17.09.2020 Views

ASA NEWSLETTER 07-08_63

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 5/<strong>63</strong><br />

ISA Building Material Visit Series รอบรู้เรื่องวัสดุก่อสร้าง ครั้งที่ 3-<strong>63</strong><br />

ขอเชิญสมาชิกสมาคม สถาปนิก นิสิต - นักศึกษาสถาปัตยกรรม เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษาหาประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับวัสดุ<br />

และอุปกรณ์งานก่อสร้าง วัสดุแผ่นยิปซัม วัสดุตกแต่ง และอุปกรณ์ประกอบงานภายในอาคาร<br />

โดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เยี่ยม SHOWROOM ผลิตภัณฑ์ยิปซัมบอร์ด รับฟังการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับงานทางด้าน ACOUSTICS<br />

และอันตรายจากไฟไหม้ ชมการทดสอบประสิทธิภาพระบบผนังและฝ้าเพดาน/ เยี่ยมชม DESIGN STUDIO ภายใต้แนวคิด<br />

THINKING AHEAD ด้วยการจ าลองพื้นที่ในอาคารให้เสมือนจริง พร้อมกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และเทคโนโลยีอุปกรณ์เฟอร์นิเจอร์<br />

ระบบควบคุมอิเลกทรอนิกส์ ระบบไฟ LED ที่ทันสมัยครบวงจร<br />

Photo credit: www.hafele.com<br />

Photo credit: www.knauf.co.th<br />

วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 25<strong>63</strong> เวลา 09.00-16.00 น.<br />

ณ Knauf Gypsum อาคาร Q House เพลินจิต และ Häfele Design Studio Bangkok สุขุมวิท 64<br />

อัตราค่าลงทะเบียนพร้อม อาหารกลางวัน / อาหารว่าง (เดินทางไปยังสถานที่กันเอง)<br />

● สมาชิกสมาคมฯ/ นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ทั่วไป 500 บาท ● สถาปนิกและผู้สนใจทั่วไป 1,000 บาท<br />

● นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ 100 บาท<br />

สัมมนา (ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับวุฒิบัตรจากสถาบันสถาปนิกสยาม โดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์)<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที่ สถาบันสถาปนิกสยาม ฝ่ายจัดอบรม<br />

โทรศัพท์ 0-2319-6555 ต่อ 202, 206 / โทรสาร ต่อ 204, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่ www.asa.or.th<br />

(รับเพียง 30 ท่านเท่านั้น กรณีมีผู้สมัครเกินจ านวนที่ก าหนด สมาคมฯ สงวนสิทธิ์ส าหรับผู้ที่ช าระเงินลงทะเบียนก่อน)<br />

หมายเหตุ : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกรุณาแต่งกายสุภาพ และสวมรองเท้าหุ้มส้น


์<br />

โลกกำลังเปลี่ยน หลายๆสิ่งกำลังปรับตัวและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทางสมาคมฯ กำลังตั ้งหลักเพื่อช่วยเหลือสมาชิกให้พัฒนาตนเอง<br />

ได้ตามกระแสของโลก โดยมุ่งเน้นการติดอาวุธทางด้านปัญญาและสร้างกำลังใจให้กับสมาชิกปัจจุบันและสมาชิกในอนาคต ผ่านการให้<br />

ความรู้ในหลายๆด้าน ที่ทางฝ่ ายวิชาชีพ ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพทำอยู่ ในอนาคตจะมีหน่วยงานใหม่ที่จัดตั ้งเป็นที่บริษัทที่ปรึกษาให้<br />

กับสถาปนิก จะสร้างความรู้ในสิ่งที่สถาปนิกจำเป็นต้องใช้ในชีวิตทำงานประจำวัน ให้คำปรึกษาเรื่องกฎหมาย ทำให้สามารถรู้เข้าใจ และ<br />

ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกเหนือจากความรู้แล้ว ก็ยังสร้างกำลังใจและมาตรฐานในหลายๆระดับให้กับสังคม ยกตัวอย่าง การพัฒนา<br />

พื ้ นที่ชุมชนและย่านตลาดเก่าแก่งคอย การพัฒนาพื ้ นที่ชุมชนโรงงานกระดาษ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็นสิ่งที่สมาคมฯ พยายามทำให้พื ้ นที่<br />

ดังกล่าวและอีกหลายๆ แห่งมีศักยภาพมากขึ ้ น พร้อมที่จะรองรับสังคมในอนาคตได้<br />

การเสริมสร้างกำลังใจให้กับสถาปนิกจบใหม่ ก็เป็นสิ่งสำคัญในภาวะเศรษฐกิจโควิค สมาคมฯ กำลังจะดำเนินการในหลายๆ ช่องทางเพื่อให้<br />

ยุวสถาปนิก ซึ่งกำลังจะมาเป็นสมาชิกกับสมาคมฯ ในไม่ช้า มีกำลังใจ และมองเห็นโอกาสของงานในสายวิชาชีพสถาปนิก<br />

ทั ้งหมดนี ้ เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งในรอบ 2 เดือนที่ผ่านมา หลังจากนี ้ คงต้องฝากสมาชิกทุกท่านช่วยสนับสนุนงานสถาปนิก’64 : “มองเก่า<br />

ให้ใหม่ : Refocus Heritage” และติดตามการอัพเดทกิจกรรมที่ตามมา งานสถาปนิก’64 จะเกิดขึ ้ นอย่างไรนั ้นยากที่จะคาดเดาถึงความ<br />

สำเร็จ แต่ก็อยากให้เป็นงานที่ทุกคนเสียสละเวลาและร่วมแรงร่วมใจกันเข้ามาทำให้งานมีความคึกคัก คึกครื ้ นด้วยตัวของมวลสมาชิกเองครับ<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี พ.ศ. 25<strong>63</strong>-2565<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ วาระปี พ.ศ. 25<strong>63</strong>-2565<br />

นายกสมาคม<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นายนิเวศน์ วะสีนนท์<br />

รศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ<br />

นายจีรเวช หงสกุล<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

นายพิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

เหรัญญิก<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

นายเฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

นายทะเบียน<br />

นายคมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

กรรมการกลาง<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

นางสาวปฐมา หรุ่นรักวิทย์<br />

นายเฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

นายอดุลย์ แก้วดี<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ วาระปี พ.ศ. 2562-2564<br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

นายวีระ ถนอมศักดิ ์ นายชนะ สัมพลัง<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจิตร<br />

นายเจตกำจร พรหมโยธี<br />

นายสุริยา รัตนพฤกษ์<br />

นายพงศ์ ศิริปะชะนะ<br />

นายธานี คล่องณรงค์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสาน<br />

นายวีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร


แนะนำคณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ประจ ำปี พ.ศ. 25<strong>63</strong>-2565<br />

1. นายชนะ สัมพลัง นายกสมาคม 2. นายพิพัฒน์ รุจิราโสภณ เลขาธิการ 3. นายจีรเวช หงสกุล อุปนายก 4. ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ อุปนายก 5. รศ.ดร.ม.ล. ปิยลดา ทวีปรังษีพร ประชาสัมพันธ์<br />

6. นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจิตร เหรัญญิก 7. นายนิเวศน์ วะสีนนท์ อุปนายก 8. รศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์ อุปนายก 9. ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังก์สิทธิ ์ อุปนายก 10. นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว อุปนายก<br />

11. นายคมสัน สกุลอำนวยพงศา นายทะเบียน 12. นายเฉลิมพล สมบัติยานุชิต ปฏิคม 13. นายเฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์ กรรมการกลาง 14. นางสาวปฐมา หรุ่นรักวิทย์ กรรมการกลาง<br />

15. ดร.วสุ โปษยะนันทน์ กรรมการกลาง 16. นายอดุลย์ แก้วดี กรรมการกลาง 17. นายปราการ ชุณหพงษ์ ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา 18. นายวีรพล จงเจริญใจ ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกอีสาน 19. นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

รายชื่อคณะที่ปรึกษากรรมการบริหาร / กรรมาธิการ / อนุกรรมการ / คณะทำงานสมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี พ.ศ. 25<strong>63</strong>-2565<br />

คณะที่ปรึกษากรรมการบริหารสมาคมฯ<br />

1. นาย บุญญวัฒน์ ทิพทัส อดีตประธานกรรมการกองทุน สมาคมสถาปนิกสยามฯ 2. นาย สถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ อดีตประธาน ARCASIA 3. พล.อ.ต. ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์ นายกสภาสถาปนิก<br />

4. นาง วิภาวดี พัฒนพงศ์พิบูล นายกสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย 5. นาย นำชัย แสนสุภา นายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย 6. รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา นายกสมาคมนักผังเมืองไทย 7.<br />

ผศ.ดร.ไขศรี ภักดิ ์สุขเจริญ นายกสมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย 8. นาย บัณฑา พงษ์พรต ผู้เชี่ยวชาญ Building Information Modeling (BIM)<br />

คณะกรรมาธิการ ฝ่ ายวิชาชีพ<br />

1. นาย นิเวศน์ วะสีนนท์ ประธานกรรมาธิการ 2. พ.ต.ท.ดร. บัณฑิต ประดับสุข กรรมาธิการ 3. นาย ฉัตรชัย ธีระวงษ์ไพโรจน์ กรรมาธิการ 4. นาย พีรยุทธ เจริญผล กรรมาธิการ 5. นาย เอนก<br />

