />

with the community and related agencies<br />

in order to develop and solve the problems of the area<br />

directly.<br />

The master plan for the project includes an<br />

area of 165 rai and was proposed last October at<br />

the Royal Orchid Sheraton Hotel & Towers. The plan<br />

divides its focus between riverfront restoration, the<br />

development of public spaces and establishment of a<br />

transportation system in the area. The project covers<br />

14 areas in total and includes improvements being<br />

made to Chakkrawat, Pei-ing, Sawasdee and Phanu<br />

Rangsi waterfronts, Ratchawong, the Marine Department<br />

and Si Phraya Piers, Song Wat, Song Sawat and<br />

Yaowarat Roads and the Phadung Krung Kasem Canal<br />

area. Alleys, narrow paths and the car park area at the<br />

Bangkok Railway Station will also be addressed.<br />

The Institute team selected four pilot projects,<br />

two of which focus on infrastructure improvements<br />

being made to Phanu Rangsi and Sawasdee Piers<br />

while the second of the four are aimed at improving<br />

walkways linking the community and the waterfront<br />

and the installment of directional signs within the<br />

area. The criteria for consideration and selection of<br />

the pilot projects was consistent with the strategies<br />

of the project, the policies of the MBA and their ability<br />

to correspond with both the area’s future development<br />

and the requirements of the community.<br />

<strong>01</strong><br />

24 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


04<br />

CAMBODIA<br />

ELEVEN<br />

2<strong>01</strong>5<br />

<strong>01</strong><br />

<strong>01</strong> าอ<br />

สา<br />

<br />

TEXT<br />

Paphop Kerdsup<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Eleven<br />

Magazine<br />

เมื่อช่วงปลยปีที่ผ่นม leven Maazine นิตยสร<br />

ออนไลน์ทงสถปัตยกรรมและกรออกแบบจกประเทศ<br />

อังกษ ได้มีกรจัดประกวดแบบสถปัตยกรรม ภยใต้ชื่อ<br />

Camodia 2<strong>01</strong> Protect Respect mpoer’ ขึ้น<br />

เพื่อเน้นให้สถปนิกได้ตระหนักถึงกรออกแบบที่ตอบสนอง<br />

ต่อทั้งบริบทของพื้นที่ ระบบนิเวศน์ และวันธรรมต่ง<br />

ึ่งในเวลต่อมก่อให้เกิดเป็นเครื่องมือที่สมรถช่วยปกปอง<br />

อนคต รวมถึงถนอมรักษไว้ึ่งปัจจุบันที่กำลังถูกคุกคม<br />

ได้ในเวลเดียวกัน<br />

โจทย์ของกรประกวดแบบนี้ ต้องกรให้นักออกแบบ<br />

ร่วมกันนำเสนอนวัตกรรมใหม่ ของโครงสร้งลอยนำ้ ที่จะ<br />

ถูกนำมใช้กับศูนย์รักษสุขภพ รวมถึงศูนย์วิจัยและกร<br />

ศึกษระบบนิเวศน์ของพื้นที่ทะเลสบโตนเลสบ ประเทศ<br />

กัมพูช จุดประสงค์หลักของกรออกแบบโครงสร้งลอยนำ้<br />

นี้เพื่อที่จะใช้งนออกแบบเป็นเครื่องมือในกรดูแลรักษ<br />

วันธรรมท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศน์ของพื้นที่<br />

รวมทั้งช่วยส่งเสริมให้ชุมชนมีควมเข้มแข็งในกรดูแลพื้นที่<br />

ของตน เพื่อให้เกิดกรพันอย่งยั่งยืน<br />

จกผู้เข้ประกวดกว่ 240 ทีม จก 1 ประเทศทั่วโลก<br />

เป็นที่น่ยินดีที่ผลงนจกสถปนิกชวไทยสมรถคว้<br />

รงวัลชนะเลิศในกรประกวดครั้งนี้มได้ กับผลงนในชื่อ<br />

HBRDG โดย ณัฐพล พงศ์พลชัย, ปรัช<br />

เลิศรักษดี, พรเจริ โอรรัตน์มณี และพณิน จันทะเลิศ<br />

ึ่งนำเสนอบ้นพักอศัยลอยนำ้จกวัสดุธรรมชติอย่งไม้ไผ่<br />

ที่มพร้อมกับกลไกกรทำงนที่สมรถช่วยบำบัดนำ้จก<br />

ทะเลสบก่อนนำมใช้ได้ รวมทั้งยังมีนวัตกรรมอื่น ที่ช่วย<br />

ให้กรดำรงชีวิตของผู้คนในทะเลสบโตนเลสบนี้เป็นไป<br />

ได้อย่งยั่งยืนและยวนน นอกจกผลงนชิ้นนี้แล้ว อีก<br />

หนึ่งผลงนในชื่อ TH TNL SoAP PRJCT โดย<br />

พัชรด อินแปลง, สุวิช์พงศ์ อสนจินด และ Arthur<br />

Verne ยังได้รับรงวัล Honourale Mentions จกกร<br />

ประกวดครั้งนี้อีกด้วยเช่นกัน รยละเอียดเพิ่มเติมดู<br />

eleven-maazinecom<br />

At the end of last year, Eleven Magazine, an online<br />

architecture and design magazine from the U.K. held<br />

a competition under the name ‘Cambodia: Protect |<br />

Respect | Empower,’ in order to emphasize the notion<br />

that if architects realize designs that satisfy the context,<br />

ecosystem and local culture, these initiatives could<br />

serve as tools for protecting the future and conserving<br />

the present at the same time.<br />

The aim of the competition called upon designers<br />

to deliver change and innovation in the form of floating<br />

structures that would embody a Medical Aid Clinic,<br />

Research Hub and Ecological Education Center on the<br />

area of Cambodia’s Tonle Sap Lake. With this objective,<br />

the design is not simply a tool for protecting the area,<br />

but also building a vigorous community for sustainable<br />

development.<br />

Among the 243 teams from 51 countries who participated,<br />

a group of Thai architects, Natthapol Pongplanchai,<br />

Pratchaya Lertrucksadee, Porncharoen Oranratmanee<br />

and Phanin Chantalert, won first place in the competition<br />

for their work titled ‘HYBRID{GE}.’ The project presents<br />

a single house with a floating structure made of bamboo,<br />

consisting of a water treatment system and other innovations<br />

that could help to improve people’s quality of<br />

life. An additional work titled ‘The TONLE SoAP PROJ-<br />

ECT’ by Patcharada Inplang, Suvitchpong Asanachinta<br />

and Arthur Vergne received an Honorable Mention in<br />

the competition as well. For more details, please visit<br />

eleven-magazine.com.<br />

26 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


WAT<br />

BUNDANJAI<br />

05<br />

วันที่ 2 มกรคมที่ผ่นม โครงกรวัดบันดลใจ<br />

โดยควมร่วมมือของ สมคมสถปนิกสยม ในพระบรม-<br />

รชูปถัมภ์ สมคมภูมิสถปนิกประเทศไทย วิศวกรรม-<br />

สถนแห่งประเทศไทย ในพระบรมรชูปถัมภ์ สถบัน<br />

อศรมศิลป หอจดหมยเหตุพุทธทส อินทปัโ<br />

สำนักงนกองทุนสนับสนุนกรสร้งเสริมสุขภพ สสส<br />

สำนักงนพระพุทธศสนแห่งชติ และภคีเครือข่ย<br />

ร่วมกับคณะสถปัตยกรรมศสตร์ จุลงกรณ์มหวิทยลัย<br />

จัดเวที เสวนวิชกรโครงกรวัดบันดลใจ’ เพื่อนำเสนอ<br />

แนวคิดในกรออกแบบ 9 วัดบันดลใจ พร้อมถ่ยทอด<br />

องค์ควมรู้ในกรพันวัดจกนักวิจัย เพื่อหวังจะพลิก-<br />

ฟนวัดสู่ควมหมยที่แท้อย่งสมสมัย และเป็นแรงบันดลใจ<br />

ให้กับวัดทั่วประเทศ ณ อครศิลปวันธรรม จุลงกรณ์-<br />

มหวิทยลัย กรเสวนได้รับเกียรติเป็นอย่งสูงจก<br />

ศสตรจรย์เกียรติคุณ นพประเวศ วะสี ที่ได้มเป็น<br />

องค์ปฐกกล่วเปดกรเสวนด้วยกรยำ้ให้เห็นควม<br />

สำคัของโครงกรว่พระพุทธศสนเป็นทุนอันยิ่งให่<br />

และกรรื้อฟนควมหมยและคุณค่ที่แท้จริงของวัดจะ<br />

เป็นรกฐนที่สำคัสำหรับกรพันประเทศไทยอย่ง<br />

แท้จริง ก่อนจะเข้สู่กรเสวนระหว่ง 9 เจ้อวสวัด<br />

นำร่องและภูมิสถปนิก-สถปนิกอส ใน เวทีเสวน<br />

วัดโบรณสถนที่สำคัของชติ’ วัดกับกรเป็นแหล่ง<br />

เรียนรู้ที่เชื่อมโยงชุมชนเข้สู่วัด’ และ วัดกับบทบทกร<br />

เผยแผ่ธรรมอย่งมุ่งมั่นเพื่อดึงชุมชนเข้วัด’ ก่อนจะปด<br />

ท้ยด้วยกรบรรยยเรื่อง ฟนวัดคืนเมือง’ โดยรศดร<br />

อรศรี งมวิทยพงศ์ จกสำนักบัณิตอสสมัคร<br />

มหวิทยลัยธรรมศสตร์ ึ่งเป็นกรสรุปผลงนวิจัย<br />

เรื่อง ปัจจัยที่เอื้อต่อกรฟนฟูบทบทหน้ที่กรพัน<br />

จิตวิณของวัดในเขตเมือง’ เพื่อเป็นกรอบแนวคิด<br />

ในกรดำเนินงนของโครงกรวัดบันดลใจ กรจัดงน<br />

ในครั้งนี้ได้รับกรตอบรับอย่งมกจกพระภิกษุสง์<br />

กว่ 100 รูป รวมถึงสถปนิก ภูมิสถปนิก นักออกแบบ<br />

และพุทธบริษัทผู้มีจิตอสที่เข้ร่วมเสวนและให้ควม<br />

สนใจที่จะร่วมกันพลิกฟนให้วัดกลับมเป็นศูนย์์กลงของ<br />

ชีวิต และจิตวิณของสังคมไทยอีกครั้ง ติดตม<br />

ควมเคลื่อนไหวของโครงกรได้ที่ faceookcom<br />

atundanai<br />

<strong>01</strong> รราาวสวา<br />

วาารรารวา<br />

TEXT AND PHOTO<br />

Yingyong Poonnopatham<br />

On the 23 rd of January 2<strong>01</strong>6, a talk was held<br />

regarding the Watbundanjai project that presented<br />

the nine inspiring temples at the Office of Art and<br />

Culture, Chulalongkorn University. The project and<br />

academic talk was realized through collaboration<br />

between The Association of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage, The Thai Association of Landscape<br />

Architects, The Engineering Institute of Thailand under<br />

H.M. The King’s Patronage, Arsom Silp Institute of<br />

the Arts, Buddhadasa Indapanno Archives, The Thai<br />

Health Promotion Foundation (‘ThaiHealth’), The<br />

National Office of Buddhism and Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University and its development<br />

partners. Furthermore, this academic talk considered<br />

the concept behind the design of the nine temples<br />

that draws upon knowledge of temple development<br />

by researchers in the hopes of reviving the meaning<br />

of temples through the right approach. The opening of<br />

the Watbundanjai project event was overseen by<br />

Dr. Prawet Wasi who described the significance of the<br />

project and its ability to serve as a strong root upon<br />

which religious architecture could develop within the<br />

country. Following, talks by nine abbots followed<br />

as well as those by three landscape designers who<br />

presented under three topics, namely: ‘the historic<br />

temples that give importance to the country,’ ‘the<br />

instituted temple connecting urbanism and temples’<br />

and ‘the duty of temples in the teachings of Buddha<br />

and encouragement of people to visit the temple.’<br />

The final talk considered ‘the factors that influence<br />

the revival of temples in the city’ and was given by<br />

Associate Professor Aurasri Ngamwittayapong. The<br />

event was very successful and inspiring, with 100<br />

monks as well as architects participating.<br />

For more information please visit: www.facebook.<br />

com/watbundanjai<br />

<strong>01</strong><br />

28 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


TOP<br />

INNOVATIONS<br />

<strong>01</strong> 02<br />

D.O. BOND HAS BEEN BRINGING SOME GREAT ADVANCES IN<br />

TECHNOLOGY TO THE ARCHITECTURE, INTERIOR DESIGN<br />

AND CONSTRUCTION INDUSTRIES SINCE 2006.<br />

ย้อนกลับไปเมื่อปี249 คุณเกียรตินันท์วิจิตร-<br />

ประไพ ก่อตั้งองค์กร D BND ขึ้นบนแนวคิด<br />

nnovationTechnoloyCreativity เป็นตัวตั้ง<br />

จวบจนทุกวันนี้ D BND ก้วสู่กรเป็นผู้ผลิต<br />

และจัดจำหน่ยนวัตกรรมด้นวัสดุสำหรับตกแต่ง<br />

และก่อสร้งอันดับต้น ของบ้นเรึ่งนับเป็นกร<br />

เติบโตอย่งรวดเร็ว เหตุผลหนึ่งคงเป็นเพระแนว<br />

คิดของคุณเกียรตินันท์และทีมงนที่ให้ควมสำคั<br />

กับกรพันคุณภพของผลิตภัณ์ให้เข้ไปเพิ่มคุณ<br />

ค่กับโครงกรและพื้นที่รวมถึงส่งเสริมคุณภพ<br />

ชีวิตของผู้ใช้ในระยะยว<br />

วิสัยทัศน์ของเรคือกรเป็นผู้จัดจำหน่ย<br />

นวัตกรรมวัสดุก่อสร้งและวัสดุตกแต่ง ึ่งอะไรที่<br />

เป็นเรื่องของนวัตกรรม เรต้องเข้ใจกรทำงนของ<br />

มันให้ลึกเพื่อที่จะสร้งควมเข้ใจให้กับผู้ใช้และ<br />

ทำให้นวัตกรรมนั้นไปสร้งประโยชน์ให้กับผู้ใช้อย่งดี<br />

ที่สุด เพระฉะนั้นเรจะทำงนกันอย่งมืออชีพ<br />

และมีมตรฐนทุกอย่งชัดเจน<br />

โปรดักท์ของ D BND ประกอบไปด้วย<br />

แผ่นอะลูมิเนียมคอมโพสิต MAN, ระบบยกพื้น<br />

จกแบรนด์ชั้นนำสัชติเบลเยี่ยมอย่ง Buzon ® ,<br />

ระบบแผ่นกันนำ้ Tyvek ® Home rap y Dupont ®<br />

สำหรับติดตั้งบนอครเพื่อปองกันควมชื้น ึ่งเป็น<br />

ผลิตภัณ์เดียวที่สมรถระบยอกศได้ในตัว ไป<br />

จนถึง Kreen อุปกรณ์สำหรับกรจัดสวนแนวตั้งที่<br />

ถูกออกแบบโดยทีมงน D BND ที่ต้องกร<br />

นำเสนอระบบ vertical arden ให้สมรถใช้งน<br />

ง่ยในรคที่ย่อมเยว์ โดยมีจุดน่สนใจอยู่ที่กร<br />

เป็นกรีนโปรดักท์ตั้งแต่ต้นทงจนถึงปลยทง ทั้ง<br />

กรคัดสรรวัสดุรีไเคิลคุณภพดีที่ปรศจกสรปน-<br />

เปอน รวมถึงกระบวนกรผลิต จนได้ผลงนที่<br />

ปลอดภัยต่อทั้งคนใช้และสิ่งแวดล้อม<br />

ษา<br />

หกไม่นับรวมควมมุ่งมั่นในกรพันและคัด<br />

สรรผลิตภัณ์ที่มีควมก้วลำ้ทงนวัตกรรมเพื่อ<br />

เข้มเป็นส่วนหนึ่งในกรขับเคลื่อนคุณภพชีวิต<br />

ของผู้คนแล้ว D BND ยังทำงนภยใต้แนวคิด<br />

ที่มีควมรับผิดชอบต่อทุกสิ่งรอบตัวเสมอมเรไม่<br />

ทำธุรกิจที่เอเปรียบสังคมและลูกค้นอกจกมตร-<br />

ฐนที่ชัดเจนที่เรยึดถือในทุก กรทำงนแล้ว<br />

เรยังให้ควมสำคักับทุกอย่ง สิ่งที่เรทำ มตลอด<br />

คือกรสรรหโปรดักท์ที่มีนวัตกรรมและเป็นมิตร<br />

ต่อสิ่งแวดล้อม ต่อผู้ใช้ และสมรถใช้งนได้ใน<br />

ระยะยว แน่นอนว่เมื่อลูกค้เลือกใช้ผลิตภัณ์<br />

ของเร สิ่งที่เรต้องทำคือเรต้องขอบคุณพวกเข<br />

และเมื่อเกิดปัหเมื่อไหร่ หน้ที่ของเรก็คือช่วย<br />

พวกเขอย่งสุดควมสมรถ เพระปัหของ<br />

ลูกค้คือปัหของเร<br />

สำหรับ D BND แล้ว กรดำเนินธุรกิจไม่<br />

ได้มีควมหมยเพียงแค่กรื้ออะไรบงอย่งเข้<br />

มและขยอะไรบงอย่งออกไป โดยมีส่วนต่ง<br />

ของกรื้อมขยไปเป็นผลกำไรขดทุน แต่ที่นี่ยัง<br />

ทำหน้ที่อย่งดีในกรคัดกรองผลิตภัณ์ที่มี<br />

คุณภพที่สุดเพื่อให้สมรถตอบสนองควมต้อง<br />

กรของผู้ใช้ได้อย่งเหมะสมและเกิดประโยชน์<br />

สูงสุดอย่งยั่งยืนด้วยเช่นกัน แม้ตอนนี้จะมีกร<br />

เปลี่ยนแปลงของตลดรวดเร็วและเกิดเทคโนโลยี<br />

มกมยเข้มสอดรับอยู่ตลอดเวล ทำให้เกิดตัว<br />

เลือกใหม่ แต่เรก็ไม่เคยหยุดที่จะคิดและพัน<br />

กลยุทธ์ทุกด้นให้รวดเร็วและมีคุณภพมกขึ้น<br />

ขณะเดียวกันก็คงประสิทธิภพตมมตรฐนอย่ง<br />

ดีที่สุดเพื่อให้คุณภพของD BND เติบโตขึ้น<br />

อย่งแข็งแรงและมั่นคง<br />

<strong>01</strong> รารออา<br />

สรรสา<br />

สาาราาร<br />

ออส<br />

วสว<br />

02 ออส<br />

<br />

03 รวร<br />

รรรารราร<br />

วารษ<br />

<br />

03<br />

บริษัท ดี.โอ.บอนด์ จำกัด<br />

69/1 หมู่ 2 ซ.วัดรำษฎร์บูรณะ ถ.เทพำรักษ์<br />

ต.บำงปลำ อ.บำงพลี จ.สมุทรปรำกำร 10540<br />

โทร 02-752 3605 -7<br />

แฟกซ์ 02-752 3608<br />

WWW.DOBCL.COM


DESIGN<br />

FOR ASIA AWARDS<br />

<strong>01</strong><br />

HONORING EXEMPLARY DESIGNERS HAVING IMPACT IN ASIA THROUGH<br />

THE STRATEGIC AND INNOVATIVE USE OF DESIGN.<br />

Desin For Asia Aards รงวัลที่ตั้งขึ้นเพื่อ<br />

ค้นหและเฉลิมฉลองโปรเจ็คต์และงนดีไน์ที่<br />

มีอิมแพคต่อภูมิภคเอเชีย โดย Hon Kon<br />

Desin Centre กลับมอีกครั้ง สำหรับรงวัล<br />

ในสขสถปัตยกรรมในปีนี้ไม่ได้โฟกัสไปที่<br />

กรดีไน์เพื่อสร้งนวัตกรรมหรือสิ่งใหม่ เพียง<br />

อย่งเดียว แต่ยังให้ควมสำคักับกรรีโนเวท<br />

กรให้ชีวิตใหม่แก่พื้นที่เดิมไปพร้อมกันด้วย รงวัล<br />

ยอดเยี่ยม หรือ Grand Aard ของสขสถปัตย-<br />

กรรมในปีนี้ มี รงวัลด้วยกัน<br />

โครงกรฟนฟู Himei Castle โดย NMURA<br />

Japan ได้รับเลือกจกกรเปลี่ยนโบรณสถน<br />

และสมบัติของชติที่มีอยุยืนยวตั้งแต่ปี 109<br />

มเป็นนิทรรศกรที่น่สนใจผ่นกรใช้เทคโนโลยี<br />

AR Aumented Reality ึ่งเรียกได้ว่เป็น<br />

กรผสมผสนควมเป็นสมัยใหม่ลงในไต์เดิม<br />

ได้อย่งลงตัว โครงกรใช้เวลทั้งสิ้น ปีครึ่ง<br />

และให้ควมสำคักับกรดูแลรักษไต์เดิม<br />

อย่งมก เห็นได้จกกรเลือกใช้วัสดุที่เหมะสม<br />

ประกอบกับกรใช้เทคนิคแบบดั้งเดิม ึ่งนอกเหนือ<br />

จกเปหมยกรสร้งประสบกรณ์กรรับชม<br />

ปรสทแบบใหม่ โปรเจ็คต์นี้ยังต้องกรเปด<br />

โอกสให้ผู้รับชมได้ชื่นชมกับงนฝีมือ ควม<br />

สวยงมของเทคนิคทงสถปัตยกรรมแบบดั้งเดิม<br />

ด้วยกรนำอดีตกลับมจัดวงลงยังพื้นที่ จึงมี<br />

ควมลงตัวทั้งในแง่ของกรอนุรักษ์และกรพัน<br />

ขีดควมสมรถของไต์<br />

เช่นเดียวกันกับกรบูรณะอคร PM โดย<br />

PM Manaement Hon Kon ึ่งได้แรง-<br />

บันดลใจมจกประวัติศสตร์ของไต์ ผู้มเยี่ยมชม<br />

จะได้เห็นและสัมผัสกับคุณค่ทงสถปัตยกรรม<br />

และประวัติศสตร์ที่ยังหลงเหลืออยู่ตรงบริเวณ<br />

underround interpretation area’ พื้นที่ชั้นใต้ดิน<br />

ที่ถูกขุดค้นเปดให้เห็นวัสดุดั้งเดิมของอคร กร<br />

ปรับปรุงอครเริ่มต้นในปี 2<strong>01</strong>2 และถูกพัน<br />

เป็นพื้นที่อเนกประสงค์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ<br />

ส่งเสริมดีไเนอร์รุ่นใหม่และดีไน์คอมมูนิตี้ใน<br />

่องกง และเปดประตูต้อนรับผู้มเยือนสู่ stae of<br />

creative happenins ที่ผู้มเยือนจะได้เพลิดเพลิน<br />

ไปกับดีไน์สตูดิโอ ร้นค้ ป็อปอัพสโตร์ และ<br />

นิทรรศกรจำนวนมก<br />

โปรเจ็คต์ต่อมที่ได้รับ Grand Aard คือ<br />

Sino -cean Taikoo Li ที่ Daci Temple ในกรุง<br />

Chendu โดย The val Partnership Limited<br />

Hon Kon ที่นำควมหมยเดิมของไต์ขึ้น<br />

มตีควมใหม่เช่นเดียวกับสองโครงกรก่อนหน้<br />

โครงกรนี้ชี้ให้เห็นถึงคุณค่ของกรนำอดีต<br />

กลับมยังปัจจุบันอีกครั้งหนึ่งด้วยกรคำนึงถึง<br />

สไตล์ดั้งเดิม กรรวมโปรเจ็คต์เข้กับถนนโบรณ<br />

กรฟนฟูอครประวัติศสตร์ คอร์ตยร์ด และ<br />

กรสร้งอครขึ้นมใหม่กว่ 0 หลัง โดย<br />

คำนึงถึงสไตล์และควมเรียบง่ยแบบดั้งเดิมของ<br />

บ้น Sichuan ที่รวมอยู่ ในแผนผังและโปรแกรม<br />

กรพันแบบผสมผสนในลักษณะนี้จึงมี<br />

กลิ่นอยกรฟนฟูชุมชนแบบที่ให้ควมสำคั<br />

กับควมหลกหลย และเปดกว้งต่อกรเป็น<br />

ทงเลือกสำหรับเมืองในอนคต พร้อม กับ<br />

กรจุดประกยแรงบันดลใจใหม่ ในกรออก-<br />

แบบศูนย์กรค้<br />

หก DFA Aards ในปีนี้คดกรณ์ถึงสิ่งที่กำลัง<br />

จะเกิดขึ้นในอนคตอันใกล้ ดูเหมือนว่เรื่องของ<br />

ประวัติศสตร์ บริบท และกรพิจรณคแร็คเตอร์<br />

ของไต์ จะเป็นเรื่องที่อยู่ในควมสนใจของดีไเนอร์<br />

หลย คน ที่เห็นควมสำเร็จจกกรนำบริบท<br />

ของพื้นที่เดิมมใช้สร้งควมหมยในโปรเจ็คต์<br />

เพื่อคนรุ่นต่อ ไปในอนคต


02<br />

<strong>01</strong> อาารอ<br />

ววรสอ<br />

ราสราว<br />

ารออ<br />

02ารรอาาร<br />

สวสา<br />

รวาสรสา<br />

ออสารรสราสรร<br />

03<br />

รวาสรสาอ<br />

าารรวา<br />

อวาอวา<br />

าา<br />

04สาาราว<br />

ออ<br />

าา<br />

อราสา<br />

05<br />

าาร<br />

าสสาาส<br />

าร<br />

03<br />

05<br />

The DFA Awards, a flagship program organized<br />

by the Hong Kong Design Centre, lived up to its<br />

reputation once again this year, serving as a notable<br />

survey and celebration of exemplary designs and<br />

projects having impact in Asia. This year’s Grand<br />

Awards were, however, also of further significance<br />

for the common thread drawn across several<br />

winning projects that focused on not only how<br />

04<br />

to create something innovative and new, but<br />

how to do so through means of revitalization<br />

and renovation.<br />

The Himeji Castle Restoration Project by<br />

NOMURA Co., Ltd. (Japan) was awarded recognition<br />

for its ability to transform a world heritage<br />

site and national treasure dating back to 1609 into<br />

an intriguing exhibition that, through incorporation<br />

of AR technology within its programming, is undeniably<br />

modern in nature. Taking some five and<br />

a half years to complete, the care and support of<br />

the existing site exemplified through thoughtful<br />

selection of materials and the incorporation of<br />

traditional techniques further ensured that visitors<br />

not only “experienced the Castle like never before,”<br />

but also were allowed opportunity to “appreciate<br />

the artisans’ intricate techniques and the beauty<br />

of the traditional architecture.” Making way for<br />

the past to find fitting place within the future,<br />

the project fulfills its mission to both preserve<br />

and advance the capabilities of the site.<br />

The PMQ building by PMQ Management Co. Ltd<br />

(Hong Kong) similarly took home a Grand Award<br />

and looked toward its illustrious past for inspiration,<br />

the partial excavation of fragmented building<br />

materials within its ‘underground interpretation area’<br />

allowing for visitors to appreciate the “historical<br />

and architectural values of the remains.” Renovations<br />

of the site began in 2<strong>01</strong>2 and have since developed<br />

into a dynamic environment aimed at “nurturing<br />

Hong Kong’s emerging create - preneurs” and<br />

design communities, welcoming to date over some<br />

one million visitors to its “stage for creative<br />

happenings” to experience and enjoy its design<br />

studios and shops, pop - up stores and exhibitions.<br />

The third work rooted in reinterpretation<br />

included amongst the Grand Award recipients,<br />

The Sino - Ocean Taikoo Li project at Daci Temple<br />

in Chengdu by The Oval Partnership Limited<br />

(Hong Kong), ushers that which is of value into<br />

the future in like manner through: consideration<br />

of local customs, incorporation of ancient streets,<br />

the restoration of historic building courtyards<br />

and the creation of 30 new, yet traditional lowrise<br />

Sichuan - styled homes into its program and<br />

planning. The mixed-use development was able<br />

realize a sense of urban renewal that “considers<br />

diversity and openness to be the mode of the<br />

future city” while creating an “inspiring alternative<br />

to conventional covered malls.”<br />

If this year’s DFA Awards are indication of<br />

what’s to come, it seems that history, context<br />

and consideration for a site’s existing character<br />

just might find place and voice amongst the<br />

conversations our most celebrated designers<br />

are choosing to hold - as they realize success<br />

through utilization of the pre-existing to foster<br />

meaningful impact within a project, through a<br />

place and for the people of the future.<br />

DFAAWARDS.COM<br />

ราส


GUAN YIN<br />

PAVILION<br />

BANGKOK<br />

STUDIOMAKE<br />

TEXT<br />

Jaksin Noyraiphoom<br />

PHOTOS<br />

Ketsiree Wongwan


แม้จะผ่นแนวคิดที่มุ่งหักล้ง ท้ทย และตรวจสอบ<br />

อยู่อย่งต่อเนื่อง แต่ถึงกระนั้นค่นิยมแบบสถปัตย-<br />

กรรมสมัยใหม่หรือสถปัตยกรรมโมเดิร์น ก็ยังคงมี<br />

อิทธิพลต่อกรออกแบบสถปัตยกรรมของโลกอย่ง<br />

ไม่เสื่อมคลย อิทธิพลเหล่นี้ได้สะท้อนออกมในหลย<br />

ส่วน ทั้งในวิธีคิด กระบวนกรในกรออกแบบ รวมไปถึง<br />

กรใช้วัสดุในสถปัตยกรรม ที่ส่วนให่หรือแทบทั้งหมด<br />

เป็นวัสดุสมัยใหม่ที่ได้จกกรผลิตโดยเครื่องจักรจก<br />

ภคอุตสหกรรมและผลพวงหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ วัสดุก่อ-<br />

สร้งแบบดั้งเดิมึ่งมักทำด้วยมือได้ถูกหลงลืมและไม่ได้<br />

รับกรให้ควมสำคัมกนัก หลยวัสดุได้สูหยไป<br />

ตมกลเวล ด้วยเหตุนี้จึงมีสถปนิกจำนวนไม่น้อยมี<br />

ควมพยยมที่จะนำวัสดุดั้งเดิมเหล่นั้น มประยุกต์<br />

ใช้ในกรออกแบบสถปัตยกรรมในยุคหลังสมัยใหม่กัน<br />

มกขึ้น และหนึ่งในผลงนชิ้นสำคัที่สะท้อนควม<br />

เคลื่อนไหวดังกล่วได้ดีที่สุดชิ้นหนึ่ง ได้แก่ ศลกวนอิม<br />

(Guan Yin Pavilion)<br />

ARCHITECT<br />

Studiomake<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Studiomake<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Studiomake<br />

LIGHTING DESIGNER<br />

49 Lighting Design<br />

Consultants<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Borvornb hun<br />

