17.10.2023 Views

ASA NEWSLETTER_05-06_66

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ุ<br />

์<br />

จำดหมายเหตุอาษาในรอบเดือนที ผ่านมา สมาคมฯได้มีกิจำกรรมที จััดให้สมาชิกเพื อให้ความรู้และการสันทนาการ<br />

ได้เข้าร่วมอย่างต่อเนือง ทั ้งในส่วนภูมิภาคและส่วนกลาง ไม่ว่าจำะเป็นกิจำกรรม <strong>ASA</strong> CUP 2023 งานฟุุตบอลอาษา<br />

ที ได้หยุดมาต่อเนื องในหลายปีหลังจำากโควิด ได้กลับมาจััดอย่างยิ งใหญ่อีกครั ้ง มีสมาชิกเข้าร่วมเป็นจำานวนมาก<br />

ร่วม 500 คน ส่วนงานด้านวิชาการและวิชาชีพ ได้มีการจััดกิจำกรรม ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพทั ้งการเยียมชม<br />

site และให้ความรู้ด้านวัสดุก่อสร้างและการออกแบบ กิจำกรรม ISA Behind The Scene 2023 ทีจำะจััดข้ ้ นครั ้งที 1<br />

ในหัวข้อ True Dital Park ในวันที 9 กันยายนนี ้ เสวนาออนไลน์ <strong>ASA</strong> TALK Series ซึ่่งเป็นซึ่ีรีย์ Young Architect<br />

Talks ทีเป็นสถาปนิกรุ่นใหม่ มาเสวนางานออกแบบในช่วงสายเวลาสิบโมงวันเสาร์ ส่วนงานด้านการอนุรักษ์มรดก<br />

สถาปัตยกรรมได้เปิดให้ผู้ที สนใจำได้ยื นส่งรายชื ออาคารอนุรักษ์สถาปัตยกรรม เพื อเข้ารับรางวัลอาคารอนุรักษ์ฯดี<br />

เด่นประจำำป ี 2567 ซึ่่งเป็นงานทีทางสมาคมฯได้จััดข้ ้ นทุกปี เห็นความสาคัญของการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรม<br />

ที มีคุณค่าในประเทศไทย จึึงขอเชิญชวนสมาชิกทุกท่านเข้าร่วมกิจำกรรมกับสมาคมและขอบคุณทีให้ความร่วมมือ<br />

ด้วยดีเสมอมาครับ<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำำปี พ.ศ. 2565-2567<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นายนิเวศน์ วะสีนนท์<br />

นาย จำีรเวช หงสกุล<br />

นายไพทยา บัญชากิตติกุล<br />

นายชุตยาเวศ สินธุพันธ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

นายรุ่งโรจำน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

นายพิพัฒน์ รุจำิราโสภณ<br />

เหรัญญิก<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจำิตร<br />

ปฏิคม<br />

นายเฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

นายทะเบียน<br />

นายคมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

นางสาวกุลธิดา ทรงกิตติภักดี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

นายเฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

นายอดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จำันเสน<br />

นายธนพงศ์ วิชคำหาญ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

นายวีรพล จำงเจำริญใจำ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

ดร.กาญจำน์ เพียรเจำริญ<br />

ประธานกรรมธิการสถาปนิกบูรพา<br />

นายคมกฤต พานนสถิตย์<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2564-25<strong>66</strong><br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

นายสิน พงษ์หาญยุทธ<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส<br />

รศ.ยุพยง เหมะศิลปิน<br />

นายสมิตร โอบายะวาทย์<br />

นายวิญญู วานิชศิริโรจำน์<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจำิตร


ต่่ออายุพ้ นที และมาต่รการคุ้มครองสิ งแวดล้อม<br />

ชะอำหััวหิน<br />

23 มิ.ย. 25<strong>66</strong><br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมออก “ประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม เรือง ขยายระยะ<br />

เวลาการใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ งแวดล้อม เรื อง กำหนดเขตพื ้ นที และมาตรการคุ้มครองสิ ง<br />

แวดล้อม ในบริเวณพื ้ นทีอำเภอบ้านแหลม อำเภอเมืองเพชรบุรี<br />

อำเภอท่ายาง อำเภอชะอำ จัังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน<br />

อำเภอปราณบุรี จัังหวัดประจำวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2561 พ.ศ.<br />

25<strong>66</strong>” เพือขยายระยะเวลาการใช้บังคับประกาศกระทรวง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมทีกำหนดเขตพื ้ นทีและ<br />

มาตรการคุ้มครองสิงแวดล้อมในพื ้นทีจัังหวัดเพชรบุรีและจัังหวัด<br />

ประจำวบคีรีขันธ์ ซึ่่งเดิมจำะครบกำหนดในวันที 29 มิถุนายน<br />

25<strong>66</strong> ให้ได้รับการขยายระยะเวลาการใช้บังคับต่อไปอีกสองปี<br />

คือจำนถ้งวันที 29 มิถุนายน 2568<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2023<strong>06</strong>27/<br />

หลักเกณฑ์์และคุณสมบัติิของผูู้้ประกอบวิชาชีพ<br />

วิศวกรรมควบคุม<br />

21 มิ.ย. 25<strong>66</strong><br />

สภาวิศวกรออกข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์์และคุณสมบัติของผู้<br />

ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ สาขาต่างๆ รวม<br />

7 ฉบับ สำหรับสาขาวิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่<br />

สาขาวิศวกรรมเครืองกล สาขาวิศวกรรมไฟุฟุ้า สาขาวิศวกรรม<br />

อุตสาหการ สาขาวิศวกรรมสิงแวดล้อม และสาขาวิศวกรรม<br />

เคมี เพื อใช้บังคับแทนข้อบังคับสภาวิศวกรฉบับเดิมทีใช้บังคับ<br />

มาตั ้งแต่ปี พ.ศ. 2551<br />

ในสาขาวิศวกรรมโยธา คือ ข้อบังคับสภาวิศวกร ว่าด้วยหลัก<br />

เกณฑ์์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม<br />

แต่ละระดับ สาขาวิศวกรรมโยธา พ.ศ. 25<strong>66</strong> มีการแก้ไขเพิม<br />

เติมจำากฉบับ พ.ศ. 2551 เช่น<br />

– ระดับสามัญวิศวกร เดิม สามารถประกอบวิชาชีพ<br />

วิศวกรรมควบคุมได้ทุกงาน ในทุกประเภทและขนาด ยกเว้นงาน<br />

ให้คำปร้กษา ในข้อบังคับฉบับใหม่ งานให้คำปร้กษา ให้ทำได้<br />

เฉพาะการให้คำแนะนำำ แต่ไม่สามารถให้การวินิจฉััยหรือการ<br />

ตรวจรัับรองงานได้<br />

– ระดับภาคีวิศวกร ในงานออกแบบและคำนวณ มีการ<br />

เปลียนแปลง เช่น (ก) อาคารทีมีความสูงไม่เกิน 4 ชั้น โครงสร้าง<br />

แต่ละชั ้นมีความสูงไม่เกิน 5 เมตร หรืออาคารทีมีช่วงคานยาว<br />

ทุกขนาด ทั ้งนี ้ อาคารหรือโครงสร้างของอาคารหรือองค์อาคาร<br />

ต้องไม่เข้าข่ายเป็นอาคารสาธารณะ นอกจำากนี ้ (ฎ) หากเป็น<br />

กรณีที เข้าข่ายต้องออกแบบและคำนวณตามกฎกระทรวง(ตาม<br />

กฎหมายควบคุมอาคาร)ว่าด้วย การรับน้ ำำหนัก ความต้านทาน<br />

ความคงทนของอาคาร และพื ้ นดินทีรองรับอาคารในการ<br />

ต้านทานแรงสันสะเทือนของแผ่นดินไหว จำะต้องผ่านการเรียน<br />

การสอนหรือการอบรมว่าด้วยการออกแบบอาคารต้านทานแรง<br />

สันสะเทือนจำากแผ่นดินไหว<br />

– ระดับภาคีวิศวกร ในงานควบคุมการสร้างหรือการ<br />

ผลิต มีการเพิ มเติมประเภทและขนาด เช่น (ค) อาคารต้าน<br />

แรงไหวสะเทือนจำากแผ่นดินไหวที มีความสูงไม่เกิน 8 ชั ้น<br />

(ง) อาคารทีมีพื ้ นที รวมกันไม่เกิน 150 ตารางเมตร ซึ่่งอยู่<br />

บนพื ้ นทีเชิงลาดทีมีความลาดไม่เกิน 35 องศา (ซึ่) ท่าเทียบ<br />

เรือ หรืออู ่เรือสำหรับเรือทีมีระวางขับน้ ำำไม่เกิน 50 เมตริกตัน<br />

(ถ) โครงสร้างรองรับท่อที มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 0.30<br />

เมตร หรือพื ้ นที หน้าตัดของทุกท่อรวมกันไม่เกิน 0.10 เมตร<br />

(ท) โครงสร้างรองรับหรือติดตั ้งเครืองเล่นทีเคลือนทีได้โดยมี<br />

ความเร็วไม่เกิน 6 กิโลเมตรต่อชัวโมง หรือมีระดับความสูงที<br />

ผู้เล่นข้ ้ นไปเล่นสูงสุดไม่เกิน 2.50 เมตร หรือมีส่วนที ต้องใช้<br />

น ้ามีความล้กของระดับน้ ำำไม่เกิน 0.80 เมตร (ธ) โครงสร้าง<br />

ของปั ้นจำันหอสูงหรือเดอริกเครนสูงไม่เกิน 23 เมตร จำากระดับ<br />

ฐานทีตั ้ง (ผ) แบบหล่อคอนกรีตและโครงสร้างรองรับแบบหล่อ<br />

คอนกรีตสำหรับเสา ผนัง หรือกำแพง มีความสูงไม่เกิน 5 เมตร<br />

สำหรับคานหรือแผ่นพื ้ นมีช่วงยาวไม่เกิน 8 เมตร<br />

ในสาขาวิศวกรรมสิงแวดล้อม คือ ข้อบังคับสภาวิศวกร<br />

ว่าด้วยหลักเกณฑ์์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม<br />

ควบคุมแต่ละระดับ สาขาวิศวกรรมสิงแวดล้อม พ.ศ. 25<strong>66</strong> มี<br />

การแก้ไขเพิมเติมจำากฉบับ พ.ศ. 2551 เช่น<br />

– ระดับภาคีวิศวกร ในงานออกแบบและคำนวณ ซึ่่งเดิม<br />

ประกอบด้วย ระบบน้ ำำสะอาด ระบบน้ ำำเสีย ระบบขยะมูลฝอย และ<br />

ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย ในข้อบังคับฉบับใหม่ มีการเพิม<br />

เติมข้ ้ นหลายระบบ ได้แก่ ระบบประปา (อัตรากาลังผลิตสูงสุดไม่<br />

เกิน 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน) ระบบการนาน ้าทิ ้งกลับมาใช้ใหม่<br />

(อัตรากาลังสูงสุดไม่เกิน 100 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน) ระบบระบาย<br />

น้ ำำ (ไม่เกิน 20,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน หรือพื ้ นทีจััดสรรทีดินไม่<br />

เกิน 499 แปลง หรือพื ้ นทีโครงการไม่เกิน 100 ไร่) ระบบควบคุม<br />

มลพิษทางอากาศ (ปริมาตรการระบายอากาศไม่เกิน 900 ลูกบาศก์<br />

เมตรต่อชัวโมง) ระบบน้ำำบาดาลหรือระบบเติมน้ำำลงในชั้นน้ำำบาดาล<br />

(ไม่เกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน) และการประเมินผลกระทบสิง<br />

แวดล้อมทีเกียวข้องกับงานวิศวกรรมสาขาวิศวกรรมสิงแวดล้อมทุกข<br />

นาด<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2023<strong>06</strong>22/


ขยายเวลากฎกระทรวงอาคารอ้ นทีใช้ประกอบ<br />

ธุรกิจโรงแรม และผู้่อนผู้ันการเปลียนการใช้<br />

อาคาร<br />

20 มิ.ย. 25<strong>66</strong><br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยคำแนะนำำของคณะ<br />

กรรมการควบคุมอาคารออก “กฎกระทรวง กำหนดลักษณะ<br />

อาคารประเภทอืนทีใช้ประกอบธุรกิจำโรงแรม (ฉบับที 4) พ.ศ.<br />

25<strong>66</strong>” ประกาศในราชกิจำจำานุเบกษาเมื อวันที 20 มิถุนายน<br />

25<strong>66</strong> เพือให้เจ้้าของหรือผู้ครอบครองอาคารประเภทอืน มี<br />

ระยะเวลาในการดำเนินการเพือให้ได้รับใบรับรองการดัดแปลง<br />

อาคารหรือใบอนุญาตเปลียนการใช้อาคารมาประกอบธุรกิจำ<br />

โรงแรมได้ เพิมอีก 1 ปี และกำหนดหลักเกณฑ์์ให้อาคารที มี<br />

การบริการห้องพักมาก่อนสามารถขอเปลียนการใช้อาคารมา<br />

ประกอบธุรกิจำโรงแรมได้<br />

ตามที กฎกระทรวงกำหนดลักษณะอาคารประเภทอื นที ใช้<br />

ประกอบธุรกิจำโรงแรม (ฉบับที 3) พ.ศ. 2564 ได้ต่ออายุการ<br />

ใช้บังคับกฎกระทรวงกำหนดลักษณะอาคารประเภทอื นที ใช้<br />

ประกอบธุรกิจำโรงแรม พ.ศ. 2559 ออกไปอีก 3 ปี ถ้งวันที 18<br />

สิงหาคม 2567 สำหรับกฎกระทรวงฯ (ฉบับที 4) พ.ศ. 25<strong>66</strong><br />

นี ้ ได้ขยายระยะเวลาการใช้บังคับออกไปอีก 1 ปี โดยจำะสิ ้ นสุดใน<br />

วันที 18 สิงหาคม 2568<br />

นอกจำากการขยายระยะเวลาการใช้บังคับแล้ว กฎกระทรวง<br />

ฉบับนี้ยังได้กาหนดหลักเกณฑ์์และวิธีการเพื่อเป็นการผ่อนผัน<br />

สาหรับอาคารที่ใช้สาหรับให้บริการห้องพักอยู่แล้วก่อนวันที่<br />

กฎกระทรวงฯ 2559 ใช้บังคับ ให้สามารถยื่นคาขออนุญาต<br />

เปลี่ยนการใช้อาคารมาประกอบธุรกิจำโรงแรมได้โดยไม่จำาเป็น<br />

ต้องดัดแปลงอาคารก่อน โดยเจำ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร<br />

จำะต้องยื่นหลักฐานที่แสดงว่าเป็นอาคารที่ใช้สาหรับให้บริการ<br />

ห้องพักอยู่ก่อน เช่น การลงโฆษณาทางเว็บไซึ่ต์ ใบอนุญาต<br />

ประกอบกิจำการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามกฎหมายว่า<br />