ทองปิยะภูมิ กรรมาธิการ 6. นาย รชฎ วรรณกนก กรรมาธิการ 7. นาย เสนิส อยู่พูล กรรมาธิการ 8. นาย ชาติชาย อัศวสุขี กรรมาธิการ 9. นาย ปรีชา นวประภากุล กรรมาธิการ 10. นาย<br />

บัณฑา พงษ์พรต อนุกรรมการ ด้าน BIM 11. นาย ไพทยา บัญชากิติคุณ อนุกรรมการ ด้าน BIM 12. นาย เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์ อนุกรรมการ ด้าน สำนักงานที่ปรึกษาสถาปนิก 13. นาย<br />

ต่อพงศ์ ประดิษฐ์พงศ์ อนุกรรมการ ด้าน สำนักงานที่ปรึกษาสถาปนิก 14. นาย สราวุธ กาญจนพิมาย เลขานุการ 15. นาย นวมินทร์ ตระบุตร ผู้ช่วยเลขานุการ<br />

คณะอนุกรรมการด้านรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น Thesis of the year และรางวัลต่างๆ


1. นางสาว ทวิตีย์ วัชราภัย เทพาคำ ประธานอนุกรรมการ 2. นาย รติวัฒน์ สุวรรณไตรย์ อนุกรรมการ 3. นาย จูน เซคิโน อนุกรรมการ 4. นาย ปิตุพงษ์ เชาวกุล อนุกรรมการ 5. นาย ณัฐวุฒิ<br />

พิริยะประกอบ อนุกรรมการ 6. นาย สราวุธ กาญจนพิมาย เลขานุการ 7. นาย นวมินทร์ ตระบุตร อนุกรรมการ<br />

คณะกรรมาธิการ ฝ่ ายวิชาการ<br />

1. รศ.ดร. ต้นข้าว ปาณินท์ ประธานกรรมาธิการ 2. รศ.ดร. สันต์ สุวัจฉราภินันท์ กรรมาธิการ<br />

คณะอนุกรรมการ ฝ่ ายวิชาการ ด้านสถาบันสถาปนิกสยาม (ISA)<br />

1. นาย อดุลย์ แก้วดี ประธานอนุกรรมการ 2. นางสาว กุลธิดา ทรงกิตติภักดี อนุกรรมการ 3. นาย คมสัน สกุลอำนวยพงศา อนุกรรมการ 4. นางสาว ชนาธิป มานิจสิน อนุกรรมการ 5. นาย ปฏิ<br />

กร ณ สงขลา อนุกรรมการ 6. รศ. พรรณชลัท สุริโยธิน อนุกรรมการ 7. นาย ไพทยา บัญชากิติคุณ อนุกรรมการ 8. นาย เมษ ภู่เจริญ อนุกรรมการ 9. นาย วรพจน์ เตชะอำนวยสุข อนุกรรมการ<br />

10. นาย วิญญู วานิชศิริโรจน์ อนุกรรมการ 11. นางสาว สุรัสดา นิปริยาย อนุกรรมการ 12. Mr.Jenchieh Hung อนุกรรมการ 13. นาย อนวัช พงศ์สุวรรณ เลขานุการ<br />

คณะอนุกรรมการ ฝ่ ายวิชาการ ด้านพัฒนาวิชาชีพสถาปัตยกรรมและที่เกี่ยวเนื่อง<br />

1. นาย สุเมธ ฐิตาริยกุล ประธานอนุกรรมการ 2. นาย ชนินทร์ ลิมาภรณ์วณิชย์ อนุกรรมการ 3. ผศ. ณธทัย จันเสน อนุกรรมการ 4. อ. ณัฐภูมิ รับคำอินทร์ อนุกรรมการ<br />

5. อ. รุจ รัตนพาหุ อนุกรรมการ 6. อ .วราภัทร์ โพคะรัตน์ศิริ อนุกรรมการ 7. นาย วีระพล สิงห์น้อย อนุกรรมการ 8. อ. สาโรช พระวงค์ อนุกรรมการ 9. นาย สุรัตน์ พงษ์<br />

สุพรรณ์ อนุกรรมการ 10. นาย อนวัช พงศ์สุวรรณ เลขานุการ<br />

คณะอนุกรรมการ ฝ่ ายวิชาการ ด้านกฎหมายอาคาร<br />

1. นาย ต่อพงศ์ ประดิษฐพงศ์ ประธานอนุกรรมการ 2. นาย สุพินท์ เรียนศรีวิไล อนุกรรมการ (หัวหน้าศูนย์ข้อมูลกฎหมาย<br />

อาคาร) 3. นางสาว คุณามาศ เชื ้ ออารย์ เลขานุการ<br />

คณะกรรมาธิการ ฝ่ ายต่างประเทศ<br />

1. ผศ.ดร. รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์ ประธานกรรมาธิการ 2. นาย ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์ กรรมาธิการ 3. นางสาว สลิลา ตระกูลเวช<br />

เลขานุการ<br />

คณะกรรมาธิการ ฝ่ ายทะเบียน<br />

1. นาย คมสัน สกุลอำนวยพงศา ประธานกรรมาธิการ 2. นาย สุรพล ฉิมวิไลทรัพย์ กรรมาธิการ 3. นาย อดุลย์ แก้วดี กรรมาธิการ 4. นาย โอม ปนาทกูล กรรมาธิการ 5. นาย เอกราช วรรล<br />

ยางกูร กรรมาธิการ 6. นาย รัฐวุฒิ เจียมมั่นจิต กรรมาธิการ 7. นางสาว รติรัตน์ จันทร เลขานุการ<br />

คณะกรรมาธิการ ฝ่ ายปฏิคม<br />

1. นาย เฉลิมพล สมบัติยานุชิต ประธานกรรมาธิการ 2. นาย รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว กรรมาธิการ 3. นาย ณัทพงศ์ วิญญรัตน์ กรรมาธิการ 4. นาย นิกร อินทร์พยุง กรรมาธิการ 5. นาย กศินร์ ศร<br />

ศรี กรรมาธิการ 6. นาย เสรี มลุลี เลขานุการ 7. นาย สราวุธ กาญจนพิมาย เลขานุการ


คณะอนุกรรมการกำกับดูแลเนื ้ อหาวารสารอาษา<br />

1. รศ.ดร.ม.ล. ปิยลดา ทวีปรังษีพร ประธานอนุกรรมการ 2. ผศ.ดร. สายทิวา รามสูต อนุกรรมการ 3. นาย วรพจน์ เตชะอำนวยสุข อนุกรรมการ 4. นาย เผดิมเกียรติ สุขกันต์ อนุกรรมการ 5.<br />

นาย ปรัชญา สุขแก้ว อนุกรรมการ 6. นางสาว น ้ำทิพย์ ยามาลี อนุกรรมการ 7. นางสาว กุลธิดา ทรงกิตติภักดี อนุกรรมการ 8. Jenchieh Hung อนุกรรมการ 9. นาย ธีรรัตน์ แก้วใจกล้า เลขานุการ<br />

คณะกรรมาธิการ ฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ<br />

1. นางสาว ปฐมา หรุ่นรักวิทย์ ประธานกรรมาธิการ 2. นาง ปรีดา คงแป้น กรรมาธิการ 3. นาย ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์ กรรมาธิการ 4. นาย ราชิต ระเด่นอาหมัด กรรมาธิการ<br />

5. นาย ปองพล ยุทธรัตน์ กรรมาธิการ 6. นางสาว วิภาวี คุณาวิชยานนท์ กรรมาธิการ 7. ผศ. ณธทัย จันเสน กรรมาธิการ 8. นาย ณัฐภูมิ รับคำอินทร์ กรรมาธิการ 9.<br />

นาย ยิ่งยศ แก้วมี กรรมาธิการ 10. นางสาว ณภัทร สักกามาตย์ เลขานุการ<br />

คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม<br />

1. ดร. วสุ​โปษยะนันทน์ ประธานกรรมาธิการ 2. นาง ปองขวัญ สุขวัฒนา ลาซูส กรรมาธิการ 3. รศ.ดร. ปิ่นรัชฎ์ กาญจนัษฐิติ กรรมาธิการ 4. ดร. พรธรรม ธรรมวิมล กรรมาธิการ 5. รศ.ดร.<br />

ยงธนิศร์ พิมลเสถียร กรรมาธิการ 6. นาย วทัญญู เทพหัตถี กรรมาธิการ 7. นาย วีระพล สิงห์น้อย กรรมาธิการ 8. ดร. วิทยา ดวงธิมา กรรมาธิการ (ล้านนา) 9. ผศ.ดร. นิธิ ลิศนันท์ กรรมาธิการ<br />

(อีสาน) 10. นาย วีรศักดิ ์ เพ็ชรแสง กรรมาธิการ (ทักษิณ) 11. นาย ตวงตาวัน กมุทโยธิน กรรมาธิการ (บูรพา) 12. ผศ.ดร. วิมลรัตน์​อิสระธรรมนูญ เลขานุการ 13. นาย สุรยุทธ วิริยะดำรงค์<br />