Vonganan<br />

Adinun<br />

Teeranupatana<br />

CONTRACTOR<br />

Me Tha Construction<br />

& Engineering<br />

BUILDING AREA<br />

2,000 sq.m.<br />

It's a perspective that is to be confuted, is challenging<br />

and has been continuously put to the test, but the<br />

popularity of modern architecture still definitely has<br />

an influence on world architecture. This influence is<br />

reflected in many areas, in the way of thinking, process<br />

of designing, together with the usage of materials in<br />

architecture which are mainly or almost all modern<br />

materials that are produced by machines in the industrial<br />

sector. The consequence of this is that construction<br />

materials that are traditional and handmade are forgotten<br />

and not given much importance. In fact, many materials<br />

have just disappeared with time, hence there is a group<br />

of new architects who want to modify the traditional<br />

materials, and use them in their architectural designs<br />

in this post modern era, one of the most important,<br />

major projects that reflects this movement is the Guan<br />

Yin Pavilion.<br />

The Guan Yin Pavilion is located towards the north<br />

entrance of Rangsit University. It was built to house<br />

the Thai-Chinese Institute, and the important question<br />

for Studiomake, who was the designers of this building,<br />

was that the building had to meet the needs of overall<br />

usage, while at the same time serving as a symbol that<br />

could represent collaboration between Thailand and<br />

China.<br />

This question became the main factor influencing<br />

the choice of materials and in turn became the main<br />

characteristic of the project.<br />

“Usually, when Studiomake designs any project,<br />

we don’t start with the form, but rather begin with the<br />

materials. We ask ourselves which materials would<br />

be able to convey the feelings or actual symbols in the<br />

most appropriate way and, when we considered that<br />

the main concept was that we had to design a building<br />

reflecting the relationship between Thailand and China,<br />

the first material we thought of was bricks.” Orapan<br />

Sarasalin-Schafer, who established Studiomake, spoke<br />

about how the perspective of choosing the materials<br />

that would make up the building came about.<br />

The main reason that the designer chose bricks<br />

was because bricks are a material that both cultures,<br />

Thai and Chinese utilize. As for the bricks that would<br />

be used in the Guan Yin Pavilion, the designer wanted<br />

grey bricks that are used widely in China, their shape<br />

further reflecting the Chinese aspect. However, the<br />

limitation was that the nature of the soil in Thailand,<br />

when used in making bricks, results in the production<br />

of a brick that has a reddish tone quite different from<br />

bricks found in China. This factor caused the designer<br />

to investigate a new process of producing bricks through<br />

collaboration with the brick factory, A.P.K.Dawkoo,<br />

located in Ang Thong province. Together they developed<br />

a new way of firing the bricks that would allow for them<br />

to create grey ones. They used a double-firing method,<br />

hence they were able to produce a brick that was grey<br />

and of an even stronger texture.<br />

<strong>01</strong><br />

<strong>01</strong>อสาสรอ<br />

อาสวอวส<br />

รออาาร<br />

วสาวอ<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 37


4<br />

12<br />

2<br />

11<br />

6<br />

8<br />

10<br />

1<br />

3<br />

5<br />

7<br />

9<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1 entrance<br />

2 guanyin fountain<br />

3 exhibition hall<br />

4 courtyard<br />

5 terrace<br />

6 office<br />

7 meeting room<br />

8 lounge<br />

9 classroom<br />

10 student club office<br />

11 maintenance<br />

12 loading<br />

4 M<br />

38 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


อครศลกวนอิมตั้งอยู่บริเวณด้นทิศเหนือของ<br />

มหวิทยลัยรังสิต ถูกสร้งขึ้นเพื่อให้เป็นที่ทำกรของ<br />

สถบันไทย-จีนของมหวิทยลัยแห่งนี้ โดยโจทย์สำคั<br />

ที่ Studiomake ึ่งเป็นผู้ออกแบบอครหลังนี้ได้รับคือ<br />

นอกจกตัวอครจะต้องสมรถสนองควมต้องกร<br />

ทงด้นกรใช้งนทั่วไปแล้ว ศลกวนอิมหลังนี้ยังจะ<br />

ต้องทำหน้ที่เป็นสัลักษณ์ที่เป็นตัวแทนของควมร่วม-<br />

มือระหว่งประเทศไทยกับประเทศจีน จกโจทย์ดังกล่ว<br />

ได้กลยเป็นปัจจัยสำคัที่มีอิทธิพลอย่งมก ในกร<br />

เลือกใช้วัสดุึ่งเป็นเอกลักษณ์สำคัของโครงกร<br />

ตมปกติแล้วเวลที่ Studiomake ทำงนออกแบบ<br />

โปรเจ็คต์ใดก็ตม เรจะไม่ได้เริ่มกันที่ฟอร์ม แต่จะเริ่มขึ้น<br />

จกวัสดุว่วัสดุอันไหนที่จะสมรถถ่ยทอดควมรู้สึก<br />

หรือสัลักษณ์ที่ตัวอครต้องกรจะสื่อออกมได้<br />

เหมะสมที่สุด แล้วพอรู้ว่โจทย์คือออกแบบอครที่<br />

เป็นสัลักษณ์ระหว่งจีนกับไทย วัสดุแรกที่เรคิดถึง<br />

ก็คืออิฐ อรพรรณ สระศลิน เชฟเฟอร์ ผู้ก่อตั้ง<br />

Studiomake กล่วถึงที่มของแนวคิดในกรเลือกใช้<br />

วัสดุประกอบอคร<br />

เหตุผลหลักที่ทงผู้ออกแบบได้เลือกอิฐมเป็นส่วน-<br />

ประกอบสำคัของอคร เพระอิฐคือวัสดุก่อสร้ง<br />

ที่ทั้งสองวันธรรมทั้งไทยและจีนมีกรใช้ร่วมกันและ<br />

สำหรับอิฐที่จะนำมใช้ในศลกวนอิมหลังนี้ ทงผู้ออกแบบ<br />

มีควมต้องกรที่จะใช้อิฐสีเทที่นิยมใช้กันมกในประเทศ<br />

จีนและมีรูปลักษณ์สะท้อนถึงควมเป็นจีนได้ดี หกแต่<br />

ข้อจำกัดคือดินในประเทศไทยนั้นเมื่อนำมทำอิฐจะได้<br />

อิฐที่มีสีค่อนไปในโทนแดง ึ่งแตกต่งจกอิฐของจีน<br />

ทำให้ผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องคิดค้นกระบวนกรผลิต<br />

อิฐรูปแบบใหม่ขึ้น โดยได้ร่วมมือกับโรงงนอิฐ อปก<br />

ดวคู่ ที่จังหวัดอ่งทอง เพื่อพันกรรมวิธีในกรเผ<br />

อิฐสีเทขึ้น โดยใช้กรเผสองครั้ง ผลลัพธ์ที่ได้คืออิฐที่<br />

มีผิวเป็นสีเทึ่งเนื้อมีควมแกร่งมกขึ้น<br />

02อาาาอาาร<br />

สวอสา<br />

ส<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 39


อิฐสีเทที่ได้จกกรผลิตด้วยมือนี้จะถูกนำมใช้<br />

ตกแต่งในส่วนของผนังอคร โดยในส่วนห้องแสดง<br />

นิทรรศกร จะมีกรนำอิฐมเรียงเป็นแนวตั้งลักษณะ<br />

คล้ยเสล้อมรอบภยนอกอคร รูปทรงเฉพะตัวของ<br />

อิฐ ทำให้เกิดแสงเงตกกระทบตัวอครที่มีเอกลักษณ์<br />

เกิดบรรยกศที่มีควมพิเศษ ในส่วนของพื้นที่สำนักงน<br />

และห้องเรียนจะนำอิฐมก่อ้อนกันโดยมีกรก่อให้เป็น<br />

จังหวะที่มีลวดลยคล้ยคลื่น เกิดเป็นพื้นผิวที่มีควม<br />

น่สนใจผสมผสนกับกรใช้อิฐสีแดงที่เป็นตัวแทนของ<br />

ควมเป็นไทย นอกจกนี้ในส่วนของลนกิจกรรมด้นใน<br />

ยังมีกรนำกระเบื้องมุงหลังคแบบจีนึ่งผลิตจกโรงงน<br />

เดียวกับอิฐ มใช้ตกแต่งบริเวณผนังทรงโค้ง โดยกระเบื้อง<br />

นี้มีรูปทรงเหมือนกระเบื้องมุงหลังคของจีน แต่ใช้<br />

เทคนิคกรเคลือบแบบศิลดลที่มีผิวสีเขียว ึ่งนิยมใน<br />

ประเทศไทย กระเบื้องนี้จึงถือเป็นอีกตัวแทนของควม<br />

สัมพันธ์ระหว่งจีนและไทย ที่สะท้อนอยู่ในอครหลังนี้<br />

02รววาา<br />

อาารว<br />

รออาสว<br />

03ารอวสาร<br />

วรราา<br />

ารร<br />

สารสาารษา<br />

The grey bricks were produced by hand and used<br />

to decorate the walls of the building. As for the exhibition<br />

space - the bricks were arranged vertically, almost<br />

like pillars, and were set to encircle the external area<br />

of the building. The actual shape of the bricks resulted<br />

in a unique shadow effect being cast on the building,<br />

creating a special atmosphere. In the office area<br />

and classrooms, the bricks were overlaid in a pattern<br />

resembling waves, creating a very interesting surface<br />

area. Red bricks were also used to reflect a sense of<br />

'being Thai’.<br />

As for the internal activity area, Chinese styled roof<br />

tiles produced at the same factory behind the development<br />

of the bricks were utilized. The method used to<br />

produce them was similar to that of producing celadon –<br />

allowing for the creation of a green surface that is<br />

popular in Thailand. These Chinese-styled bricks were<br />

used to decorate the curved wall, allowing for the tiles<br />

to represent China and Thailand and the relationship<br />

between the two to be reflected in the building.<br />

03<br />

40 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


04


อุปสรรคสำคัในกรใช้วัสดุทำมืออย่งอิฐที่สถปนิก<br />

ต้องเผชิคือ ขนดของอิฐึ่งแต่ละก้อนจะไม่เท่กัน<br />

อันเนื่องมจกควมคลดเคลื่อนของกระบวนกรผลิต<br />

ึ่งแตกต่งจกวัสดุที่ผลิตด้วยระบบอุตสหกรรม ทำให้<br />

ในกรก่อสร้งต้องมีกรแก้ปัหอยู่ตลอดเวล เพื่อให้<br />

ได้รูปแบบที่ใกล้เคียงกับที่ได้ออกแบบไว้ให้มกที่สุด<br />

โดยอรพรรณได้กล่วถึงข้อดีในกรใช้วัสดุที่ทำด้วยมือ<br />

เอไว้ว่ อย่งที่เรเคยทำงนในประเทศตะวันตก จะ<br />

เห็นว่กรทำงนด้วยมือนั้นมันแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย<br />

เพระค่ใช้จ่ยมันสูงมก แต่ในประเทศตะวันออก<br />

เรโชคดีที่เรยังมีงนลักษณะนี้อยู่ แล้วเรมีช่งมี<br />

ภูมิปัที่สั่งสมกันม ึ่งเรควรจะนำมใช้<br />

และแม้จะชื่นชอบในกรใช้วัสดุทำมือึ่งเป็นวัสดุ<br />

ดั้งเดิมจกอดีตก็ตม แต่อรพรรณและ Studiomake ก็<br />

มิได้หลงใหลในควมโรแมนติกและยึดติดอยู่ในกับดัก<br />

แห่งกลเวลของอดีตกลเพียงเท่นั้น ดังจะเห็นได้จก<br />

กระบวนกรในกรสร้งสรรค์อครหลังนี้ ที่ไม่ได้ลอก-<br />

เลียนรูปแบบจกอดีตอย่งผิวเผินและเถรตรง หกแต่<br />

มุ่งทำควมเข้ใจแก่นสระสำคัและนำมคลี่คลยสู่<br />

รูปแบบใหม่ที่มีควมสอดคล้องกับบริบทของปัจจุบัน<br />

หกแต่ยังคงกลิ่นอยแบบอดีตและควมเป็นท้องถิ่น<br />

เอไว้ได้<br />

ในอนคตเรก็อยกจะเห็นว่ งนที่ทำด้วยมือ<br />

มันเริ่มผสมผสนกับงนเทคโนโลยีบ้ง สำหรับ<br />

Studiomake เรชอบงนที่ทำด้วยมือก็จริง แต่ว่เร<br />

จะไม่พยยมไปหลงใหลในอดีตจนเกินไปจนไม่มสู่<br />

ปัจจุบัน ึ่งจะทำให้ไปต่อในอนคตไม่ได้ แล้ววิชชีพ<br />

เรก็จะหยุดอยู่แค่ตรงนั้น ึ่งเรคิดว่หน้ที่ของสถปนิก<br />

ก็คือ เรต้องพยยมนำงนฝีมือดั้งเดิม มบวกกับ<br />

เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อที่มันจะได้พันต่อไปในอนคต<br />

ได้ คิดว่นั่นคงจะเป็นเปหมยของเร มกกว่แค่กร<br />

หลงรักในอดีต อดีตมันควรจะเป็นอดีต ควรจะเก็บไว้<br />

แล้วเรก็ก้วต่อไป พันให้เป็นอนคตของสถปัตย-<br />

กรรมในประเทศไทยให้ได้ อรพรรณ กล่วเสริม<br />

ควมท้ทยประกรสำคัที่สถปนิกยุคหลังสมัย<br />

ใหม่ต้องพบเจอในกรสร้งสรรค์สถปัตยกรรมร่วมสมัย<br />

คือกรผสนควมเป็นสกลและควมเป็นท้องถิ่นเข้<br />

ด้วยกันอย่งสมดุล โดยไม่หลงลืมรกเหง้และควม<br />

เป็นท้องถิ่น แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่หมกมุ่นอยู่<br />

แต่ควมสวยงมของอดีตจนไม่มสู่ปัจจุบัน ึ่งผลงน<br />

ศลกวนอิมคือตัวอย่งที่ดีของสถปัตยกรรมร่วมสมัย<br />

ที่มีกรตีควมควมเป็นท้องถิ่น อย่งมี พลวัต’ ที่มี<br />

กรเคลื่อนไหวและแปรเปลี่ยนรูปร่งอยู่ตลอดเวล ทำให้<br />

งนชิ้นนี้ได้ก้วข้มกับดักแห่งกลเวล กลยเป็นหลัก<br />

ไมล์สำคัของกรออกแบบสถปัตยกรรมร่วมสมัยใน<br />

ประเทศไทย<br />

The biggest obstacle that the architects had to<br />

face in using handmade bricks was that they varied<br />

in size, due to the inexact production process that<br />

differed from an industrial production process. Hence,<br />

whilst construction was taking place, problems had<br />

to be continuously solved in order to achieve the appearance<br />

that was closest to that which the design<br />

aspired to achieve. Orapan did, however, explain that<br />

there were also advantages to using these handmade<br />

materials. "As we have worked in western countries,<br />

we can see that making things by hand is hardly ever<br />

possible, because the costs are very high, whereas<br />

in eastern countries we are lucky to still have this sort<br />

of work, and we have builders who have accumulated<br />

knowledge and hence we should utilize this."<br />

Even though handmade materials are admired and<br />

traditional, Orapan and Studiomake were not lost in the<br />

romanticism and trap of the ancient past, this can be<br />

seen from the creative process that went into the development<br />

of the building that goes far from imitating<br />

structures from ancient times in a superficial and direct<br />

way. In fact, Studiomake tried to gain an understanding<br />

of the essence, and called upon this essence to create<br />

a new form that was in line with the present contexts,<br />

and yet at the same time able to grasp and maintain<br />

both an ancient and indigenous touch as well.<br />

"In the future we would like to see handmade<br />

things be somewhat integrated with technology. At<br />

Studiomake we do like handmade work, but we try not<br />

to become too lost in the past - in fact, not being in the<br />

present would not allow us to advance into the future,<br />

and our profession would just be at a halt. Therefore,<br />

we think that the duty of an architect is to try and present<br />

traditional craftsmanship together with modern<br />

technology, so that it can develop in the future as well<br />

- this is our goal, rather than just being in love with the<br />

past. The past should be just the past, and it should be<br />

embraced, as we progress and develop it to become<br />

the future of architecture in Thailand," furthered Orapan.<br />

The important challenge that architects of the<br />

postmodern era face is the creativity of contemporary<br />

architecture - to be able to integrate international and<br />

local aspects in a balanced way while not forgetting or<br />

neglecting one’s ancestry and indigenousness.<br />

Yet, at the same time we must not indulge in the<br />

beauty of the past in a manner that prohibits us from<br />

being in the present. The Guan Yin Pavilion is therefore<br />

a good example of contemporary architecture - it is defined<br />

by its appropriate application of indigenousness<br />

paired with continuous movement and the change it<br />

enables. This pavilion progresses within the constraints<br />

of time, and has thus become an important milestone<br />

of contemporary architecture in Thailand.<br />

จักรสิน น้อยไร่ภูมิ<br />

ารษาาสา<br />

รราสราวา<br />

ารอาาร<br />

ราสารร<br />

าสรารออ<br />

าวารา<br />

รสราาา<br />

วารสา<br />

อสร<br />

42 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


NOW 26<br />

TEXT<br />

Paphop Kerdsup<br />

PHOTOS<br />

Spaceshift Studio<br />

BANGKOK<br />

STUDIO<br />

ARCHITECTKIDD


ARCHITECT<br />

Architectkidd<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Architectkidd<br />

LIGHTING DESIGNER<br />

Gooodlux<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Thai Obayashi<br />

CONTRACTOR<br />

Thai Obayashi<br />

BUILDING AREA<br />

1,200 sq.m.<br />

ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่นมนี้ แวดวงสถปัตยกรรม<br />

เรียกได้ว่มีควมเปลี่ยนแปลงไปจกในอดีตค่อนข้งมก<br />

จกที่ครั้งหนึ่งสถปนิกเคยรับบทบทเป็นทั้งผู้สร้งและ<br />

ผู้ออกแบบ กลยเป็นว่ในปัจจุบันระยะห่งระหว่งสถปนิก<br />

และงนสถปัตยกรรมกลับยิ่งทวีควมห่งออกไปมกขึ้น<br />

เรื่อย ถ้จะว่กันตมตรง นับตั้งแต่ที่เทคโนโลยีสมัยใหม่<br />

อย่ง CAD, BM หรือแม้แต่กระบวนกรออกแบบและ<br />

ผลิตแบบดิจิตอล Diital Farication เข้มมีบทบท<br />

ในกรออกแบบของสถปนิกมกขึ้นเรื่อย หลยครั้งที่<br />

เรหลงลืมควมเป็นจริง จนละเลยบริบทแวดล้อมที่เป็น<br />

อยู่ไป ควมรู้พื้นฐนอย่งกระบวนกรทำมือ Handmade<br />

กลยเป็นสิ่งที่สถปนิกในปัจจุบันเผลอมองข้ม เป็นไป<br />

ได้หรือไม่ที่วิทยกรสมัยใหม่จะสมรถมบรรจบกับวิธี-<br />

กรพื้น อย่งกรทำมือได้ คำตอบของคำถมข้อนี้ ได้ถูก<br />

พิสูจน์แล้วว่เป็นไปได้ผ่นผลงนกรออกแบบอคร<br />

สถนีโทรทัศน์แห่งใหม่อย่ง N 2 ึ่งถือเป็นกร<br />

บรรจบกันของช่วงเวลที่แตกต่งกันด้วยเช่นกัน<br />

สถนีโทรทัศน์ N 2 ตั้งอยู่ที่สยมสแควร์ บริเวณ<br />

ด้นหลังของโรงภพยนตร์ลิโด้ แทนที่พื้นที่กรเรียนรู้เดิม<br />

อย่ง The Style y TTA โดยโครงกรสถนีโทรทัศน์<br />

แห่งนี้อยู่ภยใต้กรดูแลของผู้เช่รยใหม่อย่งเครือ Nation<br />

ึ่งโจทย์สำคัที่ทง Nation ต้องกร นอกเหนือจกกร<br />

สะท้อนภพลักษณ์ควมโปร่งใสขององค์กรให้ปรก<br />

ออกมผ่นตัวสถปัตยกรรมได้แล้ว คือกรจัดกรและ<br />

ปรับปรุงอครหลังเดิมที่มีอยู่ในที่ตั้งอย่งไรให้สมรถ<br />

ใช้งนได้ตรงตมวัตถุประสงค์ของสถนีโทรทัศน์ ภยใต้<br />

ข้อจำกัดที่สำคัคือ ระยะเวลในกรก่อสร้ง ที่จะต้อง<br />

พร้อมใช้งนได้เร็วที่สุด ึ่งโจทย์เหล่นี้ได้รับกรถ่ยทอด<br />

ออกมผ่นฝีมือกรทำงนของ Architectkidd กลุ่ม<br />

สถปนิกึ่งได้เคยฝกผลงนในบริเวณใกล้เคียงอย่ง<br />

โรงแรม Hard Rock Caf ไว้แล้ว กรกลับมในครั้งนี้<br />

ของ Architectkidd ได้สร้งควมแปลกใหม่ด้วยกร<br />

ออกแบบสถปัตยกรรมที่แสดงถึงกรบรรจบกันของ<br />

เครื่องมือดิจิตอลและกระบวนกรทำมือได้อย่งน่สนใจ<br />

ทุกครั้ง ที่เรเริ่มโปรเจ็คต์ใดก็ตม เรค่อนข้งที่<br />

จะให้ควมสำคัหลักไปที่กระบวนกรทำมือ Handmade<br />

ในงนสถปัตยกรรม เพระถึงแม้ว่เรจะใช้<br />

เทคโนโลยีหรือกระบวนกรที่ลำ้สมัยแค่ไหน มันก็ยังคงมี<br />

สิ่งหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบสำคัในกรสร้งอครขึ้นม<br />

ึ่งก็คือกรทำด้วยมือ ลุค ยัง Luke eun สถปนิก<br />

ผู้รับผิดชอบโครงกร N 2 กล่วถึงกระบวนกร<br />

ทำงนของสตูดิโอ ที่แม้หน้ตของสถนีโทรทัศน์ขนด<br />

1200 ตรงเมตร แห่งนี้จะดูเหมือนถูกสร้ง enerate<br />

ขึ้นมจกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็ตม แต่กระบวนหลัก<br />

ส่วนให่ของกรก่อสร้งอครหลังนี้ยังคงให้ควมสำคั<br />

ไปที่กระบวนกรทำมือและทักษะควมชำนของช่งใน<br />

กรจัดกรกับควมำ้้อนของผิวอคร ึ่งถือเป็นหนึ่ง<br />

ในหัวใจหลักของโครงกร<br />

Over the past two decades, there has been much<br />

development in architecture as compared to previous<br />

times. At one time, an architect was both a designer and<br />

a creator. Nowadays, there is in fact a much wider gap<br />

between the architect and the architectural work. The<br />

advent of new technologies such as CAD and BIM and<br />

the introduction of digitalization into design processes<br />

has increased the significance of the architect’s design<br />

role, where we tend to forget the reality and ignore the<br />

surrounding context. Today, an architect may overlook<br />

such fundamental knowledge as handmade processes.<br />

Would, however, it be at all possible to incorporate new<br />

technologies and basic methods such as handmade<br />

processes together? This question can be answered<br />

through the design of the new NOW 26 TV station<br />

building where we find a convergence of elements from<br />

different periods.<br />

The NOW 26 TV station set in Siam Square behind<br />

the Lido Cinema superseded by The Style by TOYOTA<br />

recently welcomed a new tenant, The Nation Group.<br />

The Nation Group had a number of significant requirements<br />

when it came to the space including a desire to<br />

use the architecture to reflect the organization’s image<br />

of transparency and to find means to address the muchneeded<br />

renovation of the existing building. The brief<br />

further required that the architects meet the TV station’s<br />

objectives within a strict time limit, as the project had to<br />

be completed as soon as possible. All these requirements<br />

were translated through the design by Architectkidd,<br />

a group of architects who also designed the nearby<br />

Hard Rock Café Hotel. On this occasion, Architectkidd<br />

created an amazing project by designing architecture<br />

that showed an interesting convergence of both digital<br />

devices and handmade processes.<br />

“Every project we embark on is a kind of tribute<br />

to the handmade in architecture, because even as we<br />

use more high technologies and processes, there remains<br />

one basic and necessary component in making<br />

buildings – the handmade aspect,” said Luke Yeung,<br />

a partner at Architectkidd responsible for the NOW<br />

26 project of the working process of the studio. In<br />

appearance, this 1200-square-meter TV Station seems<br />

to have been generated by a computer. However, the<br />

fundamental construction processes that went into the<br />

building relied mostly on handmade processes coupled<br />

with the expertise of the technicians in dealing with the<br />

complex façade that is in many ways the heart of the<br />

project.<br />

The building’s interesting curvilinear façade is derived<br />

from the system of pipes and electric cables that<br />

were discovered during an early phase of the project<br />

while demolishing the structure of the old building. The<br />

architect discovered that the infrastructure of the utilities<br />

concealed within the building were an interesting feature.<br />

“It’s a pity they are mostly confined to the internal<br />

guts of the building, in dark and hidden places where<br />

they will never be seen or noticed.” The impressionistic<br />

curved lines of these systems prompted the architect’s<br />

decision to develop these into the structure and façade<br />

of the NOW 26 building. This was achieved by bending<br />

the 19-millimetre-diameter steel pipes to cover the<br />

whole building. The arrangement further brought a<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 45


ที่มหลัก ของรูปแบบเส้นโค้งที่น่สนใจของผิวอคร<br />

หลังนี้ เกิดจกที่ในระหว่งกรรื้อโครงสร้งอครหลัง<br />

เดิมในช่วงแรกของโปรเจ็คต์ สถปนิกได้บังเอิค้นพบว่<br />

งนระบบึ่งถูก่อนอยู่ภยในอครอย่งกรเดินท่อและ<br />

สยไฟต่ง นั้นมีควมน่สนใจ มันน่เสียดยที่สิ่งเหล่นี้<br />

ถูกจำกัดให้อยู่แต่ในตัวอคร ่อนอยู่ในที่มืด ที่เรไม่มีวัน<br />

จะได้สังเกตเห็น ด้วยควมประทับใจที่มีต่อเส้นสยของ<br />

งนระบบึ่งถูกบิดโค้งไปมตมกรใช้งนเหล่นี้ สถปนิก<br />

เลือกนำสิ่งที่ค้นพบมพันต่อจนเกิดเป็นผิวอคร<br />

เปลือกนอกของ N 2 ึ่งประกอบขึ้นจกกรดัดท่อ<br />

เหล็กขนดเส้นผ่นศูนย์กลง 19 มิลลิเมตร คลุมตลอด<br />

ทั้งตัวอคร ถือเป็นวิธีกรที่สมรถทำให้มวลอครที่ดู<br />

ทึบึ่งเกิดจกกรใช้งนพื้นที่ห้องส่งของสถนีโทรทัศน์<br />

นั้น ดูโปร่งขึ้นมได้<br />

ควมน่สนใจของผิวอครแห่งนี้ นอกเหนือจกรูป-<br />

ทรงที่แปลกต คือกระบวนที่อศัยควมชำนของช่ง<br />

ในกรผลิตชิ้นส่วนแต่ละชิ้นด้วย มือ’ ทั้งหมด โดยภย-<br />

หลังจกกรเลือกใช้ท่อเหล็กมเป็นวัสดุหลักในกรทำ<br />

ผิวอครแล้ว สถปนิกเลือกศึกษคุณสมบัติที่เป็นไปได้<br />

ของวัสดุในกรนำมดัดให้เกิดเป็นเส้นโค้ง พร้อมกันนั้น<br />

ก็ทำงนไปร่วมกันกับช่งเหล็กจก Thai ayashi<br />

ึ่งมีทักษะและควมเชี่ยวชโดยตรง ข้อจำกัดของ<br />

กระบวนกรผลิตนี้คือกรที่จะทำอย่งไรให้สมรถ<br />

ประหยัดเวลและรักษควมคงที่ของท่อเหล็กึ่งถูกตัด<br />

ด้วยเครื่องตัดเหล็กธรรมดไว้ได้มกที่สุด ด้วยควมที่<br />

แบบของท่อเหล็กนี้มีควมับ้อนทั้งในเชิงของมุมและ<br />

องศในกรดัด แม้ว่แต่ละชิ้นจะดูเหมือนมีองค์ประกอบ<br />

บงอย่งที่ำ้กันก็ตม ทำให้ต้องอศัยควมเข้ใจใน<br />

กรอ่นแบบสองมิติที่สร้งขึ้นจกเครื่องมือดิจิตอลและ<br />

สร้งให้เกิดเป็นผลงนสมมิติที่มีควมแม่นยำอยู่พอ<br />

สมควร ึ่งในจุดนี้ช่งเหล็กเข้มมีบทบทสำคัในกร<br />

ให้คำแนะนำแก่สถปนิกและทำให้ระยะห่งระหว่ง<br />

ผู้ออกแบบกับผู้สร้งงนลดน้อยลงได้มกเลยทีเดียว<br />

แม้ว่ในทงทษีแล้ว เครื่องมือดิจิตอลจะเข้ม<br />

มีบทบทและช่วยให้กรเกิดขึ้นของงนสถปัตยกรรม<br />

เป็นไปได้อย่งรวดเร็วและแม่นยำ แต่ในทงปิบัติแล้ว<br />

กระบวนกรทำมือยังคงมีบทบทสำคัมกกว่ในกร<br />

ก่อสร้งสถปัตยกรรมในปัจจุบัน เพระถึงแม้ว่แบบที่<br />

รังสรรค์ขึ้นจกคอมพิวเตอร์จะมีควมพิเศษเพียงใด หก<br />

ทักษะเชิงช่งของแรงงนยังไม่ชำนพอ ก็อจทำให้แบบ<br />

ที่หน้งนสมรถเปลี่ยนแปลงไปได้เสมอ เครื่องมือ<br />

ดิจิตอลต่ง มันมีประโยชน์ ในกรช่วยให้กรทดลองต่ง<br />

มันบรรลุผล หรืออย่งน้อยมันก็ช่วยเพิ่มทงเลือกให้เรได้<br />

มกขึ้น คือมันช่วยเปดให้เรได้เห็นไอเดีย ควมเป็นไปได้<br />

หรือผลลัพธ์ใหม่ ด้วย แต่ในขณะเดียวกัน หลยสิ่ง<br />

หลยอย่งมันสมรถเกิดขึ้นได้ที่หน้งน คือแม้แต่ของ<br />

ที่มันเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจก็สมรถเปลี่ยนดีไน์ทั้งหมด<br />