ด้วยการสาธารณสุข หลักฐานการเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน<br />

เป็นต้น และอาคารที่จำะขอเปลี่ยนการใช้ต้องมีลักษณะต่างๆ<br />

ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง และได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติ<br />

ตามข้อกาหนดเกี่ยวกับที่ว่างของอาคาร ช่องทางเดินภายใน<br />

อาคาร ความกว้างของบันได แนวอาคาร ระยะดิ่งของอาคาร<br />

ระยะหรือระดับระหว่างอาคารกับอาคาร หรือเขตที่ดินของผู้อื่น<br />

หรือระหว่างอาคารกับถนนหรือที่สาธารณะ และที่จำอดรถยนต์<br />

ตามที่กฎหมายกาหนด<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2023<strong>06</strong>21/<br />

ต่่ออายุพ้ นที และมาต่รการคุ้มครองสิ งแวดล้อม<br />

เกาะสมุย เกาะพะงัน<br />

24 เม.ย. 25<strong>66</strong><br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมออก “ประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม เรือง ขยายระยะ<br />

เวลาการใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ งแวดล้อม เรื อง กำหนดเขตพื ้ นที และมาตรการคุ้มครองสิ ง<br />

แวดล้อม ในบริเวณท้องที ตำบลตลิ งงาม ตำบลบ่อผุด ตำบล<br />

มะเร็ต ตำบลแม่น้ ำำ ตำบลหน้าเมือง ตำบลอ่างทอง ตำบลลิ<br />

ปะน้อย อำเภอเกาะสมุย และตำบลเกาะพะงัน ตำบลบ้านใต้<br />

ตำบลเกาะเต่า อำเภอเกาะพะงัน จัังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ.<br />

2557 พ.ศ. 25<strong>66</strong>” เพือขยายระยะเวลาการใช้บังคับประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมทีกำหนดเขตพื ้นที<br />

และมาตรการคุ้มครองสิ งแวดล้อมในพื ้ นที จัังหวัดสุราษฎร์ธานี<br />

ซึ่่งเดิมจำะครบกำหนดในวันที 30 พฤษภาคม 25<strong>66</strong> ให้ได้รับ<br />

การขยายระยะเวลาการใช้บังคับต่อไปอีกสองปี คือจำนถ้งวันที<br />

30 พฤษภาคม 2568<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2023<strong>05</strong>11/


กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

เมือวันเสาร์ที 7 มกราคม 25<strong>66</strong> คณะทำงานกรรมาธิการ<br />

ภูมิภาคทักษิณ ศูนย์ตรัง สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ดำเนินการจััดกิจำกรรมโครงการประกวด<br />

แนวความคิด SIKAO FOR ALL การวางผังแม่บทบนพื ้ นที<br />

สาธารณะของเทศบาลตำบลสิเกา โดยให้นักศ้กษาที ได้รับ<br />

รางวัลนำำเสนอผลงานประกวดออกแบบสถาปัตยกรรม ณ<br />

สานักงานเทศบาลตำบลสิเกา ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา<br />

จัังหวัดตรัง<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

คุณหรินทร์ ปานแจ่่ม รองประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ<br />

ฝ่ ายวิชาชีพ เข้าร่วมโครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ<br />

พัฒนาบุคลากรเตรียมความพร้อมสู่การวิพากษ์หลักสูตรสาขา<br />

วิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิ เพือร่วมแลก<br />

เปลียนแนวความคิดในการพัฒนาหลักสูตรและร่วมเป็นวิทยากร<br />

การบรรยาย ในวันที 25 มกราคม 25<strong>66</strong> เรือง “การพัฒนา<br />

หลักสูตรในมุมมองของสภาวิชาชีพ” และวันที 26 มกราคม<br />

25<strong>66</strong> เรือง “สถาปัตยกรรมกับหลักสูตรในอนาคต”<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

วันอังคารที 24 มกราคม 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย ดร.กาญจน ์<br />

เพียรเจริิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ,คุณปรัชญา ชล<br />

เจร ิญ เลขานุการ กรรมาธิการ, คุณธาริน กาลสงค์ กรรมาธิการ<br />

ฝ่ ายประชาสัมพันธ์, คุณปรีชา ตะเหย็บ และคุณสกล รักษ์ทอง<br />

ที ปร้กษา กรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ร่วมพิธีเปิด “เปิดบ้าน<br />

เปิดเมือง เล่าเรืองมโนราห์” โครงการวิจััย การขับเคลือนทุนทาง<br />

วัฒนธรรมมโนราห์ เพื อหนุนเสริมระบบเศรษฐกิจำสร้างสรรค์<br />

จัังหวัดสงขลา ณ ศูนย์อาษาคลาวด์ กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (บ้านสามห้อง<br />

ถนนนครนอก ย่านเมืองเก่าสงขลา) ถนนนครนอก อำเภอเมือง<br />

สงขลา จัังหวัดสงขลา<br />

ในวันพฤหัสบดีที 16 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย<br />

ดร.กาญจน ์ เพียรเจร ิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณฯ,<br />

คุณอธิปัตย์ ยินดี กรรมาธิการฝ่ ายการเงิน, คุณศิวกร สนิท<br />

วงศ์ รองประธานกรรมาธิการ ฝ่ ายกิจำกรรมเมืองและนโยบาย<br />

สาธารณะ และคุณวันชนะ ทวิสุวรรณ ทีปร้กษากรรมาธิการภูมิ<br />

ภาคทักษิณฯ ร่วมพิธีเปิดงานบ้าน คอนโด และวัสดุตกแต่ง ครั ้ง<br />

ที 12 ณ เวทีกลาง ลานโปรโมชัน ชั ้น 1 ศูนย์การค้าเซึ่็นทรัล<br />

หาดใหญ่<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

ภาพบรรยากาศ


ในวันเสาร์ที 18 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> ทีมทีปร้กษาคณะ<br />

กรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ นำำโดยอาจำารย์สิทธิศักดิ ์ ตันมงคล, อาจำารย์มงคล<br />

ชนินทรสงขลา, อาจำารย์จำามีกร มะลิซึ่้อน และอาจำารย์นฤดล เจ๊๊<br />

ะแฮ ทีมนักวิจััยเมือง กลุ่มสถาปนิกแห่ง Songkhla Urban Lab<br />

เสวนา “เปิดแนวคิด กลยุทธ์ และแนวทางการขับเคลือนเมือง<br />

หาดใหญ่ สู่การเป็นสมาชิกใหม่เครือข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้<br />

UNSECO” จััดโดย สมาคมธุรกิจำอสังหารัมทรัพย์จัังหวัดสงขลา<br />

ในงานมหกรรมบ้าน คอนโด และวัสดุตกแต่ง ครั ้งที 12 ณ<br />

เซึ่็นทรัลเฟุสติวัล หาดใหญ่<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

วันพฤหัสบดีที 23 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์จััดสัมมนา<br />

แหลง-เรือง-ลับ #1 การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมในภาคใต้ งาน<br />