ผู้ช่วยเลขานุการ 14. นาย อนวัช พงศ์สุวรรณ ผู้ช่วยเลขานุการ<br />

คณะทำงานมาตรการจัดการโบราณสถาน อาคารสำนักงานป่ าไม้แพร่ และบ้านหลุยส์<br />

1. นาย วทัญญู เทพหัตถี ประธานคณะทำงาน 2. นาย จิตธาณัฐ พูลเกิด คณะทำงาน 3. นาย จุลพร นันทพานิช คณะทำงาน 4. นางสาว นฤมล วงศ์วาร คณะทำงาน 5. นาง ปองขวัญ สุขวัฒนา<br />

ลาซูส คณะทำงาน 6. นางสาว วรินทร ณ อุบล คณะทำงาน 7. ผศ. สุดจิต (เศวตจินดา) สนั่นไหว คณะทำงาน 8. นาย อริยะ ทรงประไพ คณะทำงาน<br />

คณะกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

1. นาย ปราการ ชุณหพงษ์ ประธานกรรมาธิการ 2. นาย ทรงพล พรศักดิ ์กุล รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายวิชาชีพ 3. ดร.โชคอนันต์ วาณิชย์เลิศธนาสาร รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายวิชาการ 4.<br />

นาย ปวรรธน์ ตันตยานุสรณ์ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายต่างประเทศ 5. ผศ.ดร.วิทยา ดวงธิมา รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ 6. ผศ.ดร.บุรินทร์ ธราวิจิตรกุล<br />

รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายภูมิภาค 7. นาย สันธยา คชสารมณี รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายกิจการพิเศษ 8. นาย กานต์ คำแก้ว เลขานุการกรรมาธิการ 9. นาง อติรัตน์ โพธินาม กรรมาธิการ<br />

ฝ่ ายทะเบียน 10. นาย เสน่ห์ จันทราพิพัฒน์ กรรมาธิการฝ่ ายเหรัญญิก 11. นาย กิตติวัฒน์ ณ รังษี กรรมาธิการฝ่ ายปฏิคม 12. นาย ธีรัตน์ ฝั ้นแก้ว กรรมาธิการฝ่ ายประชาสัมพันธ์ 13. นาย<br />

ณัฐกานต์ เกตุชาวนา กรรมาธิการกลาง 14. นาย ประกิจ คำภิไหล กรรมาธิการกลาง 15. ผศ.พันธ์ศักดิ ์ ภักดี กรรมาธิการกลาง 16. นาย อรรถสิทธิ ์ กองมงคล กรรมาธิการกลาง 17. นาย ณัฐ<br />

พล อุประแสน กรรมาธิการกลาง 18. นาย จักรพันธ์ จันทร์ศรี กรรมาธิการกลาง


คณะกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

1. นาย วีรพล จงเจริญใจ ประธานกรรมาธิการ 2. นาย ศรัทธา เจริญรัตน์ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายวิชาชีพ 3. ดร.ศิริวัฒน์ สาระเขตต์ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายวิชาการ 4. ผศ.พร<br />

สวัสดิ ์ พิริย ะศรัทธา รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายต่างประเทศ 5. ผศ.ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ 6. นาย ประชา เทพรัตน์ รอง<br />

ประธานกรรมาธิ การฝ่ ายภูมิภาค 7. ผศ.ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายกิจการพิเศษ 8. นางสาว มณีรัตน์ พจนบรรพต เลขานุการกรรมาธิการ 9. นางสาว สิริพร วาสนา<br />

ประเสริฐ กรรมาธิการฝ่ ายทะเบียน 10. นางสาว วัฒนี ศิริชัยคีรีโกศล กรรมาธิการฝ่ ายเหรัญญิก 11. นาย นัฐวุฒิ ราชัน กรรมาธิการฝ่ ายปฏิคม 12. นาย ธีรัตม์ เศรษฐ์กมลฉัตร กรรมาธิการ<br />

ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ 13. นาย คุณเอก ตัณฑเกษม กรรมาธิการกลาง 14. นาย ดุจธาร วิญญาณ กรรมาธิการกลาง 15. นาย จตุพิเชฐพล วงศ์คำ กรรมาธิการกลาง 16. นาย ณัชอิสร์ ศรีสุขพรชัย<br />

กรรมาธิการกลาง 17. นาย อากร สุนทรเสรี กรรมาธิการกลาง<br />

คณะกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

1. นาย นิพนธ์ หัสดีวิจิตร ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ 2. นาย วัชรินทร์ จันทรักษ์ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายวิชาชีพ 3. นาย กาญจน์ เพียรเจริญ รองประธานกรรมาธิการฝ่ าย<br />

วิชาการ 4. นาย สุภกร อักษรสว่าง รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายต่างประเทศ 5. นาย วีรศักดิ ์ เพ็ชรแสง รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ 6. นาย อนุกูล สาร<br />

กิจพันธ์ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายภูมิภาค 7. นาย วิชญ์วิสิฐ สุปัณฑ์ตรี รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายกิจการพิเศษ 8. นาย อดิศร จงวัฒนไพบูลย์ เลขานุการกรรมาธิการ 9. นาย อรุณ ชูทอง<br />

กรรมาธิการฝ่ ายทะเบียน 10. นางสาว ช่อฟ้า บุตรี กรรมาธิการฝ่ ายเหรัญญิก 11. นาย นฤดล เจ๊ะแฮ กรรมาธิการฝ่ ายปฏิคม 12. นาย สกล รักษ์ทอง กรรมาธิการฝ่ ายประชาสัมพันธ์ 13. นาย<br />

ปรัชญา สุขแก้ว กรรมาธิการกลาง 14. นาย ราชวัลลภ สายทองอินทร์ กรรมาธิการกลาง 15. นาย ราชิต ระเด่นอาหมัด กรรมาธิการกลาง 16. นาย ศิวัชญ์ ยุวะกนิษฐ์กรรมาธิการกลาง 17.<br />

นาย อุทาร ล่องชุม กรรมาธิการกลาง 18. นาย ตรีชาติ ชูเวทย์ กรรมาธิการกลาง<br />

คณะกรรมาธิการสถาปนิกบูรพา<br />

1. นาย เอกพันธ์ สุวรรณโชติ ประธานกรรมาธิการสถาปนิกบูรพา 2. นาย พูลชัย เรืองศิลปานันท์ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายวิชาชีพ 3. นาย ชัยยศ วัชระปรารมย์รองประธานกรรมาธิการ<br />

ฝ่ ายวิชาการ 4. นาย คมกฤต พานนสถิตย์ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายต่างประเทศ 5. นาย กลยุทธ ถังสูงเนิน รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ 6. นาย ชัย<br />

พล ลี ้ เจริญ รองประธานกรรมาธิการฝ่ ายภูมิภาค 7. นาย นรา ดีเพ็ชร์ รองประธานกรรมาธิการ ฝ่ ายกิจการพิเศษ 8. นาย ธีรวัฒน์ สุขแจ่มใส เลขานุการกรรมาธิการ 9. นาย ขวัญชัย ขันธรรม<br />

กรรมาธิการฝ่ ายทะเบียน 10. นาย บรรชร ยุติธรรม กรรมาธิการฝ่ ายเหรัญญิก 11. นาย พรภักดิ ์ พลังมนต์ทิพย์ กรรมาธิการฝ่ ายปฏิคม 12. นาย ภุชงค์ พงษ์บัน กรรมาธิการฝ่ ายประชาสัมพันธ์<br />

13. นาย เอกสิทธิ ์ จันทเปรมจิตต์ กรรมาธิการกลาง 14. นาง จารุรัตน์ แก้วยวน กรรมาธิการกลาง 15. นาย ธเนศวร อุตมะแก้ว กรรมาธิการกลาง 16. นางสาว ดาริกา ดวงกลาง กรรมาธิการ<br />

กลาง 17. นาย พิเชษฐ์ ปิยะพิสุทธิ ์ กรรมาธิการกลาง 18. นาย ทศพร นิภารัตน์ กรรมาธิการกลาง<br />

คณะอนุกรรมการ โครงการนิทรรศการสถาปัตยกรรมนานาชาติ เวนิสเบียนนาเล่ ครั ้งที่ 17<br />

1. นาย ชุตยเวศ สินธุพันธุ์ ประธานอนุกรรมการ 2. รศ.ดร. อภิรดี เกษมศุข อนุกรรมการ 3.<br />

ผศ. บุญเสริม เปรมธาดา อนุกรรมการ 4. นางสาว สลิลา ตระกูลเวช อนุกรรมการและเลขานุการ


คณะอนุกรรมการจัดงานสถาปนิก’64<br />

1. ดร. วสุ โปษยะนันทน์ ประธานอนุกรรมการจัดงาน 2. นางสาว รัศมี รัตนไชยานนท์ รองประธานอนุกรรมการจัดงาน / เหรัญญิก 3. นาย วทัญญู เทพหัตถี รองประธาน<br />

อนุกรรมการจัดงาน 4. นาย จุลพร นันทพานิช อนุกรรมการ 5. นาง มณฑิรา หรยางกูร อูนากูล อนุกรรมการ 6. นาย สมภพ แสงเกิด อนุกรรมการ 7. รศ.ดร.มล.ปิยลดา ทวี<br />

ปรังษีพร อนุกรรมการ 8. นาย วุฒินันท์ จินศิริวานิชย์ อนุกรรมการ 9. นางสาว ทวิตีย์ วัชราภัย เทพาคำ อนุกรรมการ 10. ผศ.ดร. วิมลรัตน์ อิสระธรรมนูญ อนุกรรมการ<br />