ไปได้เลย ลุคกล่ว<br />

<strong>01</strong>รวาอ<br />

ออ<br />

ออสรา<br />

าสาารอรร<br />

า<br />

ในท้ยที่สุดแล้ว สถปนิกเองควรต้องเริ่มกลับม<br />

พิจรณถึงควมสัมพันธ์ระหว่งคำว่ ผู้ออกแบบ กับ<br />

ผู้สร้ง ให้มกขึ้น รวมทั้งมองให้เห็นถึงควมสำคัของ<br />

กระบวนกรทำมือ handmade ึ่งเป็นทักษะพื้นฐน<br />

ในกรออกแบบและสร้งสรรค์งนสถปัตยกรรม เพระ<br />

ถึงแม้ว่กรมถึงของเครื่องมือและเทคโนโลยีสมัยใหม่<br />

จะช่วยให้สถปนิกมีควมสะดวกในกรทำงนมกขึ้น<br />

กรลงมือทำก็ยังคงเป็นจุดเริ่มต้นของกรออกแบบ<br />

สถปัตยกรรมที่เร สถปนิก ไม่ควรมองข้ม คำว่<br />

handmade’ สำหรับเรแล้ว ไม่ได้หมยควมถึงกร<br />

กระทำที่ต้องมี มือ’ เข้มเกี่ยวข้องเสมอไป ในที่สุดแล้ว<br />

มันเป็นเรื่องของกรพันสิ่งที่เรเรียกว่ขั้นตอน กร<br />

ลงมือปิบัติ’ ในแต่ละโปรเจ็คต์เสียมกกว่’ ลุคทิ้งท้ย<br />

46 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


<strong>01</strong><br />

4<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1 Entrance Stair<br />

2 Main Lobby<br />

3 NOW26 Café<br />

4 Service<br />

2<br />

3<br />

1<br />

2 M<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 47


02<br />

02 วอาาราอ<br />

อว<br />

าวาอวอาาร<br />

าราาวา<br />

ร<br />

03-04 Façส<br />

าาออ<br />

รววอาาร<br />

05าาออาาร<br />

03<br />

48 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


05<br />

04<br />

lighter appearance to the dense mass of the building<br />

according to the use of the space for broadcasting.<br />

Apart from just looking different, the interesting<br />

feature about this building’s façade was the process that<br />

relied on the expertise of the technicians to produce<br />

each component ‘by hand.’ On deciding to use steel<br />

pipes as the main material for the façade, the architect<br />

studied the nature of the material that could be shaped<br />

into a curve. At the same time, he also worked alongside<br />

steelworkers from Thai Obayashi who have direct<br />

skills and professional expertise with the material.<br />

The limitations of this process were primarily how to<br />

conserve time while maintaining the consistency of the<br />

steel pipe cut by a regular steel cutting tool. The design<br />

of the steel pipe was complicated both in terms of angle<br />

and degree of curvature (although each piece appeared<br />

to be from the same component). Achieving this effect<br />

required a realization of a 2-dimensional-design that was<br />

generated digitally, in order to create a 3-dimensionaleffect<br />

that was more accurate. In this, the steelworker<br />

played a significant role in offering professional advice<br />

which, in turn, helped to minimize the gap between<br />

designer and creator.<br />

In theory, the digital devices helped accelerate the<br />

architectural design process and increase its accuracy<br />

today, yet in practice, handmade processes still play<br />

a more significant role in architectural construction.<br />

Although computer-generated design may offer something<br />

special, technical workers tend to have insufficient<br />

skills and expertise. Thus there exists the possibility that<br />

some changes may need to be made on site. “Digital<br />

tools can be useful in implementing experimental<br />

approaches, or at least producing various options and<br />

permutations. This can open up ideas and lead us to<br />

see some new possibilities or combinations. Then, on<br />

the other hand, many things can happen on site – even<br />

something seemingly spontaneous can completely<br />

transform the overall design.”<br />

Finally, architects should also more closely consider<br />

the relationship between the ‘designer’ and ‘creator,’ as<br />

well as recognize the importance of the handmade processes<br />

as a fundamental skill in architectural design and<br />

creativity. While the inception of new technology may<br />

simplify some of the tasks of architectural work, handmade<br />

work is still the foundation of architectural design<br />

and the architect should not overlook this. “Handmade<br />

to us doesn’t always have to do with a physical activity<br />

involving hands. Ultimately, it’s more about the need<br />

to develop a ‘hands-on’ approach towards the project,”<br />

concluded the architect.<br />

ภ กิรัย<br />

ารษาาสา<br />

รราสราร<br />

าวาาา<br />

อรราารรา<br />

วารสารอาษาสาร<br />

ออรส<br />

วสอารออ<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 49


SOMJAI<br />

HOUSE<br />

SURAT THANI<br />

NPDA STUDIO<br />

TEXT<br />

Xaroj Phrawong<br />

PHOTOS<br />

Anotherspacestudio


ARCHITECT<br />

NPDA studio<br />

INTERIOR ARCHITECT<br />

NPDA studio<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Apisit Chawacharoen<br />

AREA<br />

240 sq.m.<br />

สถปัตยกรรมคือสะพนเชื่อมบริบท ถ้ประโยคนี้<br />

ปรกในยุคโมเดิร์นคงถูกเหล่สถปนิกหัวก้วหน้<br />

ในยุคนั้นโดยเฉพะพวกที่นิยมกรปิเสธสรัตถะจก<br />

อดีตโจมตีอย่งหนัก แต่หกนำประโยคเดียวกันมใช้<br />

ในบริบทปัจจุบันกับผู้คนที่โหยหอดีต ตมหควมเฉพะ<br />

ของถิ่นที่ เบื่อควมเร็วของทุนนิยม ึ่งเป็นปรกกรณ์<br />

ที่สมรถทำควมเข้ใจได้ง่ยจกที่คนเรเบื่อสิ่งที่คุ้นชิน<br />

แล้วแสวงหสิ่งที่แตกต่งไปจกชีวิตประจำวันมเสพ<br />

ตัวสถปัตยกรรมเองก็ไม่สมรถหลีกหนีประเด็นนี้<br />

เช่นกัน<br />

เคนเนธ แฟรมปตัน Kenneth Frampton ได้กล่วถึง<br />

กรที่จะไม่หลงไปกับกระแสของสถปัตยกรรมโมเดิร์น<br />

ด้วยกรเสนอถึงแนวทงท้องถิ่นนิยมวิพกษ์ critical<br />

reionalism ที่จะพสถปัตยกรรมในยุคหลังสมัยใหม่<br />

ไปสู่จุดหมยของกรตมหอัตลักษณ์ที่มกกว่กร<br />

สร้งเปลือกแบบให้สะดุดตที่สถปัตยกรรมโพสต์<br />

โมเดิร์นนิยมทำเพื่อให้หลุดจกควมน่เบื่อของสถปัตย-<br />

กรรมโมเดิร์น ประเด็นที่แฟรมปตันนำเสนอสุนทรียภพ<br />

ของควมงมในสถปัตยกรรมที่มีชีวิตชีวจกถิ่นที่ ทั้ง<br />

วัสดุ กรก่อรูป เทคทอนิค Tectonic ที่สัมพันธ์กับ<br />

วิถีชีวิต ประเด็นของกรก่อรูปทงสถปัตยกรรมหรือ<br />

เทคทอนิคคือศิลปะแห่งกรก่อสร้งหกมองในรูปคำ<br />

แล้วกรให้คุณค่ของกรก่อสร้งที่แฟรมปตันมองม<br />

ไม่ได้เป็นแค่กรประกอบเข้กันของวัสดุในท้องถิ่น<br />

อย่งเดียว แต่เป็นกรสร้งอย่งมีศิลปะในนิยมของ<br />

ศิลปะที่ไม่จำเป็นต้องอิงสุนทรียภพของกระแสหลัก<br />

แต่เป็นกรให้คุณค่ของกระแสรองที่ไม่สมรถพบได้<br />

อย่งดษดื่น กรเข้ใจถึงควมแตกต่งจึงจะพไปสู่<br />

ควมเข้ใจขั้นต่อไปได้<br />

“Architecture is a bridge that connects its surroundings<br />

and various contexts.” If this sentence appeared in<br />

the modern era and was discussed amongst forward<br />

thinking architects - especially those who tend to deny<br />

the essence of the past, they would definitely bombard<br />

the notion. But if the same sentence was utilized in<br />

the present context, by people with a craving for the<br />

past who are looking for the specifics of a locality and<br />

are fed up with the fast pace of capitalism, architecture<br />

cannot escape this point as well - this is something<br />

that can be understood easily by the fact that people<br />

are now bored with things that they are used to and<br />

are looking for things that are different from those they<br />

frequently encounter in their daily lives.<br />

Kenneth Frampton stated that one must not get<br />

lost in the current of modern architecture and also presented<br />

the path of critical regionalism. This would take<br />

architecture in the postmodern times toward the goal<br />

of finding a characteristic that was about more than<br />

just achieving an attractive outer feature. Postmodern<br />

architecture would often go beyond this, so as to<br />

escape from the boredom of modern architecture.<br />

The point Frampton presented was based on the<br />

arts and an appreciation of the beauty of indigenous<br />

architecture, including the materials used and the building<br />

up of tectonic forms that are related to the way of<br />

life. The point of building forms, or tectonics was an art<br />

in constructing. Frampton pointed out that if you look<br />

at a particular form, the value given to the construction<br />

was not only a realization of the integration of local material<br />

components but was also defined as an artistic<br />

construction. That art was not necessarily in reference<br />

to the main current at that time, but was aimed at<br />

giving value to the subsequent current that was not<br />

abundantly found. By understanding these differences,<br />

one can proceed to the next level of understanding.<br />

MASTER PLAN<br />

1 Master Bed Room<br />

2 Bed Room<br />

3 Dining Room<br />

4 Walk in Closet<br />

5 Bath Room<br />

6 Deck<br />

7 Storage<br />

8 Main Hall<br />

9 Pantry<br />

10 Pond<br />

11 Path Walk<br />

12 Stair<br />

1 3<br />

2<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

12<br />

4 5 5<br />

5<br />

11<br />

10 10<br />

11<br />

1 M<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 51


52 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา<br />

1 M


<strong>01</strong><br />

อย่งเช่นในกรณีบ้นสมใจ ณ เกะพะงัน จังหวัด<br />

สุรษ์ธนี ออกแบบโดย NPDA studio สถปนิกเริ่มต้น<br />

กรออกแบบสถปัตยกรรมด้วยกรขึ้นรูปทรงแบบ<br />

ตะวันตกที่ได้รับอิทธิพลจกกรศึกษระดับปริโท<br />

ม แต่สิ่งที่บ่งบอกถึงควมเป็นตะวันออกและกรสื่อถึง<br />

ถิ่นที่คือควมงมของศิลปะแห่งกรก่อสร้งแบบตะวันออก<br />

ที่มุ่งเน้นกรเปดเผยควมดิบของวัสดุที่มีฐนจกกร<br />

สร้งสรรค์ด้วยกรให้สถปัตยกรรมสอดรับวิถีชีวิตใน<br />

เกะพะงันมกกว่เป็นวัตถุแห่งกรจับจ้อง โปรแกรม<br />

ของบ้นหลังนี้เป็นพื้นที่รับรองแขกของ Co-Co Nut &<br />

Noom Resort ึ่งเป็นกิจกรของครอบครัว แนวทง<br />

<strong>01</strong> อาา<br />

ส<br />

For example, in the case of Somjai House on<br />

Koh Phangan, Surat Thani province designed by NPDA<br />

Studio, the architects started designing the architectural<br />

structure by developing the formation in a western<br />

style influenced by their Master's degree education.<br />

But the things that reflected the eastern style and<br />

indigenous influence were the beauty of the art of<br />

the eastern styled way of construction, revealing the<br />

crudeness of the materials utilized. The creativity of the<br />

architecture was aligned to meet the lifestyle of Koh<br />

Phangan, and also provided something to gaze upon.<br />

The purpose of this house was to serve as a reception<br />

for guests of the Co-Co Nut & Noom Resort, which<br />

was a family business. A flexible approach was used in<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 53


กรวงพื้นที่ใช้สเปแบบยืดหยุ่น เน้นไปที่กรเชื่อมโยง<br />

ระหว่งภยนอกและในอย่งคลุมเครือ ให้บรรยกศดู<br />

สบย ลดควมเป็นทงกรึ่งส่งผลไปยังกรออกแบบ<br />

รยละเอียดในส่วนต่ง เช่นกัน กรใช้พื้นที่แบ่งออก<br />

เป็นตมทิศทงของแดด ลม ทะเล สมรถรับวิว<br />

จกเกะสมุย ภูเข ทะเล ที่อยู่ไม่ไกลจกบ้นสมใจ<br />

นอกจกกรให้สเปภยนอกไหลเข้มจกกรวง<br />

จังหวะให้เว้นว่งแล้ว ยังคำนึงถึงกรออกแบบในรย-<br />

ละเอียดของช่องระบยอกศต่ง ที่เอื้อให้มีกรไหล<br />

เวียนของอกศอีกด้วย กรออกแบบผนังห้องนำ้แบบ<br />

แยกออกจกกันเล็กน้อยพร้อมเจะช่องแสงที่เยื้องกัน<br />

ทำให้เกิดผลลัพธ์ที่มีทั้งแสงและลมทะเลบงเบจก<br />

ภยนอกที่ไหลเข้มได้เท่ที่ผนังนั้นจะอนุต นอกจกนี้<br />

สถปนิกยังเลือกที่จะถอยชยคห่งออกผนังเล็กน้อย<br />

ให้แสงอทิตย์ส่องลงมเพื่อสุขอนมัยและระบยอกศ<br />

ไปอีกทง<br />

นอกจกกรให้สถปัตยกรรมสอดรับกับถิ่นที่ด้วย<br />

กรออกแบบแล้ว เทคทอนิคที่สถปนิกสื่อสรผ่น<br />

สถปัตยกรรมคือกรสร้งควมงมจกกรสร้งสรรค์<br />

ของวิถีชีวิตงนเชิงช่งของท้องถิ่นและกรหยิบจับวัสดุ<br />

ในถิ่นนั้นมปรุงให้เป็นสถปัตยกรรมร่วมสมัย องค์ประกอบ<br />

ที่โดดเด่นของบ้นสมใจคือผนังภยนอกสีแดงสดที่สถปนิก<br />

ตั้งใจออกแบบให้สีแดงพตัวมันเองให้แตกต่งจก<br />

สภพแวดล้อมที่เป็นสีโทนเย็นอย่งใบมะพร้ว สีนำ้เงิน<br />

ของนำ้ทะเล ผนังภยนอกมีกรออกแบบรยละเอียด<br />

ด้วยแนวคิดที่ต้องกรใช้วัสดุที่เรียบง่ย หได้ง่ยในท้องถิ่น<br />

ตัวเลือกจึงกลยเป็นผนังอิฐเปลือยสลับริ้วเฉียงของผนัง<br />

ปูนขัดมันที่ผสมสีพร้อมลงแวก์ กรเลือกใช้ผนังอิฐเปลือย<br />

ผสมกับปูนขัดมันที่ผนังภยนอก และผนังปูนขัดมัน<br />

ภยในเกิดจกแนวคิดที่ต้องกรใช้ควมสมรถของ<br />

ช่งในท้องถิ่นที่ทำงนปูนขัดมันได้ตมที่สถปนิกต้องกร<br />

หรือไม่ว่จะเป็นกรออกแบบรยละเอียดผนังคอนกรีต<br />

เปลือยในผนังครีบบังแดดทงทิศใต้ด้วยกรเลือกใช้ไม้<br />

แบบที่ทำจกไม้มะพร้ว เมื่อทำกรถอดไม้แบบออก<br />

แล้ว สิ่งที่เหลือเป็นร่องรอยเฉพะคือลยของไม้มะพร้ว<br />

รอยใยไม้มะพร้ว ที่เกิดจกคอนกรีตเข้ไปแทรกใน<br />

เนื้อไม้ ทำให้สมรถรับรู้ได้ว่ผนังที่สถปนิกต้องกร<br />

สื่อสรถึงเทคทอนิคจกวัสดุในเกะพะงัน<br />

02<br />

54 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


03<br />

อีกองค์ประกอบที่โดดเด่นในงนคือกรที่สถปนิก<br />

เลือกใช้ช่งท้องถิ่นทำบันไดขึ้นไปยังหลังคด้วยกรช่ง<br />

ที่ชำนด้นกรเชื่อมเหล็กสะพนท่เทียบเรือ ช่งจะ<br />

รู้ขีดควมสมรถของวัสดุคือแผ่นเหล็กบงว่สมรถ<br />

ใช้บงที่สุดสำหรับกรรับนำ้หนักคือเท่ไร ผลของกรใช้<br />

เหล็กบงก่อเกิดเงที่พดลงบนผนังเป็นลวดลยที่ล้อไป<br />

กับมุมของแสงแดดที่เกะพะงัน นอกจกนี้ยังมีในส่วน<br />

รยละเอียดเล็กน้อยจกวัสดุที่คุ้นเคยในเอเชียคือไผ่<br />

สถปนิกเลือกใช้ไผ่ในกรทำผนังตีลยเฉียงรับกับแนว<br />

ผนังขัดมันภยนอก พร้อมกับกรดัดแปลงไผ่ที่มีปล้อง<br />

ขนดให่ให้เป็นท่อระบยนำ้ฝนอีกเช่นกัน<br />

ร่องรอยของควมสมรถเชิงช่งในงนสถปัตย-<br />

กรรมที่แสดงออกถึงควมสัมพันธ์ต่อถิ่นที่ผ่นร่องรอย<br />

ของวัสดุต่ง ได้ก่อเกิดควมงมที่สถปัตยกรรมแบบ<br />

เน้นควมประณีตไม่สมรถสื่อถึงอรมณ์ดิบแบบชว<br />

บ้นได้ ควมงมจกกรใช้วัสดุหได้ง่ยในท้องถิ่น<br />

ช่วยให้งนมีควมเป็นมิตรกับผู้มเยือนโดยไม่จำเป็น<br />

ที่จะต้องใช้กรหยิบยืมรูปทรงหรือเปลือกจกอดีตที่<br />

ไม่เหมะกับบริบทปัจจุบันต่อไปแล้ว หกมองในประเด็น<br />

เหล่นี้ก็นับได้ว่บ้นสมใจได้ทำกรเชื่อมกับบริบทผ่น<br />

เทคทอนิคที่เฉพะตัวแล้ว<br />

the utilization of the space, emphasizing the connection<br />

between the internal and external in an ambiguous<br />

way and creating an atmosphere that was very casual<br />

and informal. Various factors affected the details of<br />

the design in different areas and utilization of space<br />

depended on the direction of the sunlight, wind, and sea.<br />

The hills, sea and Koh Samui can be seen from the site<br />

as well, as they are not located very far from Somjai<br />

House. The external area utilized a pattern that included<br />

empty spaces and gave a lot of importance to designing<br />

various ventilation points that further assisted in the<br />

circulation of air. The design of the bathroom walls<br />

situated slightly far from one another and the sunroof<br />

were developed as well. These factors then allowed<br />

for both the external sunlight and a light sea breeze to<br />

flow in between the gaps of the walls. Other than this,<br />

the architects chose to situate the eaves slightly away<br />

from the walls, thereby allowing for the sun's rays to<br />

shine down while also allowing for the ventilation of air<br />

for both hygienic and sanitation purposes.<br />

Other than finding means for the architectural<br />

design to fall in line with the locality, the tectonics that<br />

the architects used to communicate through were<br />

based on the expertise of the local builders and the<br />

utilization of local materials - integration of these<br />

factors thereby created a contemporary architectural<br />

structure. An outstanding feature of Somjai House is<br />

02ารอออ<br />

าอสารสวา<br />

าออรสาอาา<br />

อ<br />

03อรอว<br />

าสวารอ<br />

าาราว<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 55


the bright red external walls that were intentionally<br />

designed to stand out from the environment of mainly<br />

cool shades, such as the green of the coconut tree<br />

leaves and the blue sea. The external walls were designed<br />

in such a way that allowed for the usage of simple<br />

materials available locally in the area. The choice was<br />

made to create raw brick walls aligned with diagonally<br />

slanting stripes of polished, colored concrete that had<br />

been waxed as well. The idea for the utilization of raw<br />

brick together with polished concrete for the external<br />

areas and polished concrete for the internal areas arose<br />

because the designers saw the importance of calling<br />

upon the expertise of local builders, who were able to<br />

polish the cement as the architects required. Even the<br />

details of the ‘finned’ raw concrete walls were able to<br />

keep out the southern rays of sunlight, using coconut<br />

wood as models that, when removed, left a coconut tree<br />

pattern behind - this was possible because the cement<br />

infused itself in the wood. By using these methods,<br />

the architects were able to communicate the tectonics<br />

through the use of materials specific to Koh Phangan.<br />

Another outstanding component in this project<br />

was the fact that the architects chose to use local<br />

workmen to create the staircase that led to the roof.<br />

These builders were typically employed on the island's<br />

piers where they welded metal bridges and were<br />

therefore well aware of the nature of the metal and<br />

how fine it should be, as well as how much weight<br />

it could carry. Using thin sheets of metal to build the<br />

staircase led to a beautiful shadow effect that catches<br />

the sun of Koh Phangan. Furthermore, the utilization<br />

of bamboo that was familiar to Asia was another detail<br />

that the architects took into consideration. Bamboo<br />

was used to create walls with a slanting pattern these<br />

could match the external polished concrete walls.<br />

Bamboo pieces that had a wide internal segment<br />

were further modified to function as drainage pipes for<br />

rainwater.<br />

Traces of the skills of the builders are evident in the<br />

architectural structure, reflecting the relationship with<br />

the local context through the usage of various materials.<br />

All these factors led to the creation of a beautiful,<br />

elaborate project that refuses to reflect the crudeness<br />

of the folk people. The beauty of being able to utilize<br />

materials that are easily accessible locally is that doing<br />

so enabled the designers to evoke an amicable character<br />

for guests, without actually borrowing any form or<br />

outer feature from the past that may not be appropriate<br />

within the present context. If we consider this point,<br />

we can see how Somjai House was able to connect<br />

with its surroundings and various contexts, through<br />

specific tectonics.<br />

04 วาออสว<br />

อรออา<br />

สร ร<br />

สาวา<br />

รารส<br />

าวาาร<br />

รอาาษา<br />

สารราสร<br />

าวารา<br />

รอาารษ<br />

สาอ<br />

04<br />

56 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


MEMBERSHIP<br />

นัสออกสร<br />

วรสรอษ วรสรวิชกรด้นสถปัตยกรรม<br />

รย 2 เดือน<br />

จดหมยเหตุ หนังสือข่วในแวดวงด้นสถปัตยกรรม<br />

และเพื่อกรประชสัมพันธ์กิจกรรมต่งของสมคม<br />

รย 1 เดือน<br />

ห้องสมุด สำหรับบริกรเพื่อสมชิกได้เข้ใช้ศึกษ<br />

ข้อมูล ค้นคว้ ทงด้นวิชกร ณ ศูนย์<br />

ประชสัมพันธ์ asa center สยมดิสคัพเวอร์รี่ ชั้น <br />

หนังสือต่ง สมชิกสมรถสั่งื้อหนังสือ เอกสร<br />

และคู่มือต่ง ทั้งทงด้นวิชกรและที่เป็นประโยชน์<br />

ทงด้นกรปิบัติวิชชีพที่สมคม ได้จัดทำขึ้นใน<br />

รคพิเศษ เฉพะสมชิก เช่น กหมยอคร ล<br />

WEBSITE<br />

asa e สมชิกสมรถเข้ถึงข่วสรข้อมูลออนไลน์<br />

ได้ที่ asaorth<br />

asa eoard ชุมชนออนไลน์ สำหรับกรแลกเปลี่ยน<br />

ข้อมูลของสมชิก<br />

กิจกรรม้น่<br />

สถปัตย์สัจร กรจัดทัศนนักศึกษทงด้นสถปัตย-<br />

กรรมทั้งในและต่งประเทศ ปีละประมณ 2 ครั้ง<br />

กิจกรรมด้นวิชกรและวิชชีพ กรจัดอบรม<br />

โครงกรสุดสัปดห์วิชกร กรจัดสัมมนด้น<br />

วิชกรและวิชชีพ เพื่อพันศักยภพในกร<br />

ประกอบวิชชีพปีละประมณ 10 ครั้ง<br />

กิจกรรมด้นสันทนกรเพื่อควมสนุกสนนสมัคคี<br />

ของสมชิกสมคม เช่น asa cup กรแข่งขัน<br />

ฟุตบอลสนมเล็กข้งละ 8 คน, olf asa,<br />

admintion asa, asa niht ล<br />

กิจกรรมอื่น ขึ้นอยู่กับกรจัดขึ้นมเป็นครั้ง ไป<br />

เช่น กรร่วมประกวดแบบต่ง ที่สมคมจัดขึ้น<br />

หรือรับรอง สนับสนุน กรร่วมส่งประกวดงน<br />

สถปัตยกรรมดีเด่นงนอนุรักษ์ดีเด่น บงกิจกรรม<br />

นั้นจัดเฉพะสมชิกเท่นั้นและทุกกิจกรรมจะคิด<br />

รคสมชิกพิเศษกว่บุคคลทั่วไป<br />

นสนิก<br />

asa clu สมรถเข้ใช้พื้นที่ asa clu เพื่อกร<br />

พักผ่อน พบปะสังสรรค์ นั่งเล่นในบริเวณงน<br />

asa shop จำหน่ยหนังสือทงด้นสถปัตกรรม<br />

ต่ง และของที่ระลึกที่ทงสมคมผลิตขึ้นโดย<br />

จำหน่ย ในรคพิเศษสำหรับสมชิก<br />

มย รยละเอียดอจเปลี่ยนแปลงได้ตม<br />

ควมเหมะสมขึ้นอยู่กับคณะกรรมกรบริหร<br />

สมคมในแต่ละสมัย<br />

รภอสมิก่สมัร รม <br />

สมัครสมาชิกประเภทบุคคล ค่ลงทะเบียน 100 บท<br />

ภคี-ค่บำรุงรยปี ปีละ 400 บท รวม บท<br />

สมั-ค่บำรุงรย ปี ครั้งละ 1,800 บท<br />

รวม 2,0 บท<br />

สมทบ บุคคลทั่วไป-ค่บำรุงรยปี ปีละ 900 บท<br />

รวม 1,070 บท<br />

สมทบ นักศึกษ-ค่บำรุงรยปี ปีละ 200 บท<br />

รวม 21 บท<br />

สมัครสมาชิกประเภทสานักงานนิติบุคคล<br />

ค่ลงทะเบียน 00 บท<br />

ค่บำรุงรย 2 ปีครั้งละ 8,000 บท รวม 8,00 บท<br />

สราออาอรสา<br />

วารสรอสาสาสา<br />

าสสรอ<br />

E-mail : memberasa@gmail.com<br />

สรสารสรอ<br />

ถ่ยเอกสรได้<br />

ข้พเจ้ <br />

ที่อยู่ สำหรับกรจัดส่งหนังสือ <br />

โทรศัพท์ โทรสร e-mail <br />

ต้องการสมัครเป็นสมาชิก ‘วารสารอาษา’ อัตราต่อไปน<br />

บุคคลทั่วไป สมชิกรยครึ่งปี เล่ม 22 บท สมชิกรยปี เล่ม 00 บท<br />

นิสิตนักศึกษคณะสถปัตยกรรมศสตร์ สมชิกรยครึ่งปี เล่ม 22 บท สมชิกรยปี เล่ม 440 บท<br />

รวมค่ส่งทงไปรษณีย์แล้ว เฉพะภยในประเทศ<br />

ลงชื่อ วันที่ <br />

การชาระเงิน เงินสด ชำระเงินที่ สมคมสถปนิกสยม โอนเงิน เข้ในนม สมคมสถปนิกสยม<br />

ที่อยู่ สำหรับใบเสร็จรับเงิน ธนครกสิกรไทย สขถนนพระรม 9<br />

บัชีออมทรัพย์ เลขที่บัชี 71-2-0222-<br />

กรณีการโอนเงิน<br />

- กรุณส่งโทรสรใบสมัครและหลักฐนกรชำระเงิน และจดหมยรับรองสถนภพ กรณีเป็นนิสิต-นักศึกษ ลงนมโดยอจรย์หัวหน้ภควิช ที่ฝยกรเงิน<br />

สมคมสถปนิกสยม โทรสร 02-19419 พร้อมโทรศัพท์ยืนยันกรส่งเอกสรที่โทรศัพท์ 0-219- กด 109<br />

- สมคม จะจัดส่งใบเสร็จให้ทงไปรษณีย์<br />

หมายเหต สมรถื้อหนังสือวรสรอษได้ที่สมคมสถปนิกสยม รคเล่มละ 90 บท


Ketsiree Wongwan<br />

TEXT<br />

Adisorn Srisaowanunt<br />

PTT METRO<br />

PHOTOS<br />

Songtam Srinakarin<br />

Jaree Suwannaluck<br />

Krittin Rodmanee<br />

Except as Noted<br />

URBAN FOREST<br />

BANGKOK<br />

SPACETIME ARCHITECTS


ARCHITECT<br />

Spacetime Architects<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Landscape Architects of<br />

Bangkok [ LAB ]<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Designlab NLSS<br />

LIGHTING DESIGNER<br />

49 Lighting Design<br />

Consultants<br />

EXHIBITION DESIGNER<br />

Pico<br />

CONTRACTOR<br />

Ritta<br />

AREA<br />

Exhibition Building<br />

500 sq.m.<br />

Skywalk<br />

200 m. long<br />

Observation Tower<br />

5 m. dia. x 23 m. high.<br />

โครงกรปในกรุงเป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นจก สถบัน<br />