สถาปนิกทักษิณ’<strong>66</strong> “ลับ...แล” คุณคณธร รัตนปราการ นายก<br />

สมาคมฮกเกี ้ ยนสงขลา กล่าวต้อนรับ วิทยากรโดย คุณสุเมธ รุจิิ<br />

วณิชย์กุล จัังหวัดนครศรีธรรมราช, คุณไพฑููรย์ ศฤงฆารนันท์<br />

จัังหวัดสงขลา, คุณธรัช ศิวภักดิ ์วัจำนเลิศ จัังหวัดภูเก็ต,คุณราชิต<br />

ระเด่นอาหมัด จัังหวัดปัตตานี, คุณซึ่ัลมาน มูเก็ม จัังหวัดสตูล<br />

ดำเนินรายการโดย : ผศ.ณธทัย จัันเสน กรรมการกลาง ฝ่ าย<br />

กิจำกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ ณ เวทีโรงงิ ้ ว ศาลหลักเมืองสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

ในวันพฤหัสบดีที 23 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััด<br />

กิจำกรรมสถาปนิกน้อย “วาดเรืองลับเมืองเก่าสงขลา” งาน<br />

สถาปนิกทักษิณ’<strong>66</strong> รับฟัังบรรยายพิเศษจำาก ผศ.ณธทัย จััน<br />

เสน และคุณยิงยศ แก้วมี มีนักเรียน นักศ้กษาเข้าร่วมกิจำกรรม<br />

จำานวน 49 ท่าน<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

วันศุกร์ที 24 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััดสัมมนาแหลง-<br />

เรือง-ลับ #2 “Common Heritage of Songkhla Old Town …<br />

Living on History” งานสถาปนิกทักษิณ’<strong>66</strong> “ลับ...แล” วิทยากร<br />

โดย คุณอุปถัมภ์ รัตนสุภา อาจำารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร, ผศ.ณธทัย จัันเสน กรรมการกลาง ฝ่ าย<br />

กิจำกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ ณ ศูนย์อาษาคลาวด์ กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ภาพบรรยากาศ


วันศุกร์ที 24 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััดสัมมนาแหลง-<br />

เรือง-ลับ #3 “The secret of Conservation work” วิทยากร<br />

โดย Mr. Nikhil Joshi, NUS Senior Lecturer Department of<br />

Architecture : Department of Architecture National University<br />

of Singapore (NUS), ดร.กฤติมา ลีรัตนวิสุทธิ ์ ทีปร้กษาด้าน<br />

กลุยุทธ์ท้องถิน โครงการเมืองแห่งอนาคตระดับโลก : องค์กร<br />

สหประชาชาติประจำาประเทศไทย UN-HABITAT และสัมมนา<br />

แหลง-เรือง-ลับ #4 “The secret of IMT-GT Conservation<br />

work” วิทยากรโดย ดร.วสุ โปษยะนันทน์ สถาปนิกเชียวชาญ<br />

ผู้เชี ยวชาญเฉพาะด้านสถาปัตยกรรม (บูรณปฏิสังขรณ์หรือ<br />

สถาปัตยกรรมไทย) และDr.Johannes Widodo Associate<br />

professor, Department of Architecture National University<br />

of Singapore (NUS)<br />

ดำเนินรายการโดย : ดร.กฤติมา ลี รัตนวิสุทธิ ์ ที ปร้กษาด้าน<br />

กลุยุทธ์ท้องถิน โครงการเมืองแห่งอนาคตระดับโลก : องค์กร<br />

สหประชาชาติประจำาประเทศไทย UN-HABITAT ณ หับ โห้<br />

หิ ้ น (โรงสีแดง)<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

ในวันศุกร์ที 24 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> คุณมาหะมะพีสกรี วาแม รอง<br />

ผู้ว่าราชการจัังหวัดสงขลา เป็นประธานกล่าวเปิดงานสถาปนิก<br />

ทักษิณ ‘<strong>66</strong> “ลับ...แล” คุณวันชัย ปริญญาศิริ นายกเทศมนตรี<br />

นครสงขลา และคุณรังษี รัตนปราการ นายกภาคีคนรักเมือง<br />

สงขลาสมาคม กล่าวต้อนรับแขกผู้ร่วมงาน, ผศ.ดร.ทัชชญา สังขะ<br />

กูล กล่าววัตถุประสงค์การจััดงาน โดยมีคุณชนะ สัมพลัง นายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์, ดร.กาญจน ์ เพียร<br />

เจร ิญ ประธานกรรมธิการภูมิภาคทักษิณ, คุณปราการ ชุณห<br />

พงษ์ ประธานกรรมธิการภูมิภาคล้านนา, คุณวีรพล จำงเจร ิญ<br />

ใจำ ประธานกรรมธิการภูมิภาคอีสาน, คุณคมกฤต พานนสถิตย์<br />

ประธานกรรมธิการภูมิภาคบูรพา, คุณวรัชญ์ ปริสุทธิ ์กุล นายก<br />

สมาคมอสังหาริมทรัพย์, คณะทำงานศูนย์, วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

ระดับชาติ และประชาชนเข้าร่วม ณ หับ โห้ หิ ้ น (โรงสีแดง)<br />

อำเภอเมืองสงขลา จัังหวัดสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

วันศุกร์ที 24 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััดเสวนา เรือง-<br />

ลับ-ลับ ของนายกสมาคมฯ และประธานกรรมาธิการภูมิภาค<br />

วิทยากรโดย คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์, ดร.กาญจน ์ เพียรเจร ิญ ประธาน<br />

กรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ, คุณปราการ ชุณหพงษ์ ประธาน<br />

กรรมาธิการภูมิภาคล้านนา, คุณวีรพล จำงเจร ิญใจำ ประธาน<br />

กรรมาธิการภูมิภาคอีสาน และคุณคมกฤต พานนสถิตย์<br />

ประธานกรรมาธิการภูมิภาคบูรพา พร้อมรับประทานอาหารใน<br />

งาน WELCOME PARTY ณ หับ โห้ หิ ้ น (โรงสีแดง)<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

วันเสาร์ที 25 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััดกิจำกรรมล่อง-<br />

เล-ลับ ทัศนศ้กษาชมเมืองเก่าสงขลาฝังบ่อยางในมุมมองจำาก<br />

ทะเลสาบสงขลา และเยียมชมเมืองเก่าสงขลาฝังแหลมสน (เขา<br />

แดง)<br />

ภาพบรรยากาศ


วันเสาร์ที 25 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััดกิจำกรรมแล –<br />

บ้าน – เมือง – ลับ A.E.Y.Space (ทีได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำำป ี 2560), คาเฟ่่ อเมซึ่อน เมืองเก่า<br />

สงขลา Cafe’ Amazon Songkhla Old Town, ศาลเจ้้าจำง ฝูเมียว และบ้านนพรัมภา ทั ้งนี ้ กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณฯ ขอขอบคุณ<br />

คุณไพฑููรย์ ศฤงฆารนันท์, คุณธีรพล นพรัมภา, คุณปกรณ์ รุจิิระวิไล และคุณชายแดน เสถียร ทีให้ความอนุเคราะห์ให้เยียมชม<br />

อาคารและบรรยายให้ความรู้ในครั ้งนี ้ ณ ย่านเมืองเก่าสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จัังหวัดสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

วันเสาร์ที 25 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััดงานเลี ้ ยง NIGHT<br />

PARTY ธีมคัลเลอร์ฟููล ณ VIVA HOTEL อำเภอเมืองสงขลา จัังหวัดสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศ


ISA Building Material Visit Series รอบรู้เร้องวัสดุ<br />

ก่อสร้าง ครั งที 4-<strong>66</strong> "FIBERGLASS SHEET &<br />

HIGH PERFORMANCE CAST ACRYLIC @RAYONG "<br />

วันเสาร์ที 1 สิงหาคม 25<strong>66</strong> ทีผ่านมา ISAสถาบันสถาปนิกสยาม<br />

จััดกิจำกรรม ISA Building Material Visit Series รอบรู้เรื อง<br />

วัสดุก่อสร้าง ครั ้งที 4-<strong>66</strong> "FIBERGLASS SHEET & HIGH<br />

PERFORMANCE CAST ACRYLIC @RAYONG " เริมต้นกิจำกรรม<br />

ตอนเช้าด้วยการเดินทางไปนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซึ่ีบอร์ด<br />

จัังหวัดระยอง พาสมาชิกสมาคมฯและผู้สนใจำเยี ยมชม บริษัท<br />

ไอ-คอนส์ เอเชีย จำำกััด ผู้ผลิตแผ่นหลังคาโปร่งแสง ไฟุเบอร์<br />

กลาส TOPGLASS เข้ารับฟัังการบรรยายความรู้เกียวกับการผลิต<br />

หลังคาโปร่งแสง FIBERGLASS จำนถ้งการทดสอบแผ่น<br />

โดยมีเนื ้ อหาบรรยายทีสรุป คือ<br />

หลังคาโปร่งแสงของ TOPGLASS เป็นหลังคา FRF ( เส้นใยแก้ว<br />

+ เรซิ่่นผสมสารป้องกัน UV ) ทีผลิตด้วยระบบ CHP technology<br />

ตามมาตรฐานของประเทศนิวซึ่ีแลนด์ ซึ่่งปัจำจำุบันเป็นที นิยม<br />

ใช้ร่วมกันหลังคาแผ่นเหล็ก metal sheet ในการนำำแสงสว่าง<br />

ธรรมชาติเข้ามาในอาคาร ทำให้สามารถประหยัดค่าไฟุฟุ้าใน<br />

การให้แสงสว่างได้ดี<br />

ระบบการผลิต แบบ CHP อธิบายง่ายๆ คือ เป็นกระบวน<br />

การข้ ้ นรูปแผ่นหลังคาโดยให้ความร้อน โดยผ่านสารเร่งข้ ้ นรูป<br />

ไม่มีฟุอง ทีอุณหภูมิ 100 องศาเซึ่ลเซึ่ียส โดยระบบนี ้ มีข้อดี คือ<br />

แผ่นหลังคาจำะเรียบ มีการกระจำายแสงที ดี ไม่มีฟุองอากาศใน<br />

แผ่นและมีการเปลียนแปลงของสีน้อย โดยปัจำจำุบัน ผลิตทั ้งแผ่น<br />

ทีเป็นแบบผิวเคลือบฟิิลม์ ( 30 ไมครอน ) ราคาประหยัด กับ<br />

แบบเจำลโคท ( 100 ไมครอน ) ทีมีหลายขนาดราคา ในเตาอบ<br />

ความยาวแผ่น 25 เมตร<br />

แผ่นหลังคาโปร่งแสงเมือผลิตเสร็จำแล้ว จำะถูกทดสอบด้วย 6<br />

ขั ้นตอน คือ การทดสอบความแข็ง , การทดสอบความโปร่งแสง<br />

, การทดสอบแรงด้ง , การทดสอบการกระแทก , การทดสอบ<br />

ต่อ QUV , และการตรวจำสอบ UV<br />

ปัจำจำุบัน หลังคา FIBERGLASS ทีผลิต จำะมีความยาว 3 , 4<br />

, 12 m โดยมีความหนา 1.5 มม. และผลิตได้ตามรูปแบบลอน<br />

ของหลังคาเหล็ก metal sheet ทุกลอน<br />

กิจำกรรมในช่วงบ่ายวันเสาร์ พาสมาชิกสมาคมฯและผู้สนใจำ<br />

เดินทางไปเยียมชม บริษัท RPT DESIGN & MACHINE จำำกััด ผู้<br />

ผลิตและติดตั ้ง Cast Acrylic คุณภาพสูง มาตรฐานระดับโลก RPT<br />

ASIA Reynolds Polymer Tecnology ทีใช้ในงาน Aquarim , สวน<br />

น้ ำำ , สระว่ายน้ ำำ ทีมีความหนาตั ้งแต่ 1 นิ ้ ว ถ้ง 5 นิ ้ ว<br />

Reynolds Polymer เป็นบริษัทอเมริกัน ทีก่อตั ้งมาตั ้งแต่ ปี<br />

1980 เป็นผู้เชียวชาญในการ หล่อ Acrylicขั ้นสูง และมีการต่อ<br />

แผ่นด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยีbondingที ได้รับการยอมรับใน<br />

ระดับสากลทีแทบจำะไม่เห็นรอยต่อ<br />

ปัจำจำุบัน RPT DESIGN & MACHINE ผลิตทั ้ง แผ่น Acrylic Sheet<br />

ออกแบบงาน Cast Acrylic คุณภาพสูงตามความต้องการของผู้<br />

ออกแบบ มีผลงานการผลิตและติดตั ้งทั ้งในและต่างประเทศที<br />

เป็นทีรู้จำักมากมาย<br />

คุณสมบัติของ Acrylic คุณภาพสูง คือ มีความใส 99% ,<br />

ป้องกันแสง UV , มีความแข็งแรงกว่ากระจำก 17 เท่าและ 4 เท่า<br />

ของคอนกรีต , ทนอากาศ ไม่เป็นสีเหลือง , สามารถออกแบบ<br />

ให้รองรับน้ ำำหนักของโครงสร้างอาคารได้<br />

วันนี ้ ทางบริษัท ฯ ได้พาสมาชิกสมาคมและผู้สนใจำเข้าชม<br />

กระบวนการผลิต ทุกขั ้นตอน ตั ้งแต่ การทำแผ่น Acrylic Sheet<br />

ไปจำนถ้ง กระบวนการนำำ แผ่น Acrylic Sheet ไปผ่านการปรับ<br />

แผ่นเป็นรูปแบบต่างๆ ทีผ่านการออกแบบ เช่น ผนัง Aquarim<br />

, สวนน้ ำำ , สระว่ายน้ ำำ , หรือกระทั ้งผนังและราวกันตก จำนออก<br />

มาเป็นผลงานทีน่าสนใจำมาก<br />

ต้องขอขอบคุณทางผู้บริหารและทีมงานของบริษัท ไอ-คอนส์<br />

เอเชีย จำำกััด และบริษัท RPT DESIGN & MACHINE จำำกััด เป็น<br />

อย่างมาก ทีช่วยสนับสนุนกิจำกรรมของ ISAสถาบันสถาปนิกสยาม<br />

สมาคมสถาปนิกสยามมาโดยตลอด ทำให้เกิดกิจำกรรมดีๆวัน<br />

นี ้ ตั ้งแต่เช้าจำนบ่าย ให้การต้อนรับ เลี ้ ยงอาหารเทียง ให้การ<br />

สนับสนุน ทีมงานต้อนรับ ดูแล ตลอดจำน ทีมงานให้ข้อมูลความ<br />

รู้ ทีดีมาก<br />

ขอขอบคุณสมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม และผู้สนใจำ Fc<br />