11. นาย สุรยุทธ วิริยะดำรงค์ อนุกรรมการ 12. นาย โลจน์ นันทิวัชรินทร์ อนุกรรมการ 13. นาย พิเชฐ ธิถา อนุกรรมกา 14. นางสาว วิภาดา ชาตินันท์ อนุกรรมการ 15.<br />

นางสาว จีรนันท์ ภูมิวัตน์ อนุกรรมการ 16. น.อ.หญิง อรอุสาห์ เชียงกูล ร.น. อนุกรรมการ 17. พ.ต.ท.ปริญญา เจริญบัณฑิต อนุกรรมการ 18. นาย สินขจร นิยมศิริวานิช<br />

อนุกรรมการ 19. นาง กัลยาพร จงไพศาล เลขานุการ<br />

คณะอนุกรรมการจัดงานสถาปนิก’65<br />

1. นาย ราชิต ระเด่นอาหมัด ประธานอนุกรรมการจัดงาน 2. นาย อิศรา อารีรอบ ประธานอนุกรรมการจัด<br />

งาน 3. นาย ปองพล ยุทธรัตน์ ประธานอนุกรรมการจัดงาน 4. นาง กัลยาพร จงไพศาล เลขานุการ<br />

มูลนิธิสถาปนิกสยาม<br />

การมอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

นายวีระ ถนอมศักดิ ์ ประธานมูลนิธิสถาปนิกสยาม และ ประธานกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ได้กล่าว หลังจากการประชุมกรรมการมูลนิธิสถาปนิกสยาม และกรรมการกองทุนฯ เมื่อวันที่<br />

3 กันยายน 25<strong>63</strong> เวลา 16.00 น. ว่า<br />

1. มูลนิธิสถาปนิกสยาม ขอให้คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หรือ คณบดีที่เกี่ยวข้องทั ้งหมด<br />

37 สถาบันกาศึกษาทั่วประเทศ คัดเลือกนักศึกษาที่มีความประพฤติดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์เพียงสถาบัน<br />

ละ 1 คนเท่านั ้น ส่งรายชื่อพร้อมเอกสารใบสมัครมูลนิธิสถาปนิกสยาม ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 25<strong>63</strong><br />

2. คณะกรรมการผู้พิจารณาคัดเลือกผู้รับทุนการศึกษาจะพิจารณาและประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ ์ได้รับ นายวีระ ถนอมศักดิ ์<br />

ทุนการศึกษาภายในวันที่ 30 เมษายน 2564 โดยจะมอบทุนการศึกษาทุนละ 50,000 บาท จำนวนอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 10 ทุน<br />

นายวีระ ถนอมศักดิ ์ กล่าวต่อไปว่า มูลนิธิสถาปนิกสยาม และ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เล็งเห็นถึงความ<br />

เดือดร้อนของนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในช่วงเวลาที่มีโรคระบาด COVID-19 อยู่ขณะนี ้ ดังที่ได้ทราบกันทั่วไป เพื่อสนับสนุนและ<br />

เป็นกำลังใจในการศึกษาให้สำเร็จสมความปรารถนาต่อไป<br />

ประชาสัมพันธ์ หัวข้อการอบรม ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ<br />

• ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั ้งที่ 8/<strong>63</strong> ISA Building Material Visit Series รอบรู้เรื่องวัสดุก่อสร้าง ครั ้งที่ 4-<strong>63</strong> :<br />

“TOTO Washlet Factory Tour” วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 25<strong>63</strong> เวลา <strong>08</strong>:00 - 18:00 น. ณ TOTO Tech<br />

nical Center กรุงเทพฯ และโรงงาน TOTO Washlet อ.หนองแค จ.สระบุรี<br />

• ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั ้งที่ 9/<strong>63</strong> ISA Building Material Visit Series รอบรู้เรื่องวัสดุก่อสร้าง ครั ้งที่ 5-<strong>63</strong><br />

: “COOL WINTER STEEL” วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 25<strong>63</strong> เวลา <strong>08</strong>:00 - 17:00 น. ณ อ.พนมสารคาม<br />

และ อ.เมืองฉะเชิงเทรา จ.ฉะเชิงเทรา<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้าได้ที่ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โทรศัพท์ 0-2319-<br />

6555 ต่อ 202 โทรสาร ต่อ 204, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลดใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่ www.asa.or.th


้<br />

ปรับหลักเกณฑ์ค ะแนนในการเลื่อนระดับ<br />

สถ.หลัก ฯลฯ<br />

14 ส.ค. 25<strong>63</strong><br />

สภาสถาปนิกออกข้อบังคับสภาสถาปนิก 2 ฉบับที่ผ่านการ<br />

ประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา<br />

เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 25<strong>63</strong> ได้แก่<br />

(1) ข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยการเลือกและการ<br />

เลือกตั ้งกรรมการสภาสถาปนิก พ.ศ. 25<strong>63</strong><br />

(2) ข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้<br />

ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมแต่ละระดับ การออกใบ<br />

อนุญาต การต่อใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบ<br />

อนุญาต และการออกหลักฐานรับรองการได้รับใบอนุญาต (ฉบับ<br />

ที่ 5) พ.ศ. 25<strong>63</strong> ข้อบังคับสภาสถาปนิกฉบับนี ้ มีผลใช้บังคับ<br />

เมื ่อพ้นกำหนด 60 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา<br />

คือตั ้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม 25<strong>63</strong> เป็นต้นไป<br />

ข้อบังคับสภาสถาปนิกทั ้งสองฉบับมีเนื ้ อหาพอสรุปได้ดังนี ้<br />

ข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยการเลือกและการเลือกตั ้ง<br />

กรรมการสภาสถาปนิก พ.ศ. 25<strong>63</strong> ออกมาเพื่อใช้บังคับแทนข้อ<br />

บังคับฉบับเดิม พ.ศ. 2545 เป็นการปรับปรุงจากข้อบังคับฉบับ<br />

เดิมในหลายเรื่อง เพื่อให้เกิดความชัดเจน ความเหมาะสมในการ<br />

ปฏิบัติ ประเด็นที่สำคัญบางประเด็น เช่น<br />

– เพิ่มระยะเวลาการประกาศให้มีการเลือกตั ้งก่อนวัน<br />

เลือกตั ้ง จากไม่น้อยกว่า 90 วัน เป็นไม่น้อยกว่า 120 วัน เพื่อ<br />

ให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินการมากขึ ้ น และทำให้ผู้สมัคร<br />

มีเวลาในการประชาสัมพันธ์เพื่อแสดงนโยบาย วิสัยทัศน์ ฯลฯ<br />

มากขึ ้ น<br />

– เพิ่มข้อกำหนดให้มีการแสดงวิสัยทัศน์ของผู้สมัครรับ<br />

เลือกตั ้ง และให้เผยแพร่ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั ้งได้รับทราบ<br />

– กำหนดให้บัตรเลือกตั ้งแยกเป็นบัตรเลือกตั ้งสำหรับ<br />

กรรมการแต่ละประเภท ในกรณีที่บัตรเสียในส่วนใดเพียงส่วน<br />

เดียวก็จะไม่ทำให้อีกส่วนหนึ่งพลอยเป็นบัตรเสียไปด้วย และให้มี<br />

ช่องกาไม่ประสงค์จะลงคะแนนซึ่งผู้ลงคะแนนเสียงสามารถเลือก<br />

ที่จะไม่ลงคะแนนเสียงกรรมการประเภทใดประเภทหนึ่งหรือทั ้ง<br />

สองประเภทก็ได้<br />

– เพิ่มระยะเวลาที่ให้จัดส่งบัตรเลือกตั้งไปให้แก่ผู้มีสิทธิ<br />

เลือกตั ้งก่อนวันเลือกตั ้ง จากไม่น้อยกว่า 15 วัน เป็นไม่น้อยกว่า<br />

60 วัน เพื่อให้ผู้มีสิทธิมีเวลาพิจารณามากขึ ้ น และสอดคล้องกับ<br />

การขยายระยะเวลาการประกาศให้มีการเลือกตั ้ง<br />

ข้อบังคับสภาสถาปนิก ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพฯ<br />

(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 25<strong>63</strong> เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับสภา<br />

สถาปนิก ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพฯ พ.ศ. 2552<br />

โดยมีการปรับปรุงในเรื่องต่อไปนี<br />

(1) ปรับหลักเกณฑ์คะแนนที่อาจได้รับสำหรับผล<br />

งานในชนิดงานออกแบบ และงานบริหารและอำนวยการ<br />

ก่อสร้างที่สามารถนำมาใช้ยื่นประกอบการพิจารณาขอรับใบ<br />

อนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม เฉพาะสาขา<br />

สถาปัตยกรรมหลัก ระดับสามัญสถาปนิก และระดับวุฒิสถาปนิก<br />

1) งานออกแบบ จากเดิมผลงานซึ่งงานก่อสร้างแล้ว<br />

เสร็จผลงานละ 100 คะแนน ปรับเป็น 3 ขั ้นคือ ผลงานที่ไม่ใช่<br />

อาคารขนาดใหญ่ อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ยังคงได้<br />