ปลูกป ึ่งก่อตั้งขึ้นโดยบริษัท ปตทจำกัด มหชน<br />

โดยมีที่มจกโครงกรปลูกปหนึ่งล้นไร่ที่เริ่มต้นขึ้น<br />

ในปี พศ 27 และยังดำเนินกรต่อเนื่องมจนถึง<br />

ปัจจุบัน วัตถุประสงค์ของสถบันปลูกป นอกเหนือจก<br />

หน้ที่หลักในกรเพิ่มพื้นที่ปธรรมชติแล้ว ยังต้องกร<br />

จะสร้งควมรู้ เผยแพร่ และกระตุ้นจิตสำนึกในเรื่องป<br />

และธรรมชติต่อสธรณชน เพื่อสนับสนุนแนวคิด<br />

ดังกล่วให้เป็นรูปธรรม สถบัน จึงริเริ่มทำโครงกร<br />

ปในกรุง’ ขึ้นในพื้นที่ของกรุงเทพมหนคร โดยมี<br />

วัตถุประสงค์ของโครงกรที่ต้องกรเพิ่มพื้นที่สีเขียว<br />

สร้งจิตสำนึกทงด้นธรรมชติให้แก่คนในเมือง ทั้งยัง<br />

ต้องกรที่จะเป็นพื้นที่เรียนรู้วิธีกรปลูกปเชิงนิเวศตม<br />

แนวทษีของ ศดรอคิระ มิยวกิ นักพกษศสตร์<br />

ชวี่ปุน ึ่งมีหลักกรสำคั เช่น กรเลือกปลูกไม้พื้น-<br />

เมือง Native Species กรสร้งเนินดิน ปลูกพันธุ์ไม้<br />

ที่มีควมสูงหลยระดับ วิธีกรปลูกต้นไม้แบบสุ่ม เป็นต้น<br />

The idea for the Metro Urban Forest was initiated<br />

by the Plant a Forest Institution, founded by PTT Public<br />

Company Limited. The project began in 2537 with the<br />

goal of planting forests on one million rai (acres) of land,<br />

a goal which is presently in the process of being carried<br />

out. Other than increasing the areas with forests, the<br />

goal of this institution was to spread knowledge and<br />

raise the level of consciousness in regards to the<br />

importance of forests and nature amongst the public.<br />

The institution wanted to promote this perspective<br />

and hence started the ‘Metro Urban Forest’ project in<br />

the city of Bangkok, the aim of the project being to<br />

increase greenery and nurture a conscious awareness<br />

of nature amongst city dwellers. Furthermore, the area<br />

utilized a plant ecology method taught by Professor Dr.<br />

Akira Miyawaki, a Japanese botanist. The main fundamentals<br />

of the method being that the native species of<br />

trees of varying types and heights would be grown on<br />

mounds of earth.<br />

The Metro Urban Forest project, located in the Prawet<br />

District of Bangkok, is comprised of a total covered area<br />

of 30 acres. Seventy-five percent, or nine rai of land,<br />

15<br />

SUKHAPHIBAN 2 ROAD<br />

5<br />

5<br />

5<br />

5<br />

3<br />

3<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

4<br />

4<br />

2<br />

2<br />

11<br />

10<br />

1<br />

13<br />

12<br />

14<br />

SITE PLAN<br />

1 Entry Plaza<br />

2 Exhibition<br />

3 Mini-theatre<br />

4 Office<br />

5 Public WC<br />

6 Muti-purpose Plaza<br />

7 Skywalk<br />

8 Waterfall<br />

9 Weir 1<br />

10 Weir 2<br />

11 Observation Tower<br />

12 Bridge<br />

13 Forest Walk<br />

14 Parking<br />

15 Nursery<br />

10 M<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> <strong>59</strong>


โครงกร ปในกรุง’ ตั้งอยู่ในเขตประเวศ กรุงเทพ-<br />

มหนคร มีพื้นที่โครงกรทั้งหมด 12 ไร่ ประกอบไปด้วย<br />

พื้นที่ปธรรมชติขนด 9 ไร่ ร้อยละ 7 แหล่งนำ้<br />

ร้อยละ 10 และพื้นที่อเนกประสงค์ ึ่งรวมอคร<br />

นิทรรศกรเอไว้ ร้อยละ 1 จกทงเข้หลักของ<br />

โครงกรด้น้ยมือคือทิศตะวันออกจะเป็นที่ตั้งของ<br />

อครนิทรรศกร ส่วนทงขวทงทิศตะวันตก คือ<br />

พื้นที่ส่วนให่ของโครงกร พื้นที่ปธรรมชติ ึ่งจำลอง<br />

ระบบนิเวศของสังคมพืชแบบต่ง เอไว้บนเนินดิน 12<br />

แห่ง มีลำนำ้สยเล็กล้อมรอบแบ่งพื้นที่ปออกเป็นเกะ<br />

และเนินรอบนอก ส่วนของปนี้มีทงเดินบนโครงสร้ง<br />

เสเหล็กที่ค่อย ไต่ควมสูงขึ้นไปเพื่อชมยอดของ<br />

พรรณไม้ ไปจนถึงหอคอยชมปึ่งเป็นจุดสูงสุดใน<br />

โครงกรที่ควมสูง 2 เมตร ในภพรวมโครงสร้ง<br />

ของผังเกิดขึ้นจกลักษณะที่แตกต่งกันของอคร<br />

นิทรรศกรึ่งแลดูหนักทึบและขยยตัวไปตมแนวรบ<br />

กับหอชมปที่เกิดจกชิ้นส่วนโครงสร้งเหล็กึ่งขยย<br />

ตัวสูงขึ้นในแนวดิ่ง โดยมีปธรรมชติเป็นตัวประสน<br />

องค์ประกอบทั้งสองเข้ด้วยกัน<br />

งนสถปัตยกรรมในส่วนอครนิทรรศกร เป็น<br />

อครชั้นเดียวที่วงด้นยวตมทิศเหนือ-ใต้ มีองค์-<br />

ประกอบสำคัคือผนังสูงึ่งสร้งจกเทคนิคกรทำ<br />

โครงสร้งดินอัดหรือที่เรียกว่ ramp earth ผนังนี้ทำ<br />

หน้ที่แบ่งที่ว่งต่ง ออกจกกัน ที่ตำแหน่งกลงของ<br />

ผังอคร ผนังดินโค้งคู่หนึ่งวิ่งขนนกันจกทงเข้หลัก<br />

ทงทิศใต้ ไปจนสุดปลยทงด้นทิศเหนือ ทำหน้ที่เป็น<br />

แกนทงสัจรหลักที่แบ่งอครออกเป็นสองฝังคือ<br />

กลุ่มของสำนักงนและห้องนำ้ทงด้นตะวันออกกับ<br />

กลุ่มของห้องนิทรรศกรและห้องฉยวีดิทัศน์ทงด้น<br />

ทิศตะวันตก ประโยชน์ใช้สอยทั้งสี่ส่วนดังกล่วยังถูก<br />

แบ่งกั้นระหว่งกัน ด้วยคอร์ตต้นไม้ในแกนตะวันออก-<br />

ตะวันตก ึ่งเป็นทงออกที่เชื่อมออกไปสู่ปธรรมชติ<br />

ภยนอกอีกด้วย ที่ฝังตะวันตกด้นนอกอครหลังนี้มี<br />

ผนังดินโค้งอีกผืนหนึ่งทำหน้ที่แยกอครออกจกพื้นที่<br />

ป ทั้งเป็นรูปด้นสำคัของสถปัตยกรรมยมมองลง<br />

มจกหอสูงฝังตรงข้ม และยังแอบไว้ด้วยบันไดทงขึ้น<br />

ไปสู่สวนหลังคทงด้นบน<br />

ควมสนใจเรื่องพลังงน และควมกลมกลืนกับ<br />

ธรรมชติ เป็นแนวคิดสำคัในกรออกแบบอครหลังนี้<br />

โดยตั้งเป็นเปประสงค์ที่จะเป็นตัวอย่งของอครที่<br />

ผ่นกรรับรอง LD ระดับ Platinum อครเลือกใช้<br />

วัสดุธรรมชติที่ผลิตในประเทศ นำกลับมใช้ใหม่ได้<br />

และมีคุณสมบัติในด้นของกรเป็นฉนวนกันควมร้อน<br />

เช่น ผนังดินอัด ramp earth อิฐบล็อกประสนทำจก<br />

ดิน ในแง่ควมกลมกลืนกับธรรมชติ ผู้ออกแบบแทรก<br />

พื้นที่สีเขียวเข้มในอครผ่นคอร์ตกลง กำหนดให้<br />

กิจกรรมภยในมีปิสัมพันธ์กับพื้นที่สีเขียวรอบ เช่น<br />

อ่งล้งมือที่หันออกสู่ภยนอก หรือที่นั่งบนสวนหลังค<br />

ที่มองย้อนกลับไปยังปธรรมชติ<br />

Ketsiree Wongwan<br />

<strong>01</strong>าอาอออ<br />

อาารรราร<br />

วอาาราว<br />

าววารสา<br />

<br />

are covered in natural forests, with ten percent of the<br />

area being covered with water resources and the<br />

remaining area of the project being comprised of a<br />

multipurpose area and an exhibition venue. The exhibition<br />

building itself is set at the main entrance located<br />

to the east, while the natural forest area is located to<br />

the right and in the south, covering the majority of the<br />

area. This area is a reproduction of various ecological<br />

plant systems set upon twelve mounds (hills) of earth<br />

with small streams of water encircling them, resulting<br />

in the creation of islands. Additional mounds are further<br />

located on the outer boundaries as well. The forested<br />

area features a pathway built on iron pillars that slowly<br />

elevates allowing for the different species of the trees<br />

to be admired, the pathway itself leading to a tower set<br />

on the highest point of the forest that stands some 23<br />

meters high.<br />

The overall scheme of the project aimed to allow<br />

for one to move along visually from a very densely built<br />

exhibition structure to the observation tower constructed<br />

from pieces of metal that rise vertically while widening<br />

at the top. However, what truly linked these two components<br />

together was the natural forest itself.<br />

As for the architecture of the exhibition area, the<br />

design features a single-storey elongated building<br />

situated in a north-south orientation. The walls of the<br />

building are built of rammed earth and help to divide<br />

the open spaces; with the central area of the building<br />

being made up of curved earth walls running parallel<br />

with the main entrance and spanning from the south to<br />

the north. Together with this, the exhibition rooms and<br />

vdo presentation rooms are located to the west. These<br />

four areas were separated by a courtyard of trees planted<br />

60 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


in an east-west orientation that signify the exit that<br />

connects with the external natural forests. At the rear<br />

external area of the building one finds another curved<br />

earthen wall, separating the building from the forest,<br />

a feature which serves as a very important part of the<br />

architecture when looking down from the observation<br />

tower. In the opposite direction, hidden behind the<br />

building, sits a staircase allowing access to the rooftop.<br />

The main concept behind the design of this building<br />

was to find the way for energy to be harmoniously<br />

integrated with nature, the building serving as an<br />

exemplary model that received accreditation from<br />

LEED of a Platinum recognition. The building’s rammed<br />

earth material (earthen bricks) was constructed through<br />

the utilization of natural materials that were produced<br />

locally, could be recycled, and could act as insulation<br />

against heat. As for the harmonious blend with the<br />

natural environment, the designer allowed for the<br />

greenery to merge with the building area through the<br />

courtyard located in the center, hence allowing for the<br />

activities held to interact with the surrounding greenery.<br />

For example, the sinks for washing hands are set<br />

facing the surroundings and the seats located on the<br />

garden rooftop face the natural environment.<br />

As for the harmonious integration found through<br />

the use of materials, this was achieved by the inherent<br />

quality of the earth itself, as its natural colors and textures<br />

seamlessly blend with the forest atmosphere. As for<br />

the walls utilizing the rammed earth technique, these<br />

could be shaped into various forms very similar to<br />

the use of concrete, allowing for the concept to be<br />

achieved – the building intermingling with the nature<br />

while at the same time revealing itself architecturally<br />

<strong>01</strong><br />

as well. The rammed earth technique is a native construction<br />

method that has been used in various parts<br />

of the world since the start of civilization and is often<br />

called upon for the construction of the foundation of<br />

buildings or walls through the use of a simple method<br />

known as formwork. This encompasses placing layers<br />

of earth followed by compressing them through the<br />

use of manual pressure or via the assistance of equipment.<br />

This technique of building is referred to by some<br />

as ‘natural concrete,’ as it resembles the method used<br />

in forming concrete structures.<br />

The process of building rammed earth walls begins<br />

by collecting soil (earth) from various parts of Thailand.<br />

The color of the soil is differentiated according to the<br />

sources that it is originating from, such as dark red or<br />

bright orange colored earth from Amphoe Pak Tho,<br />

Ratchaburi Province, yellowish orange colored earth<br />

from Amphoe Wang Chan, Rayong Province, cream<br />

colored earth from Amphoe Phanat Nikhom, Chonburi<br />

Province or white colored earth from Amphoe Phanom<br />

sarakham, Chachoengsao Province. These different<br />

soils are then separated according to size, friability, and<br />

moisture levels prior to being incorporated together to<br />

create materials of appropriate qualities. The texture<br />

of the mixed earth is not as liquid as cement, as the<br />

moisture level does not exceed ten percent of the<br />

entire mixture. The mixture is then poured into blocks<br />

with a thickness of around fifteen centimeters and<br />

compressed through the use of specific equipment<br />

to achieve a thickness of only 10 centimeters. This<br />

process is called upon for<br />

each block until the exact required heights are achieved,<br />

the molds are then removed and the blocks ready for<br />

use. The rammed earth walls are composed of 90%<br />

earth and 10% percent cement, so as to be able to<br />

handle the weight of the walls that are very high. This<br />

also allows for them to be able to handle degradation<br />

from rainfall while still being able to maintain earthen<br />

characteristics, including insulation against heat and an<br />

ability to ventilate moisture.<br />

The earth is poured layer by layer with various<br />

characteristics such as the dampness, courseness or<br />

finesse and the time needed to set, together with the<br />

amount of weight-pressure used on the equipment,<br />

all being taken into consideration as factors that were<br />

controlled manually. The minute differences resulting<br />

from this are evident in the patterns along the wall as<br />

the removal of the molds reveals the unique characteristics<br />

of this method of construction. Furthermore,<br />

this structure of walls made from rammed earth varies<br />

from place to place as it utilizes soil from many different<br />

areas. Hence, the surface created is unique and able to<br />

commmunicate the essence of the project while the<br />

earth material reflects the diversity of the nature in itself.<br />

Furthermore, the patterns, colors and courseness<br />

of the texture of the walls that lack a cohesiveness<br />

achieved through the covering of them with cement<br />

are able to display the irregularities created by manual<br />

labor. The coarse and fragile looking textures erode<br />

with time revealing yet another artistically beautiful<br />

side. The person viewing the structure is therefore able<br />

to accept the truth of nature - that things are imperfect<br />

and will ‘decay’ in reflection of the process of time.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 61


02


02อาา<br />

อรอรร<br />

าารรออ<br />

สวรสราอ<br />

อสอาา<br />

03วาออ<br />

สาาวาวาร<br />

อสราา<br />

อิร รสนัน<br />

อาารราาวา<br />

สารราวา<br />

ารสา<br />

03<br />

ด้นควมกลมกลืนที่เกิดจกตัววัสดุ ผนังดินอัด<br />

ถูกเลือกนำมใช้จกคุณลักษณะของดินึ่งเป็นวัตถุดิบ<br />

ที่มีสีสันพื้นผิวตมธรรมชติ แลดูกลมกลืนกับบรรยกศ<br />

ของปได้เป็นอย่งดี ขณะเดียวกันผนังที่สร้งขึ้นจกวิธี<br />

กรก่อสร้งด้วยวิธีกรนี้ก็สมรถกำหนดเป็นรูปทรง<br />

แบบต่ง ได้ในลักษณะเดียวกันกับโครงสร้งคอนกรีต<br />

เกิดเป็นทงเลือกที่ลงตัวระหว่งควมต้องกรกลืนหยไป<br />

ในธรรมชติกับกรแสดงออกถึงตัวตนของงนสถปัตย-<br />

กรรมขึ้น ผนังดินอัดเป็นเทคนิควิธีกรก่อสร้งด้วยดิน<br />

แบบดั้งเดิมแบบหนึ่ง ึ่งถูกใช้ในภูมิภคต่ง ของโลก<br />

มตั้งแต่ยุคแรกเริ่มของอรยธรรมมนุษย์โดยนิยมนำม<br />

ใช้เป็นโครงสร้งส่วนของฐนรก พื้นหรือผนัง มีพื้นฐน<br />

ของวิธีกรก่อสร้งที่เรียบง่ยคือกรสร้งแบบหล่อ<br />

formork กรใส่ดินลงไปเป็นชั้นก่อนจะกดอัดด้วย<br />

แรงคนหรือเครื่องมือ โดยบ้งเรียกเทคนิควิธีกรก่อสร้ง<br />

ด้วยดินแบบนี้ว่ natural concrete ตมวิธีกรก่อสร้ง<br />

ด้วยแบบหล่อลักษณะเดียวกับงนคอนกรีต<br />

ในงนออกแบบชิ้นนี้ กระบวนกรสร้งผนังดินอัด<br />

เริ่มต้นจกกรนำดินจกแหล่งดินต่ง ในประเทศไทย<br />

ึ่งมีลักษณะแตกต่งกันออกไป แหล่ง ได้แก่ 1<br />

สีแดงเข้ม จกแหล่งดินอำเภอปกท่อ จังหวัดรชบุรี<br />

2 สีส้ม จัดจกแหล่งดินอำเภอปกท่อ จังหวัดรชบุรี<br />

สีส้มอมเหลือง จกแหล่งดินอำเภอวังจันทร์ จังหวัด<br />

ระยอง 4 สีครีม จกแหล่งดินอำเภอพนัสนิคม จังหวัด<br />

ชลบุรี สีขว จกแหล่งดินอำเภอพนมสรคม<br />

จังหวัดฉะเชิงเทร จกนั้นจึงนำเอดินดังกล่วม<br />

คัดแยกตมขนด ควมร่วนและควมชื้น เพื่อผสม<br />

กลับเป็นคุณสมบัติของวัตถุดิบที่เหมะสม เนื้อดินที่<br />

ผสมแล้วจะไม่เหลวเหมือนส่วนผสมีเมนต์ในงน<br />

คอนกรีต โดยจะมีควมชื้นอยู่ไม่เกินร้อยละ 10 ของ<br />

ส่วนผสมทั้งหมด จกนั้นจึงนำดินดังกล่วมเทลงใน<br />

แบบที่กำหนดให้ได้เป็นชั้นควมหนรว 1 เนติเมตร<br />

ก่อนที่จะกดอัดด้วยเครื่องมือเฉพะให้เหลือควมหน<br />

เป็น 10 เนติเมตร ทำำ้ไปทีละชั้น กระทั่งได้ควมสูง<br />

ที่ต้องกร จกนั้นจึงถอดแบบหล่อออกและใช้งน ผนัง<br />

ดินอัดในโครงกรนี้นอกจกส่วนที่เป็นดินแล้ว ยังมีกร<br />

ผสมผงีเมนต์ลงไปอีกร้อยละ 10 ของส่วนผสมทั้งหมด<br />

เพื่อช่วยเพิ่มกรรับนำ้หนักของผนังึ่งมีควมสูงเป็น<br />

พิเศษและทำให้พื้นผิวทนทนต่อกรชะของนำ้ฝนได้<br />

มกยิ่งขึ้น โดยที่ยังสมรถรักษคุณสมบัติของควม<br />

เป็น ดิน’ ในเรื่องกรเป็นฉนวนกันควมร้อนและควม<br />

สมรถในกรระบยควมชื้นได้<br />

กรเทดินที่ผสมแล้วลงไปทีละชั้น ควมชื้นหมด<br />

ควมหยบหรือละเอียดและระยะเวลของกรคงตัว<br />

ไปจนถึงนำ้หนักกดของเครื่องมือที่ควบคุมจกกำลังมือ<br />

ของมนุษย์ ควมแตกต่งกันเพียงเล็กน้อยเหล่นี้ สร้ง<br />

เป็นลวดลยที่ปรกเป็นเส้นไปตมควมยวของผนัง<br />

ยมเมื่อถอดแบบหล่อออก อันเป็นลักษณะเฉพะของ<br />

วิธีกรก่อสร้งแบบนี้ขึ้น ผนังดินอัดในโครงกรนี้ยังมี<br />

ควมแตกต่งไปจกผนังดินอัดทั่วไป โดยเกิดขึ้นจก<br />

กรผสมผสนดินจกหลยแหล่งที่มีสีสันแตกต่งกัน<br />

เกิดเป็นพื้นผิวที่มีเอกลักษณ์และสื่อควมหมยึ่ง<br />

สัมพันธ์กับเนื้อหเฉพะของโครงกร ดินอันเป็นตัวแทน<br />

ของธรรมชติอันหลกหลย นอกจกลวดลยและสีสัน<br />

แล้ว ลักษณะของพื้นผิวดินึ่งมีควมหยบ ไม่เรียบเนียน<br />

เหมือนพื้นผิวที่ถูกฉบทับหรือยึดเกะกันถวรเหมือน<br />

ผิวของคอนกรีต แต่แสดงให้เห็นถึงควมไม่สมำ่เสมอที่<br />

เกิดจกแรงงนมนุษย์ ควมพรุน หยบของพื้นผิวที่<br />

แลดูไม่คงทน กร่อนร่อนไปตมกลเวล เผยให้เห็นถึง<br />

สุนทรียะ อีกแบบหนึ่งที่ผู้สัมผัสต้องน้อมใจยอมรับ<br />

ควมไม่สมบูรณ์หมดจดของสิ่งที่ เป็นไป’ ตมธรรมชติ<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 63


NA LAH<br />

HOUSE<br />

NAN<br />

YANGNAR STUDIO<br />

TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architects


7<br />

6<br />

2<br />

5<br />

3<br />

4<br />

8<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

ROOF PLAN<br />

1 Monk Pavillion<br />

2 Terrace<br />

3 Bedroom<br />

4 Toilet<br />

5 Living room<br />

6 Kitchen<br />

7 Pavilion<br />

8 Parking lot<br />

ARCHITECT<br />

Yangnar Studio<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Yangnar Studio<br />

ยงน สตูดิโอ เริ่มต้นจกควมชอบในงนสถปัตย-<br />

กรรมพื้นถิ่น เริ่มต้นจกกลุ่มเพื่อนที่มีควมสนใจ<br />

เหมือน กัน ได้แก่ เดโชพล รัตนสัจธรรม รุ่งโรจน์<br />

ตันสุขนันท์และพงศธร สวัสดิชัชวล ที่จบจกคณะ<br />

สถปัตยกรรมศสตร์ มหวิทยลัยเชียงใหม่ด้วยกัน ึ่ง<br />

พวกเขได้มีโอกสทำงนร่วมกับอจรย์จุลพร นันทพนิช<br />

ึ่งถือว่มีส่วนสำคัในกรบ่มเพะควมรู้ ควมเข้ใจ<br />

และควมหลงไหลในงนสถปัตยกรรมพื้นถิ่น รวมไปถึง<br />

รูปแบบวิถีชีวิตที่ส่งผลมถึงงนสถปัตยกรรม จนกลย<br />

มเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้ก่อตั้ง ยงน สตูดิโอ ขึ้นม<br />

เริ่มต้นจกควมชอบ จนกลยเป็นควมลุ่มหลง<br />

ในงนสถปัตยกรรมพื้นถิ่น วัสดุธรรมชติและทักษะ<br />

งนฝีมือ ยงนสตูดิโอค่อย เก็บเกี่ยวประสบกรณ์<br />

และฝกฝนทักษะในเชิงช่ง ที่พวกเขมีควมเชื่อในกร<br />

ทำงนรูปแบบนี้ เรชอบที่จะดู ชอบที่จะศึกษ เพระ<br />

เรคงเขียนแบบให้ดีไม่ได้ถ้เรไม่รู้ว่วิธีกรก่อสร้ง<br />

เป็นยังไง เรจึงเลือกที่จะใช้เวลในกรทำงน ลงพื้นที่<br />

และเรียนรู้สิ่งต่ง จกช่งพื้นถิ่น ึ่งมันช่วยให้เรทำงน<br />

ออกมได้ดีขึ้น ึ่งต้องค่อย ทำควมเข้ใจ อย่งโครงกร<br />

บ้นนหล้ที่เป็นโปรเจ็กต์แรกที่เรได้สร้งจริง เรก็ใช้<br />

เวลเกือบ 2 ปีด้วยกันกว่จะออกมเป็นงนที่เสร็จสมบูรณ์<br />

ยงน สตูดิโอ บอกเล่ถึงแนวควมคิดในกรทำงน<br />

สถปัตยกรรม ึ่งจำเป็นที่จะต้องใช้เวลและประสบกรณ์<br />

จกกรลงมือทำ<br />

Yangnar Studio’s beginnings are owed to a joint liking<br />

of indigenous architecture, as the project was taken<br />

underway by a group of friends, Dechopol Rattana-sadjathum<br />

Rungrod Tansukanan and Pongsatorn Sawatchatchawan,<br />

with the same interests. All completed<br />

their studies together in the Department of Architecture<br />

at the University of Chiang Mai where they had<br />

the opportunity to work with Professor Chunlaporn<br />

Nuntapanich, who was an important factor behind the<br />

sewing of the seeds of knowledge, understanding and<br />

the team’s obsession for local architecture. Moreover,<br />

the city’s overall lifestyle further influenced their<br />

architectural works and has hence become the starting<br />

point for the establishment of Yangnar Studio.<br />

Commencing with interests that led to a fascination<br />

with the indigenous architecture and natural materials,<br />

Yangnar Studio has accumulated experiences and also<br />

craft skills that caused them to believe in this particular<br />

type of work. “We like to observe and study first, because<br />

we will not be able to design well if we do not know and<br />

understand the methods used in construction. Therefore,<br />

we chose to work at the local sites and learn various<br />

things from the indigenous builders and craftsmen.<br />

This enabled us to work better – as we slowly gained<br />

a greater understanding. Na Lah House was the first<br />

project that we really built and it took almost two years to<br />

complete the project.” Yangnar Studio spoke about their<br />

perspectives in relation to their architectural works, which<br />

required spending time and gaining hands on experiences<br />

through working on site and actually building projects.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 65


"Na Lah House is located amidst the nature in<br />

Amphoe Pua, Nan Province and the location of the house<br />

was selected by the architects. Generally, the owner of<br />

the project has a piece of land and a proposal regarding<br />

the overall project. Na Lah House began with a question<br />

from the owner who wanted to construct a wooden house<br />

and stay in the North. Therefore, Yangnar Studio traveled<br />

to the area to look for a place and found an interesting site<br />

in Nan province. It was just geographically appropriate<br />

and had a sense of cultural uniqueness as well. Hence,<br />

Na Lah house began and slowly developed through the<br />

collaboration of the architects and the local carpenters.<br />

The period of work could be divided into 2 phases, the<br />

first being the preparation of the materials, including the<br />

collection of wood from old houses, and the second being<br />

the actual construction period.<br />

All the wood that was used in the construction was<br />

selected entirely from various old houses that were located<br />

nearby. The actual selection of the wood depended on<br />

various factors such as the size, height, quantity, condition<br />

and transportation of the wood as well, the architects<br />

themselves traveling to the sites and spending time<br />

to select the most appropriate woods before actually<br />

demolishing the houses and entering the process of<br />

preparing the wood. The team had to further reflect on<br />

the right size and quantities that would be required and<br />

this initial stage ultimately took around two months time.<br />

"During the first two months we had to work without<br />

electricity and water, a point we had overlooked when<br />

selecting the location, but we were able to learn about<br />

the lifestyle and how to deal with various problems from<br />

the ancient craftsmen, they themselves having very basic<br />

tools. Even during the stages of drawing the designs<br />

where everything, including the height and width, were<br />

done by hand and adjusted along the way, the exchange<br />

of ideas with the craftsmen proved to be an integral part<br />

of the process - as they possessed vast experiences<br />

different from our own, hence our visualizations of beauty<br />

and theirs also differed. This situation proved to be a daily<br />

challenge that we faced."<br />

<strong>01</strong><br />

66 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


<strong>01</strong>ราอารอสรา<br />

สารรร<br />

วาาส<br />

02อารวา<br />

าอรส<br />

03าาว<br />

สสวาาอาา<br />

า<br />

04อรวาาร<br />

สาอราอ<br />

รวาาส<br />

03<br />

04<br />

02<br />

บ้นนหล้’ อยู่ท่มกลงธรรมชติในอำเภอปัว<br />

จังหวัดน่น ึ่งที่ตั้งของบ้นก็ถูกเลือกสรรโดยสถปนิก<br />

ผู้ออกแบบ ึ่งโดยทั่วไปแล้วเจ้ของโครงกรมักจะมีที่ดิน<br />

มเป็นโจทย์ให้ก่อนเสมอ เริ่มจกกรได้รับโจทย์มจก<br />

เจ้ของบ้นว่อยกปลูกบ้นไม้และอยู่อศัยในภคเหนือ<br />

ึ่งทง ยงน สตูดิโอ ก็ได้ลงพื้นที่และหข้อมูลจนมได้<br />

พื้นที่ที่น่สนใจในจังหวัดน่น ึ่งมีควมพอดีทั้งในแง่ของ<br />

ภูมิศสตร์และควมมีเอกลักษณ์เชิงวันธรรม บ้นนหล้<br />

จึงเริ่มต้นจกจุดนั้นและค่อย ถูกพันต่อโดยกรทำงน<br />

ร่วมกันระหว่งสถปนิกและสล่ช่ง พื้นถิ่น ึ่งสมรถ<br />

แบ่งกรทำงนออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงเตรียมวัสดุึ่งเป็น<br />

ไม้เรือนเก่ และช่วงกรก่อสร้ง<br />

ไม้ทั้งหมดที่ถูกเลือกนำมเป็นวัสดุในกรก่อสร้งนั้น<br />

ถูกคัดเลือกมจกบ้นไม้เก่ต่ง ในพื้นที่ใกล้เคียง ึ่ง<br />

กรคัดเลือกไม้นั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลยอย่ง เช่น ขนด<br />

ควมสูง จำนวน สภพของไม้ และกรขนส่ง ึ่งต้อง<br />

ลงพื้นที่และใช้เวลคัดเลือกให้เหมะสมที่สุด ก่อนจะ<br />

รื้อถอนและเข้สู่กระบวนกรเตรียมไม้ให้ได้ขนดและ<br />

จำนวนตมที่ต้องกรจะใช้ ึ่งในระยะแรกนี้ใช้เวล<br />

ประมณ 2 เดือน สองเดือนแรกเรต้องทำงนโดยที่<br />

ไม่มีไฟฟและนำ้ ึ่งเป็นสิ่งที่เรพลดไปในขั้นตอนกร<br />

เลือกสถนที่ แต่เรเองก็ได้เรียนรู้วิถีชีวิต กรจัดกรปัห<br />

ต่ง ตมแบบฉบับของช่งในสมัยก่อนที่เขเองก็มีเพียง<br />

เครื่องมือพื้นฐนเช่นกัน หรือในขั้นตอนที่เรเริ่มเขียนแบบ<br />

ทุกอย่งก็ถูกเขียนขึ้นด้วยมือและปรับแก้กันตลอด ทั้ง<br />

ควมสูง ควมกว้ง เพระเมื่อเรทำงนกับช่ง กรพูด<br />

คุยและแลกเปลี่ยนควมคิดเห็นเป็นสิ่งสำคั ช่งแต่ละ<br />

คนมีประสบกรณ์กรทำงนมมกมย เพระฉะนั้น<br />

ควมงมของเรกับของเขจะแตกต่งกัน ึ่งนั่นคือ<br />

ควมท้ทยในกรทำงนในแต่ละวัน<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 67


05


บ้นนหล้ประกอบไปด้วย หลองข้ว หอพระ ศล<br />

ห้องนอน ห้อง ห้องนำ้ และห้องครัว ึ่งพื้นที่ทั้งหมด<br />

ถูกยกระดับตมลักษณะของบ้นเรือนพื้นถิ่น เชื่อมโยงกัน<br />

ด้วยชนบ้นและยังคงมี เติน’ ึ่งถือว่เป็นพื้นที่สำคั<br />

ในงนสถปัตยกรรมพื้นถิ่น ึ่งทำหน้ที่คล้ยกับห้อง<br />

รับแขกหรือห้องนั่งเล่นแต่เป็นพื้นที่เปดที่เชื่อมระหว่ง<br />

ชนบ้นและห้องนอน พื้นที่ใช้สอยแต่ละส่วนถูกวงผัง<br />

เพื่อให้เกิดพื้นที่ว่งตรงกลงบ้น ทำให้ตัวบ้นนั้นมีควม<br />

โปร่ง พื้นที่ต่ง เชื่อมต่อกันด้วยชนบ้นและทงเดิน<br />

ภยใน รยละเอียดของกรออกแบบบ้นนหล้นั้น<br />

แม้ว่วิธีกรก่อสร้งที่นำมใช้จะเป็นวิธีดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว<br />