กิจำกรรม ISA Building Material Visit Series ทีมาเข้าร่วมกิจำกรรม<br />

กันอย่างเหนียวแน่นกันมาโดยตลอด วันนี ้ เดินทางไปกัน 2 รถตู้<br />

รอติดตามกิจำกรรมต่อไปกันได้เลยครับ<br />

และสุดท้าย ขอขอบคุณทีมงาน ISAสถาบันสถาปนิกสยามทุกท่าน<br />

ที ช่วยกันทำให้เกิดกิจำกรรมดีๆ วันนี ้ รวมถ้งเจ้้าหน้าที สมาคม<br />

สถาปนิก ทีสนับสนุน ช่วยเหลือ ประสานงานต่างๆ จำนกิจำกรรม<br />

สำเร็จำไปได้ด้วยดี<br />

ไว้ติดตามกิจำกรรมดีๆ กิจำกรรมต่อๆไป ได้ที เพจำของ<br />

ISAสถาบันสถาปนิกสยาม สมาคมสถาปนิกสยาม ทีจำะมีกิจำกรรม<br />

ดีๆ ทั ้งงานสัมมนาให้ความรู้ทั ้งเรืองการออกแบบ วัสดุก่อสร้าง<br />

นวัตกรรมก่อสร้าง ทั ้งonsite , online , building visit ต่างๆ<br />

มากมายตลอดปีนี ้ แล้วเจำอกันใหม่ครับ ขอบคุณทุกคนอีกครั ้ง<br />

ครับ


สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

บริจาคเงินจากนิทรรศการ Infinity Ground เพ้อ<br />

สมทบทุนช่วยเหล้อโรงเรียนสอนคนต่าบอด<br />

กรุงเทพ<br />

เมือวันที 1 กันยายน 25<strong>66</strong> นำำโดยคุณเจำอร์รี หง (Jenchieh<br />

Hung) ประธานคณะทำงานนิทรรศการ Infinity Ground -<br />

Thailand and Taiwan Contemporary Architecture Exhibition<br />

ที สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััดร่วมกับ<br />

สานักงานเศรษฐกิจำและวัฒนธรรมไทเปประจำาประเทศไทย<br />

พร้อมด้วยคุณกุลธิดา ทรงกิตติภักดี กรรมการบริหารสมาคมฯ<br />

และ อาจำารย์ ดร.สุพิชญา ศุภพิพัฒน์ คณะทำงานฯนิทรรศการ<br />

รวมถ้งเจ้้าหน้าที สมาคมฯ และคณะทำงานจำาก art4d ได้นำำ<br />

เงินที ได้จำากการขายหนังสือ Infinity Ground ระหว่างการจััด<br />

งานนิทรรศการเมือวันที 18 กรกฎาคม - 6 สิงหาคม 25<strong>66</strong><br />

ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร มอบให้แก่โรงเรียน<br />

สอนคนตาบอดกรุงเทพ เพือสมทบทุนช่วยเหลือการซึ่่อมอุปกรณ์<br />

อาคารสถานที ภายในโรงเรียน โดยได้รับเกียรติจำากนางสาว<br />

จรััสศรี ศรีมณี ผู้อานวยการสานักบริหารมูลนิธิโรงเรียนสอน<br />

คนตาบอด และ นายพิรัชย์ภณ ธนาพัฒน์ ผู้ช่วยผู้อานวยการ<br />

โรงเรียนฝ่ ายปฏิบัติการ เป็นผู้รับมอบ ทั ้งนี ้ ทางสมาคมฯต้อง<br />

ขอขอบคุณสมาชิกผู้มีจิิตศรัธาทุกท่านทีร่วมกันทาบุญและทำให้<br />

งานนี ้ ประสบความสำเร็จำอย่างดียิง<br />

#infinityground<br />

<strong>ASA</strong> CUP 2023<br />

เมื อวันเสาร์ที 5 สิงหาคม 25<strong>66</strong> สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ จััดงานฟุุตบอล <strong>ASA</strong> CUP 2023 ณ สนาม<br />

Super Star Arena ซึ่.ลาดพร้าว 80 หลังจำากทีการจััดงานนี ้ ห่าง<br />

หายมาเป็นเวลา 5 ปี ทำให้สมาชิกส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันมา<br />

กันมาอย่างค้กคักและการรับสมัครเต็มจำานวนในเวลาอันรวดเร็ว<br />

และในวันแข่งขันได้มีทีมสมาชิกและผู้เข้าร่วมชมเกือบ 300 คน<br />

เรียกได้ว่าล้นสนามกันเลยทีเดียว ดังนั ้นก็ยังพิสูจน ์ได้ว่ากิจำกรรม<br />

นี ้ ก็ยังเป็นกีฬายอดฮิตของเหล่าสถาปนิก ทั ้งนี ้ สมาคมฯ ขอ<br />

ขอบคุณคณะกรรมการจััดงาน ผู้สนับสนุนและผู้ทีเกียวข้องทุก<br />

ท่าน ทีทำให้งานนี ้ ประสบความสำเร็จำ


ผู้ลการคัดเล้อกผู้ลงานนิสิต่และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ARCASIA Student’s Architectural<br />

Competition 2023<br />

ตามที สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ประกาศเชิญชวนนิสิต นักศ้กษาร่วมส่งผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ภายใต้หัวข้อ “Designing a Future-Ready Community Responding to the Most Challenging Social Condition” เพืคัดเลือกผล<br />

งานเข้าร่วมโครงการ ARCASIA Student’s Architectural Design Competition 2023<br />

ทางคณะกรรมการคัดเลือกของสมาคมฯ ได้มีการประชุมคัดเลือกผลงานในวันพุธ ที 19 กรกฎาคม 25<strong>66</strong> โดยพิจำารณาจำากรูป<br />

แบบการนำำเสนอผลงานและแนวคิดในการออกแบบ คณะกรรมการฯได้พิจำารณาแล้ว เห็นควรส่งผลงานเข้าร่วมประกวดโครงการ<br />

ในระดับประเทศ ดังนี ้<br />

1.ผลงาน GIFT from DEATH<br />

2.ผลงาน The Future Breathe<br />

3.ผลงาน MAI-MHON<br />

โดย นายปิยภัทร ลีลาชัยพิสิฐ<br />

โดย นางสาววิภวา ปัญญาศราวุธ<br />

โดย นายสิวรัฐ ขวัญจัันทร์ และ นางสาวณัฐฐาพร สุรวัฒนะ<br />

ทั ้งนี ้ สมาคมฯ จำะจััดส่งผลงานนิสิตและนักศ้กษาทีได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมประกวด และร่วมจััดแสดงนิทรรศการ ในงาน The<br />

ARCASIA 20th Asian Congress of Architects (ACA20) ณ เกาะโบราไกย์ ประเทศฟิิลิปปินส์ โดยทางคณะกรรมการตัดสินฯ จำะ<br />

ทำการประกาศผลการตัดสินรอบสุดท้ายในวันจัันทร์ ที 18 กันยายน 25<strong>66</strong> ผู้ที ประสงค์ขอข้อมูลเพิมเติม สามารถติดต่อสอบถาม<br />

ได้ที สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โทรศัพท์ 02-319-6555 ต่อ 203