รับคะแนน 100 คะแนน ผลงานที่เป็นอาคารขนาดใหญ่ขึ ้ นไป<br />

แต่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ ปรับเป็น 150<br />

คะแนน และผลงานที่เป็นอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ<br />

200 คะแนน ส่วนกรณีผลงานซึ่งงานก่อสร้างไม่แล้วเสร็จฯ จาก<br />

เดิมผลงานละ 50 คะแนน ก็ปรับเป็นตามประเภทอาคาร 50,<br />

75 และ 100 คะแนน ตามลำดับ<br />

2) งานบริหารและอำนวยการก่อสร้าง จากเดิม 50<br />

คะแนนต่อผลงาน ปรับเป็นตามประเภทอาคารเช่นเดียวกับงาน<br />

ออกแบบ โดยอาจได้รับ 50, 150 และ 200 คะแนน ตามลำดับ<br />

(2) ปรับคะแนนผลงานรวมสำหรับสาขาสถาปัตยกรรม<br />

หลัก ระดับวุฒิสถาปนิก จากเดิม 700 คะแนน เป็น 1,000<br />

คะแนน<br />

(3) ผู้ขอรับใบอนุญาตฯทุกสาขา อาจนำหน่วย พวต.<br />

ที่มีอายุไม่เกินห้าปี มาใช้แทนคะแนนผลงานได้ แต่ไม่เกิน 60<br />

คะแนน โดยหนึ่งหน่วย พวต. คิดเป็นหนึ่งคะแนน<br />

(4) ในการขอรับใบอนุญาตฯทุกสาขา กรณีเป็นผลงาน<br />

ร่วมของสถาปนิกหลายคน เดิมกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณา<br />

แต่ละผลงานไว้สองแบบคือ หัวหน้าสถาปนิกร้อยละ 60 และ<br />

สถาปนิกผู้ร่วมงานเฉลี่ยจากร้อยละ 40 หรือไม่ก็เฉลี่ยเท่ากัน<br />

ทุกคนหากไม่ได้ระบุว่าผู้ใดเป็นหัวหน้าสถาปนิก ในข้อบังคับฯ<br />

(ฉบับที่ 5) นี ้ ได้เพิ่มหลักเกณฑ์อีกหนึ่งแบบ คือสามารถคิดร้อย<br />

ละของผลงานเป็นสัดส่วนต่างจากสองแบบแรกก็ได้ หากได้รับ<br />

ความยินยอมจากสถาปนิกที่ร่วมงานทุกคน<br />

(5) เปิดโอกาสให้บุคคลอื่นคัดค้านผลงานที่ยื่น<br />

ประกอบการพิจารณาได้ เพื่อให้เกิดกระบวนการและขั ้นตอนใน<br />

การตรวจสอบให้เป็นไปโดยสุจริต<br />

การปรับปรุงหลักเกณฑ์คะแนนสำหรับการเลื่อนระดับของสาขา<br />

สถาปัตยกรรมหลักดังกล่าว จะทำให้การขอรับใบอนุญาตฯระดับ<br />

สามัญสถาปนิกง่ายขึ ้ น เพราะคะแนนรวมคงเดิม แต่มีโอกาสที่จะ


ใช้ผลงานที่อาจได้รับคะแนนมากขึ ้ น ทำให้จำนวนผลงานลดลง<br />

ได้ส่วนในระดับวุฒิสถาปนิก ปรับคะแนนรวมเพิ่มขึ ้ น ในกรณีใช้<br />

ผลงานขนาดเล็กจะต้องมีจำนวนผลงานมากขึ ้ น ในขณะที่หากใช้<br />

ผลงานขนาดใหญ่จำนวนผลงานจะลดลงได้ นอกจากนั ้น หากมี<br />

การเก็บหน่วย พวต. ไว้ ก็สามารถนำมาใช้ได้ถึง 60 คะแนน ซึ่ง<br />

ทำให้คะแนนผลงานที่ต้องใช้ลดลงด้วย<br />

อนึ ่ง สำหรับหลักเกณฑ์คะแนนสำหรับสาขาอื่น คือ สาขา<br />

สถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิสถาปัตยกรรม และสาขา<br />

สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ก็คาดว่าจะมีการปรับปรุง<br />

ต่อไปในแนวทางนี ้ เช่นกัน<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2020<strong>08</strong>17/<br />

ปรับปรุงการจัดจำพวกของโรงงาน<br />

13 ส.ค. 25<strong>63</strong><br />

หลังจากที่ พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ออก<br />

ใช้บังคับ ซึ่งได้เปลี่ยนความหมายของคำว่า “โรงงาน” ใหม่เป็น<br />

อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั ้งแต่<br />

ห้าสิบแรงม้า หรือกำลังเทียบเท่าตั้งแต่ห้าสิบแรงม้าขึ ้ นไป หรือใช้<br />

คนงานตั ้งแต่ห้าสิบคนขึ ้ นไปโดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตามเพื่อ<br />

ประกอบกิจการโรงงาน ทั ้งนี ้ ตามประเภทหรือชนิดของโรงงาน<br />

ที่กำหนดในกฎกระทรวง (เดิมตั ้งแต่ห้าแรงม้า หรือเจ็ดคนขึ ้ น<br />

ไป) บัดนี ้ กระทรวงอุตสาหกรรมได้ออก “กฎกระทรวงกำหนด<br />

ประเภท ชนิด และขนาดของโรงงาน พ.ศ. 25<strong>63</strong>” ประกาศใน<br />

ราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 25<strong>63</strong><br />

กฎกระทรวงฉบับนี ้ เป็นการออกมาเพื่อใช้แทน กฎกระทรวง<br />

(พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.<br />

2535 รวมทั ้งกฎกระทรวงที่ออกมาแก้ไขเพิ่มเติมอีก 5 ฉบับ<br />

ตามกฎกระทรวงฉบับใหม่นี ้ มีบัญชีท้ายกฎกระทรวงซึ่งกำหนด<br />

โรงงานจำพวกที่ 1 โรงงานจำพวกที่ 2 และโรงงานจำพวกที่ 3<br />

ซึ่งยังคงมี 1<strong>07</strong> ประเภทหรือชนิดเช่นเดิม แต่การเปลี่ยนแปลง<br />

ที่สำคัญคือ ปรับปรุงเกณฑ์กำหนดจำพวกของโรงงาน โดยได้นำ<br />

โรงงานที่ใช้เครื่องจักรต่ำกว่า 50 แรงม้าหรือใช้คนงานน้อยกว่า<br />

50 คนออกจากการเป็นโรงงานจำพวกที่ 1 ส่วนโรงงานจำพวก<br />

ที่ 2 และจำพวกที่ 3 ปรับเกณฑ์ขนาดเครื่องจักรและคนงาน<br />

จาก 50 แรงม้า คนงาน 50 คน เป็น 75 แรงม้า และ 75 คน<br />

การปรับปรุงแก้ไขนี ้ มีผลทำให้ โรงงานซึ่งเดิมจัดเป็นโรงงาน<br />

จำพวกที่ 1 ที่มีเกณฑ์เครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และหรือคน<br />

งานไม่เกิน 20 คน ถูกถอดออกจากบัญชี ไม่เข้าข่ายเป็นโรงงาน<br />

ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานอีกต่อไป ส่วนโรงงานซึ่งเดิมจัดเป็น<br />

โรงงานจำพวกที่ 3 เนื่องจากใช้เครื่องจักร 50 แรงม้าขึ ้ นไปแต่<br />

ไม่เกิน 75 แรงม้า จะเปลี่ยนเป็นโรงงานจำพวกที่ 2 ซึ่งต้องแจ้ง<br />

เริ่มประกอบกิจการโรงงาน อย่างไรก็ตาม โรงงานเหล่านั ้นที่<br />

ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานก่อนวันที่กฎกระทรวง<br />

ฉบับนี ้ ใช้บังคับ ได้รับยกเว้นไม่ต้องแจ้งเริ่มประกอบกิจการและ<br />

ให้ถือว่าใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานที่มีอยู่เป็นใบรับแจ้ง<br />

ตามกฎหมายโรงงาน<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2020<strong>08</strong><strong>07</strong>-2/<br />

สถานประกอบการเพื่อสุขภาพประเภทกิจการการ<br />

ดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง<br />

31 ก.ค. 25<strong>63</strong><br />

สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ มีความหมายตามพระราชบัญญัติ<br />

สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 หมายถึงสถานที่ที่<br />

ตั ้งขึ ้ นเพื่อดำเนิน (1) กิจการสปา (2) กิจการนวดเพื่อสุขภาพ<br />

หรือเพื่อเสริมความงาม และ (3) กิจการอื่นตามที่กำหนดใน<br />

กฎกระทรวง สำหรับกิจการตาม (1) และ (2) จะเว้นแต่ที่<br />

เป็นการดำเนินการในสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถาน<br />

พยาบาล หรือการให้บริการในสถานอาบน้ำ นวด หรืออบตัวตาม<br />

กฎหมายว่าด้วยสถานบริการ ส่วนกิจการตาม (3) นั ้น กระทรวง<br />

สาธารณสุขได้ออก “กฎกระทรวง กำหนดให้กิจการการดูแลผู้สูง<br />

อายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงเป็นกิจการอื่นในสถานประกอบการเพื่อ<br />