ึ่งในที่นี้ ยงน สตูดิโอ เปรียบเสมือนพ่อครัวที่สมรถ<br />

เลือกหยิบจับวัตถุดิบที่มีอยู่ มประยุกต์ ปรุงแต่ง และจัด<br />

วงให้พอดี ึ่งรยละเอียดต่ง แสดงออกถึงควมเข้ใจ<br />

ในวิธีกรก่อสร้งและออกแบบสถปัตยกรรมพื้นถิ่น ที่<br />

ถึงแม้ว่จะไม่ได้มีควมหวือหว แต่กลับทำให้เห็นควม<br />

เท่เทียมของผู้อยู่อศัยและสถปัตยกรรม ึ่งทง ยงน<br />

สตูดิโอ มีควมเชื่อว่ สำหรับงนสถปัตยกรรมเรไม่ได้<br />

มองว่ใครถูกหรือใครผิด ในทุก รูปแบบมีควมตั้งใจ<br />

แตกต่งกัน เรเลือกที่จะทำในสิ่งที่เรรักและทำออกม<br />

ได้ดี ถึงแม้ว่จะต้องใช้เวลในกรก่อสร้งมกขึ้น หรือ<br />

กรที่ต้องลงมือทำด้วยตัวเอง แก้ปัหด้วยตัวเองนั้น<br />

เมื่องนเสร็จสิ้น มันช่วยให้ทุก คนที่เกี่ยวข้องมีควมสุข<br />

ไปกับมัน ทั้งตัวเรเอง ช่งที่ทำงนร่วมกันและเจ้ของบ้น<br />

เรว่สิ่งที่เรสร้งมันมีคุณค่ตรงนี้ด้วย<br />

ยงน สตูดิโอ อจจะเป็นเพียงจุดเล็ก ในแวดวง<br />

สถปัตยกรรมไทย หกแต่แข็งแรงและค่อย หยั่งรก<br />

เพื่อพร้อมที่จะแตกกิ่งก้นสขสูงให่ต่อไปในอนคต<br />

เรมองว่ต้นยงนมันมีควมพิเศษ ปลูกง่ย โตไว<br />

และมีควมสูงให่ ึ่งเรเองก็มองว่สิ่งที่เรกำลังทำอยู่<br />

นั้นเปรียบเสมือนกรวงหมุดหมยทงภูมิปัที่<br />

ค่อย เติบโตขึ้น เป็นสถนที่สำหรับผู้คนที่รักในแนวทง<br />

แบบนี้ ึ่งต้นยงนที่เรเห็นว่มันสูงมก คนที่เขปลูก<br />

ไม่มีโอกสได้เห็นแบบเร เขปลูกเพื่อให้ลูกหลน ให้<br />

คนรุ่นหลังได้รับประโยชน์จกมัน เรเองก็มองว่หกวัน<br />

หนึ่งเรไม่อยู่แล้ว คนรุ่นหลังที่มีควมเชื่อแบบเดียวกันก็<br />

สมรถจะให้พื้นที่นี้เติบโตต่อไปได้เหมือนกัน ยงน<br />

สตูดิโอ ทิ้งท้ยถึงควมหมยของพื้นที่แห่งนี้ที่พวกเข<br />

ปลูกขึ้นด้วยตัวเอง<br />

Na Lah House is comprised of a place to store<br />

raw rice (with husks) a prayer room, a pavilion, three<br />

bedrooms, a bathroom and a kitchen. The entire area<br />

has been elevated, similar to houses native to the locality.<br />

The building is connected with a terrace and there is also<br />

a ‘teun,’ a semi-open living room that includes a rooftop<br />

open from the sides, this feature serving as an important<br />

part of indigenous architecture. Basically, the area was<br />

meant to serve as a living space but was located in the<br />

connecting area between the terrace and the bedrooms.<br />

The usable areas were planned so that there was an<br />

open space in the middle of the house, hence making the<br />

house airy while the various parts of the house were connected<br />

by the terrace and internal walkways. As for the<br />

details used in the design of Na Lah House, though the<br />

method of construction was traditional, Yangnar Studio<br />

has been compared to a chef who was able to select<br />

from the existing raw materials, adapt, modify and place<br />

them appropriately. The details reflect their understanding<br />

of indigenous construction and design that, while perhaps<br />

not striking, reflect a sense of equality between the residents<br />

and the architecture itself. Yangnar Studio believes<br />

that, "when it comes to architecture, we do not see who<br />

is right or wrong, in every form there is a different kind of<br />

intention, and we chose to do what we love and we do it<br />

well and, even though it may have taken a longer time to<br />

complete the construction, which we had to achieve by<br />

solving the problems encountered by ourselves, when<br />

the work was completed it enabled everyone involved to<br />

feel happy. We were happy, the craftsmen were happy<br />

and even the owner of the house was happy as well. We<br />

feel that what we built is valuable because of this factor."<br />

Yangnar Studio may be a small point in the Thai<br />

architectural circle, but it is slowly building its roots and<br />

will grow and spread its branches in the future."We believe<br />

that the Yangnar tree is special - easy to sow and fast<br />

growing, a species that will become tall and mighty as<br />

we ourselves watch and observe. We are sowing an intellectual<br />

seed that will slowly grow and become a place<br />

for people who love this kind of path. And the Yangnar<br />

tree, that we see as very tall, is often planted by a person<br />

who may not be able to see the final results of its growth.<br />

We planted this tree for our descendants and the next<br />

generations to receive the benefit of. We also feel that if<br />

we are one day no longer here, the next generation who<br />

has the same beliefs as us will be able to allow it to grow<br />

more as well," concluded Yangnar Studio, regarding the<br />

realization of the Na Lah House project.<br />

05อาวาสา<br />

รรอวาวสาร<br />

าาราาาวรอ<br />

รวา<br />

รร ก้ก<br />

ารษาา<br />

สารราสราร<br />

ออาาวา<br />

รอาร<br />

ษาราสาา<br />

าวา<br />

<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 69


ASEAN<br />

ASEAN ARCHITECTS 03<br />

VO TRONG NGHIA ARCHITECTS<br />

VIETNAM<br />

70 <strong>ASA</strong> ASEAN วารสารอาษา


TEXT<br />

Jirawit Yamkleeb<br />

Darren Yio<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architects<br />

TRANSLATED TO THAI BY<br />

Tanakanya<br />

Changchaitum<br />

บทควมนี้เป็นบทควมลำดับที่สมในีรีส์บทควมเกี่ยวกับสถปนิกรุ่นใหม่ของ<br />

อเียน ที่แทบจะไม่ต้องแนะนำกันมกเลย เพระผลงนที่ปรกให้เห็นในระดับ<br />

นนชติ ถึงแม้จะเพิ่งก่อตั้งสตูดิโอมไม่นน Vo Tron Nhia Architects VTNA<br />

ก่อตั้งขึ้นในปี 200 ในประเทศเวียดนม เป็นหนึ่งในสตูดิโอสถปนิกในระดับแนวหน้<br />

โดยมีสำนักงนอยู่ในโจิมินห์และนอย ด้วยกรเน้นกรทดลองเกี่ยวกับแสง ลม<br />

และนำ้ แนวทงกรทำงนหลักของ VTNA เน้นไปที่งนออกแบบสถปัตยกรรมร่วม-<br />

สมัยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่ยังคงกลิ่นอยของวันธรรมเอเชีย โดยมุ่งเน้นไปที่<br />

วัสดุที่หได้ในท้องถิ่นึ่งมีรคไม่แพง บวกกับเทคนิคกรก่อสร้งของท้องถิ่นร่วมกับ<br />

แบบสมัยใหม่ ผลงนของโครงกรต่ง แสดงให้เห็นได้ชัดเจนถึงควมตั้งใจในเรื่อง<br />

ของที่พักอศัยกับวันธรรมและกรก่อสร้งที่ได้รับกรใส่ใจอย่งลึกึ้ง ผลงนชิ้นแรก<br />

ที่ทำให้ VTNA เป็นที่รู้จักกันอย่งกว้งขวงคือ พวิลเลียนของเวียดนมในงนเอ็ก์โป<br />

2<strong>01</strong>0 ที่เี่ยงไ้ งนที่ใช้โครงสร้งชั่วครวนั้นแสดงให้เห็นถึงควมเชื่อและใส่ใจที่จะ<br />

ใช้วัสดุท้องถิ่น ในที่นี้ก็คือไม้ไผ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควมยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม<br />

ึ่งได้รับกรตอบรับอย่งดี พวิลเลียนเวียดนม 2<strong>01</strong>0 ที่ออกแบบโดย VTNA นั้น<br />

โดดเด่นและแสดงให้เห็นถึงควมใส่ใจและควมรับผิดชอบในงนออกแบบสถปัตยกรรม<br />

ด้วยตัวของมันเอง<br />

เพื่อยืนยันควมเชื่อที่สำคัและรักษไว้ึ่งควมสำเร็จจกงนในปี 2<strong>01</strong>0 ไม้ไผ่<br />

จึงถูกนำมใช้เป็นวัสดุหลักของพวิลเลี่ยนของเวียดนมในงนมิลนเอ็ก์โปในปี 2<strong>01</strong><br />

อีกครั้ง ตัวอครตั้งอยู่บนเนื้อที่ขนด 887 ตรงเมตร มีขนดพื้นที่ใช้งนประมณ<br />

400 ตรงเมตร ตัวอครมีถอยร่นเข้ไป ถูกออกแบบให้เป็นเหมือนกับปไม้ โดยมี<br />

ต้นไม้จำนวน 4 ต้นปลูกอยู่บนอคร โดยมีคำขวัที่ว่ ดูแลโลก เพื่อพลังงน<br />

ตลอดชีวิต VTNA พยยมที่จะสร้งปิสัมพันธ์กับผู้เข้ชมทั้งทงสยต อรมณ์<br />

และกรสัมผัสกับธรรมชติ เสต่ง ทั้งภยในและภยนอกถูกหุ้มด้วยไม้ไผ่ที่แผ่ออก<br />

จกด้นบนมีรูปร่งคล้ยเห็ด พื้นที่ภยในที่เพดนตกแต่งด้วยไม้ไผ่เพื่อให้ดูคล้ยกับ<br />

ปที่มีต้นไม้ให่โดยมีเสที่จงใจวงให้อยู่ในตำแหน่งแบบไม่เป็นระเบียบ เพื่อให้เกิด<br />

ควมรู้สึกที่เป็นธรรมชติของพื้นที่ เทคนิคเดียวกันนี้ก็นำกลับมใช้ในส่วนที่เป็นเสที่<br />

เรียงตัวอยู่ในส่วนด้นหน้ของอครที่เป็นกระจกและนอกเหนือจกนั้น ทำให้มีควม<br />

รู้สึกเหมือนอครนั้นตั้งอยู่ในปทึบ ส่วนต้นไม้จริงนั้นปลูกอยู่บนโครงสร้งึ่งไม่เพียงแต่<br />

ให้ร่มเงเท่นั้น แต่ยังให้ควมรู้สึกสดชื่นแก่พื้นที่โดยรอบร่วมกันกับส่วนที่เป็นนำ้<br />

กรที่จะต้องสร้งขึ้นมด้วยงบประมณที่จำกัดมก กรใช้ไม้ไผ่จึงเป็นตัวเลือกที่<br />

เหมะสมในกรที่นำมใช้เป็นวัสดุสำหรับโครงสร้งชั่วครวนี้ ึ่งในที่สุดก็ทำขึ้นม<br />

ด้วยช่งฝีมืองนไม้ไผ่ชวเวียดนม 20 คน ที่มีประสบกรณ์มจกโครงกรก่อสร้ง<br />

อครไม้ไผ่ต่ง มก่อนหน้นี้<br />

This third installment in the series of articles featuring<br />

selected young ASEAN practices requires less or even<br />

no introduction, for its stature in international crossborder<br />

practice is visibly established despite its years<br />

of being. Founded in 2006 in Vietnam, Vo Trong Nghia<br />

Architects (VTNA) is a leading architectural studio with<br />

two offices in Ho Chi Minh and Hanoi. With its emphasis<br />

on the experiments with light, wind and water, VTNA’ s<br />

body of works manifestly expresses contemporary<br />

green architectural design with evident essences of<br />

Asian traditions. With a focus on locally available<br />

inexpensive materials coupled with both vernacular<br />

and modern construction techniques, VTNA has managed<br />

to build within a short time, a portfolio of projects that<br />

clearly exemplifies its attention to the intrinsic aspects<br />

of habitat with tradition, and construction with sensibility.<br />

First recognized for its Vietnam Pavilion 2<strong>01</strong>0 Expo<br />

Shanghai, the practice illustrated through this temporal<br />

structure then, its affirming belief in the considerate use<br />

of indigenous materials (bamboo in this instance) for<br />

environmental sustainable objectives. Well received and<br />

entirely identifiable, VTNA’s Vietnam Pavilion 2<strong>01</strong>0<br />

distinguished itself as a manifest to the practice’s onward<br />

conviction in careful and responsible execution of<br />

architectural design.<br />

To affirm on the practice’s overriding belief and to<br />

maintain on the success of its precedent from 2<strong>01</strong>0,<br />

bamboo was again selected as the main building material<br />

for the Vietnam Pavilion 2<strong>01</strong>5 Expo Milan. The building–<br />

situated on an 887sqm site with less than 400 sqm<br />

building footprint after set back – was designed as a<br />

forest with 46 trees sited on the building. With a motto<br />

“Feeding the Planet, Energy for Life”, VTNA attempted<br />

to reconnect visitors visually, emotionally and haptically<br />

back with nature. Columns, both interior and exterior,<br />

were wrapped with bamboo sticks that fanned out at<br />

the top in a mushroom-like shape. The interior space<br />

with its bamboo cladded ceiling, resembled a forest<br />

containing big trees with columns deliberately placed<br />

in an unconventional random manner to enhance the<br />

organic feel of space. This same technique is repeated<br />

further on the columns along the glass facade and<br />

beyond, making the building feel like it is actually sitting<br />

in a dense forest setting. Actual trees are planted on<br />

top of the structures to not only provide shade and<br />

shadow, but are also intended to create a refreshing<br />

feel to the surrounding area together with a water feature.<br />

Realized within a tight budget, bamboo naturally made<br />

an appropriate choice as the main construction material<br />

for a structure of this temporal nature, which eventually<br />

was installed by 20 Vietnamese bamboo craftsmen<br />

educated through bamboo building projects.<br />

รราาา<br />

อ<br />

สราวารสออ<br />

า<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 71


แนวคิดของ VTNA เรื่องกรปลูกต้นไม้บนอครได้รับกรต่อยอดออกไปใน<br />

โครงกร House for Trees ในโจิมินห์ วัตถุประสงค์ของโครงกรก็คือคืนธรรมชติ<br />

ให้กับเมืองอีกครั้ง ธรรมชติที่หยไปในช่วงของกรที่เมืองเติบโตขึ้นและเปลี่ยนแปลง<br />

อย่งรวดเร็ว แนวคิดอครแบบนี้เป็นรูปแบบที่พบบ่อยในงนออกแบบหลยโครงกร<br />

ของ VTNA บ้นสำหรับต้นไม้เป็นบ้นต้นแบบสำหรับกรอยู่อศัยที่หนแน่นที่มีต้นไม้<br />

เขตร้อนอยู่ด้นบน บ้นมีลักษณะเหมือนกล่องคอนกรีตห้กล่องแยกจกกันที่เชื่อมต่อกัน<br />

ในหลยระดับ กล่องแต่ละใบจะมีโปรแกรมที่แตกต่งกัน ึ่งทั้งหมดถูกออกแบบให้<br />

เหมือนกระถงขนดให่ที่มีต้นไม้อยู่บนนั้น ผิวผนังอครภยนอกใช้ี่ไม้ไผ่ตีเป็น<br />

ระแนงบนพื้นผิวคอนกรีตของ กระถง’ ทำให้ภพของบ้นเปลี่ยนไปตมเวล ขึ้นอยู่<br />

กับสภพของแสงในเวลต่งของวัน ด้วยควมหนของชั้นดินด้นบนหลังค กระถง’<br />

ยังทำงนเป็นเหมือนที่กักเก็บนำ้ฝน ึ่งช่วยลดควมเสี่ยงจกนำ้ท่วมในบริเวณเมืองึ่ง<br />

แนวคิดนี้สมรถที่จะทวีคูณจำนวนบ้นอย่งมกในอนคต ทีมออกแบบบอกกับเร<br />

แนวคิดเรื่อง อครเพื่อต้นไม้’ ึ่งเป็นศัพท์เฉพะที่คิดขึ้นโดย VTNA เองน่จะ<br />

ได้รับกรประยุกต์ใช้ได้อย่งเหมะสมที่สุดที่โครงกร Farmin Kinderarten ใน<br />

Don Nai ึ่งตั้งอยู่ใกล้กับโรงงนทำรองเท้ขนดให่ โรงเรียนอนุบลกรเกษตรนี้<br />

ออกแบบมสำหรับลูกคนงนในโรงงนจำนวน 00 คน เป็นอีกครั้งหนึ่งที่เรได้เห็น<br />

กรทำงนที่พวกเขเลือกใช้วัสดุในท้องถิ่น วิธีกรก่อสร้งก็ใช้เทคโนโลยีขั้นพื้นฐน<br />

ด้วยงบประมณที่จำกัด ึ่งถือว่เป็นองค์ประกอบมตรฐนในโครงกรของ VTNA<br />

หลยโครงกร ในกรณีนี้โรงเรียนอนุบลกรเกษตรมจกแนวคิดของกรขดเป็น<br />

วงสมวงเข้ด้วยกันจกเส้นสยเพียงเส้นเดียวที่ขดต่อเนื่องกัน ผลจกรขดเป็นวง<br />

ทำให้เกิดคอร์ตยร์ดสมแห่งขึ้นที่ภยในแต่ละขดของทั้งสมวงที่ต่อเนื่องกัน วงเหล่นี้<br />

ได้ก่อให้เกิดพื้นที่ที่เหมะเจะ และมีสภพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับเด็กในกรที่จะ<br />

เรียนรู้และเล่นในบริเวณภยนอกอคร เส้นสยที่ต่อเนื่องของแต่ละวงทำให้เกิดพื้นที่<br />

แคบ แต่ก็ยังสมรถติดตั้งหน้ต่งที่ใช้งนได้ทั้งสองข้ง ทำให้เกิดกรไหลเวียนของ<br />

อกศและชั้นเรียนก็รับแสงได้อย่งเต็มที่ ภูมิทัศน์ที่กว้งขวงเป็นพื้นที่รบได้นำมใช้<br />

เพื่อกรศึกษด้นเกษตรกรรมและสร้งเสริมประสบกรณ์ให้แก่เด็ก หลังคที่มีส่วน<br />

พื้นที่สีเขียวบนหลังคก็ได้นำมใช้ประโยชน์เพื่อเป็นสนมเด็กเล่นของโรงเรียน สมรถ<br />

แก้ปัหทั้งทงด้นสังคมหลกหลยประเด็นและสิ่งแวดล้อมในครวเดียว โรงเรียน<br />

อนุบลกรเกษตรเป็นกรสร้งค่ทงสังคมให้แก่ลูก ของคนงนในโรงงนที่อยู่ใกล้<br />

ในด้นสิ่งแวดล้อม กรทำหลังคให้เป็นพื้นที่สีเขียวไม่เพียงแต่ช่วยอนุรักษ์ควมชุ่มชื้น<br />

ให้กับบริเวณรอบ แต่ยังช่วยทำหน้ที่เป็นเหมือนฉนวนกันควมร้อนให้กับชั้นเรียน<br />

ข้งล่ง ทำให้ลดควมจำเป็นที่จะต้องใช้อุปกรณ์เครื่องมือต่ง ในกำจัดควมร้อน<br />

ยิ่งไปกว่นั้นนำ้เสียที่ออกมจกโรงงนใกล้เคียงได้นำมบำบัดก่อนที่จะนำมใช้ใน<br />

กรเกษตรและชักโครกในห้องนำ้ที่โรงเรียนอนุบลแห่งนี้<br />

งนของ VTNA นั้นแสดงให้เห็นถึงควมควมมุ่งมั่นในควมรับผิดชอบต่อสังคม<br />

ควมพยยมใช้วัสดุที่หได้ในท้องถิ่นและมีรคไม่แพง ร่วมกับกรใช้วิธีกรก่อสร้ง<br />

ที่เป็นแบบดั้งเดิมและสมัยใหม่ด้วยกัน และในกรทำงนที่มีควมเชื่อเหล่นี้เป็นพื้นฐน<br />

ทำให้งนที่ออกมสมรถเห็นได้ว่งนที่ออกมเป็นงนร่วมสมัยที่ทำให้ผู้ใช้ตระหนัก<br />

ถึงงนออกแบบที่ให้ควมสำคัต่อสิ่งแวดล้อมและมีควมเป็นพื้นถิ่นอยู่ในระดับต้น<br />

ไม่ใช่เป็นเพียงสไตล์หรือตมกระแสเท่นั้น กรอบกรทำงนของ VTNA นั้นไม่ได้ให้<br />

แค่ควมคิดพื้นฐนของกรอยู่อศัยแต่พวกเขยังให้ควมรู้กับผู้อยู่อศัยในควมใส่ใจ<br />

กับสังคมและมีควมรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมต่อชุมชนโดยส่วนรวม และเมื่อเผยแพร่<br />

ออกไปตมสื่อต่ง งนเหล่นี้ก็สมรถที่จะกระตุ้นจิตสำนึกและกรรับรู้ว่กร<br />

ออกแบบที่มีควมรับผิดชอบนั้นสมรถทำอะไรได้ในหลกหลยระดับ ในแง่ควม<br />

รับรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เมื่ออยู่ในบริบทที่เหมะสมอย่งในกรณีของ<br />

VTNA เป็นต้น ที่ปรึกษที่มจกนอกสขต่งสขควมรู้ จะเข้มช่วยเสริม ให้<br />

มุ่งเน้นไปในด้นที่ถูกต้องที่เป็นต้นกำเนิดของสถปัตยกรรม กรปกปอง ควมสะดวก-<br />

สบยและรับผิดชอบ<br />

ราร<br />

ว<br />

ราษ<br />

72 <strong>ASA</strong> ASEAN วารสารอาษา


THESE FRAMEWORKS BY VTNA<br />

NOT ONLY DOES PROVIDE THE<br />

BASIC NOTIONS OF SHELTER,<br />

BUT THEY DO AND CAN EDUCATE<br />

ITS INHABITANTS WITH AN<br />

ATTENTIVENESS TO SOCIAL<br />

AND ENVIRONMENTAL RESPON-<br />

SIBILITIES FOR THE COMMUNITY<br />

AT LARGE.<br />

VTNA’s idea of planting trees on a building is further<br />

explored in the House for Trees Ho Chi Minh. The aim<br />

of this project is to return greenery – that had been lost<br />

by rapid urbanization, back to the city. A common theme<br />

governing the design of many projects, if not all for<br />

VTNA, the House for Trees is a prototypical house<br />

accommodating high density living with big tropical<br />

trees above. The house is conceived as 5 separate<br />

concrete boxes connected to each other at various levels.<br />

Each of these boxes houses a different program, in which<br />

all are designed as over-sized pots with medium-sized<br />

trees sitting on them. The bamboo ribbed façade pattern<br />

of the concrete surfaces of the ‘pots’ changes the look<br />

of the house through time, depending on the condition<br />

of light at various times of the day. “With thick soil layer<br />

on top of the roof, the ‘pots’ also work as storm water<br />

basins for retention, therefore contribute to reduce the<br />

risk of flooding in the city area when the idea can be<br />

multiplied to a large number of houses for the future”,<br />

explained the design team.<br />

The ‘Building for Trees’ concept, coined by the<br />

practice itself, is perhaps most successfully implemented<br />

at the Farming Kindergarten in Dong Nai. Located adjacent<br />

to a big shoe factory, the Farming Kindergarten is<br />

designed for 500 children of the factory’s workers. The<br />

execution is again realized with a plentitude of local<br />

indigenous materials, proven low-tech construction<br />

methods and a tight budget – the usual factors behind<br />

numerous VTNA projects. In this instance, the Farming<br />

Kindergarten is conceptualized as three intertwined<br />

loops generated by a single continuous line. As a result<br />

of the interweaving, three courtyards are naturally<br />

formed inside the knot shapes of three loops initiated<br />

by the one continuous gesture. These loops provide<br />

the necessary landscaped area and safe environment<br />

for the children to learn and play in an outdoor setting.<br />

The continuous strip of the loops together with its<br />

narrow but operable windows on both sides encourages<br />

all-round cross ventilation and maximizes natural lighting<br />

to the classrooms. Extensively landscaped and<br />

subsequently used as a plateau providing agricultural<br />

education and experience to the children, the green<br />

roof on top also functions as a playground of the school.<br />

Tackling multiple social and environmental issues in one<br />

single movement, the Farming Kindergarten is socially<br />

a contextual setting for the children of the adjacent<br />

factory workers. Environmentally, its green roof approach<br />

not only preserves the sanctuary for the area but also<br />

acts as heat insulation for the classrooms below, reducing<br />

the need for mechanical means for heat expulsion.<br />

Further to these, wastewater retained from the adjacent<br />

factory is recycled before its use for irrigation and toilet<br />

flushing here at the kindergarten.<br />

As VTNA’s works illustrate, the focus of the practice<br />

is distinctly concentrated on the responsible use of<br />

locally available inexpensive materials, teamed with<br />

traditional and modern construction methodologies.<br />

Along with the practice’s underlying belief, these work<br />

together to erect recognizably contemporary works<br />

that endow its users with vernacular and green design<br />

awareness on top of mere stylization and trends.<br />

These frameworks by VTNA not only does provide the<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 73


asic notions of shelter, but they do and can educate<br />

its inhabitants with an attentiveness to social and<br />

environmental responsibilities for the community at<br />

large. When proliferated across the medium of the<br />

masses, these works can inspire consciousness and<br />

mindfulness in what responsible design does at various<br />

levels. The aspects of social and environmental responsibilities,<br />

when appropriately placed in context as in<br />

VTNA’s instance, will be paramount in how foreign<br />

consultancies (in a cross border practice) can cement<br />

themselves in the correct focus on the intrinsic aspects<br />

of how architecture originated; protective, comfortable<br />

and responsible.<br />

สสาสอรสา<br />

อออราร<br />

<br />

Q & A<br />

HOW DO YOU SEE THE IMPORTANCE OF IDEAS<br />

BEHIND EACH PROJECT OF THE FIRM?<br />

I think ideas are what initiates the direction for<br />

each project. However, the concept is nothing without<br />

realising the detail, the construction, the management,<br />

and the function - which are more important for the<br />

finalisation of a project. Each project needs the same<br />

overall direction, what we want to do for architecture<br />

and the city as well.<br />

HOW WOULD YOU DESCRIBE THE FIRM’S AP-<br />

PROACH TO ARCHITECTURE?<br />

It is necessary for architecture to harmonise with<br />

nature and to find a way for human beings to live with<br />

nature. Architecture is not only a function of beauty<br />

but it is also a device to help with human beings to<br />

connect with nature.<br />

WHO/WHAT ARE YOUR INFLUENCES? ARE THERE<br />

ANY PARTICULAR ARCHITECTS/DESIGNERS THAT<br />

INSPIRE ALL PARTNERS IN THE OFFICE?<br />

My first influence was my professor, Mr. Hiroshi<br />

Naito at the University of Tokyo. But I have many other<br />

influences, I look to the system of Norman Foster’s<br />

office and the process of PR by Tadao Ando. While I<br />

learn from many of the star architects of the world but<br />

I still want to continue to be original and be myself.<br />

WHAT IS THE IDEAL PROJECT THAT THE FIRM<br />

WOULD LIKE TO UNDERTAKE?<br />

We want to take on projects that will green the<br />

city. We want humans to be more connected with<br />

nature, so ideally as many green projects as possible.<br />

HOW DO YOU POSITION YOURSELF WITHIN THE<br />

NEXT 5 YEARS?<br />

The next 5 years will be important however I am<br />

currently focusing on the present and taking one step<br />

at a time. I hope that I will be able to dedicate more<br />

time and focus my attention of Vipassana meditation.<br />

WHAT DO YOU THINK OF AEC AND HOW ARCHI-<br />

TECTS ARE IN THE FUTURE ABLE TO WORK EASILY<br />

WITHIN THE MEMBER COUNTRIES OF ASEAN?<br />

I think that it is a good chance to work with one<br />

another. It gives us more possibilities and chances to<br />

learn from architects in other countries. I hope to work<br />

with other countries in the future.<br />

74 <strong>ASA</strong> ASEAN วารสารอาษา


Q&A with Takashi Niwa, Vo Trong Nghia Architects<br />

ิอย่ไร่อมสัอนิอัอ่รกร<br />

อสนักนอ<br />

ผมคิดว่แนวควมคิดคือสิ่งที่ทำให้เกิดทิศทงของแต่ละโครงกร อย่งไรก็ตม<br />

แนวควมคิดจะไม่มีควมหมยเลยถ้ปรศจกกรทำรยละเอียด กรก่อสร้ง<br />

กรบริหรจัดกร และกรใช้สอย ึ่งต่งมีควมสำคัมกที่จะทำให้โครงกรเสร็จ-<br />

สมบูรณ์ แต่ละโครงกรต้องมีทิศทงโดยรวม นั่นคือสิ่งที่เรต้องกรจะทำเพื่อสถปัตย-<br />

กรรมและเมือง<br />

จอิยกยกัิกรนสยกรรมอสนักน<br />

อย่ไร<br />

มันมีควมจำเป็นที่สถปัตยกรรมจะต้องกลมกลืนไปกับธรรมชติและเพื่อที่จะห<br />

วิธีที่มนุษย์จะอศัยอยู่กับธรรมชติ สถปัตยกรรมไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของควมงม<br />

เท่นั้น แต่มันยังเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้มนุษย์ได้เชื่อมโยงกับธรรมชติอีกด้วย<br />