ประกาศผู้ลการตััดสินรางวัล PUBLICITY FOR THE PROJECT<br />

BY THAI ARCHITECTS ในหัวข้อ “LIGHT OF ARCHITECTURE”,<br />

1ST ROUND APRIL-JUNE 2023<br />

ในทีสุด ผลการตัดสินรางวัล งาน PUBLICITY FOR THE PROJECT<br />

BY THAI ARCHITECTS ในหัวข้อ LIGHT OF ARCHITECTURE,1ST<br />

ROUND APRIL-JUNE 2023 ก็ได้ผลออกมาเรียบร้อย ตามผล<br />

ดังนี้<br />

รางวัล THE BEST จำานวน 3 รางวัลได้แก่ผู้ประกวดรหัส :<br />

1. MIT001 คุณวรรัตน์ รัตนตรัย ผลงาน PLU TO<br />

2. SSS289 คุณพิพล ลิขนะไพศาล ผลงาน Ibis Styles Bangkok<br />

Silom<br />

3. ROM2523 คุณชิโนรส พันทวี ผลงาน แสง ร่ม เย็น<br />

รางวัล Popular Vote จำานวน 1 รางวัลได้แก่ผู้ประกวดรหัส :<br />

APL011 คุณแทนไท มัฐผา ผลงาน บทสนทนาทีไร้ซึ่่งคาพูด<br />

ยินดีกับผู้เข้าร่วมโครงการ ทีได้รับทุกรางวัล ทางทีมงานจำะติดต่อ<br />

ไปเพือทำการจััดทำคลิปสัมภาษณ์ทุกท่าน โปรดอดใจำรอคอยใน<br />

เวลาไม่นาน<br />

ทั ้งนี ้ สมาชิกสามารถติดตามผลงานได้ทางเพจำและช่องยูทูป<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

งานเปิ ดนิทรรศการ Infinity Ground – Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition ช่วงที 2<br />

สำหรับช่วงทีสองเป็นลาดับพิธีเปิดนิทรรศการทีชั ้น 5 ห้องออดิ<br />

ทอเรียม เริมจำากคุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวถ้งวัตถุประสงค์ของงานนิทรรศการ<br />

ที เป็นการเผยแพร่ผลงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยระหว่างไทย<br />

และไต้หวัน เพื อให้เกิดประโยชน์ การแลกเปลี ยน และการบู<br />

รณาการในกระบวนการคิดและการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ของทั ้งสองแห่งให้กับผู้เข้าชม ถัดมาคุณซิ่่วเม่ย เซึ่ีย (Hsiu-Mei,<br />

Hsueh) รองผู้แทนรัฐบาล สานักเศรษฐกิจำและวัฒนธรรมไทเป<br />

ประจำาประเทศไทย กล่าวถ้งความร่วมมือและการให้ผลงาน<br />

สถาปัตยกรรมเป็นตัวแทนของการแลกเปลียนวัฒนธรรมของ<br />

ทั ้งสองแห่ง สุดท้ายคุณเจำอร์รี หง (Jenchieh Hung) และ คุณ<br />

กุลธิดา ทรงกิตติภักดี หัวหน้าภัณฑ์ารักษ์ ได้เชิญคุณประภากร<br />

วทานยกุล ศิลปินแห่งชาติและประธานกรรมการผู้จำัดการบริษัท<br />

สถาปนิก 49 เป็นตัวแทนของสถาปนิกทีมีผลงานจััดแสดงใน<br />

นิทรรศการมากล่าวเปิดงานร่วมกัน<br />

หลังจำากนั ้นเป็นช่วงของการถ่ายภาพร่วมกันกับผู้ร่วมจััด<br />

งานทุกท่านซึ่่งประกอบไปด้วย ผู้ช่วยศาสตราจำารย์สรายุทธ<br />

ทรัพย์สุข คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย รองศาสตราจำารย์ ดร.อภิรดี เกษมศุข คณบดี<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ว<br />

ราลักษณ์ แผ่นสุวรรณ รองคณบดีฝ่ ายวิชาการ คณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

พระจำอมเกล้าธนบุรี ดร.พร้อม อุดมเดช ผู้อานวยการสานักงาน<br />

บริหารหลักสูตรสถาปัตยกรรมสหวิทยาการนานาชาติ คณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจำอมเกล้าเจ้้าคุณ<br />

ทหารลาดกระบัง และคุณจู้้หมิง หวง (Chun-Ming Huang)<br />

ประธาน Alliance for Architectural Modernity Taiwan<br />

ถัดมาหัวหน้าภัณฑ์ารักษ์ได้เล่าถ้งเนื ้ อหาเชิงล้กและความเป็น<br />

มาของนิทรรศการ โดยมีใจำความหลักถ้งนิยามความหมายของ<br />

แนวคิด Infinity Ground ทีเชือมโยงไทยและไต้หวันผ่านทางแสง<br />

เงาซึ่่งตกกระทบบนผืนดินแบบไม่รู้้จบจำากสถาปัตยกรรมทีเป็น<br />

ตัวแทนทางวัฒนธรรม สภาพแวดล้อม ภูมิอากาศ ของทั ้งสอง<br />

แห่งและเชื อมต่อมายังช่องแสงของหอศิลป์ ฯ ซึ่่งเป็นที ตั ้งของ<br />

นิทรรศการ ในลาดับสุดท้ายเป็นการเสวนาของสถาปนิกไทย<br />

และไต้หวันทีมีผลงานจััดแสดงในนิทรรศการ โดยมีรายนามผู้เข้า<br />

ร่วมเสวนาดังนี ้ คุณนิธิศ สถาปิตานนท์ จำากบริษัทสถาปนิก 49<br />

จำำกััด, คุณยิงยง ปุณโณปถัมภ์ จำากบริษัทสถาปนิกชุมชนและสิง<br />

แวดล้อม อาศรมศิลป์ จำำกััด, คุณดวงฤทธิ ์ บุญนาค จำากบริษัท<br />

ดวงฤทธิ ์ บุนนาค จำำกััด, คุณอมตะ หลูไพบูลย์ และ


คุณทวิตีย์ วัชราภัย เทพาคา จำากบริษัท ดีพาร์ทเม้นท์ ออฟุ<br />

อาร์คิเทคเจำอร์ จำำกััด, คุณมาเรีย (Maria Eugenia Carrizosa<br />

Rivera) และคุณโรดิโก(Rodrigo Reverte Martinez-Gil)จำาก<br />

Behet Bondzio Lin Architekten, คุณเซึ่ิ ้ งเฟิิง หลิน (Sheng-<br />

Feng Lin)จำาก Atelier Or ซึ่่งมีคุณกุลธิดา ทรงกิตติภักดี เป็นผู้<br />

ดำเนินรายการ โดยในการเสวนานั ้นเป็นการพูดคุยถ้งผลงาน<br />

ของสถาปนิกแต่ละท่านที นำำมาจััดแสดงซึ่่งครอบคลุมในหลาย<br />

ประเด็น ไม่ว่าจำะเป็นคานิยามของคาว่า Infinity ในสถาปัตยกรรม<br />

ร่วมสมัยของไทย ทีเกียวข้องกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม<br />

การเห็นอกเห็นใจกัันระหว่างสถาปัตยกรรม ชุมชนและผู้คน<br />

ประเด็นทีพูดคุยนั ้นเกิดการแลกเปลียนมุมมองระหว่างสถาปนิก<br />

ไทยและไต้หวัน ไปจำนถ้งแนวทางการศ้กษาสถาปัตยกรรมใน<br />

ไต้หวันทีเน้นให้นักศ้กษาเกิดกระบวนการคิด จิินตนาการ และ<br />

สือสารออกมาด้วยมือมากกว่าการปฏิบัติจร ิง สุดท้ายงานเสวนา<br />

ปิดท้ายด้วยความมุ่งหวังทีจำะมีนิทรรศการสถาปัตยกรรมที เกิด<br />

จำากความร่วมมือทั ้งในประเทศและต่างประเทศเช่นนี ้ อีกใน<br />

อนาคต<br />

งานเปิ ดนิทรรศการ Infinity Ground – Thailand<br />

and Taiwan Contemporary Architecture Exhibition<br />

ช่วงที 1<br />

ในวันอังคารที 18 กรกฎาคมทีผ่านมาที หอศิลปวัฒนธรรม<br />

แห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) ได้มีการเปิดนิทรรศการ<br />