สุขภาพ พ.ศ. 25<strong>63</strong>” ประกาศในราขกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 31<br />

กรกฎาคม 25<strong>63</strong> และมีผลใช้บังคับเพื่อพ้นกำหนด 180 วันนับ<br />

แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา<br />

“กิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า<br />

กิจการที่ให้บริการเกี่ยวกับการดูแล ส่งเสริม ฟื ้ นฟูสุขภาพ หรือ<br />

การประคับประคองผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงที่มีปัญหาด้าน<br />

สุขภาพโดยวิธีการจัดกิจกรรมในระหว่างวัน หรือการช่วยเหลือ<br />

ในการดำรงชีวิต หรือการจัดสถานที่เพื่อพำนักอาศัย หรือสถาน<br />

ที่บริบาลดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง เว้นแต่เป็นการดำเนิน<br />

การในสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ผู้ซึ่ง<br />

ประกอบกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง รวมทั ้งผู้<br />

ปฏิบัติงานในกิจการดังกล่าวอยู่ จะต้องยื่นคำขอรับใบอนุญาต<br />

ประกอบกิจการ คำขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ดำเนินการ หรือคำขอ<br />

ขึ ้ นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการต่อผู้อนุญาต (กองสถานประกอบการ


้<br />

้<br />

เพื่อสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข)<br />

ภายใน 180 วันนับแต่วันที่กฎกระทรวงใช้บังคับ เมื่อยื่นคำขอฯ<br />

แล้ว ก็สามารถประกอบกิจการ ดำเนินการ หรือให้บริการต่อ<br />

ไปได้จนกว่าจะได้รับแจ้งคำสั่งไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่รับขึ ้ น<br />

ทะเบียนจากผู้อนุญาต<br />

นอกจากนี ้ ยังได้ออก “กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐาน<br />

ด้านสถานที่ ความปลอดภัย และการให้บริการในสถานประกอบ<br />

การเพื่อสุขภาพประเภทกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่ง<br />

พิง พ.ศ. 25<strong>63</strong>” เพื่อให้ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการใช้ปฏิบัติ<br />

กฎกระทรวงฉบับนี ้ ประกอบด้วยหมวดที่กำหนดมาตรฐานด้าน<br />

สถานที่ มาตรฐานด้านความปลอดภัย และมาตรฐานด้านการ<br />

ให้บริการ โดยมีข้อกำหนดทางด้านกายภาพเกี่ยวกับพื ้ นที่ที่<br />

ให้บริการทั ้งภายในและภายนอก และข้อกำหนดด้านความ<br />

ปลอดภัยที่น่าสนใจ เช่น<br />

– มีความกว้างของทางเดินไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร<br />

– กรณีอยู่ในอาคารเดียวกันกับการประกอบกิจการอื่น<br />

ต้องมีการแบ่งเขตพื ้ นที่บริเวณที่ให้บริการอย่างชัดเจน ไม่รบกวน<br />

การให้บริการในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ<br />

– ห้องน ้ำ ต้องมีลักษณะเป็นไปตามที่กำหนดในกฎ<br />

กระทรวง เช่น ประตูเป็นแบบเปิดออกภายนอกหรือบานเลื่อน<br />

ขนาดกว้างสุทธิไม่ต่ำกว่า 90 เซนติเมตร มีราวจับตั ้งแต่ประตูไป<br />

จนถึงโถส้วมและบริเวณที่อาบน ้ำ ที่โถส้วมมีราวจับชิดผนังอย่าง<br />

น้อยหนึ่งด้าน ติดตั ้งสัญญาณเรียกฉุกเฉินในห้องน ้ำ เป็นต้น<br />

– มีระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้และติดตั ้งเครื่องดับ<br />

เพลิงไว้ในตำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจนอย่างน้อยชั ้นละหนึ่งเครื่อง<br />

– มีสัญญาณเรียกฉุกเฉิน เช่น กริ่ง กระดิ่ง หรือสัญญาณ<br />

เตือนภัย<br />

– มีอุปกรณ์ช่วยฟื ้ นคืนชีพ และมีเครื่องกระตุกหัวใจ<br />

อย่างน้อยหนึ่งเครื่อง<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2020<strong>08</strong><strong>07</strong>/<br />

ก ำ ห น ด เ ข ต พื้น ที่ แ ล ะ ม า ต ร ก า ร ค ุ ้ ม ค ร อ ง<br />

สิ่งแวดล้อม จังหวัดชลบุรี<br />

24 ก.ค. 25<strong>63</strong><br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ออก “ประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขต<br />

พื ้ นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื ้ นที่อำเภอ<br />

บางละมุง และอำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 25<strong>63</strong>” เพื่อ<br />

ใช้แทนฉบับเดิม พ.ศ. 2553 ประกาศฯฉบับนี ้ ได้กำหนดอายุ<br />

ใช้บังคับ 5 ปี คือตั ้งแต่ 25 ก.ค. 25<strong>63</strong> ถึง 24 ก.ค. 2568<br />

ครอบคลุมพื ้ นที่เช่นเดิม มีการปรับปรุงแก้ไขและเพิ่มเติมข้อ<br />

กำหนดในรายละเอียดบางอย่าง พอสรุปในส่วนที่น่าสนใจโดย<br />

เน้นในส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ดังนี<br />

หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการ<br />

ใช้อาคาร<br />

พื ้ นที่ที่วัดจากระดับน ้ำทะเลปานกลางเข้าไปในแผ่นดินเป็นระยะ<br />

100 เมตร ให้ทำได้เฉพาะอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 14 เมตร<br />

และต้องมีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของที่ดินแปลงที ่ยื่นขอ<br />

อนุญาตก่อสร้างอาคาร และมีพื ้ นที่สีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 50<br />

ของที่ว่าง (เดิมไม่ได้กำหนดเรื่องพื ้ นที่สีเขียวด้วย)<br />

เพิ่มข้อกำหนดสำหรับพื ้ นที่บนเกาะล้าน เกาะครก และเกาะ<br />

สาก ให้ทำได้เฉพาะอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร และต้อง<br />

มีพื ้ นที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของที่ดินแปลงที่ยื่นขออนุญาต<br />

ก่อสร้างอาคาร และมีพื ้ นที่สีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของที่<br />

ว่าง<br />

พื ้ นที่ที่มีความลาดชันตั ้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 35 เดิม ให้<br />

มีได้เฉพาะอาคารประเภทบ้านเดี่ยวหรืออาคารเดี่ยวที่มีความสูง<br />

ไม่เกิน 12 เมตร และขนาดแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาตก่อสร้าง<br />

ต้องมีเนื ้ อที่ไม่น้อยกว่า 100 ตารางวา ในประกาศฯฉบับใหม่<br />

กำหนดข้อจำกัดความสูงที่เข้มขึ ้ นสำหรับเกาะล้าน เกาะครก<br />

และเกาะสาก ส่วนเนื ้ อที่เพิ่มข้อกำหนดกรณีเนื ้ อที่น้อยกว่า 100<br />

ตารางวาด้วย โดยกำหนดหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี<br />

– พื ้ นที่บนแผ่นดินใหญ่ ให้ทำได้เฉพาะอาคารประเภท<br />

บ้านเดี่ยวหรืออาคารเดี่ยวที่มีความสูงไม่เกิน 12 เมตร<br />

– พื ้ นที่บนเกาะล้าน เกาะครก และเกาะสาก ให้ทำได้<br />

เฉพาะอาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร<br />

พื ้ นที่ที่มีความลาดชันร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 35 ในกรณีที่ขนาด<br />

ของที่ดินแปลงที่ยื่นขออนุญาตมีเนื ้ อที่ ตั ้งแต่ 100 ตารางวาขึ ้ น


้<br />

ไป ให้มีพื ้ นที่อาคารคลุมดินต่อหลังไม่เกิน 90 ตารางเมตร มี<br />

ที่ว่างน ้ำซึมผ่านได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของที่ดินแปลงที่ยื่น<br />

ขออนุญาต และมีพื ้ นที่สีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของที่ว่าง<br />

สำหรับกรณีที่ขนาดของที่ดินแปลงที่ยื่นขออนุญาตมีเนื ้ อที่น้อย<br />

กว่า 100 ตารางวา ให้มีพื ้ นที่อาคารคลุมดินต่อหลังไม่เกิน 70<br />

ตารางเมตร และมีที่ว่างน ้ำซึมผ่านได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ<br />

ที่ดินแปลงที่ยื่นขออนุญาต และมีพื ้ นที่สีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ<br />

50 ของที่ว่าง ทั ้งนี ้ ที่ว่างของที่ดินแปลงที่ยื่นขออนุญาตทั ้งสอง<br />

กรณีต้องมีไม้ยืนต้นที่เป็นพันธุ์ไม้ท้องถิ่นเป็นองค์ประกอบหลัก<br />

พื ้ นที่ที่มีความลาดชันเกินกว่าร้อยละ 35 ขึ ้ นไป ห้ามก่อสร้าง<br />

หรือดัดแปลงอาคารใด ๆ (เดิม ห้ามที่ความลาดชันเกินกว่า<br />

ร้อยละ 50 ขึ ้ นไป ส่วนความลาดชันเกินกว่าร้อยละ 35 ถึงร้อย<br />

ละ 50 เดิมให้มีได้เฉพาะอาคารเดี่ยวตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด)<br />