รรออไรมอิิ่อ มสนิกรอนักออกนไนน<br />

ิไมนรันจ้กั้นส่นกนนสนักนน<br />

คนที่มีอิทธิพลต่อผมเป็นคนแรกก็คืออจรย์ของผม Hiroshi Naito ที่มหวิทยลัย<br />

โตเกียว แต่ผมก็ได้รับอิทธิพลมจกอีกหลยคน ผมมองดูระบบของสำนักงนของ<br />

Norman Foster และวิธีกรประชสัมพันธ์ของ Tadao Ando ในขณะที่ผมก็เรียนรู้ม<br />

จกสถปนิกระดับดวเด่นของโลกอีกหลยท่นแต่ผมก็ยังคงอยกที่จะเป็นแบบฉบับ<br />

และเป็นตัวของผมเองจริง<br />

อไรอรกรนนริัอยกจ<br />

เรอยกจะทำโครงกรที่จะทำให้เมืองเป็นสีเขียว เรต้องกรให้มนุษย์เชื่อมต่อ<br />

กับธรรมชติ ในอุดมคติก็คือโครงกรสีเขียวมกเท่ที่จะเป็นไปได้<br />

รวร<br />

าารวอว<br />

อาาร<br />

น่อัอภยน้อย่ไร<br />

ในห้ปีข้งหน้นั้น แม้จะมีควมสำคัแต่ในตอนนี้ผมอยกจะให้ควมสำคักับ<br />

ปัจจุบันมกกว่และค่อยเป็นค่อยไปทีละขั้น ผมหวังว่ผมจะสมรถให้เวลกับกร<br />

นั่งสมธิของผมมกกว่นี้ด้วย<br />

ิอย่ไรกั ิ่นอนสนิกจสมรน<br />

นรสมิกอ ไ้่ยนอย่ไร<br />

ผมคิดว่เป็นโอกสดีที่ประเทศสมชิกของ AC จะทำงนด้วยกัน มันมีควม<br />

เป็นไปได้และโอกสมกขึ้นที่จะเรียนรู้จกสถปนิกในประเทศอื่น ึ่งผมหวังว่จะ<br />

ได้ทำงนร่วมกับประเทศอื่น ในอนคต<br />

Jirawit Yamkleeb<br />

Jirawit Yamkleeb received<br />

B.Arch from Chulalongkorn<br />

University and M.Sc. (Urbanism)<br />

from TU Delft in the<br />

Netherlands. He spent his life<br />

after Delft in Singapore for 11<br />

years and left his previous firm,<br />

SCDA Architects, as a Senior<br />

Associate. In 2<strong>01</strong>5, he cofounded<br />

archi.smith – a multidisciplinary<br />

design firm, with<br />

Sukonthip Sa-ngiamvongse.<br />

Darren Yio<br />

Darren Yio received his B.Arch<br />

(Hons.) from The University of<br />

Melbourne in 2007. Prior to<br />

the completion of his architecture<br />

degree, Darren also<br />

spent time studying at the<br />

Royal Academy of Arts in<br />

Copenhagen, Denmark. Upon<br />

graduation, he spent 8 years<br />

at SCDA Architects before<br />

leaving his position as an<br />

Associate.<br />

วารสารอาษา<br />

ASEAN <strong>ASA</strong> 75


SPECIAL REPORT<br />

TEXT<br />

Paphop Kerdsup<br />

PHOTOS<br />

Soopakorn Srisakul<br />

ARCHITECTURE<br />

BIENNIAL<br />

LIGHT HOUSE<br />

THE ART OF LIVING LIGHTLY BY ALL(ZONE)<br />

76 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


จบลงไปแล้วเมื่อต้นเดือนมกรคมที่ผ่นมกับงน<br />

Chicao Architecture Biennial 2<strong>01</strong> นิทรรศกรที่<br />

รวบรวมและจัดแสดงผลงนกรออกแบบและกรทดลอง<br />

ทงสถปัตยกรรมที่ยิ่งให่ที่สุดงนหนึ่งของภคพื้น<br />

อเมริกเหนือ ด้วยเสียงตอบรับอย่งล้นหลมจกผู้-<br />

เข้ร่วมงนจำนวนมก และคอนเ็ปต์ของกรจัดงนที่<br />

เน้นเปดพื้นที่ทดลองให้กับสถปนิกไฟแรงจกทั่วโลก<br />

ทั้งที่มีชื่อเสียงระดับโลกอยู่แล้วและที่กำลังเป็นที่กล่ว-<br />

ขวัถึง จกสถปนิกที่เข้ร่วมแสดงผลงนกว่ 100<br />

บริษัท จก 0 ประเทศทั่วโลก สตูดิโอออกแบบของ<br />

Having reached conclusion this past January, the<br />

Chicago Architecture Biennial 2<strong>01</strong>5 was the largest<br />

international exhibition collecting and exhibiting<br />

architectural design projects and experiments from<br />

around the world in North America and, through its<br />

full-scale installations and events featuring countless<br />

world famous and well-known architects, the eclectic<br />

mix brought over 100 participating companies from<br />

30 countries to the Windy City. The Thai design studio,<br />

all(zone) was chosen to take part in the exhibition<br />

and showcased their conceptual design named ‘Light<br />

House: The Art of Living Lightly,’ an experimental<br />

dwelling that conceived of a living space in a tropical<br />

<strong>01</strong> อาสอ<br />

วาารา<br />

อาอาอาาร<br />

อรรออาารราาร<br />

อาอ<br />

House<br />

<strong>01</strong><br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 77


02วาราอ<br />

วสาาาร<br />

รวาสวว<br />

ารา<br />

03วสารรา<br />

สอวสาอ<br />

สาารอา<br />

ราา<br />

ไทยอย่ง allzone ได้ถูกคัดเลือกให้ร่วมแสดงงนใน<br />

ครั้งนี้ด้วย กับผลงนกรออกแบบแนวควมคิดในชื่อ<br />

Liht House The Art of Livin Lihtly พื้นที่พัก-<br />

อศัยเชิงทดลองขนดเล็กที่ต้องกรตั้งคำถมถึงกร<br />

ใช้พื้นที่ภยในเมืองหลวงเขตร้อนชื้น เช่น กรุงเทพ<br />

ที่พื้นที่รกร้งมกมยตมตึกสูงถูกปล่อยทิ้งไว้ไม่ถูก<br />

นำมใช้งนตมศักยภพของมัน ึ่งไม่สอดคล้องกับ<br />

ควมต้องกรพื้นที่อยู่อศัยของคนเมืองในปัจจุบันที่นับ<br />

วันกลับสูงขึ้น ในขณะที่รคค่ที่อยู่อศัยสำหรับคน<br />

ทำงนในเมืองก็สูงขึ้นจนเกินรยได้ของคนทำงนรุ่นใหม่<br />

ที่ต้องกรอศัยอยู่ใจกลงเมือง<br />

พื้นที่พักอศัยขนด 110 ตรงเมตรนี้ ประกอบ<br />

ขึ้นจกวัสดุที่ประกอบได้ง่ยและพบเห็นได้ทั่วไปตม<br />

ท้องตลด ตั้งแต่ตะแกรงลวดชุบพลสติกที่ถูกปูทับด้วย<br />

ผ้และตข่ยไนล่อน้อนกันเป็นเลเยอร์หลยชั้น แบ่ง<br />

ควมทึบโปร่งไปตมพื้นที่ใช้สอยภยใน ผ้สปันบอนด์ที่<br />

ถูกนำมใช้เพิ่มดีกรีควมทึบให้กับพื้นที่ที่ต้องกรควม<br />

เป็นส่วนตัวมกขึ้นหรือแม้แต่มุ้งลวดกันยุงที่ถูกนำมใช้<br />

บริเวณเตียงนอน วัสดุต่ง เหล่นี้เน้นใช้คุณสมบัติ<br />

ในเรื่องของควมโปร่งมใช้ในกรระบยอกศของสเป<br />

ภยในและด้วยคุณสมบัติของวัสดุทำให้ผู้คนภยนอก<br />

สมรถมองเห็นสิ่งที่อยู่ภยในได้เพียงรง เท่นั้น ึ่ง<br />

78 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


ช่วยให้พื้นที่ภยในที่ดูโปร่งโล่งนี้มีควมเป็นส่วนตัวขึ้น<br />

มในเวลเดียวกัน นอกจกนี้ค่ใช้จ่ยในกรก่อสร้ง<br />

Liht House ขึ้นมสักหนึ่งยูนิตนั้น อยู่ที่ประมณ<br />

40,000 กว่บทเท่นั้น นับว่ช่วยตอบโจทย์ควม<br />

ต้องกรพื้นที่พักอศัยของคนเมืองผู้มีรยได้น้อยได้<br />

มกขึ้นอีกด้วย<br />

อีกหนึ่งควมน่สนใจของผลงนชิ้นนี้ที่ต่งไปจก<br />

งนชิ้นอื่น คือกรที่ allzone เลือกใช้เทคนิค toproection<br />

video installation มช่วยในกรเล่เรื่อง<br />

แทนกรใช้แบบดรออิ้งหรือโมเดล โดยภพยนตร์สั้น<br />

ขนดควมยวประมณ 10 นทีึ่งได้ ff Scene<br />

Films มรับหน้ที่กำกับให้นี้ ได้บันทึกพติกรรมของ<br />

หนุ่มสวที่มีไลฟสไตล์ต่งกันคู่หนึ่ง ึ่งเลือกใช้ Liht<br />

House ที่ตั้งอยู่ภยในอครจอดรถใจกลงเมืองเป็น<br />

พื้นที่พักอศัยและจำลองกรใช้ชีวิตในแต่ละวันตั้งแต่<br />

ตื่นนอน ทำกิจกรรมต่ง ไปจนถึงกรเข้นอนของทั้งคู่<br />

ึ่งข้อดีของกรใช้เทคนิคกรเล่เรื่องในลักษณะนี้คือ<br />

ภพนั้นช่วยตอบคำถมคใจต่ง เกี่ยวกับกรอยู่อศัย<br />

ด้วย Liht House ได้ครอบคลุมทั้งหมดตั้งแต่เรื่องกร<br />

ทนอหร กรเข้ห้องนำ้ ควมเป็นส่วนตัว ไปจนถึง<br />

เรื่องควมปลอดภัย แถมกรจำลองนี้มีควมสมจริงมก<br />

จึงไม่น่แปลกใจที่ผู้คนให้ควมสนใจและอจเชื่อว่มีผู้ที่<br />

อศัยอยู่ภยในผลงนชิ้นนี้จริง ที่ประเทศไทย นับว่<br />

ผลงนชิ้นนี้เป็นกรทดลองที่ตั้งคำถมถึงพื้นที่พักอศัย<br />

ได้อย่งเรียบง่ยและน่สนใจ จนทำให้ Liht House<br />

กลยเป็นหนึ่งในผลงนจก Chicao Architecture<br />

Biennial 2<strong>01</strong> ที่ถูกคัดเลือกให้ได้เป็นคอลเล็คชั่นถวร<br />

ประจำสถบันศิลปะแห่งชิคโกอีกด้วย<br />

ถือว่งน Chicao Architecture Biennial ได้สร้ง<br />

มิติใหม่ให้กับวงกรสถปัตยกรรมเป็นอย่งมก ต้อง<br />

มคอยดูกันต่อไปว่ในปี 2<strong>01</strong>7 ที่กำลังจะมถึงนี้ จะมี<br />

ผลงนชิ้นไหนให้ได้ติดตมกันอีกบ้ง สำหรับข่วสร<br />

และรยละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับงนสมรถดูได้ที่<br />

chicaoarchitectureiennialor<br />

metropolis where high-rise building are often left idle,<br />

unfinished or uninhabited while the needs for housing<br />

and costs of living continue to rise. These circumstances<br />

make it almost impossible for young middle-class residents<br />

to live in the city on their average earnings.<br />

The living space of 11.5 sq.m. is made up of easily<br />

assembled materials that can be found in the market<br />

place. Ready-made PE coated metal frames are<br />

covered with layers of fabric while nylon net separates<br />

the different degrees of perforation by functions.<br />

Spunbond fabric was chosen to increase the degree of<br />

thickness for areas that required more privacy. These<br />

materials use their lightness for ventilation of the<br />

space inside and even a mosquito net is hung over the<br />

sleeping area. With the lightness of materials, outsiders<br />

can see inside the space indistinctly. Furthermore,<br />

designed on a $1,200 budget per unit, the house was<br />

conceived in response to the rising needs of the urban<br />

poor for affordable living options.<br />

One more interesting aspect of this work that<br />

differed from the others was that the firm selected a<br />

two-projection video installation technique to exhibit<br />

the work rather than architectural drawings or models.<br />

The 10-minute-short film directed by Off Scene Films<br />

recorded all the behaviors of a couple with different<br />

lifestyles utilizing the Light House set up in an<br />

abandoned parking structure in the middle of the city<br />

as a living place and simulated their daily life cycle.<br />

An advantage of this presentation technique was that<br />

it provided answers to all doubtful questions about<br />

living in the Light House and covered issues such as<br />

eating, the restroom, privacy and security. No wonder<br />

people found the presentation interesting and might<br />

have believed that the Light Houses already existed<br />

in Thailand as the film’s production was so real. With<br />

their simple and appealingly concern for the ways in<br />

which a living area could be conceived, Light House<br />

has been selected to become a part of the permanent<br />

collection of the Art Institute of Chicago (AIC) as well.<br />

It can be concluded that the Chicago Architecture<br />

Biennial had already made room for a new dimension<br />

of architecture. Stay tuned for the next Architecture Biennial<br />

in the forthcoming 2<strong>01</strong>7. For more details please<br />

visit: chicagoarchitecturebiennial.org<br />

02<br />

ภ กิรัย<br />

ารษาาสา<br />

รราสราร<br />

าวาาา<br />

อรราารรา<br />

วารสารอาษาสาร<br />

ออรส<br />

วสอารออ<br />

03<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 79


80 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


SATHIRUT TANDANAND<br />

PRESIDENT, ARCHITECTS REGIONAL COUNCIL ASIA (ARCASIA)<br />

สิรัร ันันน<br />

ราสาสาอ<br />

อยก้สิรัรูน้น<br />

กรจัน ่นอย่ไร<br />

้<br />

ARC<strong>ASA</strong> Forum จัดขึ้นปีเว้นปี โดยจัดสลับกับ<br />

ARC<strong>ASA</strong> Conress ครับ ึ่ง ARC<strong>ASA</strong> Forum จะ<br />

เน้นเรื่องของวิชกร ส่วน ARC<strong>ASA</strong> Conress จะมี<br />

เรื่องของนักเรียนเข้มเกี่ยวข้อง แต่สำหรับ ARC<strong>ASA</strong><br />

Forum ที่เรจัดขึ้นในปีนี้ไม่ได้เน้นแค่วิชกรเพียงอย่ง<br />

เดียว แต่ต้องกรเน้นให้สถปนิกรุ่นใหม่ได้เข้มมีส่วน<br />

ร่วมในกรประชุมด้วย โดยกำหนดให้สถปนิกรุ่นใหม่<br />

บรรยยในหัวข้อต่ง<br />

อยก้สิรัรูสนิกร่นม่น<br />

รไย่จจันนอย่ไร้<br />

ผมว่ตอนนี้สถปนิกรุ่นใหม่ของบ้นเรมีฝีมือ<br />

กรออกแบบที่เก่งมก และผมอยกให้พวกเขได้มี<br />

โอกสเข้มมีส่วนร่วมมกขึ้นนะครับ ขณะเดียวกัน<br />

เรต้องกรให้สถปนิกรุ่นใหม่ได้ทรบว่ นอกเหนือ<br />

จกภยในประเทศไทยเรเองแล้ว ใน ARC<strong>ASA</strong> มี<br />

Aard Proram เช่น merin Architect Aard<br />

ึ่งถูกจัดขึ้นทุกปีให้สถปนิกรุ่นใหม่สมรถส่งผลงน<br />

เข้ไปได้<br />

สิรัรมมินอย่ไร้กยกั<br />

ัจกู้ั<br />

อกไ้ินไกูนรน<br />

จุดประสงค์หลักของ ARC<strong>ASA</strong> Travel Prize คือ<br />

เรมองว่ ARC<strong>ASA</strong> มีทั้งหมด 19 ประเทศ ที่เป็น<br />

สมชิก แต่ละประเทศมีวันธรรม มีกรออกแบบที่<br />

แตกต่งกันออกไป เรต้องกรให้สถปนิกรุ่นใหม่ได้มี<br />

โอกสเดินทงไปสัมผัสกับวันธรรมอื่น แล้วได้เรียน-<br />

รู้ว่เอเชียนั้นมีอะไรบ้ง และต้องบอกว่กรเดินทงไป<br />

ศึกษงนที่ประเทศี่ปุนในครั้งนี้ถือว่ประสบควม-<br />

สำเร็จมก เพระผู้ชนะที่ได้ไปมีทั้งหมด คน จก<br />

เนปล บหลีและ่องกง ึ่งผู้ชนะจกเนปลและบหลี<br />

ไม่เคยไปประเทศี่ปุน พอไปศึกษก็ได้เปดโลกทัศน์<br />

อีกทั้งกรไปศึกษที่ประเทศี่ปุนและต้องเอผลงนม<br />

นำเสนอที่ประเทศไทย ทำให้พวกเขได้มีโอกสที่จะได้<br />

สัมผัสกับวันธรรมของประเทศี่ปุนและของประเทศ<br />

ไทยไปพร้อม กันด้วย สิ่งที่ได้ไปศึกษได้ถูกนำกลับม<br />

เพื่อที่จะประยุกต์กับโปรเจ็คต์ในบ้นของเขเอง เช่น<br />

ผู้ชนะจกเนปลไปศึกษเรื่องโครงสร้งเหล็กที่จะเข้<br />

มช่วยเสริมอครต่ง เพื่อปองกันแผ่นดินไหว ึ่ง<br />

เนปลเป็นประเทศที่เกิดแผ่นดินไหวค่อนข้งบ่อย ส่วน<br />

ผู้ชนะจกบหลี ก็ไปศึกษโครงเหล็กที่จะนำมใช้กับ<br />

รูปทรงของหลังคในประเทศของเขในลักษณะของ<br />

โครงหลังคที่ให่กว่ ส่วน่องกงศึกษโครงเหล็กเพื่อ<br />

ที่จะเอมใช้กับสเปที่สมรถใช้สอยได้เพิ่มเติมบน<br />

หลังคของอคร<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 81


WHAT IS YOUR OPINION OF THE YOUNG ARCHI-<br />

TECT SCENE WITHIN THAILAND?<br />

กรจัน อยยน<br />

อย่ไร้ มอรัจก่ิ่อ<br />

มมมออกรสยกรรม้นร<br />

อย่ไรรั<br />

ผมว่ผลตอบรับดีมกเลยครับ คือจกทุก คน<br />

ที่ได้คอมเม้นท์กับทงเร เขบอกว่ ครั้งนี้ที่สมคม<br />

สถปนิกสยม เป็นเจ้ภพ ถือเป็นงน ARC<strong>ASA</strong><br />

Forum ที่ดีที่สุดที่เคยไปม อีกอย่งคือ เรื่องของกรจัด<br />

งนนอกเหนือจกเนื้อหที่เกี่ยวกับวิชกร อย่งอีเวนท์<br />

ต่ง ตอนกลงคืน ทงสมคม ได้จัดเต็มที่ เช่น<br />

ARC<strong>ASA</strong> Aard Niht ที่วัดไชยวันรม และแต่ละ<br />

คืนมีกิจกรรมที่แตกต่งกันออกไป ทำให้ผู้ที่มได้สัมผัส<br />

กับวันธรรมของไทยและโบรณสถนของบ้นเร<br />

นน้มนยยอ จม<br />

กรยนรอิมิมอย่ไร้ ั<br />

จกน ูกจัไ้<br />

ในเร็ว นี้ จะมีอีก ประเทศ มร่วมเป็นสมชิกของ<br />

ARC<strong>ASA</strong> ด้วย เช่น พม่ เขมร และบรูไน จุดประสงค์<br />

ของเรในอนคตคือเรจะทำอย่งไรที่จะพันสถปนิก<br />

เรจะโฟกัสในกลุ่มของอเียนของเร แล้วเรจะขยย<br />

ไปในกลุ่มอื่น เช่น เนปลหรือภูน นอกจกนี้ถ้เร<br />

ดูเรื่องของปัหอุทกภัยที่เกิดขึ้นในเอเชียจะมีค่อนข้ง<br />

มกและบ่อย ทง ARC<strong>ASA</strong> จึงได้เ็น MU กับ Asian<br />

Disaster Preparedness Center ADPC ึ่งเป็นองค์กรที่<br />

ให้ควมรู้เกี่ยวกับกรจัดกรควมช่วยเหลือด้นอุทกภัย<br />

PLEASE DISCUSS YOUR ROLE WITHIN THE ORGANI-<br />

ZATIONAL PROCESS OF THIS ARCASIA FORUM.<br />

Firstly, may I introduce you to the Arcasia Forum;<br />

it is organized once every two years and punctuated<br />

by other events such as the ARCASIA Congress. The<br />

ARCASIA Forum emphasizes academics in contrast<br />

with the Arcasia Congress, which is related to the<br />

educational scene. However, in this edition of the<br />

Arcasia Forum, we’re not focusing on academics only,<br />

as we also provide new and upcoming architects the<br />

opportunity to lecture on certain topics in order to give<br />

them a chance to be a part of the forum.<br />

They’re good at design and I prefer for them to<br />

become a part of this forum. Moreover, I want them<br />

to realize that there are many award competitions<br />

in which young architects should participate, such<br />

as submitting their work to the Emerging Architects<br />

Award program - an annual program within Arcasia.<br />

WHAT IS YOUR OPINION OF THE ARCASIA TRAVEL<br />

PRIZE REGARDING THE OBSERVATION OF ACTIVI-<br />

TIES IN JAPAN BY THE SELECTED CANDIDATE?<br />

Firstly, we realize that, within the 19 member<br />

countries of ARCASIA, each country contains a kind of<br />

design identity, so we want them to learn about this<br />

diverse culture. Still, the observation of activities in<br />

Japan project was a success, because the winners<br />

from Nepal and Bali had never been to Japan before.<br />

Also, within the program, they are required to present<br />

their projects in Thailand while also having the opportunity<br />

to travel to Japan, so they learned a lot about the<br />

cultures of both Thailand and Japan. Therefore, they<br />

can adapt this knowledge with their prior practice. For<br />

instance, the winner from Nepal learned about metal<br />

construction, a kind of solution that seems proper to<br />

addressing the problem of earthquakes. In the case<br />

of the winner from Bali, the knowledge of metal<br />

construction allowed for them to create a wider roof<br />

construction than before. And for the candidate from<br />

Hong Kong, he could apply this metal construction<br />

technique to create more space on rooftops.<br />

HOW ABOUT THE FEEDBACK FROM FOREIGNER<br />

PARTICIPANTS REGARDING THE CURRENT THAI<br />

ARCHITECTURE SCENE.<br />

It’s good. We got a lot of good comments from<br />

them and they also told us that this edition of the<br />

ARCASIA Forum organized by <strong>ASA</strong> was the best edition<br />

they had ever participated in. Aside from this, we<br />

also focused on the supplementary events held in the<br />

evenings which are not actually related to academic<br />

content, such as the ARCASIA Awards Night at Wat<br />

Chaiwattanarakm and other events that allow for the<br />

participants to learn more about our culture.<br />

WHAT ABOUT THE POLICIES OF ARCASIA OVER THE<br />

NEXT FOLLOWING YEARS, ARE THERE ANY SHIFTS<br />

THAT WILL BE HAPPENING?<br />

There are now three more members included in<br />

Arcasia - Myanmar, Cambodia and Brunei, so our next<br />

proposition is how to develop the architect. We’ll focus<br />

in our Asian region and then extend to other areas like<br />

Nepal and Bhutan. We are also still paying great attention<br />

to the problem of disasters that seem to occur<br />

frequently. Therefore, we decided to sign the MOU<br />

contract with the Asian Disaster Preparedness Center<br />

(ADPC), an organization that will help us to settle this<br />

problem.<br />

82 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


SMITH OBAYAWAT<br />

PRESIDENT, THE 36TH ARCASIA COUNCIL<br />

นิักนกรจัน <br />

MEETING & FORUM 18<br />

เรไม่ได้เป็นเจ้ภพมนนแล้ว ครั้งสุดท้ยน่จะ<br />

ประมณ 10 ปีที่แล้ว ที่จังหวัดเชียงใหม่ มปีนี้งนจัด<br />

ที่อยุธย เนื่องจกเป็นสถนที่ที่เกี่ยวกับวันธรรม<br />

ควมยั่งยืน และสอดคล้องกับกรพูดถึงเรื่อง อดีต<br />

ปัจจุบัน และอนคต ึ่งเกี่ยวเนื่องกับธีมในกรจัดงน<br />

ปีนี้ Future of the Past’ ึ่งมองได้หลยแง่หลยมุม<br />

ปัจจุบันที่เรอยู่ทุกวันนี้ก็เป็น Future of the Past’<br />

แต่สิ่งที่เรทำมันจะเป็นส่วนของอนคต เพระฉะนั้นสิ่ง<br />

ที่เรกำลังจะทำทุกวันนี้มันน่สนใจว่มันจะเกิดอะไรใน<br />

อนคต มันไม่ได้มองแค่ว่วันนี้เรจะดูแลอดีตอย่งไร<br />

แน่นอนมันมีประเด็นกรพูดถึงกรอยู่ร่วมกับอดีตอยู่<br />

เยอะมกครับ<br />

รยอยยรมอกิจกรรม่ <br />

ไไินกรจัน <br />

โดยรวมมันคืองนประชุมและกรสัมมนทง<br />

วิชกร เพระฉะนั้นภยในงน ARC<strong>ASA</strong> จึงมี<br />

กรบรรยยทงวิชกร หรือมีกรเสนองนวิจัยทง<br />

วิชกร ึ่งเกี่ยวกับสถปัตยกรรม ขณะเดียวกันก็มี<br />

กรสัมมนที่เรียกว่ Call for Paper’ หรือกรประกศ<br />

ให้ผู้คนส่งบทควมที่น่สนใจมร่วมนำเสนอ ึ่งมีทั้ง<br />

สถปนิกและนักวิชกรรุ่นใหม่ ผมว่นั่นก็คือไไลท์<br />

เสียดยแค่ว่คนไทยส่งน้อยไปหน่อย นอกจกนี้ยังมี<br />

กรแจกรงวัล ARC<strong>ASA</strong> Aards หรือรงวัลสถปัตย-<br />

กรรมประจำเอเชีย ึ่งมีคนส่งผลงนสถปัตยกรรมเข้<br />

ร่วมประกวดมกมยจกทั่วเอเชีย โดยกรแจกรงวัล<br />

เกิดขึ้นที่วัดไชยวันรม<br />

จรสนกรกิจกรรมมมก่จก<br />

่นมรอ่จกรอน ยจั<br />

อย่ไรรั<br />

ควมแตกต่งมันคือสถนที่และเวลนะครับ และ<br />

อจจะต่งกันที่ว่เรพยยมทำให้คนไทย เข้ไปร่วม<br />

ประชุมสัมมนมกขึ้น เรเลยเลือกสถนที่ที่มันน่สนใจ<br />

ขึ้น ส่วนรยละเอียดของกรจัดงนก็ไม่ได้มีควมต่ง<br />

อะไรจกประเทศอื่น ที่เคยจัดเพระมีกเกณ์เรื่อง<br />

กรประชุมค่อนข้งชัดเจน เพียงแต่เนื้อหกรประชุม<br />

ก็เปลี่ยนไปตมกลเวล สถนกรณ์ และแนวโน้มของ<br />

สถนกรณ์ที่เกิดขึ้นในโลก<br />

สมิร อยย<br />

ราาารรสา<br />

สาอร<br />

ารารรสา<br />

าาาร<br />

COULD YOU PLEASE INTRODUCE THE ORGANIZA-<br />

TION AND PRINCIPLE BEHIND ARCASIA?<br />

We haven’t been the host of the event for a while;<br />

the last time was 10 years ago in Chiang Mai. This year<br />

the event is being held in Ayutthaya, a cultural, sustainable<br />

city that goes along well with the selected topic -<br />

past, present and future, and relates to this year’s<br />

theme, ‘Future for the Past.’ However, what we do is<br />

part of the future, and this relates to consideration for<br />

what will occur in the upcoming future rather than the<br />

preservation aspect only, while also reflecting on how<br />

to live with the past as well.<br />

PLEASE INTRODUCE THE ACTIVITIES AND HIGH-<br />

LIGHTS OF THIS YEAR’S ARCASIA EVENT.<br />

It is an academic conference and seminar, including<br />

a lecture and other academic research related to the<br />

architecture scene. The seminar called ‘Call for Paper’<br />

is an invitation to those who are interested to submit<br />

articles on architecture; most of the participants of<br />

which are architects themselves or scholars. I think<br />

this is a highlight of the event, but it seems that Thai<br />

architects don’t pay enough attention to this program.<br />

Moreover, the Arcasia Awards or the Asia architectural<br />

award are also interesting. There are a number of<br />

architects from Asia who participate in this program<br />

and we arrange the event at Wat Chaiwatthanaram.<br />

WHAT IS DIFFERENT THIS YEAR FROM PREVIOUS<br />

EDITIONS OF ARCASIA, IN TERMS OF THE OBJEC-<br />

TIVE?<br />

I think the difference is the place and time. And,<br />

also the attempt to invite Thai architects to be a part of<br />

this event. So, we chose the place specifically to make<br />

the event to be more interesting. According to the<br />

prior proposition, the detail seemed to not be diverse<br />

enough from the previous editions. There’re kinds of<br />

minor shifts that depend on the current trends and<br />

situation nowadays.<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 83


NITIS STHAPITANONDA<br />

ARCASIA AWARD CONVENER<br />

จรสักอกรรก <br />

<br />

เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่สถปัตยกรรมในเอเชีย<br />

แต่ก่อนผมเคยเป็นคนจัดเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ึ่งเป็นกร<br />

จัดแบบปีเว้นปี และแต่ก่อนงนที่ส่งเข้มประกวดจะ<br />

ถูกส่งเข้มโดยสมคมสถปนิกของแต่ละประเทศ<br />

เท่นั้น ในฐนะของคนไทยส่วนให่เรจะส่งผลงน<br />

สถปัตยกรรมดีเด่นเข้ไป เพระถือว่ได้เคยผ่นกร<br />

คัดกรองมแล้ว และผลงนสถปัตยกรรมดีเด่นนั้นก็<br />

ประกวดปีเว้นปีเช่นกัน โดยมีหัวข้อและปริมณงนใกล้<br />

เคียงกัน แต่พอมช่วงหลัง ARC<strong>ASA</strong> มองว่กรทำ<br />

เช่นนั้นทำให้สถปนิกที่ทำงนดีแต่ว่ไม่มีชื่อเสียงไม่ได้<br />

ส่งผลงนเข้ม ARC<strong>ASA</strong> จึงอยกขยยวงกว้งขึ้น<br />

และเปลี่ยนเป็นแบบไม่ต้องนำเสนอผ่นสมคม ผู้คน<br />

สมรถส่งผลงนเข้มประกวดได้เอง<br />

อยกู้รยอยกนกรัอก<br />

นอ <br />

<br />

คนที่สมรถสมัครเข้มได้คือ สถปนิกที่เป็นสมชิก<br />

ของสมคมสถปนิกของทั้ง 19 ประเทศ โดยสมรถ<br />

ส่งโครงกรที่อยู่ทั้งในและนอกเอเชียได้ ขอให้สถปนิก<br />

ที่เป็นผู้ส่งผลงนเป็นคนเอเชีย หรือเป็นสถปนิกเอเชีย<br />

ที่มีใบอนุตกับสภวิชชีพของประเทศนั้น อีกลักษณะ<br />

หนึ่งคือ สถปนิกเป็นคนชติอื่นที่ไม่ได้อยู่ในประเทศ<br />

สมชิกของ ARC<strong>ASA</strong> แต่พำนัก ทำงน และมีผลงน<br />

อยู่ใน 19 ประเทศนี้ก็สมรถส่งผลงนได้ครับ<br />

หลักเกณ์ในกรคัดเลือก เรต้องย้อนกลับไปดู<br />

วัตถุประสงค์ของ ARC<strong>ASA</strong> Architecture Aards<br />

ก่อนนะครับ ึ่งแบ่งเป็นแต่ละหัวข้อ ยกตัวอย่งเช่น<br />

บ้นที่ประเทศศรีลังกกับบ้นที่ประเทศี่ปุน สภพ-<br />

แวดล้อมมันต่งกันมก ึ่งโครงกรต้องแข่งกันได้<br />

เพระฉะนั้นเรต้องดูด้วยว่มันเหมะสมกับสถนที่นั้น<br />

ไหม แล้วตัวโครงกรมันต้องให้ควมสำคักับทั้งสังคม<br />

วันธรรมและสิ่งแวดล้อม ในแง่คอนเ็ปต์ของโครงกร<br />

ก็ต้องดี ในขณะเดียวกัน เทคโนโลยีต้องลงตัวกับผลงน<br />

เช่นกัน<br />

นิ สนน<br />

รารรารา<br />

<br />

กรอรัอกรส่นนนนอย่ไร<br />

มีผลงนส่งเข้มทั้งหมด 27 งน ถมว่เยอะไหม<br />

ปีที่แล้วเยอะกว่ ปีนี้มีบงประเทศที่ไม่ได้ส่ง ประเทศ<br />

ให่ เลย อย่งเช่น ประเทศเกหลี เพระว่เขอจ<br />

มีกรสื่อสรที่ไม่แพร่หลย หรือผิดพลดทงเทคนิค<br />

ไม่เช่นนั้นโดยปกติอย่งปีที่แล้วมีผลงนส่งเข้มจำนวน<br />

00 กว่งนได้ ส่วนให่ประเทศที่ส่งมเยอะจะเป็น<br />

ประเทศจีน ประเทศไทย และประเทศเวียดนมก็ส่งเข้<br />

มเยอะพอสมควร<br />

นิิ่ยูรยอยอรั่<br />

นอย่ไร<br />

แบ่งเป็น 10 ประเภท ได้แก่ Sinle Family Residential<br />

proects, Multiple Family Residential Complexes,<br />

Commercial Buildins, Resort Buildins, Social<br />

nstitutional Buildins, Specialized Buildins, ndustrial<br />

Buildins, Conservation Proects, Social Responsile<br />

Architecture, Sustainaility โดยใน 10 ประเภทนี้จะ<br />

มีกรแบ่งย่อยประเภทรงวัลอีก คือ Gold, Honorale<br />

Mention และ Mention ึ่งแต่ละหัวข้ออจจะไม่มีให้<br />

รงวัล Gold ก็ได้ เพระไม่มีผลงนไหนตรงกับเกณ์<br />

กรตัดสินที่ตั้งเอไว้ แต่ตัวอย่งคนที่ได้ Gold ในหมวด<br />

ของบ้นพักอศัย ึ่งน่สนใจทีเดียว คือคนี่ปุน ึ่ง<br />

ถกเถียงกันอยู่นนครับ บ้นหลังนี้เป็นบ้นที่ไม่สมรถ<br />

มองเห็นข้งนอกได้เลย บ้นถูกปดหมด เวลเดินอยู่<br />

ในบ้นเหมือนเดินอยู่ในอยด้นนอก แล้วห้องคือบ้น<br />

อีกที ควมรู้สึกคล้ยกับเดินอยู่ในถนน แต่สำหรับผม<br />

ที่ให้หลังนี้ได้รงวัลเพระว่มันแปลกใหม่ ท้ทย และ<br />

มีควมสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ มันเป็นกรตั้งคำถม<br />

