02.02.2015 Views

โพรไบโอติก - ฐานข้อมูลการแพทย์ทางเลือก

โพรไบโอติก - ฐานข้อมูลการแพทย์ทางเลือก

โพรไบโอติก - ฐานข้อมูลการแพทย์ทางเลือก

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

PROBIOTICS : Alternative Microoganisms for Health<br />

โพรไบโอติก : จุลินทรีย์ทางเลือกเพื่อสุขภาพ<br />

ในปัจจุบันจุลินทรีย์ชนิดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่แบคทีเรียกลุ่มแบคทีเรียกรดแลกติก<br />

เช่น Staphylococcus sciuri ก็มีรายงานการใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิต<br />

เนยแข็ง เนยแข็งโพรไบโอติก และผลิตเป็นแบคทีเรียโพรไบโอติก เริ่มตั้งแต่ ปี<br />

ค.ศ. 1997 ส่วนยีสต์ก็ได้มีการนำมาใช้เป็นโพรไบโอติกเช่นกัน เช่น Saccharomyces<br />

cerevisiae subsp. boulardii ก็ได้ถูกนำมาศึกษาคุณสมบัติความเป็น<br />

โพรไบโอติกและใช้กับมนุษย์เช่นกัน ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1990 (Mogensen et al., 2002)<br />

2.3 การคัดเลือกแบคทีเรียโพรไบโอติกเพื่อเป็นต้นเชื้อ<br />

สำาหรับผลิตภัณฑ์หมักที่มีส่วนผสมของพืช<br />

ในประเทศไทย การนำโพรไบโอติกมาใช้ในการผลิตอาหารสำหรับมนุษย์<br />

ยังมีข้อจำกัดสูง ทั้งในเรื่องของกระบวนการศึกษาข้อมูลทางวิทยาศาตร์เพื่อการ<br />

กล่าวอ้างเป็นโพรไบโอติก ต้องอาศัยขั้นตอนการศึกษาในระดับสิ่งมีชีวิต ซึ่งต้อง<br />

อาศัยงบประมาณสูงอีกทั้งกฎหมายอาหารรับรองผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของจุลินทรีย์<br />

ที่มีชีวิตและโพรไบโอติกยังจ ำกัดเพียงในผลิตภัณฑ์ที่ได้จากนมและเนื้อสัตว์ ดังนั้น<br />

จึงทำให้มีข้อมูลการคัดเลือกและการใช้ประโยชน์โพรไบโอติกในผลิตภัณฑ์นม<br />

และเนื้อสัตว์อย่างแพร่หลาย แต่ในการศึกษาและคัดเลือกโพรไบโอติก เพื่อใช้กับ<br />

ผลิตภัณฑ์หมักที่มีส่วนผสมของพืชในประเทศไทยยังไม่เป็นที่นิยมเมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันในต่างประเทศ ทั้ง ๆ ที่ประเทศไทยมีความได้เปรียบ<br />

ในเรื่องความหลากหลายของผลผลิตทางการเกษตร ทั้งพืช ผักและผลไม้ อีกทั้ง<br />

ผลิตภัณฑ์พืชหมัก เช่น ผักดอง ผลไม้ดอง ส้มผัก ยังเป็นผลิตภัณฑ์พืชหมักที่มีมานาน<br />

สืบทอดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ยังขาดการสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งแตกต่างจากผลิตภัณฑ์<br />

ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันในต่างประเทศ เช่น กิมจิของประเทศเกาหลี มะกอกดอง<br />

ของประเทศทางแถบยุโรป ผักดองของประเทศญี่ปุ่น น้ ำหมักพืช EM-X และ OM-X<br />

สำหรับบริโภคของประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้ สามารถกล่าวอ้างว่า<br />

เป็นผลิตภัณฑ์อาหารโพรไบโอติกและผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพทางการค้าได้<br />

อย่างกว้างขวางในต่างประเทศ<br />

การคัดเลือกโพรไบโอติกที่มีความเหมาะสมเพื่อใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์<br />

หมักจากพืช หรือผลิตโพรไบโอติกโดยผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้จากพืช จึงเป็นอีก<br />

แนวทางหนึ่งในการพัฒนาผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกที่ได้จากพืช ซึ่งจะช่วยเพิ่มทางเลือก<br />

ให้กับกลุ่มผู้บริโภคที่มีภาวะไม่ย่อยน้ ำตาลแลกโตสในนม (lactose intolerant) และ<br />

ผู้บริโภคมังสวิรัติได้อีกทางหนึ่ง<br />

ตารางที่ 2.2 คุณสมบัติโพรไบโอติกของสายพันธุ์แบคทีเรีย L. plantarum SS2<br />

ที่แยกได้ เปรียบเทียบกับสายพันธุ์ R ที่แยกได้จากผลิตภัณฑ์นมทางการค้า<br />

(ดัดแปลงจาก ไชยวัฒน์ ไชยสุต และคณะใน Duangjitcharoen Y, et al. 2008<br />

เอกสารอ้างอิงหมายเลข 1)<br />

คุณสมบัติโพรไบโอติก<br />

การทนต่อเกลือน้ำดีที่ความเข้มข้น<br />

ร้อยละ 0.15 และ 0.30<br />

สายพันธุ์แบคทีเรียทดสอบ<br />

L. plantarum SS2 แบคทีเรียอ้างอิง (R)<br />

ทน<br />

การทนต่อค่าพีเอชต่าง ๆ ทน pH 3, 4, 5<br />

และ 8<br />

ทน<br />

ทน pH 3, 4<br />

และ 5<br />

ความสามารถในการย่อยสารอาหาร ย่อยโปรตีนและแป้ง ย่อยโปรตีน<br />

ผลของการมีและไม่มีออกซิเจน<br />

ต่อการเจริญ<br />

การเพาะเลี้ยงในอาหารที่ไม่ผสม<br />

Cobalamin<br />

ไม่มีผล<br />

เจริญได้<br />

ไม่มีผล<br />

เจริญได้<br />

26 สำนักการแพทย์ทางเลือก http://www.thaicam.go.th<br />

สำนักการแพทย์ทางเลือก http://www.thaicam.go.th 27

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!