สถาปัตยกรรมครั ้งแรกของปีอย่างเป็นทางการ<br />

โดยในงานแบ่งเป็นสองช่วง ในช่วงแรกเริมด้วยคุณเจำอร์รี หง<br />

(Jenchieh Hung) ประธานคณะทำงานนิทรรศการจำากสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ ร่วมกับกุลธิดา ทรงกิตติภักดี ผู้ร่วมก่อตั ้งและ<br />

สถาปนิกหลักจำาก HAS Design and Research หัวหน้าภัณฑ์า<br />

รักษ์ของนิทรรศการได้พาแขกผู้มีเกียรติจำากหลายสาขาจำานวน<br />

100 ท่าน รวมทั ้งสถาปนิกผู้มีผลงานจััดแสดงอีก 6 บริษัท<br />

ได้แก่ บริษัท สถาปนิก 49 จำำกััด, บริษัทสถาปนิกชุมชนและสิง<br />

แวดล้อม อาศรมศิลป์ จำำกััด, บริษัท ดวงฤทธิ ์ บุนนาค จำำกััด,<br />

บริษัท ดีพาร์ทเม้นท์ ออฟุ อาร์คิเทคเจำอร์ จำำกััด และ Behet<br />

Bondzio Lin Architekten, Atelier Or จำากไต้หวัน ชมนิทรรศการ<br />

ร่วมกัน<br />

สำหรับพื ้ นที นิทรรศการนั ้นเกิดจำากการประกอบกันของพาวิล<br />

เลียนขนาดไม่เท่ากัน 9 ยูนิต เรียงตามเข็มนาฬิกา ยูนิตแรก<br />

เป็นเนื ้ อหาเกรินนำำเรืองราวนิทรรศการ ส่วนอีก 8 ยูนิตเป็นการ<br />

จััดแสดงผลงานของทั ้ง 8 บริษัททีภัณฑ์ารักษ์ได้จัับคู่ผลงาน<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัยระหว่างไทยและไต้หวันเข้าไว้ด้วยกัน<br />

ซึ่่งใน 4 ยูนิตแรก เป็นการนำำเสนอผลงานในหมวด “การแลก<br />

เปลียนบนผืนดิน” (Ground Exchanges) ประกอบด้วยผลงาน<br />

ของบริษัท สถาปนิก 49 จำำกััด, บริษัท ดวงฤทธิ ์ บุนนาค จำำกััด,<br />

Behet Bondzio Lin Architekten และ MAYU architects ขณะทีอีก<br />

4 ยูนิต เป็นการนำำเสนอผลงานในหมวด “ความรู้ส้กจำากผืนดิน”<br />

(Feeling Grounds) ซึ่่งประกอบด้วยผลงานของบริษัทสถาปนิก<br />

ชุมชนและสิงแวดล้อม อาศรมศิลป์ จำำกััด, บริษัท ดีพาร์ทเม้น<br />

ท์ ออฟุ อาร์คิเทคเจำอร์ จำำกััด, Ambi Studio และ Atelier Or โดย<br />

ผลงานทีนำำมาจััดแสดงในแต่ละยูนิตถูกขมวดเป็นคู่ตามคานิยาม<br />

ทีต่างกัน หลังจำากทีเดินชมเนื ้ อหาครบทั ้งแปดยูนิต ภัณฑ์ารักษ<br />

ได้พาผู้ชมมาทีจุุดคลีคลายบริเวณโถงกลางซึ่่งเป็นจุุดทีเชือมโยง<br />

อาคารในทุกชั ้นของหอศิลป์ กรุงเทพฯ เข้าด้วยกัน โดยในโถงนี ้ มี<br />

เก้าอี ้ซึ่่งบุวัสดุสะท้อนทีเป็นตัวแทนของความเป็นอนันต์ขนานไป<br />

กับแนวคิด Infinity Ground<br />

Title: Infinity Ground – Thailand and Taiwan Contemporary<br />

Architecture Exhibition<br />

Hosts: The Association of Siamese Architects Under Royal<br />

Patronage; Taipei Economic and Cultural Office in Thailand;<br />

Chulalongkorn University – Faculty of Architecture;


King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang – School<br />

of Architecture, Art, and Design; King Mongkut’s University<br />

of Technology Thonburi – School of Architecture and Design;<br />

Silpakorn University – Faculty of Architecture<br />

Co-Organizers: HAS design and research, Bangkok Art and<br />

Culture Centre, art4d, Alliance for Architectural Modernity<br />

Taiwan<br />

Principal Curators: Jenchieh Hung, Kulthida Songkittipakdee<br />

Participants: Architects 49 Limited, Behet Bondzio Lin Architekten,<br />

Duangrit Bunnag Architect Limited, MAYU architects,<br />

Arsomsilp Community and Environment Architect, Ambi<br />

Studio, Department of ARCHITECTURE, Atelier Or<br />

Space Design: HAS design and research<br />

Supporters: Alufence, Canon Thailand, Jorakay, Saint-Gobain<br />

Thailand, RichCons, FloraScape, Zdecor<br />

Duration: 2023 July 18 – August 6<br />

Opening Hours: Tuesday – Sunday, 10:00 – 20:00<br />

Venue: Bangkok Art and Culture Centre LF; 939 Rama I<br />

Road, Wang Mai, Pathum Wan, Bangkok<br />

ประกาศผู้ลงานภาพถ่ายผูู้้โชคดีทีร่วมกิจกรรม ถ่ายภาพ<br />

นิทรรศการในมุมอง Infinity<br />

โพสต์ลงเฟุสบุ๊คหรืออินสตราแกรม โดยตั ้งค่าเป็นสาธารณะและ<br />

ใส่ #infinityground<br />

ผู้โชคดีทุกท่านจำะได้รับ หนังสือ “The Improvised” Phetkasem<br />

Artist Studio : อัตลักษณ์ใหม่ทีเป็นไปได้ในความอัปลักษณ์ หรือ<br />

ต้ก ต้ก โป๊ ะ จัังหวะชีวิต สถาปนิก ทุนเปียโน สู่แดนมังกร<br />

ทีเขียนโดยเจำอร์รี หง (Jenchieh Hung) และ กุลธิดา ทรงกิตติ<br />

ภักดี หัวหน้าภัณฑ์ารักษ์นิทรรศการ<br />

เล่มใดเล่มหน้งฟร ี กิจำกรรมนี ้ สนับสนุนโดยสานักพิมพ์ลายเส้น


MEMBER CORNER<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีผู้่านการอนุมัติิจากทีประชุมกรรมการบริหาร<br />

ประจำาเดือนพฤษภาคม 25<strong>66</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทัวไป<br />

• นักศึกษา<br />

จำานวน 79 คน<br />

จำานวน 39 คน<br />

จำานวน 51 คน<br />

จำานวน 5 คน<br />

ประจำาเด้อนมิถุนายน 25<strong>66</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทัวไป<br />

• นักศึกษา<br />

จำานวน 32 คน<br />

จำานวน 8 คน<br />

จำานวน 12 คน<br />

จำานวน 2 คน<br />

สมาชิกประเภท นิต่ิบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ข้ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จำานวน 2 บริษัท<br />

จำานวน - บริษัท<br />

สมาชิกประเภท นิต่ิบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ข้ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จำานวน - บริษัท<br />

จำานวน 2 บริษัท

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!