กรอยู่อศัยแบบเดิม นน จะเจอบ้นที่มีควมคิด<br />

ใหม่ครับ<br />

84 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


นอสนิกไยไ้รัอกส่้<br />

ม ิ่มมน่สนจอย่ไร้<br />

น่สนใจ แล้วก็มีได้ลุ้นอยู่หลยงน ผมว่งนของ<br />

ประเทศไทยนั้น เอเข้จริง สถปนิกไทยออกแบบ<br />

สถปัตยกรรมได้เหมะสมกับประเทศไทย อย่งปีนี้<br />

ผลงนของสถปนิกไทยที่ได้รงวัล Gold เป็นหมวด<br />

รีสอร์ทครับ ชื่อโครงกร The Naka Hotel ของคุณ<br />

ดวงทธิ บุนนค อครมีควมโมเดิร์น สถปนิกเล่น<br />

กับคอนทัวร์ และออกแบบให้มีพื้นที่สีเขียวอยู่บนหลังค<br />

ึ่งเป็นห้เทียม แต่ในแง่คอนเ็ปต์กรที่เอพื้นที่สีเขียว<br />

เข้มแทนที่หลังคทำให้มองดูแล้วไม่แข็งเกินไป อีกทั้ง<br />

กรใช้วัสดุเป็นกรผสมกันระหว่ง กระจก เหล็ก และ<br />

ไม้ ึ่งมีควมสัมพันธ์กับบริบทและมีควมเป็นเอเชีย<br />

topics; for example, the environment of a house in Sri<br />

Lanka and Japan are very different, but the projects<br />

needed to be able to compete with one another, so<br />

we had to look at whether or not the house was suitable<br />

to the place (surroundings). The project needed to pay<br />

attention to social, cultural and environmental aspects,<br />

as well as have a good concept and utilize technology<br />

fitting to the project.<br />

WHAT WAS THE RESPONSE OF THIS YEAR’S SUB-<br />

MISSIONS?<br />

There were 237 projects. Is that a lot? Well, last year<br />

we had more. This year, some large countries such as<br />

the Republic of Korea did not submit work. It could be<br />

that the event was not widely publicized or that there<br />

may have been some technical problems. Normally,<br />

such as last year, there were about 300 entries. China,<br />

Thailand and Vietnam have submitted quite a lot.<br />

ANY OTHER DETAILS YOU WOULD LIKE TO INTRO-<br />

DUCE ABOUT THE AWARDS?<br />

WHAT IS THE MAIN OBJECTIVE OF THE ARCASIA<br />

ARCHITECTURE AWARDS COMPETITION?<br />

It’s to promote and publicize architecture in Asia.<br />

I was an organizer ten years ago and the event is<br />

organized every other year. At that time, the Architecture<br />

Associations of each country submitted entries.<br />

For Thailand, we submitted outstanding architectural<br />

projects to the competition that had already been<br />

screened. Our outstanding architecture award was<br />

also organized every other year. In addition, the topic<br />

and the number of works were similar. Later, ARCASIA<br />

thought that this process could limit those architects<br />

who were creating good works, but not sufficiently<br />

famous to submit their works to the competition.<br />

Thus, ARCASIA wanted to expand the competition<br />

and needed to change the rules so that any interested<br />

person could submit his/her entry directly without<br />

going through the Association.<br />

COULD YOU PLEASE DISCUSS IN MORE DETAIL<br />

THE CRITERIA USED IN SELECTING THE 10 ARCASIA<br />

ARCHITECTURE AWARDS?<br />

The candidate had to be a member of the Architecture<br />

Association in one of nineteen countries.<br />

Someone could submit a project either from within<br />

or outside Asia, but the architect who submitted the<br />

entry had to be Asian or an Asian architect holding<br />

a license from the professional bodies of their own<br />

country. A foreign architect who is not a citizen of the<br />

ARCASIA countries, but who resided, worked and<br />

conducted projects in these nineteen countries, was<br />

also allowed to submit their work. For the criteria of<br />

the competition, we first had to consider the objective<br />

of the ARCASIA Architecture Awards. It is divided in<br />

There were 10 categories i.e., Single Family<br />

Residential Projects, Multiple Family Residential<br />

Complexes, Commercial Buildings, Resort Buildings,<br />

Social/Institutional Buildings, Specialized Buildings,<br />

Industrial Buildings, Conservation Projects, Social<br />

Responsible Architecture, and Sustainability. Each<br />

category was divided into a few awards i.e., Gold,<br />

Honorable Mention, and Mention but each category<br />

wouldn’t necessarily award a Gold award if there was<br />

no project that met the criteria. The winner of the Gold<br />

award for a Residential Project was Japanese and<br />

there was much discussion about this house as it was<br />

concealed and permitted one from seeing the outside.<br />

When you walked in the house it felt as if you were<br />

walking into an alley outside and the room felt like a<br />

house. It gave the same feeling as when you walk in<br />

the street. For me, I chose this house because of its<br />

exotic nature and the challenging relationship it posed<br />

to the surrounding area. It challenged the traditional<br />

concept of a residency. It is very rare to see a house<br />

with a new concept.<br />

HOW ABOUT THE PROJECTS BY THAI ARCHITECTS<br />

THAT WERE SUBMITTED AND SELECTED, ARE THEY<br />

INTERESTING?<br />

They were interesting and there were many projects<br />

that had a chance to win. I thought the designs by<br />

Thai architects were suitable for Thailand, such as<br />

the project that received a Gold award in the Resort<br />

category called “The Naka Hotel” by Duangrit Bunnag.<br />

This is a modern building. The architect worked with<br />

the contours and design through inclusion of a green<br />

area on the roof composed of artificial grass. In terms<br />

of the concept, replacing the roof with the green area<br />

gave it a softer look, and the mix between glass, metal<br />

and wood related to the context and Asian quality.<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 85


ARCASIA AWARDS<br />

FOR ARCHITECTURE 2<strong>01</strong>5 (AAA2<strong>01</strong>5) WINNERS<br />

CATEGORY A: RESIDENTIAL PROJECTS<br />

Category A1: Single Family Residential projects<br />

Gold: Boundary House by Yasuhiro Yamashita and<br />

Atelier Tekuto<br />

Honorable Mentiion: Termitary House by Tran Thi Ngu<br />

Ngon and Nguyen Hai Long<br />

Category A2: Multiple Family Residential Complexes<br />

Honorable Mention: Urban Suites by Kerry Hill<br />

Architects Pte., Ltd.<br />

Mention: South 50-53 Apartments by Mohammad<br />

Rafiq Azam<br />

Mention: The Green Collection by RT+Q Architects<br />

Ptd., Ltd.<br />

CATEGORY B: PUBLIC AMENITY BUILDINGS<br />

Category B1: Commercial Buildings<br />

Honorable Mention: Phoenix Center by Shao Weiping<br />

Mention: Sandcrawler by Aedas<br />

Mention: PJ Trade Center by Yelill Architect<br />

Category B2: Resort Buildings<br />

Gold: The Naka Hotel by Duangrit Bunnag<br />

Honorable Mention: Kontum Indochine Cafe by<br />

Vo Trong Nghia and Dau Nhat Quang<br />

Category B3: Social/Institutional Buildings<br />

Gold: Beichuan National Earthquake Memorial by<br />

Cai Yongjie<br />

Category B4: Specialized Buildings<br />

Gold: Shenzhen Bao’an International Airport Terminal 3<br />

by Fuksas + MA Long<br />

Honorable Mention: Al Shaqab Equestrian Performance<br />

Arena by Leigh & Orange Ltd.<br />

Mention: Stadium and Gymnasium of Dalian Sports<br />

Center by Chu Xiao<br />

CATEGORY C: INDUSTRIAL BUILDINGS<br />

Gold: YTL Communications Centre II by Tan Eng<br />

Keong in Collaboration with YTL Design Group<br />

Honorable Mention: Aimer Fashion Factory by<br />

Dong Hao and Binke Lenhardt<br />

CATEGORY D: CONSERVATION PROJECTS<br />

Gold: Restoration and Regeneration of Sangzhutse<br />

Fortress by Chang Qing, Ding Jiemin and Hua Yun<br />

Honorable Mention: Renovation of Original Design<br />

Studio by Ming Zhang, Zi Zhang and Original Design<br />

Team<br />

86 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 87


CATEGORY E: SOCIAL RESPONSIBLE ARCHITECTURE<br />

Gold: BES Pavilion by Doan Thanh Ha and Tran Ngoc<br />

Phuong<br />

Honorable Mention: Regeneration of Copper Mine<br />

Industry by Duan Jin, Qi Zhang and Ming Yin<br />

Honorable Mention: Earth Village by Hoang Thuc Hao<br />

Mention: Rishipara Mandir Paathshaala by Shareq<br />

Rauf Chowdhury<br />

CATEGORY F: SUSTAINABILITY<br />

Gold: Navi Stract House 2 by Masato Sekiya<br />

Gold: Binh Thanh House by Vo Trong Nghia, Shunri<br />

Nishizawa and Daisuke Sanuki<br />

Honorable Mention: ZCB, CIC Zero Carbon Building<br />

by Ronald Lu & Partners<br />

88 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


ASSOCIATE PROFESSOR DR. M.L.<br />

PIYALADA<br />

THAVEEPRUNGSRIPORN<br />

ARCASIA DESIGN ANALYSIS FORUM CONVENER<br />

จรสักนกรจั <br />

<br />

ต้องยอมรับว่ จุดเริ่มต้นของ ARC<strong>ASA</strong> มจกกรรวมตัวกันของ<br />

สมคมสถปนิก หรือของสมคมวิชชีพสถปัตยกรรมในประเทศต่ง<br />

เพระฉะนั้น จุดประสงค์หลักจึงเป็นเรื่องวิชชีพ แต่ในวิชชีพมันก็จะ<br />

มีข้อกำหนดต่ง ึ่งมันควบคุมถึงเรื่องกรศึกษด้วย เพระฉะนั้น<br />

ส่วนหนึ่งที่ควบคู่กัน คือ Forum ึ่งเกิดขึ้นปีเว้นปี เพระฉะนั้นจึงคล้ย<br />

กับเป็นกรประชุมวิชกรควบคู่ขึ้นม<br />

รยอยภยนนอ <br />

มมน่สนจอไร้ ั้อไนน่สนจน<br />

ิ<br />

มีบทควมทั้งหมด 8 ชิ้น เช่น บทควมจกประเทศมเลเีย ึ่งเกี่ยว<br />

กับกรนำเครื่องมือและโครงสร้งเข้มทดสอบงนที่มีปัหดินถล่ม<br />

แลนด์สไลด์ ึ่งพื้นที่ของประเทศมเลเียมักเกิดปัหลักษณะนี้บ่อย<br />

เลยมีกรตั้งคำถมถึงเทคโนโลยีหรือเทคนิคทงโครงสร้งที่สมรถ<br />

ช่วยแก้ปัหนี้ อันที่เรคิดว่น่สนใจแน่นอนคือ ส่วนของ Keynote<br />

Speaker คือ มรวจักรรถ จิตรพงษ์ ึ่งเป็นผู้มีควมรู้กว้งขวง<br />

หลยคนอจจะไม่ทรบว่ คุณชยเรียนสถปัตยกรรมม จริง แล้ว<br />

ท่นศึกษสถปัตยกรรมที่มหวิทยลัยเคมบริดจ์ เพระฉะนั้นท่นมี<br />

พื้นฐนเป็นสถปนิก แต่เป็นสถปนิกที่ทำงนด้นวันธรรม ในงน<br />

คุณชยพูดถึงของหลยสเกลและพูดถึงควมสร้งสรรค์ของชวไทย<br />

ในกรที่จะสร้งรูปร่งของสิ่งต่ง ตั้งแต่ตัวอักษรเป็นต้นม เพระ<br />

ฉะนั้นมันเป็นเลกเชอร์ที่ ผู้จัดเองก็อยกฟัง ในช่วงนี้ที่บงทีเรมีเรื่อง<br />

ที่ต้องคิดเยอะแยะหรือมันมีกระแสของกรสร้งสรรค์สถปัตยกรรม<br />

ในรูปแบบที่กว้งมกขึ้น บงทีถ้เรกลับไปดูจุดยืนของเรโดยดูถึง<br />

คติควมเชื่อที่ทำให้มันเกิดสิ่งเหล่นี้ขึ้นแล้วเกิดควมเข้ใจ เรอจจะ<br />

เอสิ่งนั้นมเป็นควมรู้ในกรสร้งสรรค์ได้โดยที่ไม่ต้องยึดติดกับกร<br />

ลอกเลียนเฉพะรูปทรงภยนอกค่ะ<br />

สรัู้้มจไ้รยนอไรกัน้<br />

จริง แล้วผู้พูดในงนนี้อจจะไม่ใช่สถปนิกทั้งหมด เพระฉะนั้น<br />

แล้วพรีเนเทชั่นของเขก็อจจะไม่โดดเด่นเตะต แต่ว่นน ทีเร<br />

ก็ต้องกรอหรแบบนี้ จริง แล้วคนที่น่ไปฟังมกคือสถปนิกมกกว่<br />

เพระว่สถปนิกก็จะได้ควมรู้ หรือพูดง่ย ว่ได้ของที่เอไปใช้ใน<br />

กรประกอบวิชชีพได้ อจจะต้องเอไปย่อยหน่อย<br />

รรมย รัร<br />

รารรารารา<br />

<br />

<br />

WHAT IS THE MAIN OBJECTIVE OF ORGANIZING THE ARCASIA<br />

DESIGN ANALYSIS FORUM?<br />

ARCASIA started through the incorporation of Architect Associations<br />

or the Architectural Profession Associations of various countries;<br />

hence the main focus is on the architectural profession. In professional<br />

terms, there are many regulations, including education. Thus, every<br />

two years the organization holds an academic forum as an academic<br />

conference.<br />

COULD YOU PLEASE PROVIDE US WITH MORE DETAILS REGARDING<br />

THE ARCASIA DESIGN ANALYSIS FORUM, WHICH TOPIC IS THE<br />

MOST INTERESTING?<br />

Altogether, there are eight journal papers; for example, a paper<br />

from Malaysia describes the use of equipment and structures to<br />

test landslides. As Malaysia very often faces this problem, they are<br />

seeking technology or structural techniques that can solve this. Another<br />

most interesting session has M.R. Chakrarot Chitrabongs as a keynote<br />

speaker. He is very knowledgeable, although not many may be aware<br />

that he studied architecture at the University of Cambridge. So, he<br />

has an architectural background and is an architect who works in<br />

cultural areas. He will talk about objects of various scales and Thai<br />

creativity in terms of making various shapes of objects starting from<br />

the alphabet. I myself plan to attend his session. Nowadays, there<br />

are many things to think about and there are creative architectural<br />

trends in more extensive scopes. We may need to revisit our underlying<br />

viewpoint (roots) by looking at our understanding of what made<br />

things to happen as they did. We may be able to use this knowledge<br />

for our own creation without mimicking only the external form.<br />

HOW WILL THE AUDIENCE BENEFIT FROM ATTENDING THE<br />

EVENT?<br />

Actually, not all of the guest speakers in this event are architects. And<br />

while their presentations may not be so striking, we really need this<br />

kind of food source from time to time. I recommend architects to<br />

attend because they will gain knowledge that will be of use to their<br />

profession, but it may be necessary to chew it over a little bit.<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 89


CHATPONG<br />

CHUENRUDEEMOL<br />

ARCASIA DESIGN RESEARCH<br />

LECTURE CONVENER<br />

ัร นม<br />

รารรารารา<br />

<br />

<br />

อยก้ัร่ยูจรส<br />

ักนกรจั <br />

อันนี้เหมือนเป็นกิจกรรมใหม่ที่จัดขึ้นม เพระว่<br />

อย่งแรกจะต้องตั้งคำถมว่รีเสิร์ชคืออะไร แล้วรีเสิร์ช<br />

ในที่นี้ดีไเนอร์สมรถนำไปใช้เป็นประโยชน์ได้ไหม<br />

เพระที่ผ่นมเวล call for paper ผมไม่รู้ว่หัวข้อที่<br />

มีควมเฉพะมกนั้นถูกนำไปใช้อย่งมีประโยชน์หรือ<br />

เปล่ อย่งเช่นมันมีเส้นแบ่งที่ชัดเจนระหว่งโลกของ<br />

วิชกร กับโลกของ professional ึ่งหัวข้อนี้เป็นกร<br />

หมุมมองของกรรีเสิร์ชที่เป็นประโยชน์กับคนฟังและ<br />

สมรถจับต้องได้ สองคือกรจัดงน ARC<strong>ASA</strong> ครั้ง<br />

นี้มีธีมที่ต้องกรให้ youn eneration เข้มเกี่ยวข้อง<br />

มกขึ้น เรก็ต้องเหมือนกับ rerandin รีเสิร์ชใหม่<br />

ด้วย แล้วถ้อยกจะให้คนเข้มดู มันต้องเลือกบุคคล<br />

ที่น่สนใจมพูด ผมว่รีเสิร์ชสำคั ไม่ใช่เป็นอะไรที่<br />

วิชกรที่พอจบจกกรเรียนแล้วไม่มีใครใช้ สิ่งที่รีเสิร์ช<br />

ม มันทำให้เรเริ่มต้นที่จะลองคัดเลือกดูว่มีออฟฟศ<br />

ที่ไม่ใช่แค่ทำงนดีอย่งเดียว แต่ว่มีพื้นฐนที่เริ่มม<br />

จก research and desin ึ่ี่งผมมองว่มันมีบทบท<br />

ในกรพันงนของออฟฟศให้ดีขึ้น ส่งผลถึงภพรวม<br />

ของบ้นเมืองให้ดีขึ้น กรจัดงนนี้ถือเป็นกรให้โอกส<br />

ทุกคนที่มฟังได้เข้ถึงกรรีเสิร์ชได้ง่ยขึ้นและในขณะ<br />

เดียวกันทำให้ตัวดีไเนอร์เองได้มีเวลรีเสิร์ชสิ่งที่ตัวเอง<br />

ใช้ครับ<br />

รยอยภยนนอ <br />

มมน่สนจอไร้<br />

ั้อไนน่สนจนิ<br />

มันน่สนใจทุกหัวข้อ เพระว่เรพยยมที่จะเลือก<br />

ออฟฟศที่ทำงนดีและลงลึกกับรยละเอียดต่ง และ<br />

ก็มีควมหลกหลย ึ่งมีทั้งหมด ออฟฟศ แต่เร<br />

คัดเลือกให้มีจกประเทศไทยด้วย เพระเรเป็นเจ้ภพ<br />

ของทงเอเชีย ออฟฟศของไทยมี 2 แห่ง และอีก 4<br />

ออฟฟศเป็นของต่งชติครับ อย่งเช่น Mitul Desai<br />

จก Studio Mumai Architects ไม่ผิดหวังแน่นอนที่<br />

เขมพูด เพระว่เขเป็นคนที่มีมุมมองที่ดีและงน-<br />

รีเสิร์ชยังมีควมน่สนใจมก เขเป็นคนจัด exhiition<br />

ต่ง ของ Studio Mumai Architects ครับ แล้วก็มี<br />

Neri & Hu Desin and Research fce ึ่งชนะรงวัล<br />

commercial proect ค่อนข้งเยอะ แต่งนของเขเท่ที่<br />

ผมดูมมันลึกึ้งมก และดูออกว่งนของเขไม่ใช่<br />

commercial อย่งเดียว มันมีกรตั้งคำถมเกี่ยวกับ<br />

ควมเป็น international Chinese ด้วยนะครับ นอกจกนี้<br />

ยังมี Shino MasudaKatsuhisa tsuo Architects<br />

เป็นสถปนิกรุ่นใหม่ในประเทศี่ปุน ผมว่เก่งมกได้<br />

ชนะรงวัล AR merin Architecture aards ม<br />

รงวัลแล้ว ึ่งงนของเขมีควมน่สนใจในเชิง<br />

วันธรรมของประเทศี่ปุน อีกอย่งปัจจัยที่เรคัดเลือก<br />

มก็ต้องเป็นคนที่เรรู้สึกว่เข้กับธีมปีนี้ด้วยคือ The<br />

Future of the Past ที่จัดงนที่อยุธย เรก็เลยตั้งธีม<br />

ขึ้นมว่ อนคตของกรดูแลโบรณสถนมันเป็นอย่งไร<br />

ึ่งเรอยกจะให้แง่มุมมันกว้ง เรไม่ได้อยกเสนอว่<br />

กรจัดกรกับโบรณสถนจะจบอยู่แค่กรอนุรักษ์สิ่งที่<br />

มีอยู่เท่นั้น มันต้องมีมุมมองที่หลกหลย เพระว่<br />

กรดูแลโบรณสถนนั้นไม่ใช่แค่ตึกอย่งเดียว มีทั้ง<br />

เมืองพ่วงมด้วย ทำให้เมืองดัดแปลงไปเพื่อจะรองรับ<br />

โบรณสถน มันับ้อนมกใช่ไหมครับ เพระฉะนั้น<br />

มันเกี่ยวกับควมเชื่อมโยงทั้งอนคต ปัจจุบัน กับอดีต<br />

และสุดท้ยเป็นออฟฟศเล็ก ชื่อ Lekker Architects<br />

เป็นสมีภรรยที่งนดีมก อจจะไม่โด่งดังมก แต่<br />

แน่นเรื่องรีเสิร์ชมกครับ<br />

ส่วนผู้ที่รับเชิขึ้นมพูดจกประเทศไทยทั้งสอง<br />

ผมว่มีกลิ่นอยของประวัติศสตร์และเรื่องรวของ<br />

ควมเป็นไทยอยู่ และมีมุมมองที่น่สนใจคือ อจรย์<br />

บุเสริม เปรมธด ที่พวกเรก็รู้ว่ท่นไม่ธรรมด<br />

ผลงนของท่นมีควมเกี่ยวเนื่องกับวันธรรม เกี่ยวกับ<br />

อิฐ เกี่ยวกับกรชุบชีวิตเรื่องรวของอิฐขึ้นมใหม่ ส่วน<br />

Studiomake มักจะสร้งอะไรที่จับต้องได้ ที่ไม่ได้เป็น<br />

งนฉบฉวย แต่ต้องผลิต ต้องทำด้วยมือขึ้นม ึ่งผมว่<br />

ควมที่มันจับต้องได้ ในเรื่องของกระบวนกรทำ และ<br />

กรลงลึกถึงรยละเอียดอย่งลึกึ้งได้นั้นน่สนใจครับ<br />

90 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


COULD YOU PLEASE TALK ABOUT THE PURPOSE OF<br />

THE DESIGN RESEARCH SERIES?<br />

This is a new activity that has been set up and the<br />

first question to be asked is about research, whether<br />

or not the designers can actually use it to their benefit.<br />

In the past, for example with the ‘Call for Paper’ project,<br />

I am not sure if this specific topic was actually used or<br />

not, as there may be a clear dividing line differentiating<br />

the academic world from the professional world. The<br />

topic is trying to discover a side to research that will<br />

benefit the listeners and allow for them to be able to<br />

understand the key points. Secondly, the organization<br />

of ‘Arcasia‘ wants for the younger generation to be<br />

more involved - we basically had to rebrand research<br />

itself.<br />

We wanted for many people to attend and in order<br />

to achieve this we had to bring in interesting personalities<br />

as speakers, to be able to attract an audience.I feel that<br />

research is very important and not only for academics<br />

who have completed their education. We also started<br />

to select offices that not only started projects from,<br />

but also had a foundation initiated within, research and<br />

design. I see that research plays a role that develops and<br />

improves the work in these offices - thereby improving<br />

the overall picture of the country as well.<br />

The organization of this event is therefore an<br />

opportunity for everyone to come and listen under<br />

the topic of research while, at the same time, it also<br />

allows time for the designers themselves to research<br />

what they are using.<br />

WHAT ARE SOME SPECIFIC TOPICS OF INTEREST<br />

WITHIN THE DESIGN RESEARCH SERIES?<br />

All the topics are interesting, because we have<br />

tried to select offices that have worked well and<br />

those that have paid attention to details that are then<br />

differentiated in their works. We have selected six<br />

offices, some of which are from Thailand too, as we<br />

are the hosts from the Asian Region. Two offices are<br />

from Thailand and the other four are from overseas,<br />

such as Studio Mumbai Architects. One research<br />

collaborator who is also a speaker is Withooderson, a<br />

very intelligent person who you won’t be disappointed<br />

with because he has a good perspective and his<br />

research is also very interesting. He has organized<br />

various exhibitions of Studio Mumbai Architects’<br />

works. There is also Neri and Hu Design and Research<br />

Office who have won quite a lot of commercial project<br />

awards. From what I have noticed, their works are<br />

very deep and it can clearly be seen that they are not<br />

only commercial. There are questions that have arisen<br />

concerning them being International and Chinese as<br />

well, and they do have positive attributes, hence were<br />

invited. Other than this, Shingo Masuda+Katsuhisa<br />

Otsubo Architects were also invited, they are modern<br />

architects from Japan. I feel that they are really very<br />

clever, as they have won three of the AR Emerging<br />

Architecture awards. Hence, their works are very<br />

interesting and culturally reflective of Japan.<br />

Another factor we looked at when selecting<br />

participants was that they would have to fit in with<br />

the theme, ‘The Future of the Past’ in consideration<br />

of the event in Ayutthaya. We therefore set up a team<br />

reflective of those who had looked after historic sites,<br />

but we did not want to limit it to just this. There should<br />

be a wider perspective taken, as the conservation of<br />

historical sites not only encompasses taking care of<br />

buildings but also taking care of the adjoining city as<br />

well, adapting the city to be able to support the historic<br />

site. It was rather complicated and related to being<br />

able to link the future to the present and the present<br />

to the past. The last office was Lekker Architects, a<br />

small studio of a husband and wife team who produce<br />

outstanding works. They are not that famous but have<br />

a firm research base.<br />

As for the two speakers who have been invited<br />

from Thailand, I feel that they have a hint of history and<br />

Thai-ness about them and yet they have an interesting<br />

perspective as well. The first is Professor Boonserm<br />

Premtada, whom we all know is no ordinary person;<br />

his works have been linked to the restoration of the<br />

usage of bricks. Second is Studiomake, whose works<br />

are related to things that are tangible and works that<br />

are not perfunctory but require being produced by<br />

hand. I feel that because they are tangible works, their<br />

processes and the attention paid to details offer an<br />

extremely interesting viewpoint. Overall, this is why<br />

I have selected these six participants, because they<br />

have these appropriate qualities for the team.<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 91


TEXT<br />

Jaksin Noyraiphoom<br />

PHOTOS<br />

Ketsiree Wongwan<br />

DESIGN RESEARCH<br />

LECTURE SERIES 2<strong>01</strong>5<br />

92 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


<strong>01</strong><br />

ภยในงน ARC<strong>ASA</strong> 2<strong>01</strong> ึ่งจัดขึ้นระหว่งวันที่<br />

10-1 พศจิกยน 28 นั้น ล้วนเต็มไปด้วยกิจกรรม<br />

ต่ง ที่หลกหลย ทั้งกรมอบรงวัล กรประชุม-<br />

สัมมน และบรรยยพิเศษต่ง ึ่งกิจกรรมที่มีควม<br />

น่สนใจที่สุดกิจกรรมหนึ่งคือ งน ARC<strong>ASA</strong> Desin<br />

Research Lecture Series 2<strong>01</strong> ึ่งจัดขึ้นในวันอทิตย์ที่<br />

1 พศจิกยน 28 โดยเนื้อหหลักของงนนี้คือ<br />

กรให้สถปนิกที่มีผลงนออกแบบอันโดดเด่นม<br />

บรรยยเกี่ยวกับผลงนจกกรค้นคว้และวิจัยของตน<br />

โดยตัวแทนที่ได้รับคัดเลือกให้มบรรยยในครั้งนี้นั้น<br />

เป็นสถปนิกรุ่นกลงจนถึงรุ่นใหม่จกทวีปเอเชีย<br />

Mitul Desai จก Studio Mumai บริษัทสถปนิก<br />

จกประเทศอินเดีย คือวิทยกรคนแรกที่ขึ้นบรรยย<br />

ในงนนี้ โดยมพร้อมกับหัวข้อ Demolition’ ึ่งว่ด้วย<br />

กร รื้อถอน’ สถปัตยกรรมที่ในปัจจุบันได้เกิดขึ้น<br />

มกมยในประเทศอินเดีย ในมุมมองของผู้บรรยย<br />

กระบวนกรรื้อถอนนั้นมิใช่เพียงแค่กรทำลยอคร<br />

หกแต่ยังแฝงไว้ด้วยคุณค่ทั้งทงด้นวันธรรมและ<br />

ค่นิยมของยุคสมัย Desai ได้นำผู้ชมไปพบกับกรรื้อ-<br />

ถอนอครรูปแบบต่ง ที่เขได้ตระเวนศึกษจก<br />

หลยท้องที่ในประเทศอินเดีย ึ่งส่วนให่ยังคงพึ่งพ<br />

ทักษะและแรงงนจกคนเป็นหลัก โดยใช้เครื่องจักร<br />

น้อยมก ทำให้งนรื้อถอนอครของประเทศอินเดีย<br />

คล้ยกับงนฝีมือมกกว่งนอุตสหกรรม จกนั้น<br />

ผู้บรรยยจึงนำเสนอผลงนออกแบบชิ้นต่ง ที่ได้แรง-<br />

บันดลใจจกกรรื้อถอนอคร ึ่งมีทั้งเฟอร์นิเจอร์<br />

ต่ง ที่นำสีสัน รวมทั้งองค์ประกอบที่หยิบยืมมจก<br />

กรรื้อถอนอคร มแปลงสู่ผลงนออกแบบชิ้นใหม่ที่<br />

เชื่อมโยงบริบทของควมเป็นอินเดียให้เข้กับวิถีชีวิต<br />

สมัยใหม่ได้ย่งน่สนใจ<br />

ต่อมเป็นกรบรรยยของ n Ker-Shin และ<br />

Joshua Comaroff จก Lekker Architects บริษัท<br />

สถปนิกและภูมิสถปนิก ตัวแทนจกประเทศสิงคโปร์<br />

โดยทั้งคู่ได้บรรยยในหัวข้อ Unnatural coloies’ ึ่ง<br />

เกี่ยวกับระบบนิเวศที่มนุษย์เป็นผู้สร้งขึ้น โดยทั้ง Shin<br />

และ Comaroff ได้ปูพื้นผู้ฟังเกี่ยวกับระบบนิเวศภยใน<br />

ประเทศสิงคโปร์ ึ่งเต็มไปด้วยระบบนิเวศที่เกิดขึ้นจก<br />

ฝีมือมนุษย์ โดยยกตัวอย่งผลงนออกแบบชิ้นสำคั<br />

ที่มีชื่อเสียงต่ง เช่น โครงกร Gardens y the Bay<br />

และชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของระบบนิเวศชนิดนี้ ที่มีต่อ<br />