พื ้ นที่ภายในบริเวณระยะ 6 เมตร จากแนวริมฝั่งตามสภาพ<br />

ธรรมชาติของแม่น ้ำ ลำคลอง หรือแหล่งน ้ำสาธารณะ ห้าม<br />

ก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารใด ๆ เว้นแต่เป็นการก่อสร้าง<br />

เพื่อประโยชน์สาธารณะในการคมนาคมทางน ้ำหรือการ<br />

สาธารณูปโภค โดยต้องได้รับความเห็นจากคณะกรรมการ เพื่อ<br />

นำไปประกอบการขออนุญาต (เดิม หากเป็นคลองสาธารณะที่<br />

มีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร บังคับเฉพาะพื ้ นที่ภายในบริเวณ<br />

ระยะ 3 เมตรจากแนวเขตคลองสาธารณะ)<br />

หลักเกณฑ์การประกอบกิจกรรม<br />

เพิ่มข้อกำหนดลักษณะหรือบริเวณที่ห้ามประกอบกิจกรรม การ<br />

ขุด ตัก หรือดูด กรวด ดิน หินผุ ทราย หรือลูกรัง (ดูรายละเอียด<br />

ในข้อ 8 (2) ของประกาศฯ)<br />

ในประกาศฯฉบับใหม่นี ้ ไม่มีข้อกำหนดห้ามการติดตั ้งป้ายหรือ<br />

สิ่งที่สร้างขึ ้ นสำหรับติดหรือตั ้งป้ายบนพื ้ นดิน (เดิมมี)<br />

เพิ่มข้อกำหนดห้ามจัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ยกเว้น<br />

ในบริเวณที่มีการกำหนดเป็นเขตที่ดินประเภทอุตสาหกรรม<br />

เฉพาะกิจตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง<br />

การจัดทำ IEE หรือ EIA<br />

การจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื ้ องต้น (IEE) มีหลัก<br />

เกณฑ์โครงการหรือการประกอบกิจการที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น<br />

– โรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวม หรืออาคารชุด ที่อยู่ห่าง<br />

จากแนวชายฝั่งทะเลเกินกว่า 50 เมตร ซึ่งมีจำนวนห้องพักตั ้งแต่<br />

30 ห้อง ถึง 79 ห้อง หรือมีพื ้ นที่ใช้สอยของทุกอาคารดังกล่าว<br />

รวมกันตั ้งแต่ 1,500 ตารางเมตร แต่ไม่ถึง 4,000 ตารางเมตร<br />

(เดิม 10 ถึง 79 ห้อง)<br />

– กิจการที่นำบ้านพักอาศัยที่มีจำนวนห้องพักตั้งแต่ 30<br />

ห้อง ถึง 79 ห้อง หรือห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว ที่มีจำนวน<br />

ห้องพักตั ้งแต่ 30 ห้อง ถึง 79 ห้อง ที่อยู่ในที่ดินแปลงเดียวกัน<br />

หรือติดต่อกัน ไปให้บริการเป็นสถานที่พักในลักษณะโรงแรม<br />

(เดิม 10 ถึง 79 หลัง)<br />

– ส่วนโครงการหรือการประกอบกิจการข้างต้น ที่มี<br />

จำนวน 10 ถึง 29 ห้อง/หลัง ประกาศฯฉบับใหม่นี ้ กำหนดให้<br />

ปฏิบัติตามมาตรการป้องการและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม<br />

ตามที่กำหนดไว้ท้ายประกาศฯ<br />

– การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบ<br />

การพาณิชย์ ที่มีจำนวนแปลงที่ดินตั ้งแต่ 30 แปลง แต่ไม่ถึง 500<br />

แปลง หรือมีเนื ้ อที่ตั ้งแต่ 1.8 ไร่ แต่ไม่เกิน 100 ไร่ (เดิม ไม่ถึง<br />

250 แปลง หรือมีเนื ้ อที่ไม่เกิน 100 ไร่)<br />

– เดิม ทางหรือถนนส่วนบุคคลที่ก่อสร้างบนพื ้ นที่ที่มี<br />

ความลาดชันตั ้งแต่ร้อยละ 15 ขึ ้ นไปและมีความยาวต่อเนื่องกัน<br />

ตั ้งแต่ 500 ถึง 1,500 เมตร ต้องทำ IEE ในประกาศฯฉบับใหม่<br />

ไม่มีแล้ว<br />

การจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) มี<br />

หลักเกณฑ์โครงการหรือการประกอบกิจการที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

เช่น<br />

– โรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวม หรืออาคารชุด ที่อยู่ห่าง<br />

จากแนวชายฝั่งทะเลไม่เกิน 50 เมตร หรืออยู่ห่างจากแนวชาย<br />

เกาะไม่เกิน 50 เมตร กรณีที่เกาะนั้นไม่มีชายฝั่งทะเล (เดิมไม่มี)<br />

– เดิม ทางหรือถนนส่วนบุคคลที่ก่อสร้างบนพื ้ นที่ที่มี<br />

ความลาดชันตั ้งแต่ร้อยละ 15 ขึ ้ นไป และมีความยาวต่อเนื่อง<br />

กันเกินกว่า 1,500 เมตร ต้องทำ EIA ในประกาศฯฉบับใหม่<br />

ไม่มีแล้ว<br />

ข้อกำหนดควบคุมชายฝั ่งทะเลจังหวัดชลบุรี<br />

ในการใช้บังคับตามประกาศฯฉบับนี ้ หากมีกฎหมายอื่นที่<br />

กำหนดมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมเรื่องใดไว้โดยเฉพาะและ<br />

เป็นมาตรการที่ไม่ต่ำกว่าหรือดีกว่าที่กำหนดไว้ในประกาศนี<br />

ก็ให้เป็นไปตามมาตรการคุ้มครองสิ ่งแวดล้อมที่กำหนดไว้ใน<br />

กฎหมายนั ้น อย่าลืมว่า นอกจากประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ<br />

ฉบับนี ้ ซึ่งเป็นการกำหนดเขตพื ้ นที่และมาตรการคุ้มครองสิ ่ง<br />

แวดล้อมตามกฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม<br />

แล้ว ยังมีกฎกระทรวงควบคุมอาคาร ซึ่งควบคุมเรื่องการก่อ<br />

สร้างฯ ในจังหวัดชลบุรีเช่นกัน ได้แก่ กฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.<br />

2524) ซึ่งจะต้องถูกนำมาพิจารณาร่วมกับประกาศกระทรวง<br />

ตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมฉบับนี ้ ด้วย<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2020<strong>07</strong>29/


สำรวจพื ้ นที่ปรับปรุงและฟื ้ นฟูย่านตลาดเก่า<br />

แก่งคอย จ.สระบุรี<br />

เมื่อวันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม 25<strong>63</strong> สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ นำโดย คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมฯ<br />

คุณปฐมา หรุ่นรักวิทย์ อุปนายกฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบาย<br />

สาธารณะ และ ผศ.ณธทัย จันเสน กรรมาธิการฝ่ ายกิจกรรม<br />

เมืองฯ เดินทางลงพื ้ นที่สำรวจย่านตลาดเก่า อ.แก่งคอย จ.สระบุรี<br />

ในโครงการฟื ้ นฟูย่านตลาดเก่าแก่งคอยและพัฒนาให้เป็นต้น<br />

แบบเมืองน่าอยู่อย่างยิ่งยืน โดย เทศบาลเมืองแก่งคอย ร่วมกับ<br />

บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง และชาวตลาดแก่งคอย เพื่อออกแบบ<br />

และปรับปรุงย่านตลาดเก่าที่ถูกทิ ้ งล้าง และดึงอัตลักษณ์ที่มี<br />

คุณค่าทางประวัติศาสตร์ให้กลับมามีชีวิต เกิดเป็นถนนสาย<br />

ศิลปะ ช่วยเสริมสร้างกิจกรรมทางการค้าและเศรษฐกิจการท่อง<br />

เที่ยววิถีชุมชน<br />

ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาผังเมืองรวม<br />

กรุงเทพมหานคร ครั ้งที่ 1/25<strong>63</strong><br />

วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม 25<strong>63</strong> เวลา 13.30 น. ณ ห้อง<br />

ประชุม ชั้น 19 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร<br />

(ดินแดง)<br />

เพื่อพิจารณา ให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นต่อร่างผังเมืองรวม<br />

กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั ้งที่ 4) ตามมาตรา 24<br />

แห่งพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562<br />

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้แทนสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

- สนับสนุนแนวคิดระบบโบนัส เพราะจะเป็นการเพิ่ม<br />

พื ้ นที่สีเขียวให้กับเมืองโดยภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุน แต่ขอให้<br />

บริษัทที่ปรึกษาช่วยเสนอแนะแนวทางบริหารจัดการ เช่น ภาค<br />

เอกชนต้องการยกเลิกสิทธิ ์ รวมไปถึงการตรวจสอบการใช้ที่ดิน<br />

ของเอกชนที่เข้าร่วมโครงการด้วย เช่น ในกรณีเอกชนลักลอบ<br />

เปลี่ยนแปลงพื ้ นที่สวนสาธารณะให้กลายเป็นลานจอดรถ ซึ่งผิด<br />

เงื่อนไข จะมีบทลงโทษและการค่าปรับอย่างไร โดยเสนอแนะให้<br />

ผู้ตรวจสอบแปลงที่ดินเป็นการทำงานร่วมแบบสหวิชาชีพ ทั ้ง<br />

สถาปนิก สถาปนิกผังเมือง วิศวกร นักประเมินอสังหาริมทรัพย์<br />

ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของสำนักวางผังพัฒนาเมือง<br />

- การปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณเกาะ<br />

รัตนโกสินทร์จากพื ้ นที่อนุรักษ์ฯ เป็นพื ้ นที่พาณิชยกรรม ปัจจุบัน<br />

การอนุรักษ์พื ้ นที่เกาะรัตนโกสินทร์มีเครื่องมือช่วยหลายตัว เช่น<br />

ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร อีกทั ้งยังมีผลการศึกษาผังแม่บท<br />

overlay zoning ดังนั ้นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน<br />

ดังกล่าวคาดว่าน่าจะไม่มีผลต่อทิศทางการอนุรักษ์ แต่อย่างไร<br />

ก็ตามขอให้บริษัทที่ปรึกษาช่วยพิจารณากิจกรรมที่ไม่เหมาะ<br />

สมในพื ้ นที่สำคัญ ที่อาจส่งผลต่อจิตภาพเมืองในอนาคต


- การกำหนดระยะถอยร่น รวมไปถึงความสูงอาคาร<br />

ขอให้พิจารณาหลักเกณฑ์มาตรฐานเทียบเคียงกับกรมโยธาธิ<br />

การและผังเมือง เนื่องจากจะได้สร้างความเข้าใจกับสถาปนิกทั ้ง<br />

กรุงเทพฯ และท้องถิ่นได้ง่าย<br />

- การจัดทำผังโครงข่ายคมนาคมและขนส่ง เมื่อ<br />

พิจารณาสัดส่วนจำนวนโครงข่ายแล้วพบว่ายังคงกระจุกตัวอยู่ใน<br />

เมืองชั ้นใน อย่างไรก็ตามอาจเนื่องจากเป็นการวิเคราะห์ระดับ<br />

ภาพรวมของกรุงเทพมหานคร จึงเสนอให้ที่ปรึกษา ช่วยพิจารณา<br />

จัดลำดับความสำคัญของชุมชนชานเมือง เพื่อทำผังพื ้ นที่เฉพาะ<br />

และจะทำผังโครงข่ายทางสัญจรในระดับย่านเพื่อให้ผังเมืองรวม<br />

เป็นไปตามวัตถุประสงค์กระจายกิจกรรมจากศูนย์กลางไปสู่<br />

ชานเมืองอย่างแท้จริง<br />

ผู้แทนสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ผศ.ดร. สมลักษณ์ บุญณรงค์<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

โครงการเสวนา เรื่อง KORAT FIGHT BACK โดย สุทธิชัย หยุ่น<br />

(สื่อมวลชนอาวุโส) และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ วันที่ 15 สิงหาคม<br />

25<strong>63</strong> กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ ได้ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิด<br />

ขึ ้ น เนื่องด้วยจากวิกฤตการณ์โควิด - 19 ที่ส่งผลกระทบด้าน<br />

สาธารณสุข ผลกระทบด้านเศรษฐกิจอย่างรุนแรง รวมทั ้งผลกระ<br />

ทบต่อวิชาชีพสถาปนิก ทางกรรมาธิการสถาปนิกอีสานร่วมกับ<br />

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และ 10<br />

องค์กรเอกชน จัดโครงการนี ้ ขึ ้ นเพื่อแสดงบทบาทเสนอแนะแนว<br />

ทางแก้ปัญหาต่อสังคม และเพื่อเป็นการรวบรวมแนวความคิด<br />

พัฒนา และฟื ้ นฟูเมืองจากวิกฤตครั ้งนี ้ ร่วมเสวนาโดย สุทธิชัย<br />

หยุ่น (สื่อมวลชนอาวุโส) และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

เมื่อวันเสาร์ที่ 8 และวันอาทิตย์ที่ 9 สิงหาคม 25<strong>63</strong> กรรม<br />

มาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ จัดโครงการจัดอบรมความรู้เพื่อเตรียมตัวใน<br />

การทดสอบความรู้ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ<br />

สถาปัตยกรรมควบคุม ณ สำนักงานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณฯ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีผู้ให้ความสนใจเข้า<br />

ร่วมจำนวน 57 ท่าน


เสวนาออนไลน์ “BEYOND ARCH WEBINAR”<br />

เมื่อวันที่ 26-27 สิงหาคม 25<strong>63</strong> สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ จัดเสวนาออนไลน์ “BEYOND ARCH WE-<br />

BINAR” ในหัวข้อ การปรับทัศน์ของการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

และการก่อสร้าง ในวิถีใหม่ เรียนเชิญกูรูจากวงการสถาปัตยกรรม<br />

อสังหาริมทรัพย์ และผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างมาร่วมเปิดมุมมอง แชร์<br />

ประสบการณ์<br />

โดยวันแรก วันที่ 26 สิงหาคม 25<strong>63</strong> เสวนาในหัวข้อ<br />

“มองเก่าให้ใหม่ในวิถี New Normal” ได้รับเกียรติจากวิทยากร<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิ คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ พลอากาศตรี หม่อมหลวง ประกิต<br />

ติ เกษมสันต์ นายกสภาสถาปนิก ผศ.ดร.ไขศรี ภักดิ ์สุขเจริญ<br />

นายกสมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย คุณวิภาวดี พัฒนพงศ์พิบูล<br />

นายกสมาคมมัณฑนากร แห่งประเทศไทย คุณนำชัย แสนสุภา<br />

นายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย คุณศักดิ ์ชัย ภัทรปรีชา<br />

กุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี เอ๊กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์<br />

จำกัด<br />

วันที่สอง 27 สิงหาคม 25<strong>63</strong> เสวนาในหัวข้อ “New<br />

Normal ในมุมมองของผู้ผลิต และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของ<br />

อุตสาหกรรม” ได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ผศ.ดร.<br />

เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท<br />

เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) และที่ปรึกษา สมาคม<br />

ธุรกิจสร้างบ้านจัดสรร คุณรัศมี รัตนไชยานนท์ รองประธานจัด<br />

งานสถาปนิก’64 สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

คุณวชิระชัย คูนำวัฒนา Head of Living Solution Business<br />

บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จำกัด คุณจารุชา ศรีฟ้า<br />

วิศวกร บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) คุณอดิศักดิ ์ เธีย<br />

ไพรัตน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท วิลสันอาร์ท (ประเทศไทย)<br />

จำกัด


ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 7/<strong>63</strong><br />

ISA Building Material Lecture Series รอบรู้เรื่องวัสดุก่อสร้าง ครั้งที่ 3-<strong>63</strong><br />

ขอเชิญสมาชิกสมาคมฯ สถาปนิก นิสิต - นักศึกษาสถาปัตยกรรม และผู้สนใจทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมอบรมความรู้ด้านวัสดุ<br />

และการก่อสร้างแบบผู้รู้จริง โดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

พบกับการสัมมนาน าเสนอข้อมูลรายละเอียดวัสดุก่อสร้างที่น่าสนใจเพื่อการท างานออกแบบรายละเอียด (Detail Design) ที่ชัดเจน<br />

ถูกต้อง เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ลดปัญหางานก่อสร้าง รวมถึงกรณีศึกษาที่น่าสนใจ ...แบบไม่ Hard Sale…<br />

ให้ความรู้และสนับสนุนรายการโดย : Union Galvanizer, Thapanin, Thai Herrick, Bitec Enterprise, Turner Consulting และThai Obayashi<br />

ด าเนินรายการโดย : คุณวิญญู วานิชศิริโรจน์, คุณปฏิกร ณ สงขลา<br />

วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 25<strong>63</strong> เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมพระสาโรชรัตนนิมมานก์ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

อัตราค่าลงทะเบียนพร้อมเอกสารประกอบ / อาหารกลางวัน / อาหารว่าง<br />

● สมาชิกสมาคมฯ/ นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ทั่วไป 500 บาท<br />

● นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ 100 บาท<br />

● สถาปนิกและผู้สนใจทั่วไป 1,200 บาท<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ฝ่ายจัดอบรม<br />

โทรศัพท์ 0-2319-6555 ต่อ 202, 206 / โทรสาร ต่อ 204, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่ www.asa.or.th<br />

รับเพียง 80 ท่านเท่านั้น กรณีมีผู้สมัครเกินจ านวนที่ก าหนดไว้ สมาคมฯ สงวนสิทธิ์ส าหรับผู้ที่ช าระเงินลงทะเบียนก่อน


MEMBER CORNER<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมกรรมการบริหาร<br />

ประจาเดือนกรกฎาคม 25<strong>63</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 64 คน<br />

จานวน 16 คน<br />

จำนวน 23 คน<br />

จานวน 2 คน<br />

ประจำเดือนสิงหาคม 25<strong>63</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 27 คน<br />

จานวน 64 คน<br />

จำนวน 20 คน<br />

จานวน 1 คน<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 3 บริษัท<br />

จำนวน - บริษัท<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 3 บริษัท<br />

จำนวน - บริษัท

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!