ประเทศสิงคโปร์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน และหลังจกปู<br />

พื้นผู้ฟังแล้ว ผู้บรรยยทั้งสองได้นำเสนอตัวอย่งผลงน<br />

ออกแบบของพวกเข ึ่งจำลองมจกระบบนิเวศธรรมชติ<br />

ไม่ว่จะเป็นผลงน nstallation Art ที่นำฟองนำ้มปัก<br />

หมุดยึดไว้กับดิน เพื่อจำลองกรทำหน้ที่ของพืชในกร<br />

ดูดึมนำ้หรือกรออกแบบอุปกรณ์ขนดเล็ก ติดตั้งที่<br />

ดอกไม้ที่ทำหน้ที่ช่วยให้นกพื้นถิ่นสมรถแพร่พันธ์ุ<br />

ดอกไม้นั้น ได้สะดวกยิ่งขึ้น เป็นต้น<br />

The previous edition of ARCASIA 2<strong>01</strong>5, held from<br />

the 10 th -16 th of November, featured a number of events<br />

including an awards ceremony, conference, seminars<br />

and various special lectures. Furthermore, the ARCASIA<br />

Design Research Lecture Series 2<strong>01</strong>5 conducted on<br />

the 15 th of November 2<strong>01</strong>5 was one of ARCASIA’s<br />

most interesting events. During the event, lectures by<br />

many architects, including both new faces to the scene<br />

and well-known architects working in Asia, were included<br />

in order to present a significant representation of<br />

projects and unique research unfolding within the<br />

discipline to the public.<br />

Mitul Desai of Studio Mumbai, an architecture<br />

studio from India, was the first speaker who presented<br />

under the theme of ‘demolition’ and addressed the<br />

issue of demolition architecture that is frequently<br />

occurring in India nowadays. From the speaker’s perspective,<br />

the process includes something more than<br />

simply the act of demolition, as it also depicts some<br />

cultural and social values. Desai introduced many<br />

demolition methods that he studied at various sites<br />

in India, almost all of which were achieved through<br />

vernacular processes rather than mechanical, making<br />

the demolition industry in India to seem something<br />

like craftwork. In addition, the speaker presented his<br />

works and various projects drawing inspiration from<br />

‘demolition,’ as well as some works of furniture that<br />

draw their color tones and design elements from the<br />

demolition process, aiming to generate new forms of<br />

work that harmonize India’s household scenes with<br />

the current lifestyle.<br />

The second speakers were Ong Ker-Shing and<br />

Joshua Comaroff from Lekker Architects, an architecture<br />

and landscape design firm from Singapore, who<br />

gave a talk under the topic of ‘Unnatural Ecologies’<br />

in reference to man-made ecologies. Both speakers<br />

started their lectures by providing basic information<br />

about Singapore’s environment, which is almost completely<br />

man-made, through reference to many famous<br />

projects such as the Gardens by the Bay and the influence<br />

that man-made ecologies have had on Singapore in<br />

both the past and current times. The speakers then<br />

introduced their own projects and works that draw<br />

inspiration from the natural environment, ranging from<br />

installation art and the simulation of absorption to the<br />

design of small decorative items such as flower trays<br />

that allow for local birds to interact with pollen easily.<br />

The third and last speaker for the morning session<br />

was David Schaefer of Studiomake, a design studio<br />

from Thailand, who presented under the topic of<br />

‘Digital Fabrication.’ Schaefer’s perspective considers<br />

architecture as a kind of craftwork, and he drew upon<br />

Studiomake’s projects to support the concept through<br />

demonstration of the influence of craftsmanship<br />

within each project. Schaefer further discussed the<br />

importance of craftsmanship during digital fabrication<br />

processes and described that, while these kinds of<br />

digital innovations increase and develop rapidly, one<br />

must still maintain techniques crafted by hand. In<br />

addition to the idea of craftsmanship, Schaefer also<br />

introduced a number of product designs that were<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 93


วิทยกรคนที่สมึ่งเป็นคนสุดท้ยของครึ่งเช้<br />

ได้แก่ David Schaefer จก Studiomake สำนักงน<br />

ออกแบบจกประเทศไทย ึ่งมพร้อมกับหัวข้อบรรยย<br />

Diital Farication’ โดย Schaefer ได้แสดงทรรศนะ<br />

ว่ ในควมคิดของเขนั้น สถปัตยกรรมคืองนฝีมือ<br />

ชิ้นหนึ่ง เขจึงได้นำผลงนออกแบบชิ้นต่ง ของ<br />

Studiomake มนำเสนอ พร้อมทั้งชี้ให้เห็นถึงอิทธิพล<br />

ของงนฝีมือที่แทรกตัวอยู่ในทุกชิ้นงน จกนั้นจึงได้<br />

กล่วถึงควมสำคัของกรใช้มือเอไว้ว่ แม้ทุกวันนี้<br />

เทคโนโลยีดิจิตอลจะพันไปมกเท่ไร แต่อย่งไรก็<br />

ยังต้องพึ่งพกรใช้มือ ึ่งแสดงให้เห็นว่ มือนั้นมีควม<br />

สำคัเพียงใด จกนั้นเขได้นำเสนอผลงนออกแบบ<br />

ผลิตภัณ์ต่ง ที่ได้จกกรคิดค้นร่วมกันของทีมงน<br />

โดยผลงนเหล่นี้ล้วนเป็นผลงนที่ผลิตขึ้นจกมือเป็น<br />

ส่วนให่ ที่ผลิตขึ้นจกวัสดุต่ง ที่หลกหลย ทั้งไม้<br />

โลหะ พลสติก รวมทั้งเรมิค ที่ทั้งหมดถือเป็นกร<br />

ผสมผสนร่วมกันระหว่งกรใช้มือึ่งเป็นเทคโนโลยี<br />

ดั้งเดิม กับกรใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่งลงตัว<br />

เริ่มต้นครึ่งบ่ยด้วยสองวิทยกร Lyndon Neri<br />

และ Rossana Hu จกสำนักงน Neri&Hu Desin<br />

and Research fce ตัวแทนจกประเทศจีน โดยทั้ง<br />

สองมพร้อมกับหัวข้อ Reective Nostalia’ ที่มี<br />

เนื้อหเกี่ยวกับกรรำลึกถึงบรรยกศดั้งเดิมของสถปัตย-<br />

กรรมและที่อยู่อศัยในประเทศจีน ที่นับวันยิ่งจะเลือน<br />

หยไปจกกรเข้มของสถปัตยกรรมสมัยใหม่ ทั้งคู่<br />

ได้นำเสนอกระบวนกรศึกษสถปัตยกรรมดั้งเดิมของ<br />

ประเทศจีนจกหลย ชุมชนและหลยสถนที่ จกนั้น<br />

จึงได้นำเสนอควมพยยมที่จะจำลองบรรยกศเหล่นั้น<br />

มสู่ยุคปัจจุบัน ึ่งผลของควมพยยมนี้ได้สะท้อนอยู่<br />

ในองค์ประกอบต่ง ของงนสถปัตยกรรมที่เขทั้งคู่<br />

เป็นผู้ออกแบบ ึ่งเป็นสถปัตยกรรมสมัยใหม่ ที่ยังคงมี<br />

ควมเชื่อมโยงกับรกเหง้ดั้งเดิม ถือเป็นกรนำบรรยกศ<br />

ที่กำลังจะหยไปให้มอยู่ในตัวตนใหม่ที่สอดคล้องกับวิถี<br />

ชีวิตของชวจีนยุคใหม่<br />

02<br />

<strong>01</strong> รราาารสารว<br />

ว<br />

02า<br />

รอ<br />

ารรราวอ<br />

<br />

03<br />

า<br />

รสร<br />

รราวอ<br />

<br />

04-05า<br />

รา<br />

รอารรราวอ<br />

<br />

06<br />

า<br />

<br />

03<br />

94 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


04<br />

05<br />

06<br />

the results of collaboration within the Studiomake<br />

team. These product designs featured the inclusion<br />

of various materials such as wood, metal, plastic and<br />

ceramic fabricated through the combination of both<br />

hand and machine processes.<br />

The following session welcomed a lecture by<br />

Lyndon Neri and Rossana Hu of Neri&Hu Design and<br />

Research Office in China who came up with the topic<br />

of ‘Reflective Nostalgia’ regarding the nostalgia for the<br />

prior atmosphere of the residential architecture scene<br />

in China that seems to have faded away during the<br />

current modern architecture era. The duo presented<br />

studies of traditional Chinese architecture in various<br />

communities and sites and also presented a simulation<br />

of the past atmosphere within the current environment.<br />

This attempt (to bring the past into the present) is<br />

represented through each element within their work -<br />

modern forms that remain related to prior ideas and<br />

accomplish an act of preservation while maintaining<br />

and adapting traditional Chinese architecture amid the<br />

storm of change.<br />

Shingo Masuda from Shingo Masuda + Katsuhisa<br />

Otsubo Architects of Japan was the next speaker who<br />

spoke under the title of ‘Unfolding Elements’ through<br />

the presentation of research conducted in collaboration<br />

with Katsuhisa Otsubo. During the lecture,<br />

Masuda introduced various elements of Japanese<br />

architecture through analysis of many shrines located<br />

throughout Japan. Masuda presented the core elements<br />

of the Japanese shrine under three concepts<br />

- 1) building, 2) large stones and 3) ropes between<br />

each stone, which he considered to be the core components<br />

of the designs, reconstructing these features<br />

into the works in order to create contemporary forms<br />

of architecture related to the cultural context that can<br />

be easily distinguished from western models.<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 95


07<br />

า<br />

า<br />

รอวอ<br />

<br />

08อสรราาา<br />

<br />

ราวอ<br />

<br />

09-10า<br />

<br />

ร<br />

ารรราวอ<br />

<br />

07<br />

Shino Masuda จก Shino MasudaKatsuhisa<br />

tsuo Architects ตัวแทนจกประเทศี่ปุน คือ<br />

วิทยกรคนถัดมที่ได้บรรยยในหัวข้อ Unfoldin<br />

lements’ ึ่งเขได้ศึกษร่วมกับ Katsuhisa tsuo<br />

ผู้บรรยยได้ชักนำผู้ฟังให้เข้ไปรู้จักกับสถปัตยกรรม<br />

ี่ปุน ึ่งในที่นี้เขได้ยกตัวอย่งศลเจ้ี่ปุน ที่เขได้<br />

ตระเวนศึกษจกหลยสถนที่ในประเทศี่ปุน Masuda<br />

นั้นได้สรุปองค์ประกอบที่เป็นสัลักษณ์ของศลเจ้แบบ<br />

ี่ปุนเอไว้ ประกรอันได้แก่ 1 ตัวศลเจ้ 2 ก้อน<br />

หินให่ และ เชือกที่ผูกโยงระหว่งก้อนหิน ึ่งเข<br />

ได้นำเอองค์ประกอบเหล่นี้ มสะท้อนในผลงน<br />

สถปัตยกรรมหลยชิ้นที่เขเป็นผู้ออกแบบ เกิดเป็น<br />

สถปัตยกรรมี่ปุนร่วมสมัย ที่มีควมเชื่อมโยงกับบริบท<br />

ทงวันธรรมและธรรมชติเข้ไว้ด้วยกัน เป็นงน<br />

สถปัตยกรรมสมัยใหม่ที่มีรูปแบบเฉพะตัว แตกต่ง<br />

จกสถปัตยกรรมโมเดิร์นแบบตะวันตก<br />

วิทยกรคนสุดท้ยของงนนี้ ได้แก่ อบุเสริม<br />

เปรมธด จก Bankok Proect Studio อีกหนึ่งตัวแทน<br />

สถปนิกจกประเทศไทย ที่มในหัวข้อ Sound Bricks’<br />

ึ่งเกิดขึ้นมจกควมสนใจศึกษเกี่ยวกับ เสียง’ ใน<br />

งนสถปัตยกรรม ึ่งเป็นสิ่งที่น้อยคนจะสนใจศึกษ<br />

เพระเป็นสิ่งที่เป็นนมธรรม ไม่สมรถมองเห็นหรือ<br />

จับต้องได้แบบเดียวกับควมสวยงมของรูปร่งและ<br />

รูปทรงภยนอก โดย อบุเสริม ได้พผู้ฟังไปสัมผัส<br />

กับประสบกรณ์ของเสียงที่มีต่อสถปัตยกรรม โดย<br />

ยกตัวอย่งเสียงที่เกิดขึ้นในสถปัตยกรรมึ่งทำด้วยอิฐ<br />

จกหลยแห่งในประเทศไทย ทั้งสถบันกันตน วัดศรีชุม<br />

และโรงเผอิฐ เป็นต้น อบุเสริม ได้ทำกรทดลองถึง<br />

กรเกิดปรกกรณ์เสียงรูปแบบต่ง ในสถปัตยกรรม<br />

แต่ละชิ้น ก่อนที่จะนำมพันสู่ผลงนเชิงทดลองชิ้น<br />

ต่ง ที่สมรถพันต่อยอดมสู่ผลงนออกแบบจริง<br />

ได้ ึ่งเป็นเสมือนรูปธรรมที่ได้จกกรศึกษสิ่งที่เป็น<br />

นมธรรมอย่งเสียง<br />

96 <strong>ASA</strong> SPECIAL REPORT วารสารอาษา


09<br />

10<br />

The final speaker, Thai architect and professor<br />

Boonserm Premthada of Bangkok Project Studio,<br />

presented under the topic of ‘Sound Bricks,’ inspired<br />

by an interest in the role that ‘sound’ plays in architectural<br />

practice – a kind of unheeded, intangible detail.<br />

Professor Boonserm provided listeners with various<br />

sound experiences that are generated by works of<br />

architecture themselves through many case studies<br />

such as the Kantana Institute Wat Sri Chum. Professor<br />

Boonserm has experimented with the procreation of<br />

sounds in architecture and developed a prototype that<br />

can be further developed into a whole new practice of<br />

architecture - the transformation of abstract ideas into<br />

concrete objects.<br />

จักรสิน น้อยไร่ภูมิ<br />

ารษาาสา<br />

รราสราวา<br />

ารอาาร<br />

ราสารร<br />

าสรารออ<br />

าวารา<br />

รสราาา<br />

วารสา<br />

อสร<br />

08<br />

วารสารอาษา<br />

SPECIAL REPORT <strong>ASA</strong> 97


<strong>ASA</strong><br />

FORUM<br />

2<strong>01</strong>6<br />

TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Forum 2<strong>01</strong>6 Team<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architects<br />

Except as Noted<br />

าสารรารสาวาาราสา<br />

าาารอรรสาาออ<br />

าวาอสาสาสาสาสษา<br />

สอาสรรวอา<br />

สารราาาสาาอร<br />

ราาาสาสาสารรา<br />

สาาาอ<br />

า<br />

ารส<br />

íí<br />

าสสาาาวร<br />

าราาาสาออาาวา<br />

าาสารรอสอวอรา<br />

ารออา<br />

THE INTERNATIONAL FORUM BY RENOWNED ARCHITECTURAL<br />

PRACTITIONERS, KNOWN AS <strong>ASA</strong> FORUM, IS A MUCH-AWAITED<br />

ACTIVITY THAT HAS BEEN FEATURED IN THAILAND'S ARCHITECT'S<br />

EXPO FOR OVER TWENTY YEARS. THE FORUM AIMS TO PROVIDE<br />

A LEARNING PLATFORM FOR <strong>ASA</strong> MEMBERS, ARCHITECTURE<br />

STUDENTS AND PUBLIC AUDIENCE TO UPDATE AND EXCHANGE<br />

ARCHITECTURAL PERSPECTIVES WITH INVITED SPEAKERS WHOSE<br />

DISTINGUISHED WORKS AND DESIGN IDEAS ARE WIDELY RECOG-<br />

NIZED. THIS YEAR THE ASSOCIATION OF SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE (<strong>ASA</strong>) IS HONORED TO PRESENT THREE<br />

GROUPS OF ARCHITECTS WHO PRACTICE AS A DUO: SANAA (KAZUYO<br />

SEJIMA & RYUE NISHIZAWA) FROM JAPAN, LACATON & VASSAL<br />

ARCHITECTES (ANNE LACATON & JEAN-PHILIPPE VASSAL) FROM<br />

FRANCE, AND LANGARITA-NAVARRO ARQUITECTOS (MARÍA<br />

LANGARITA AND VÍCTOR NAVARRO) FROM SPAIN. THE INTERESTING<br />

DIVERSITY OF BACKGROUNDS, PROJECT TYPES, IDEAS AND CONTEXTS<br />

ON WHICH EACH DUO HAS BEEN WORKING CONTRIBUTES TO THE<br />

VARIETY WITHIN THE WORLD OF ARCHITECTURE THAT SOMEHOW<br />

ALSO REFLECTS THE INEVITABLE DYNAMICS OF THE WORLD WE SHARE.<br />

SANAA<br />

KAZUYO SEJIMA AND<br />

RYUE NISHIZAWA<br />

98 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> FORUM วารสารอาษา


© Iwan Baan<br />

SANAA (Sejima and Nishizawa and Associates)<br />

เป็นสำนักงนสถปนิกในโตเกียวที่ก่อตั้งในปี 199 โดย<br />

Kazuyo Seima และ Ryue Nishizaa 2 สถปนิก<br />

ชวี่ปุนผู้ได้รับรงวัล Pritzker Architecture Prize<br />

ในปี 2<strong>01</strong>0 ผลงนสถปัตยกรรมของ SANAA ที่เร<br />

คุ้นเคยมักจะอยู่ในรูปแบบที่ดูเรียบง่ยแต่มีพลังและ<br />

ต้องกรตั้งคำถมกับประเด็นหรือแง่มุมบงอย่งของ<br />

สถปัตยกรรมร่วมสมัย ควมสงสัยและกรทดลองห<br />

แนวทงใหม่ จึงนำมสู่กรออกแบบที่ว่ง รูปทรง<br />

องค์ประกอบ และวัสดุที่แสดงออกอย่งแตกต่ง ควม<br />

เฉพะตัวในกรออกแบบนี้ส่งผลให้ผลงนของ SANAA<br />

ได้รับรงวัลจำนวนมก ตัวอย่งผลงนเด่นของ SANAA<br />

ได้แก่ Christian Dior Buildin ใน Tokyo, Toledo Museum<br />

of Arts Glass Pavilion ใน Toledo, the 21 st Century<br />

Museum of Contemporary Art ใน Kanazaa, the<br />

Ne Museum of Contemporary Art ใน Ne ork,<br />

the 2009 Serpentine Pavilion ใน London และ Rolex<br />

Learnin Center, cole Polytechnique Fdrale de<br />

Lausanne และ the Louvre Lens ในประเทศฝรั่งเศส<br />

นอกเหนือจกกรร่วมงนกันในนมของ SANAA ทั้ง<br />

Seima และ Nishizaa ต่งก็เปดสตูดิโอส่วนตัวที่ทำ<br />

กรค้นคว้แนวทงกรออกแบบตมควมสนใจของตน<br />

ควบคู่กันไป ผลงนส่วนตัวที่มีชื่อเสียงของ Seima ได้แก่<br />

House in a Plum Grove และ nuima Art House proect<br />

และตัวอย่งผลงนส่วนตัวของ Nishizaa ได้แก่ eekend<br />

house, Moriyama House, Teshima Art Museum และ<br />

Garden and House<br />

GRACE<br />

FARMS<br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> FORUM <strong>ASA</strong> 99


SANAA is a Tokyo-based architectural and design<br />

practice founded in 1995 by Kazuyo Sejima and Ryue<br />

Nishizawa, the 2<strong>01</strong>0 recipients of the Pritzker Architecture<br />

Prize, the highest honor in architecture. SANAA's<br />

works often appear in simplistic yet intriguing form<br />

that addresses issues in contemporary architecture.<br />

Their architecture often strives to generate different<br />

design approaches based on doubts and experiments<br />

on space, form, elements and materials. SANAA’s<br />

well-known works include the Christian Dior Building in<br />

Omotesando, Toledo Museum of Art's Glass Pavilion in<br />

Toledo, Ohio, the 21st Century Museum of Contemporary<br />

Art in Kanazawa, the New Museum of Contemporary<br />

Art in New York, the 2009 Serpentine Pavilion in<br />

London, Rolex Learning Center, École Polytechnique<br />

Fédérale de Lausanne, and the Louvre Lens in France.<br />

SANAA has been awarded the Golden Lion for the<br />

most significant work in the exhibition Metamorph in<br />

the 2004 Venice Biennale, the 46th Mainichi Shinbun<br />

Arts Award (Architecture Category) in 2005, and the<br />

Schock Prize in the Visual Arts in 2005. In addition to<br />

their collaborations as SANAA, Sejima and Nishizawa<br />

also explore groundbreaking design solutions through<br />

their individual practices, especially in housing designs.<br />

Kazuyo Sejima began working as an architect at Toyo<br />

Ito's office and later established her own studio Kazuyo<br />

Sejima & Associates in 1987. Her own works include<br />

House in a Plum Grove and Inujima Art House project.<br />

Ryue Nishizawa founded his own practice Office of<br />

Ryue Nishizawa in 1997, in which significant works<br />

include Weekend house, Moriyama House, Teshima<br />

Art Museum, and Garden and House.<br />

100 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> FORUM วารสารอาษา


LANGARITA-NAVARRO ARQUITECTOS<br />

MARÍA LANGARITA AND VÍCTOR NAVARRO<br />

Lanarita-Navarro Arquitectos เป็นสตูดิโอออกแบบ<br />

ที่เป็นกรร่วมงนกันระหว่ง Mara Lanarita และ<br />

Vctor Navarro สถปนิกรุ่นใหม่ชวสเปน สำนักงน<br />

มีหลักกรทำงนออกแบบที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม<br />

ประสิทธิภพ และจินตนกร โดยกรเชื่อมโจทย์ควม<br />

ต้องกรกับควมรู้ ทรัพยกร เทคโนโลยี ควมคดหวัง<br />

และประสบกรณ์ กรปิบัติงนของสตูดิโอในช่วงรอย-<br />

ต่อและกรเปลี่ยนถ่ยของสภพเศรษฐกิจและสังคม<br />

ของยุโรปตอนใต้ในปัจจุบันมีผลให้ผลงนกรออกแบบ<br />

สะท้อนภวะควมไม่แน่นอน หรือควมเร่งด่วนของ<br />

โครงกร ึ่งผลักดันกรออกแบบให้เล่นกับบริบทของ<br />

เวล ควมจำกัด กรแทรกแงกับอครหรือสิ่งที่มี<br />

อยู่เดิม รวมถึงใช้กรสร้งสรรค์จกสถนกรณ์เฉพะ<br />

ต่ง ตัวอย่งผลงนของ Lanarita-Navarro ได้แก่<br />

Red Bull Music Academy และ Mediala-Prado ใน<br />

Madrid ร้นอหร Lolita และ Baladrar House ใน<br />

Alicante ประเทศสเปน คู่สถปนิก Mara Lanarita<br />

และ Vctor Navarro ได้รับ Special Mention of Mies<br />

van der Rohe Aard ในปี 2<strong>01</strong> รงวัลอื่น ที่ได้รับ<br />

ได้แก่ oun Architect of the ear 2<strong>01</strong>4, BAU<br />

Prize, FAD Prize 2<strong>01</strong>2, ard Aard for merin<br />

Architecture 2<strong>01</strong>2, AD Heineken Aard to the<br />

Ne Talents 2<strong>01</strong> และ CAM Prize 2<strong>01</strong> นอกจกนี้<br />

Lanarita Navarro ยังมีผลงนเผยแพร่ทงนิทรรศกร<br />

และกรตีพิมพ์ต่ง โดยได้รับเลือกให้จัดแสดงในงน<br />

Venice Biennale ในปี 2008 และ 2<strong>01</strong>4 ปัจจุบัน<br />

Lanarita เป็นอจรย์ให้กับ TSA Madrid และ Navarro<br />

สอนให้กับ Universidad uropea de Madrid และ<br />

Harvard Graduate School of Desin<br />

Langarita-Navarro Arquitectos is a young Spanish<br />

architectural design studio based in Madrid led by a<br />

collaboration between María Langarita and Víctor<br />

Navarro since 2005. Powered by innovation, efficiency<br />

and imagination, the studio aims to connect desires<br />

and knowledge, resources and technology, expectations<br />

and experience. As their practice encounters transformations<br />

and transitions during the serious socioeconomic<br />

crisis in the Southern Europe, their works<br />

appear to reflect precarity and urgency of programs<br />

which have forced the temporal designs, limitations,<br />

intervention within the existings and innovations out<br />

of situations in various ways. Examples of Langarita-<br />

Navarro's works include the Red Bull Music Academy<br />

in Madrid, Medialab-Prado in Madrid, Lolita Restaurant<br />

and Baladrar House in Alicante. María Langarita and<br />

Víctor Navarro have been recognized with the Special<br />

Mention of Mies van der Rohe Award in 2<strong>01</strong>3. Other<br />

prizes and awards include Young Architect of the Year<br />

2<strong>01</strong>4, XII BEAU Prize, FAD Prize 2<strong>01</strong>2, ar+d Award for<br />

Emerging Architecture 2<strong>01</strong>2, AD Heineken Award to<br />

the New Talents 2<strong>01</strong>3 or COAM Prize 2<strong>01</strong>3. Among<br />

exhibitions and publications, they were selected to<br />

exhibit at the Biennale di Venezia in 2008 and 2<strong>01</strong>4.<br />

Langarita is also a lecturer at ETSA Madrid, while Navarro<br />

teaches at Universidad Europea de Madrid and at<br />

Harvard Graduate School of Design.<br />

MEDIALAB<br />

PRADO<br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> FORUM <strong>ASA</strong> 1<strong>01</strong>


LACATON & VASSAL ARCHITECTES<br />

ANNE LACATON AND JEAN-PHILIPPE VASSAL<br />

FRAC<br />

DUNKERQUE<br />

102 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> FORUM วารสารอาษา


Lacaton & Vassal Architectes เป็นสำนักงนสถปนิก<br />

ในกรุงปรีส ประเทศฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งตั้งแต่ปี 1987 โดย<br />

Anne Lacaton กับ Jean-Philippe Vassal และมีผลงน<br />

ที่หลกหลยโดยเฉพะอครสธรณะ อครพักอศัย<br />

และงนวงผัง ผลงนของสำนักงนมีจุดเด่นที่หลักกร-<br />

ออกแบบเพื่อสร้งสถปัตยกรรมที่อ่อนน้อมถ่อมตน แต่<br />

กลับแปลกใหม่สร้งสรรค์ภยใต้ข้อจำกัดของทรัพยกร<br />

และงบประมณเท่ที่มีอยู่ และยังผลักดันให้เกิดพื้นที่ใช้-<br />

สอยกว้งขวง ควมอุดมสมบูรณ์ของคุณภพชีวิต<br />

ควมสบย และควมงมในระดับที่สูงกว่มตรฐนทั่วไป<br />

สถปัตยกรรมเพื่อสังคมของ Lacaton & Vassal เล็งเห็น<br />

ประโยชน์และเสน่ห์ของสิ่งก่อสร้งหรือพื้นที่ที่ถูกทิ้งร้ง<br />

แล้วใช้จินตนกรจกสถนกรณ์เฉพะตัวนั้นร่วมกับ<br />

ควมใส่ใจในผู้ใช้อครและวิธีกรใช้สอยอครเพื่อ<br />

ต่อยอดให้เกิดควมเปลี่ยนแปลง โดยส่วนหนึ่งได้รับ<br />

แรงบันดลใจจกประสบกรณ์ในอฟริกของ Vassal<br />

หลังจกที่เขจบกรศึกษจก Bordeaux ผลงนเด่น<br />

ของ Lacaton & Vassal ได้แก่ ศูนย์ศิลปะร่วมสมัย FRAC<br />

ใน Dunkerque โครงกรปรับปรุง Palais de Tokyo ใน<br />

Paris โรงเรียนสถปัตยกรรมใน Nantes และกรปรับปรุง<br />

อครที่พักอศัยสธรณะจำนวนมกในประเทศฝรั่งเศส<br />

Lacaton & Vassal ได้รับรงวัลจกผลงนกรออกแบบ<br />

หลยครั้ง รวมทั้ง Rolf Schock Prize, Stockholm ในปี<br />

2<strong>01</strong>4 และ Grand Prix National d’Architecture ประเทศ<br />

ฝรั่งเศส ในปี 2008 นอกจกนี้ Lacaton ยังเป็นอจรย์<br />

พิเศษให้กับหลยสถบัน เช่น University of Madrid และ<br />

Harvard GSD ส่วน Vassal สอนที่ UDK ใน Berlin ตั้งแต่<br />

ปี 2<strong>01</strong>2 และเป็นอจรย์พิเศษให้กับอีกหลยแห่ง<br />

Lacaton & Vassal Architectes is a Paris-based practice<br />

founded in 1987 by Anne Lacaton and Jean-Philippe<br />

Vassal that works on a range of international projects<br />

from public buildings, housing and urban planning.<br />

The firm's works are known for its principle to generate<br />

modest but creative solutions based on limited<br />

resources and an economy of means, while seeking to<br />

accommodate generous spaces, living quality, comfort<br />

and beauty. Inspired by simple structures Vassal experienced<br />

in Africa after their graduation from the School<br />

of Architecture of Bordeaux in 1980, Lacaton & Vassal's<br />

social architecture often embraces overlooked utilities<br />

and charm of abandoned spaces with imagination<br />

out of specific situations and attention to its inhabitants<br />

and uses. Their major projects include the Fonds<br />

Régional d’Art Contemporain (FRAC) in Dunkerque,<br />

France, the renovation of Palais de Tokyo in Paris,<br />

Nantes School of Architecture, and transformations<br />

of a number of public housing projects in France. The<br />

office has received many awards, for example the Rolf<br />

Schock Prize, Stockholm 2<strong>01</strong>4, and Grand Prix National<br />

d’Architecture, France, 2008. Anne Lacaton has been<br />

a visiting professor and critic at several institutions<br />

including the University of Madrid and Harvard GSD.<br />

Jean-Philippe Vassal has been a professor at the UDK<br />

in Berlin since 2<strong>01</strong>2, and a visiting professor at TU<br />

Berlin, EPFL Lausanne and many more.<br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> 103


CARTOON<br />

SRV<br />

104 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> CARTOON วารสารอาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!